Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ เรื่องการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับค่าแรงงาน

ใบความรู้ เรื่องการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับค่าแรงงาน

Published by saisuree252273, 2018-03-28 06:02:57

Description: ใบความรู้ เรื่องการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับค่าแรงงาน

Search

Read the Text Version

บทที่ 3 การบญั ชีเกีย่ วกับคา่ แรงงาน Accounting for laborวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. สามารถเข้าใจความแตกตา่ งระหว่างค่าแรงงานทางตรง และค่าแรงงานทางอ้อมได้ 2. สามารถเข้าใจแผนกที่เกีย่ วข้องกับการเกิดข้นึ ของค่าแรงงานได้ 3. สามารถเข้าใจการคานวณ และการจาแนกค่าแรงงานได้อย่างถูกต้อง 4. สามารถบันทกึ บญั ชีค่าแรงงานได้อยา่ งถกู ต้อง----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คา่ แรงงาน หมายถึง ค่าจา้ ง (Wages) และเงนิ เดือน (Salaries) ท่กี ิจการจ่ายให้แก่ลูกจา้ ง ในการจ่ายค่าจ้างอาจจ่ายเป็นรายชวั่ โมง (Hourly) รายวนั (Daily) หรอื ตามหน่วยท่ีผลิตได้ (Piecework) สว่ นเงนิ เดือนมกั จะจ่ายเดือนละครัง้ลกั ษณะของค่าแรงงาน แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. คา่ แรงงานทางตรง 2.คา่ แรงงานทางออ้ มสาหรับขั้นตอนเกี่ยวกบั ค่าแรงงานนน้ั จะแยกอธิบายเป็น 2 แผนก คอื 1. แผนกบคุ คล (Personal Department) มีหน้าท่เี ก็บเวลาการทางาน กาหนด อัตราค่าจ้างของพนกั งาน นอกจากน้ีแผนกบุคคลยงั มีหนา้ ท่ใี นการควบคุมการทางานของพนักงานรวบรวมเวลาทางานของพนักงานในแต่ละวัน เช่น - ใช้เคร่ืองบันทึกเวลา หรือนาฬิกาบันทึกเวลา โดยจัดวางไว้ตรงทางเข้าของพนักงาน และให้พนักงานนาบัตรลงเวลาประจาตัวสอดเข้าไปในเคร่ืองเพื่อบันทึกเวลาการทางานกอ่ นทจ่ี ะเข้าไปปฏิบัติงาน - ใช้สมุดลงเวลา เหมาะสาหรับกิจการท่ีจ่ายคา่ จา้ งเป็นเงินเดือนประจา 66

- ใช้ทั้งเครอ่ื งบนั ทกึ เวลา และสมุดลงเวลา เช่น เมื่อพนักงานเข้ามาถึงทางเข้าของบริษัท กจ็ ะสอดบัตรลงเวลาประจาตัวท่เี รยี งไว้ตามชน้ั ใกล้ๆเคร่ืองบันทึกเวลาโดยมีชื่อพนักงานและรหัสประจาตัวติดอยู่ตามช้ันวางเข้าไปในเคร่ืองเพื่อบันทึกเวลาการทางาน เมื่อพนักงานเขา้ ไปในแผนกทางานของตน จะลงเวลาทส่ี มุดลงเวลาอีกครั้งหนึง่ เมื่อแผนกบุคคลรวบรวมเวลาการทางานของพนักงานแต่ละคนเรียบร้อยแล้ว ก็จะนาสง่ รายงานการปฏิบตั ิงานใหแ้ ก่แผนกบญั ชีตอ่ ไป 2.แผนกบัญชี (Accounting Department) มีหน้าท่ีในการคานวณ จาแนก และบนั ทึกบญั ชีค่าแรงงาน โดยนาข้อมลู จากแผนกบคุ คลมาบันทึกรายการบัญชี และจดั ทารายละเอียดที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งหน้าท่ีออกเป็น 3 ฝ่าย ดงั นี้ ฝา่ ยบัญชีเงนิ เดือนและค่าแรง เมื่อได้รับรายงานการปฏิบัติงานจากแผนกบุคคลแล้วจะคานวณค่าจ้างภาษีเงนิ ได้หกั ณ ท่จี า่ ย เงินประกันสังคม รายการอื่นๆ รวมทั้งบันทึกรายการและจานวนเงินต่างๆ ลงในสมุดเงินเดือนและค่าแรงแล้วผ่านรายการจากสมุดเงินเดือนและค่าแรงไปยังบัญชีเงินได้ของพนักงานแต่ละคน นอกจากนี้ยังส่งสมุดเงินเดือนและค่าแรงให้แก่ฝ่ายบัญชีเจ้าหนี้ดว้ ย ฝ่ายบญั ชีเจ้าหนี้ เมือ่ ได้รับสมดุ เงนิ เดือนและค่าแรงจากฝา่ ยบญั ชีเงินเดือนและค่าแรงแล้ว จะทาใบสาคัญจ่ายขึน้ 2 ฉบบั คือ ใบที่ 1 นาส่งใหฝ้ า่ ยการเงนิ พร้อมสมดุ เงนิ เดือนและคา่ แรงเพือ่ รอจ่ายเงิน ใบที่ 2 สาหรับเก็บเข้าแฟม้ ไวท้ ี่แผนกของตน ฝ่ายบญั ชีต้นทนุ เมื่อได้รับรายงานจากแผนกบุคคลก็จะทาการแยกค่าแรงแต่ละประเภทของกระบวนการผลิตเพื่อคานวณต้นทุนการผลิต สาหรับการคานวณคา่ แรง จะแยกการคานวณเป็น 2 ข้ันตอน คอื - ค่าแรงงานขั้นต้น (Gross payrolls) เมือ่ พนักงานบญั ชีรวบรวมค่าแรงงานของพนกั งานจากบตั รลงเวลาทางานก็จะทา การคานวณค่าแรงงานตา่ งๆ ซึ่งพิจารณาจากช่วั โมงการทางาน หรอื ตามชิ้นงาน การคานวณคา่ แรงงานดงั กล่าวจะประกอบดว้ ยค่าแรงงานปกติ และคา่ แรงงานลว่ งเวลา 67

ค่าแรงงานปกติ มีสตู รในการคานวณ ดังนี้ - คานวณค่าแรงตามชั่วโมงการทางาน คา่ แรงงานปกติ = จานวนชั่วโมงการทางาน X อตั ราค่าแรงงานรายชัว่ โมง - คานวณคา่ แรงตามชิน้ งาน ค่าแรงงานปกติ = จานวนชิ้นงานทผ่ี ลิตได้ X อัตราค่าแรงงานตามชิ้นงานตัวอย่างท่ี 1 นายมานพ ทางานกบั โรงงานแห่งหนึ่ง มีช่วงทางานปกติ คอื 08.00 – 17.00 น.หยุดวนั เสาร์และอาทติ ย์ โดยไดร้ บั คา่ จ้างเป็นรายชั่วโมงปกติช่วั โมงละ 50 บาท ชัว่ โมงการทางานของนายมานพในสัปดาห์นีเ้ ป็นดงั นี้วัน จานวนชั่วโมงการทางานจันทร์ 8พธุ 2พฤหสั บดี 8ศุกร์ 5รวมช่ัวโมงการทางาน 23ดังน้ันค่าแรงปกติเท่ากบั 23 X 50 = 1,150 บาท คา่ แรงงานล่วงเวลา ค่าแรงงานลว่ งเวลาเกิดจากการทพ่ี นกั งานทางานเกินช่ัวโมงทางานปกติซง่ึ ตามพระราชบัญญัติคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ได้บญั ญตั ิเกีย่ วกับชัว่ โมงทางานปกติของกิจการอตุ สาหกรรมว่า นายจา้ งจะตอ้ งกาหนดช่วั โมงการทางานปกติไวเ้ ทา่ ใดกไ็ ดแ้ ต่ตอ้ งไม่เกินสปั ดาหล์ ะ 48 ช่ัวโมง ซึง่ ในแตล่ ะกิจการจะกาหนดชวั่ โมงการทางานปกติไม่เทา่ กนั 1. อัตราค่าแรงงานล่วงเวลาในวันทาการปกติ เปน็ การทางานในช่วงเวลา เกินกว่าชว่ งเวลาปกติของเวลาทาการ เชน่ เวลาทาการปกติคือ วันจันทร์ ถงึ วันศกุ ร์ เวลา 08.00 –17.00 น. แต่หากพนกั งานทางานในวันดังกล่าวต้ังแต่ 08.00 - 20.00 น. ชว่ งเวลาหลงั จาก 68

17.00 น. ถือเปน็ ค่าแรงล่วงเวลาในวันทางานปกติ เวลาสว่ นทเ่ี กินดังกล่าวนายจ้างตอ้ งจ่ายค่าแรงใหแ้ กล่ กู จ้างในอตั ราไม่นอ้ ยกวา่ หนึ่งเท่าครึ่งของค่าแรงงานในอตั ราปกติ 2. อตั ราคา่ แรงงานลว่ งเวลาในวันหยุด แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคอื 2.1 ทางานล่วงเวลาในวันหยดุ ซึง่ อย่ใู นช่วงเวลาทาการปกติ เชน่ เวลาทาการปกติ คอื วนั จันทร์ ถึง วนั ศกุ ร์ เวลา 08.00 – 17.00 น. แต่หากพนักงานทางานในวันเสาร์ หรืออาทติ ย์ ในช่วงเวลา 08.00 – 17.00 น. ชว่ งเวลาดังกลา่ วถอื เปน็ ค่าแรงล่วงเวลาในวนั หยดุ ซึง่ อยูใ่ นช่วงเวลาปกติ นายจ้างตอ้ งจา่ ยคา่ แรงให้แกล่ ูกจ้างในอัตราไม่นอ้ ยกว่า 2เท่าของคา่ แรงงานในอัตราปกติ 2.2 ทางานล่วงเวลาในวันหยุดซึง่ อย่ใู นชว่ งเกินกว่าเวลาทาการปกติ เชน่เวลาทาการปกติ คอื วนั จันทร์ ถงึ วันศุกร์ เวลา 08.00 – 17.00 น. แตท่ างานในวันเสาร์หรอื อาทติ ย์ ในชว่ งเวลาหลงั 17.00 น. ช่วงเวลาดังกลา่ วถือเป็นค่าแรงล่วงเวลาในวันหยุดซึ่งเกินกวา่ ช่วงเวลาทาการปกติ นายจ้างตอ้ งจ่ายคา่ แรงให้แก่ลูกจา้ งในอัตราไม่น้อยกวา่ 3 เทา่ของคา่ แรงงานในอัตราปกติตัวอย่างท่ี 2 บริษทั เควิน จากัด ไดก้ าหนดเวลาทางานปกติของพนกั งาน คือ ทางานตงั้ แตว่ ันจนั ทร์ ถึงวันเสาร์ ชว่ งเวลา 08.00 – 17.00 น. (พักเทย่ี ง 1 ช.ม.) ดังนั้นเวลาทาการปกติเทา่ กับวนั ละ8 ช่ัวโมงๆละ 20 บาท นายปิยะ ซึ่งเปน็ พนกั งานฝา่ ยผลิตของบริษัทได้ทางานประจาสัปดาห์สดุ ทา้ ยของเดือน ดังนี้ วันทางาน เวลาทางาน ชวั่ โมงทางาน จันทร์ 09.00 – 17.00 7 องั คาร 08.00 – 20.00 11 12 พุธ 08.00 – 21.00 12 12 พฤหัสบดี 08.00 – 21.00 12 14 ศกุ ร์ 08.00 – 21.00 เสาร์ 08.00 – 21.00 อาทติ ย์ 08.00 – 23.00การคานวณคา่ แรงขั้นตน้ ของนายปิยะ เปน็ ดังนี้ 69

วันทางาน ชว่ั โมงการทางาน ช่วั โมงทางานลว่ งเวลา ชั่วโมงทางานล่วงเวลา ช่วั โมงทางานลว่ งเวลา ในวนั ทาการปกติ ในวันหยุดซึ่งอยู่ใน ในวนั หยดุ ซึง่ อยูใ่ นชว่ ง 1 เทา่ ครึ่ง ชว่ งเวลาทาการปกติ เกินกวา่ เวลาทาการ 2 เท่า ปกติ 3 เทา่จันทร์ 7 - - -อังคาร 8 3 - -พธุ 8 4 - -พฤหสั บดี 8 4 - -ศุกร์ 8 4 - -เสาร์ 8 4 - -อาทิตย์ - - 8 6รวม 47 19 8 6คา่ แรงงานปกติ (47 X 20) 940 บาทค่าแรงงานลว่ งเวลาในวันทาการปกติ (19 X 20 X 1.5) 570บาทค่าแรงงานล่วงเวลาในวันหยดุ ซึ่งอยใู่ นช่วงเวลาทาการปกติ (8 X 20 X 2) 320บาทค่าแรงงานล่วงเวลาในวันหยุดซึ่งอยู่ในช่วงเกินกวา่ เวลาทาการปกติ (6 X 20 X 3) 360บาทรวมคา่ แรงงานข้ันต้น 2,190บาท - คา่ แรงงานสุทธิ (Net Payrolls) การคานวณคา่ แรงงานของพนักงาน ไม่ว่าจะจ่ายตามช่วั โมงการทางาน รายชิ้นงานทผ่ี ลิต หรอื เงนิ เดือน นายจา้ งจาเปน็ ตอ้ งหักภาษี ณ ท่ีจ่าย จากค่าจ้างที่จ่ายให้แก่พนกั งานเพือ่ นาส่งกรมสรรพากร ซึ่งภาษีหกั ณ ที่จ่ายของลกู จ้างแต่ละคนจะมีจานวนท่ีแตกตา่ งกันไปตามจานวนรายได้ สถานภาพ และกิจกรรมต่างๆท่จี ะได้รับสิทธิ เชน่ คูส่ มรส 70

บตุ ร บุพการี ประกนั ชวี ิต กองทุนสารองเลีย้ งชีพ ประกันสังคม เงนิ บรจิ าค เป็นต้น ดงั นั้นค่าแรงงานสทุ ธิ คอื ค่าแรงงานขั้นต้น หัก ภาษีหกั ณ ท่จี ่าย,เงนิ ประกันสังคม ฯลฯการบันทกึ บญั ชี เป็นดงั นี้เดบิต คา่ แรงงาน XXเครดิต คา่ แรงงานค้างจา่ ย XX ภาษีหกั ณ ท่ีจ่าย XX ประกนั สังคมค้างจ่าย XX(บนั ทึกคา่ แรงงาน)-----------------------------------------------------------เดบิต งานระหวา่ งผลิต(ตรง) XXค่าใชจ้ ่ายการผลิต(อ้อม) XXเครดิต คา่ แรงงาน XX(จาแนกคา่ แรงงาน)-----------------------------------------------------------เดบิต ค่าแรงงานค้างจ่าย XXเครดิต เงนิ สด XX(จ่ายคา่ แรงงาน)-----------------------------------------------------------เดบิต ภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย XXเครดิต เงนิ สด XX(จ่ายภาษีหัก ณ ทจ่ี ่าย)-----------------------------------------------------------เดบิต ประกันสงั คมค้างจ่าย XXประกันสงั คม XXเครดิต เงนิ สด XX(จ่ายเงนิ ประกันสงั คม)ตวั อย่างที่ 3 บริษัท บางนาตกแต่ง จากัด ได้ทาการสรุปจานวนเงินเดือน และค่าแรงงานของพนักงานในแผนกตกแต่ง สิน้ หรบั สิ้นสดุ 31 ธนั วาคม 25X1 ดังนี้ 71

ชือ่ – สกุล ตาแหน่ง อตั ราเงินเดือนและค่าแรง จานวนช่ัวโมงการทางาน หวั หนา้ แผนกนายมาโนช สีเหลอื ง 30,000 -นายมานะ สีน้าเงิน คนงาน 100 บาท/ช.ม. 45นางมานี สีแดง คนงาน 100 บาท/ช.ม. 48นายมานน่ั สีเขียว คนงาน 100 บาท/ช.ม. 40จากข้อมูลข้างต้นสามารถนามาจาแนกเปน็ ชั่วโมงการทางานปกติ และชว่ั โมงการทางานล่วงเวลาไดด้ งั นี้ชื่อ – สกุล จานวนชว่ั โมงการ จานวนชั่วโมงการทางานล่วงเวลา จานวนชั่วโมงการทางานล่วงเวลา ทางานปกติ (ปกต)ิ 1 เท่าครึ่ง (วนั หยุด) 2 เท่านายมาโนช สีเหลอื ง - - -นายมานะ สีน้าเงิน 40 2 3นางมานี สีแดง 40 6 2นายมานั่น สีเขียว 40 - -ขอ้ มูลเพิม่ เติม : 1. อตั ราภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย 10% ของค่าแรงงานทัง้ หมด 2. อตั ราประกันสงั คม 5% ของค่าแรงงานปกติ* คา่ ล่วงเวลาดังกล่าวเกิดจากไฟฟ้าดับ ทาใหพ้ นักงานต้องทางานล่วงเวลาเพิม่ เติมนายมาโนช งานระหว่างผลิต คา่ ใชจ้ ่ายการผลิตนายมานะ - 30,000 - 4,000(40x100) 100(2x100x0.5) 200(2x100x1) 300(3x100x1) 300(3x100x1)นางมานี 4,000(40x100) -นายมาน่ัน 600(6x100x1) 300(6x100x0.5) 200(2x100x1) 200(2x100x1) 4,000(40x100) - 13,300 30,900 72

ใบบนั ทกึ การจ่ายค่าแรง(แสดงการคานวณ) 73

การบันทกึ บัญชี เปน็ ดงั นี้- เมือ่ บนั ทึกคา่ แรงงานเดบิต ค่าแรงงาน 44,200 เครดิต คา่ แรงงานค้างจา่ ย 38,430 4,420 ภาษีเงนิ ได้ หัก ณ ท่จี ่าย 1,350 เงนิ ประกนั สงั คมค้างจ่าย- เมื่อจาแนกคา่ แรงงานเดบิต งานระหว่างผลิต(ทางตรง) 13,300ค่าใชจ้ ่ายการผลิต(ทางอ้อม) 30,900 เครดิต ค่าแรงงาน 44,200 38,430- เมือ่ จา่ ยค่าแรงงานเดบิต ค่าแรงงานค้างจ่าย 38,430 เครดิต เงนิ สดการจ่ายคา่ แรงงานในลักษณะอื่นๆ 1. ค่าแรงงานลว่ งเวลา (Overtime) 1.1 คา่ แรงงานลว่ งเวลาท่ตี ้องจา่ ย ซึ่งเปน็ ไปตามแผนงานท่ไี ด้กาหนดขึ้นไว้ล่วงหน้าจัดเปน็ “งานระหว่างผลิต”ตัวอย่างที่ 4 บริษัท สมประสงค์ จากัด มีพนักงาน 5 คน ในแตล่ ะสัปดาห์พนักงานแตล่ ะคนจะทางานตามเวลาปกติวนั ละ 8 ชวั่ โมง อัตราค่าแรงชั่วโมงละ 80 บาท นอกจากน้พี นักงานแตล่ ะคนจะทางานลว่ งเวลาอีกวันละ 3 ชัว่ โมง อตั ราค่าแรงงานชว่ั โมงละ 120 บาท(ภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย 10% และเงนิ ประกันสังคม 5%ของค่าแรงงานปกติ) ค่าแรงงานขัน้ ต้น = (5 x 8 x 80) + (5 x 3 x 120) 74

= 3,200 + 1,800 = 5,000 บาทคา่ แรงงานสุทธิ = 5,000 – (5,000 x 10%) – (3,200 x 5%) = 4,340 บาทการบนั ทกึ ค่าแรงงานเดบิต ค่าแรงงาน 5,000เครดิต คา่ แรงงานค้างจา่ ย 4,340 500 ภาษีหกั ณ ท่ีจ่าย 160 เงนิ ประกนั สังคมค้างจ่ายบนั ทึกจาแนกค่าแรงงาน 5,000 เดบิต งานระหว่างผลิต 5,000 เครดิต คา่ แรงงาน 1.2 ค่าแรงงานล่วงเวลาทต่ี ้องจา่ ย ซึง่ ไม่เป็นไปตามแผนทไ่ี ดก้ าหนดขึน้ ล่วงหน้า เชน่เครือ่ งจกั รเสีย ขาดวัตถุดิบในการผลิตอยา่ งต่อเนื่อง ค่าแรงล่วงเวลาดังกล่าวจัดเป็น“คา่ ใชจ้ ่ายการผลิต”ตัวอย่างที่ 5 บริษัท สมศักดิ์ จากดั จ้างพนักงานทาการผลิตอัตราค่าจา้ งช่วั โมงละ 70 บาท ในสปั ดาห์นีผ้ ู้จดั การโรงงานได้กาหนดให้พนักงานทางานลว่ งเวลาจานวน 6 คนๆละ 4 ชว่ั โมงเนื่องจากเมื่อตน้ สปั ดาห์บรษิ ัทประสบปญั หาขาดวตั ถดุ บิ ในการผลิต พนกั งานจานวน 6 คนดงั กลา่ วได้ทางานในชั่วโมงปกติไปแล้ว 200 ชั่วโมง (ภาษีหกั ณ ทจ่ี ่าย 10% และเงนิประกนั สังคม 5%ของค่าแรงงานปกติ) ค่าแรงงานขน้ั ต้น = (200 x 70) + (6 x 4 x 105*) = 14,000 + 2,520 = 16,520 บาท 75

* 70 x 1.5 = 105 = 16,520 – (16,520 x 10%) – (14,000 x คา่ แรงงานสุทธิ : 14,168 บาท5%) =การบันทกึ ค่าแรงงานเดบิต คา่ แรงงาน 16,520เครดิต คา่ แรงงานค้างจ่าย 14,168 1,652 ภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย 700 เงนิ ประกันสังคมค้างจ่ายบันทึกจาแนกค่าแรงงานเดบิต งานระหวา่ งผลิต(200+24)x(70x1) 15,680ค่าใช้จ่ายการผลิต 24x(70x0.5) 840เครดิต ค่าแรงงาน 16,520 2. เงนิ โบนัสใหแ้ กพ่ นักงาน(Bonus) จดั เป็น “ค่าใช้จ่ายการผลิต”ตัวอยา่ งที่ 6 บริษทั อารมณ์ จากดั ได้ประมาณเงนิ โบนัสใหแ้ ก่พนักงานตอนสิ้นปี 25X1เทา่ กบั 300,000 บาท และในเดือนมกราคมน้บี ริษัทจะตอ้ งจ่ายเงนิ เดือนให้แก่พนกั งานทั้งสิ้นเปน็ เงนิ 100,000 บาท(ภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย 10% และเงนิ ประกันสังคม 5%ของค่าแรงงานปกติ)การบันทกึ ค่าแรงงานเดบิต ค่าแรงงาน 100,000เครดิต คา่ แรงงานค้างจ่าย 85,000 10,000 ภาษีหกั ณ ท่ีจ่าย 5,000 เงนิ ประกนั สังคมค้างจ่ายบนั ทึกจาแนกค่าแรงงาน 76

เดบิต งานระหวา่ งผลิต 100,000คา่ ใช้จ่ายการผลิต( 300,000 ) 25,000 100,000 12เครดิต ค่าแรงงาน เงนิ สารองโบนัสแกพ่ นกั งาน 25,000บันทึกล้างเงนิ สารองโบนัสแกพ่ นักงาน 300,000 เดบิต เงนิ สารองโบนัสแก่พนักงาน 300,000 เครดิต เงนิ สด3. วันหยุดพกั ผ่อนประจาปี(Vacation Pay) จัดเปน็ “ค่าใช้จ่ายการผลิต”ตวั อยา่ งที่ 7 บริษทั จารีต จากดั จ่ายคา่ แรงงานให้กบั พนกั งานคนหนึง่ เดือนละ 14,000 บาทและให้พนักงานดังกล่าวได้มีสิทธิหยดุ ลาพกั ร้อนปีละ 9 วัน(ภาษีหัก ณ ท่ีจา่ ย 10% และเงนิประกนั สังคม 5%ของค่าแรงงานปกติ) กาหนดให้ 1 ปีมี 365 วันการบันทกึ ค่าแรงงานเดบิต คา่ แรงงาน 14,000เครดิต คา่ แรงงานค้างจ่าย 11,900 ภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย 1,400 เงนิ ประกนั สังคมค้างจ่าย 700บนั ทกึ จาแนกค่าแรงงานเดบิต งานระหวา่ งผลิต 14,000คา่ ใช้จ่ายการผลิต(14,000 x 9 ) 345.21 365เครดิต คา่ แรงงาน 14,000 เงนิ สารองหยุดพักผ่อนแกพ่ นักงาน 345.21ตัวอย่างที่ 8 จากตวั อย่างท่ี 7 หากสมมุติวา่ พนกั งานดังกล่าวขอใช้สิทธิลาหยดุ 1 วนั ในเดือนมีนาคมการลงบันทกึ บัญชีเกี่ยวกบั การจ่ายค่าแรงงานในเดือนมีนาคมจะเป็นดังนี้ การบันทกึ ค่าแรงงาน 77

เดบิต ค่าแรงงาน 14,000เครดิต ค่าแรงงานค้างจา่ ย 11,900 1,400ภาษีหกั ณ ท่ีจ่าย 700เงนิ ประกนั สังคมค้างจ่ายบนั ทึกจาแนกค่าแรงงานเดบิต งานระหว่างผลิต 13,539.72ค่าใช้จา่ ยการผลิต(14,000 x 9 ) 345.21 365เงนิ สารองหยุดพักผ่อนแก่พนกั งาน 115.07*เครดิต คา่ แรงงาน 14,000* 345.21 x 12 = 4,142.52 บาท4,142.52 = 460.28 บาท 9460.28 – 345.21 = 115.07 บาท เหตผุ ลที่งานระหวา่ งผลติ ลดลงในเดือนท่ีพนกั งานลาหยดุ เพราะพนกั งานทางานไม่เตม็ เดือน 4. สวัสดิการต่างๆ (Welfare) เช่น คา่ อาหารกลางวัน, ค่ารกั ษาพยาบาล,ค่าจา้ งรถรบั สง่จดั เป็น“คา่ ใชจ้ ่ายการผลิต”ตัวอยา่ งที่ 9 บริษทั บึงกุ่ม จากัด มีสวัสดิการทใ่ี ห้แกพ่ นกั งานฝ่ายผลิตประจาเดือนตุลาคม25x1 คอืคา่ เชา่ รถจานวน 120,000 บาท และค่าอาหารกลางวัน 50,000 บาทการบันทกึ ค่าแรงงาน 170,000 เดบิต ค่าใช้จ่ายการผลิต 170,000 เครดิต เงนิ สด 5. เงนิ ชดเชยเมื่อออกจากงาน(Severance Pay) จดั เปน็ “ค่าใช้จ่ายการผลิต”ตวั อยา่ งที่ 10 บริษัท สุริยา จากัด จา่ ยค่าแรงงานโดยเฉลีย่ ตอ่ เดือนๆละ 250,000 บาท และกิจการมีนโยบายให้เงินชดเชยแก่พนักงานเมื่อออกจากงานโดยจะเก็บเดือนละ 5% (ภาษีหัก ณทจ่ี ่าย 10% และเงนิ ประกนั สังคม 5%ของคา่ แรงงานปกติ) 78

บันทึกจาแนกค่าแรงงาน เดบิต ค่าแรงงาน 250,000 เครดิต คา่ แรงงานค้างจา่ ย 212,500 ภาษีหัก ณ ท่ีจา่ ย 25,000 ประกนั สงั คมค้างจา่ ย 12,500บนั ทึกจาแนกค่าแรงงาน เดบิต งานระหว่างผลิต 250,000 ค่าใชจ้ ่ายการผลิต(250,000 x 5%) 12,500 เครดิต ค่าแรงงาน 250,000 เงนิ สารองพนักงานออกจากงาน 12,500บนั ทึกจ่ายเงนิ ชดเชยเมือ่ พนกั งานออกจากงาน(สมมุติจ่าย 400,000 บาท) เดบิต เงนิ สารองพนักงานออกจากงาน 400,000 เครดิต เงนิ สด 400,000สรปุ การบันทึกบญั ชีเกยี่ วกบั ค่าแรงงานรายการ การบันทกึ บัญชีบันทึกค่าแรงงาน เดบิต ค่าแรงงาน XX เครดิต คา่ แรงงานค้างจ่าย XX ภาษีหัก ณ ที่จ่าย XX ประกันสังคมค้างจ่าย XXบนั ทึกจาแนก เดบิต งานระหวา่ งผลิต(ตรง) XXคา่ แรงงาน คา่ ใช้จา่ ยการผลิต(ออ้ ม) XX เครดิต ค่าแรงงาน 79

XXบันทึกจ่ายค่าแรงงาน เดบิต คา่ แรงงานค้างจ่าย XXเป็นเงนิ สด เครดิต เงนิ สดบนั ทึกจ่ายภาษีหัก ณทจ่ี ่าย เปน็ เงนิ สด XXบนั ทึกจ่ายเงนิ เดบิต ภาษีหัก ณ ท่จี ่าย XXประกันสังคมเปน็ เงนิสด เครดิต เงนิ สด XX เดบิต ประกนั สงั คมค้างจ่าย XX ประกนั สงั คม XX เครดิต เงนิ สด XX 80


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook