คำนำ รายงานประจาปี 2562 ฉบับน้ี สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จัดทาขึ้น เพ่ือสรุปผลการดาเนินงานตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมายในรอบปี ซึ่งมุ่งเน้นการดาเนินงานที่สอดคล้อง ตามนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายสาคัญของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน โดยใชโ้ ครงการและกิจกรรมตา่ ง ๆ เปน็ เครื่องมอื ในการขบั เคลอ่ื นและผลกั ดนั การดาเนนิ งานต่าง ๆ ใหส้ าเร็จตามเป้าหมาย คือ การพฒั นาใหน้ ักเรยี นได้รับการศกึ ษาอย่างทั่วถึงและมคี ุณภาพ รายงานประจาปี 2562 ของสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 เป็นการนาเสนอ ความสาเร็จในภาพรวม ความสาเร็จท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วมของหน่วยงาน สถานศึกษาและบุคลากรทุกฝ่าย ท่ีเก่ียวข้อง ทาให้เอกสารฉบับน้ีสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี ขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มท่ีให้ความร่วมมือ ในการบริหารจัดการศึกษา และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเน้ือหาสาระข้อมูลต่าง ๆ ที่ปรากฏในเอกสารนี้ จะอานวย ประโยชน์ตอ่ การบริหารจัดการและพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานใหเ้ จริญก้าวหน้าตอ่ ไป (นายประจักษ์ สหี ราช) ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 ตุลาคม 2562
สารบญั หนา้ คานา สารบัญ ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน 1 1. ความเปน็ มาและอานาจหน้าทข่ี องสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา 1 สว่ นที่ 2 2. ภารกิจของสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 4 3. สภาพท่ัวไป 6 ส่วนท่ี 3 6 ส่วนท่ี 4 - จังหวดั ลาพูน 8 คณะผูจ้ ัดทา - จังหวดั ลาปาง 10 - สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 25 ผลการดาเนินงาน 25 - นโยบายในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 40 - การดาเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 54 - การดาเนนิ งานโครงการของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ในสว่ นของสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 68 รายงานการบรหิ ารงบประมาณ 72 ทิศทางการดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
สารบัญตาราง ตารางที่ 1 แสดงจานวนสถานศกึ ษาในสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา หน้า ตารางที่ 2 เขต 35 ปกี ารศกึ ษา 2562 11 ตารางท่ี 3 แสดงจานวนบคุ ลากรของสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 13 ตารางท่ี 4 ปกี ารศึกษา 2562 14 ตารางท่ี 5 15 ตารางท่ี 6 แสดงข้อมูลพ้นื ฐานโรงเรยี นในสงั กดั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา 15 เขต 35 ปีการศกึ ษา 2562 16 ตารางท่ี 7 แสดงจานวนสถานศึกษาในสังกัดสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 17 ตารางท่ี 8 สรุปข้อมูลพน้ื ฐานภาพรวมของสถานศกึ ษาในสังกดั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา 17 ตารางท่ี 9 มัธยมศึกษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 ตารางที่ 10 แสดงจานวน และ รอ้ ยละของนักเรียนรายชน้ั เพศ ห้องเรียน และจานวนนกั เรียน 18 ตอ่ ห้องเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 19 ตารางที่ 11 ปีการศึกษา 2562 จาแนกรายจังหวัด และ ภาพรวมระดับเขตพน้ื ท่ี แสดงจานวนโรงเรียน จานวนนักเรียน จานวนครู จานวนห้องเรยี น อัตราส่วน 20 นักเรยี นต่อห้อง อัตราส่วนนกั เรียนตอ่ ครู ตามขนาดของโรงเรียน สังกดั สานักงานเขต พ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศกึ ษา 2562 รายจังหวดั และภาพรวม ระดับเขตพ้ืนท่ี แสดงจานวนนักเรียนต่อประชากรวยั เรยี น จาแนกรายชนั้ สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 รายจงั หวัด และภาพรวม ระดับเขตพน้ื ท่ี แสดงจานวนนกั เรยี นดอ้ ยโอกาสของโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา มัธยมศึกษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 แสดงจานวนนักเรยี นที่ออกกลางคนั จาแนกตามช้ัน เพศ และสาเหตุ ของโรงเรยี น ในสังกดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปีการศกึ ษา 2561 ราย จงั หวัด และ ภาพรวมระดับเขตพน้ื ที่ แสดงจานวนนกั เรียนพิการเรียนร่วม สังกดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปีการศกึ ษา 2562 รายจังหวดั และภาพรวมระดบั เขตพ้นื ที่
สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้ ตารางท่ี 12 แสดงจานวนนักเรยี นท่จี บการศกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ทศี่ กึ ษาตอ่ /ประกอบอาชพี 21 ตารางท่ี 13 จาแนกตามเพศ สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศกึ ษา 22 ตารางที่ 14 2561 รายจังหวัด และ ภาพรวมระดับเขตพื้นท่ี 23 ตารางที่ 15 แสดงจานวนนกั เรยี นที่จบการศกึ ษาชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ทีศ่ ึกษาตอ่ /ประกอบอาชพี 23 จาแนกตามเพศ สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศึกษา ตารางที่ 16 2561 รายจังหวัด และ ภาพรวมระดบั เขตพื้นท่ี 24 ตารางที่ 17 แสดงจานวนข้าราชการครูในสถานศึกษาที่ปฏบิ ตั งิ านอยู่จริง จาแนกตามวทิ ยฐานะ 24 ตารางที่ 18 และวุฒิการศึกษา 24 ตารางที่ 19 แสดงผลการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโดยยดึ ถอื ภารกิจ 68 ตารางที่ 20 และพนื้ ทปี่ ฏบิ ัตงิ านเปน็ ฐานด้วยระบบ TEPE Online หลักสูตรการพฒั นาครูผู้ชว่ ย 70 ตารางท่ี 21 ให้ได้รับการเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งครู 71 ร่นุ ที่ 1 ประจาปี 2562 สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ร้อยละผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 และ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัด สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 ปีการศึกษา 2561 รายจังหวัด และ ภาพรวมระดบั เขตพนื้ ท่ี เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รวม ร้อยละผลการทดสอบระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 และชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 สังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 35 ปีการศึกษา 2560 – 2561 เปรียบเทียบค่าเฉลย่ี รวม รอ้ ยละผลการทดสอบระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 35 ปีการศึกษา 2558 – 2561 เปรียบเทียบงบประมาณทไี่ ด้รับจัดสรร ประจาปงี บประมาณ 2561 – 2562 ของสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 (รวมโรงเรียนหนว่ ยเบกิ ) ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป รี ย บ เที ย บ ผ ล ก า ร เบิ ก จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ กั บ เป้ า ห ม า ย ก า ร ใช้ จ่ า ย งบ ป ร ะม า ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
สารบญั แผนภูมิ หนา้ แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงเปรียบเทียบงบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร ประจาปงี บประมาณ 2561 – 2562 69 แผนภูมทิ ี่ 2 ของสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 (รวมโรงเรยี นหนว่ ยเบิก) 69 แผนภูมทิ ี่ 3 แสดงรอ้ ยละของงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จาแนกตามงบ 70 แผนภมู ทิ ี่ 4 รายจ่าย 71 แสดงผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จาแนกตามงบรายจา่ ย แสดงการเปรยี บเทยี บผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณกับเป้าหมายการใช้จา่ ย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ ฐาน
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐาน ความเปน็ มาและอานาจหน้าทีข่ องสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง การกาหนดเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ได้กาหนดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และท่ีตั้งของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เพื่อบริหารและจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานระดับมัธยมศึกษา จานวน 42 เขต โดยเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 ประกอบด้วย ท้องที่จังหวัดลาปางและลาพูน ให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ตั้งอยู่ที่อาเภอเมืองลาปาง ซึ่งสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเฉพาะแต่ระดับมัธยมศึกษาท่ีตั้งอยู่ ในเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาใดตามประกาศนี้ ให้ไปสงั กดั เขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาเขตนั้น ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พ.ศ. 2560 ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ข้อ 5 ให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีอานาจหน้าท่ี ดาเนินการให้เป็นไปตามอานาจหน้าท่ีของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ และมอี านาจหน้าทีด่ ังตอ่ ไปนี้ 1. จัดทานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศกึ ษา แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน และความต้องการของท้องถ่นิ 2. วิเคราะห์การจัดต้ังงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพื้นท่ีการศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกากับ ตรวจสอบ ติดตามการใช้จ่าย งบประมาณของหนว่ ยงานดังกลา่ ว 3. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพฒั นาหลกั สูตรร่วมกบั สถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา 4. กากับ ดแู ล ตดิ ตาม และประเมินผลสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและในเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา 5. ศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาในเขตพ้ืนที่การศกึ ษา 6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดและ พัฒนาการศึกษาในเขตพืน้ ที่การศึกษา 7. จัดระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศึกษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา 8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอ่ืนที่จัดการศึกษา รูปแบบที่หลากหลายในเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา 9. ดาเนินการและประสาน สง่ เสรมิ สนับสนุนการวิจยั และพฒั นาการศกึ ษาในเขตพ้นื ที่การศึกษา 10. ประสาน ส่งเสริม การดาเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทางาน ดา้ นการศึกษา 11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น 12. ปฏบิ ัติงานร่วมกบั หรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหน่วยงานอืน่ ท่เี กย่ี วข้องหรือท่ีได้รับมอบหมาย รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 1
ทำเนยี บผู้บรหิ ำร สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำ เขต 35 นายประจกั ษ์ สหี ราช ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 นายจิรวัฒน์ ปัญญา รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 2
โครงสร้างสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 ผ้อู ำนวยกำร สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 35 คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) รองผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ สานักงานเขตพ้นื ที่ สานกั งานเขตพ้นื ที่ สานกั งานเขตพ้นื ที่ การศึกษามธั ยมศกึ ษา การศึกษามัธยมศกึ ษา การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 เขต 35 เขต 35 กลุ่มกฎหมาย หนว่ ย กลุ่มบริหาร กลุ่มนโยบาย กลุ่ม กลมุ่ นิเทศ กลุ่มส่งเสริม และคดี งานการเงิน และแผน บริหารงาน ติดตาม การจดั ตรวจสอบ และสินทรัพย์ ประเมนิ ผลการ การศึกษา ภายใน บคุ คล จดั การศึกษา กลุ่ม กลุ่มพฒั นาครู กลุ่มส่งเสริม อานวยการ และบคุ ลากร การศึกษา ทางการศึกษา ทางไกลฯ สหวทิ ยาเขต สถานศึกษาในสังกดั เครือข่ายส่งเสรมิ ประสิทธิภาพจังหวดั ศนู ยพ์ ัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 3
ภารกิจของสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 วสิ ยั ทศั น์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 เป็นองค์กรคุณธรรม ทันสมัย ผู้นาด้านคุณภาพ การศกึ ษา โดยการบรหิ ารจัดการแบบบรู ณาการ ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกจิ 1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ 2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันโดยพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้ ทกั ษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ติ ทักษะวิชาชพี คณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี 21 3. ส่งเสริมการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็นมืออาชีพ 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างทว่ั ถงึ และเทา่ เทยี ม 5. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปา้ หมายโลกเพอ่ื การพฒั นาทยี่ ่ังยนื (SDGs) 6. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการแบบบูรณาการ และส่งเสรมิ ให้ทุกภาคส่วนมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะและคุณลักษณะ ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะท่ีเหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง และปรับตัว เป็น พลเมืองและพลโลกทดี่ ี 2. ผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นท่ีห่างไกล ทุรกันดารได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ พร้อมก้าวสู่สากล ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3. ครูเป็นผู้เรียนรู้ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความแม่นยาทางวิชาการ และมีทักษะการจัดการเรียนรู้ ที่หลากหลายตอบสนองผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล เปน็ ผู้สร้างสรรคน์ วตั กรรม และทักษะในการใช้เทคโนโลยี 4. ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มีภาวะผู้นาทางวิชาการ มสี านกึ ความรับผดิ ชอบ (Accountability) และการบริหารแบบร่วมมอื 5. สถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารงานและจัดการเรียนรู้ ร่วมมือกับชุมชน ภาคเอกชน และ ผู้เก่ียวข้องในการจัดการศึกษาระดับพื้นท่ี จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพ่ือการเรียนรู้ในทุกมิติ เป็นโรงเรียน นวตั กรรม 6. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีการบริหารงานเชิงบูรณาการ เป็นสานักงานแห่งนวัตกรรมยุคใหม่ ใช้ข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยและพัฒนาในการขับเคลื่อนคุณภาพ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผล อย่างเป็นระบบ รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 4
คา่ นยิ ม : “I – SMART” : Integrated = เน้นบูรณาการ I : System = ทางานอย่างเป็นระบบ S : Moral = คน้ พบคุณธรรม M : Achievement = มงุ่ นาผลสาเร็จ A : Responsibility = งานเสร็จด้วยความรบั ผดิ ชอบ R Technology = รอบรู้เทคโนโลยี T กลยทุ ธ์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้วางกลยุทธ์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน จานวน 6 กลยุทธ์ ดงั นี้ กลยุทธท์ ่ี 1 การจัดการศกึ ษาเพือ่ ความม่นั คง กลยุทธ์ที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธท์ ่ี 3 ส่งเสริมการพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็นมอื อาชีพ กลยุทธท์ ี่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียม การเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษา กลยทุ ธท์ ี่ 5 การจดั การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม กลยทุ ธท์ ่ี 6 การพัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นมีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 5
สภาพทั่วไป พื้นที่จังหวัดที่สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 รับผิดชอบดูแลในการจัดการศึกษา ในระดบั มัธยมศึกษา ประกอบด้วย จังหวัดลาพนู และจังหวดั ลาปาง มีสภาพทั่วไป ดงั น้ี จงั หวัดลาพนู จังหวัดลาพูน ต้ังอยู่ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 (สายเอเชีย) เป็นระยะทาง 689 กิโลเมตรตามทางหลวงแผ่นดินสายพหลโยธิน เป็นระยะทาง 724 กิโลเมตร และตามทางรถไฟ 729 กิโลเมตรตัง้ อย่รู ะหว่างเส้นรุ้งที่ 18 องศาเหนอื และเสน้ แวง ที่ 99 องศาตะวนั ออกอยใู่ นกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน อย่หู ่างจากจังหวัดเชียงใหม่เพียง 22 กิโลเมตรเป็นพ้ืนท่ี ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางความเจริญของภาคเหนือตอนบนและอนุภูมิภาค ลุ่มน้าโขง หรือพื้นที่ ส่เี หลี่ยมเศรษฐกจิ รว่ มกับ จงั หวัดเชยี งใหม่มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวดั ขา้ งเคยี ง ดงั นี้ ทศิ เหนือ : ติดต่อกบั จงั หวดั เชียงใหม่ ทิศตะวนั ออก : ตดิ ตอ่ กับ จงั หวัดลาปาง ทิศใต้ : ตดิ ต่อกบั จังหวัดลาปาง จังหวัดตาก ทิศตะวันตก : ตดิ ตอ่ กับ จงั หวัดเชียงใหม่ สภาพทางภมู ศิ าสตร์ จังหวัดลาพูน เป็นจังหวัดที่เล็กท่ีสุดของภาคเหนือ มีพ้ืนที่ทั้งหมด 4,505,882 ตารางกิโลเมตรหรือ ประมาณ 2,816,176 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 4.85 ของพ้ืนที่ภาคเหนือตอนบนบริเวณท่ีกว้างที่สุดประมาณ 43 กิโลเมตร และยาวจากเหนอื จดใต้ 136 กิโลเมตร จังหวัดลาพูน ตั้งอยู่ในเขตร้อน ค่อนไปทางเขตร้อนอบอุ่น ในฤดูหนาวจึงมีอากาศเย็นค่อนข้างหนาว แต่เนื่องจากอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดินห่างไกลจากทะเลจึงมีฤดูแล้งท่ียาวนานและอากาศจะร้อนถึงร้อนจัด ในฤดูร้อน จังหวัดลาพูนมีสภาพภูมิอากาศแตกต่างกันอย่างเด่นชัด 3 ฤดู คือ ช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน มีอากาศร้อน ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมจะมีฝนตกชุกเป็นฤดูฝน และช่วงเดือนตั้งแต่พฤศจิกายน ถึงเดอื นกุมภาพนั ธ์ มอี ากาศหนาวเย็นในฤดูหนาว จังหวัดลาพูน แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 อาเภอ 51 ตาบล 577 หมู่บ้าน 1 องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด 1 เทศบาลเมือง 39 เทศบาลตาบล 17 องค์การบริหารส่วนตาบล ได้แก่ 1. อาเภอเมืองลาพูน 2.อาเภอแม่ทา 3.อาเภอบ้านโฮ่ง 4. อาเภอลี้ 5. อาเภอทุ่งหัวช้าง 6.อาเภอป่าซาง 7. อาเภอบ้านธิ 8. อาเภอ เวยี งหนองล่อง รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 6
จังหวัดลาพูนเป็นท่ีต้ังของเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ มาตั้งแต่ปี 2558 มีโรงงานท่ีเปิดดาเนินการ ทง้ั และนอกเขตอตุ สาหกรรม มากกว่า 931 โรงงาน จึงทาใหม้ ลู ค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมของจังหวดั สาขาอตุ สาหกรรม มีมูลค่าการลงทุนรวม 71,044 ล้านบาทสูงเป็นอันดับ 1 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดลาพูน ผลิตภัณฑ์ท่ีสาคัญ ของจังหวัดลาพูน ได้แก่ สินค้าจากไม้แกะสลัก มีแหล่งผลิตที่ใหญ่ท่ีสุดในอาเภอแม่ทา ผลิตภัณฑ์จากลาไย มีการ แปรรูปจาหน่ายหลายรูปแบบ เช่น ลาไยอบแห้ง ลาไยกระป๋อง ไวน์ลาไย ฯลฯ เป็นจังหวัดท่ีปลูกลาไยมากท่ีสุด ในประเทศไทย ผลติ ภณั ฑผ์ ้าไหมยกดอก และ ผลิตภณั ฑจ์ ากผา้ ฝา้ ยและผ้าทอมอื สญั ลกั ษณ์จังหวดั ลำพูน (ตรำประจำจังหวัดลำพูน) รูปพระบรมธำตหุ ริภญุ ชัย รูปพระบรมธาตหุ รภิ ุญชัย พระบรมธาตุหริภุญชัยซ่ึงเป็นโบราณสถานที่ศักดิ์สิทธ์ิคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดลาพูน พ้ืนสีฟ้า ปักด้วยสีทอง ตามตานานก่อสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 17 ในสมัยพญาอาทิตยราช กษัตริย์แห่งราชวงศ์ จามเทวีวงศ์ เพ่ือประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่ปรากฏข้ึนบนที่ดินในเขตพระราชฐานเดิม ลักษณะของ พระบรมธาตุฯ เป็นรูปส่ีเหลี่ยมทรงปราสาทมีการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อมาหลายคร้ังหลายสมัยจนเปล่ียนรูปทรงเปน็ เจดียฐ์ านกลมแบบลังกามีการบรู ณปฏิสังขรณ์คร้ังสาคญั ในพ.ศ.1990 สมยั พระเจ้าตโิ ลกราชกษัตริย์เมืองเชยี งใหม่ ที่ได้โปรดให้ก่อองค์พระมหาเจดีย์สูงขึ้นจากเดิมเป็น 92 ศอก อย่างท่ีเห็นในปัจจุบัน พระบรมธาตุหริภุญชัย เป็นโบราณสถานศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองลาพูนท่ีมีศรัทธาประชาชนเคารพนับถือมากจนเกิดประเพณีสาคัญ อีกอย่างหนึ่งของลาพูนคือประเพณีสรงน้าองค์พระบรมธาตุหริภุญชัย ในเดือนแปดเป็งหรือตรงกับวันข้ึน 15 ค่า เดือน 6 ของทกุ ปี คาขวญั ของจังหวดั ลาพูน “พระธาตเุ ดน่ พระรอดขลงั ลาไยดัง กระเทยี มดี ประเพณีงาม จามเทวีศรีหรภิ ญุ ชัย” ดอกไม้ประจาจังหวัดลาพูน ต้นไมป้ ระจาจังหวดั ลาพูน ชือ่ ดอกไม้ ดอกทองกวาว ชอื่ พนั ธไ์ุ ม้ จามจรุ ี รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 7
จงั หวดั ลาปาง จังหวัดลาปาง ตั้งอยู่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยห่างจากกรุงเทพฯ ตามทางหลวงแผ่นดินสาย พหลโยธิน ประมาณ 602 กิโลเมตร ตามทางรถไฟประมาณ 625 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 12,533.961 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,833,726 ไร่ มีพ้ืนที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของภาคเหนือ รองจากเชียงใหม่ ตาก แมฮ่ อ่ งสอนและเพชรบูรณ์ มีอาณาเขตตดิ ต่อกับจังหวัดข้างเคยี งถึง 7 จังหวดั ดังนี้ ทิศเหนือ : ติดต่อกบั จังหวัดเชียงใหม่ เชยี งรายและพะเยา ทศิ ใต้ : ติดตอ่ กับ จังหวดั ตาก ทศิ ตะวันออก : ตดิ ต่อกบั จังหวัดแพร่และสุโขทัย ทศิ ตะวันตก : ตดิ ต่อกับ จงั หวัดลาพนู สภาพทางภูมศิ าสตร์ จังหวัดลาปาง อยู่สูงจากระดับน้าทะเล 268.80 เมตร พ้ืนที่มีลักษณะเป็นรูปยาวรี ภูมิประเทศโดยท่ัวไป เป็นท่ีราบสูงมีภูเขาสูงอยู่ทั่วไป ทอดตัวยาวตามแนวทิศเหนือไปทางทิศใต้ของจังหวัดและในบริเวณตอนกลางของ จังหวัดบางส่วนมีท่ีราบลุ่มริมฝ่ังแม่น้า และตามลักษณะทางกายภาพทางด้านธรณีสัณฐานวิทยาจังหวัดลาปาง มีพ้ืนที่เป็นท่ีราบล้อมรอบด้วยภูเขามีลักษณะเป็นแอ่งแผ่นดินท่ียาวและกว้างที่สุดในภาคเหนือ เรียกว่ า “อ่างลาปาง” ลักษณะภูมิประเทศแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือบริเวณตอนบนของจังหวัดเป็นท่ีราบสูง ภูเขาและ เป็นป่าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า ได้แก่ พ้ืนท่ีอาเภอเมือง อาเภอแจ้ห่ม อาเภอวังเหนือ และอาเภองาว บรเิ วณตอนกลางของจงั หวดั เป็นท่รี าบและท่รี าบลุ่มรมิ ฝั่งแมน่ ้า ซงึ่ เปน็ แหลง่ เกษตรกรรมท่สี าคญั ของจงั หวัด ได้แก่ พื้นท่ีอาเภอห้างฉัตร อาเภอเมืองลาปาง อาเภอเกาะคา อาเภอแม่ทะ และอาเภอสบปราบ บริเวณตอนใต้ของ จังหวัดเป็นป่าไม้รังบางส่วนเป็นทุ่งหญ้า ได้แก่ พ้ืนท่ีอาเภอเถิน อาเภอแม่พริก บางส่วนของอาเภอเสริมงาม และ อาเภอแม่ทะ ด้วยลักษณะพ้ืนท่ีซึ่งเป็นแอ่งก้นกระทะดังกล่าว จึงทาให้มีอากาศอบอ้าวแบบฝนเมืองร้อนโดยได้รับ อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมะวันออกเฉียงเหนือ จึงมีอากาศแตกต่างกันมากตามฤดูกาล ฤดูหนาวคอ่ นขา้ งหนาวจัดฤดรู อ้ นยาวนาน จังหวัดลาปาง แบ่งการปกครองออกเป็น 13 อาเภอ 100 ตาบล 932 หมู่บ้าน 106 ชุมชน 1 องค์การ บริหารส่วนจังหวัด 1 เทศบาลนคร 3 เทศบาลเมือง 37 เทศบาลตาบล 62 องค์การบริหารส่วนตาบล ราชการ บริหารสว่ นภมู ิภาค 32 แหง่ ราชการส่วนกลาง 70 แห่ง และหนว่ ยงานอสิ ระ 25 แห่ง เศรษฐกิจของจังหวัดลาปาง มีผลผลิตทางการเกษตรที่สาคัญได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถ่ัวลิสง ถ่ัวเหลือง สับปะรด โคเนื้อ ไก่พ้ืนเมือง สุกร และปลานิล เป็นแหล่งอุตสาหกรรมเซรามิกที่มีช่ือเสียงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ โดยในปี 2556 ได้รับคัดเลือกจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ให้จังหวัดลาปาง เป็นที่หน่ึงของประเทศ ภายใต้แนวคิด “ลาปางเป็นเมืองเซรามิก”เป็นแหล่งผลิตและจาหน่ายสินค้าเซรามิก และ รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 8
หัตถอุตสาหกรรมคุณภาพดีและเป็นท่ียอมรับมากที่สุดในประเทศไทย ผลิตภัณฑ์เซรามิกได้รับการยอมรับและส่งออก ในต่างประเทศ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่ีสมบูรณ์และเป็นแหล่งต้นน้าลาธารที่สาคัญของประเทศ เป็นแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติด้านแร่ธาตุขนาดใหญ่ได้แก่ ถ่านหิน ดินขาว ป่าปลูก ไม้สัก เป็นต้น ซ่ึงเป็นวัตถุดิบสาคัญ ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เหมืองแม่เมาะ อุตสาหกรรมเซรามิก และ โรงงานปูนซิเมนต์ เป็นต้น นอกจากน้ี มีทรัพยากรท่องเที่ยวเชิงนิเวศท่ีมีความหลากหลายเป็นเอกลักษณ์ มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวสูง การท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย กาหนดนโยบายส่งเสริมการท่องเท่ียวเมืองรอง ภายใต้แนวคิด “12 เมอื งต้องห้าม ... พลาด” ซึ่งสง่ ผล ดีตอ่ การส่งเสริมการท่องเท่ียวของจังหวดั ลาปาง สญั ลกั ษณ์จังหวดั ลาปาง (ตราประจาจังหวดั ลาปาง) รปู ไก่ขาวยืนอยใู่ นซุ้มมณฑปพระธาตลุ าปางหลวง ไก่เผือกเป็นสัญลักษณ์ท่ีมีมาตั้งแต่สมัยเมืองกุกุตตนคร (ตานานเมืองลาปาง)และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ สาคัญ โดยปรากฏเคร่ืองหมายไก่เผือก คู่กับดวงตราแผ่นดินในศาลากลางเมืองลาปาง ตั้งแต่สมัยเริ่มเปล่ียน ที่ทาการเมืองจากเค้าสนามหลวงเป็นศาลากลางเมืองนครลาปาง ข้ึนในสมัยเร่ิมสร้างศาลากลางหลงั แรกเม่ือ พ.ศ. 2452 ซุ้มมณฑปที่วัดพระธาตุลาปางหลวงเป็นศิลปกรรมล้านนาที่งดงามมาก วัดพระธาตุลาปางหลวงเป็นวัด คู่บ้านคู่เมืองลาปาง มีองค์พระเจดีย์ที่บรรจุพระบรมเกศาธาตุของพระพุทธเจ้าเป็นท่ีเคารพสักการะของ พุทธศาสนิกชนทั่วโลก คาขวญั ของจังหวัดลาปาง “ถ่านหินลอื ชา รถมา้ ลอื ลัน่ เครอ่ื งป้นั ลือนาม งามพระธาตุลอื ไกล ฝึกช้างใชล้ ือโลก” ดอกไม้ประจาจังหวดั ลาปาง ต้นไม้ประจาจังหวัดลาปาง ชือ่ ดอกไม้ ดอกธรรมรักษา ชอ่ื พรรณไม้ กระเจา หรอื ขะจาว รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 9
สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ต้ังอยู่เลขท่ี 409/1 ถนนพระเจ้าทันใจ ตาบลต้นธงชยั อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณีย์ 52000 โทรศัพท์ (054) 350789-90 โทรสาร (054) 350791 Website : www.secondary35.go.th มีหน้าที่ กากับดูแล โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในพ้ืนท่ี จังหวดั ลาปาง และจงั หวดั ลาพูน จานวนโรงเรียนในสงั กัดมจี านวนท้ังสนิ้ 45 โรงเรียน ประกอบด้วย จงั หวัดลาปาง 30 โรงเรียน และจังหวัดลาพูน 15 โรงเรียน โดยมีศูนย์ประสานงานการจัดการมัธยมศึกษา เขต 35 จังหวัดลาพนู ตัง้ อยู่ ณ เลขท่ี 221 หมู่ 3 ตาบลเวยี งยอง อาเภอเมอื งลาพนู จังหวดั ลาพูน ไดป้ ระกาศจดั ต้ังขน้ึ ในปี พ.ศ. 2558 เพ่ืออานวยความสะดวกและให้บริการแก่บุคลากรทางการศึกษา ในเขตจังหวัดลาพูน อันเป็นการช่วยประหยัด ค่าใช้จ่ายในการเดินทางมายังสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามั ธยมศึกษา เขต 35 ซึ่งต้ังอยู่ใน อ.เมือง จ.ลาปาง จานวนโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 สามารถแยกเป็นรายจังหวัด และรายอาเภอ ดงั น้ี ตารางท่ี 1 แสดงจานวนสถานศึกษาในสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศึกษา 2562 (ข้อมลู 10 มถิ นุ ายน 2562) จงั หวัด อำเภอ จำนวนโรงเรยี น 4 เมอื งลำพนู 2 แมท่ ำ 1 2 ลำปำง ลำ ูพน ทงุ่ หัวชำ้ ง 1 บำ้ นโฮ่ง 3 2 บ้ำนธิ 15 ปำ่ ซำง ลี้ 7 2 รวม จ.ลำพูน 2 4 เมอื งลำปำง 1 เกำะคำ 1 2 เถิน 3 เมอื งปำน เสริมงำม 1 2 แจ้หม่ 1 แมเ่ มำะ 1 แมท่ ะ 3 30 แมพ่ ริก 45 งำว วังเหนือ สบปรำบ หำ้ งฉตั ร รวม จ.ลำปำง รวม สพม.35 รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 10
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้กาหนดสหวิทยาเขตในสังกัดเพื่อส่งเสริมสนับสนุน ให้การบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งส้ินจานวน 7 สหวิทยาเขต ประกอบด้วย สหวิทยาเขตในจังหวัดลาพูนจานวน 3 สหวิทยาเขต และ สหวิทยาเขตในจังหวัด ลาปาง จานวน 4 สหวิทยาเขต ดังน้ี สหวิทยาเขตในจงั หวัดลาปาง สหวิทยาเขตในจงั หวัดลาพูน จานวน 4 สหวทิ ยาเขต จานวน 3 สหวทิ ยาเขต 1. สหวทิ ยาเขตบญุ วาทย์ ประกอบดว้ ย 1. สหวทิ ยาเขตหริภญุ ชยั ประกอบด้วย 1) โรงเรยี นบญุ วาทย์วิทยาลยั 1) โรงเรยี นจกั รคาคณาทร จงั หวัดลาพูน 2) โรงเรียนเสดจ็ วนชยางคก์ ลู วทิ ยา 2) โรงเรียนอโุ มงคว์ ิทยาคม 3) โรงเรียนแม่เมาะวทิ ยา 3) โรงเรียนป่าตาลบา้ นธิพทิ ยา 4) โรงเรยี นก่วิ ลมวิทยา 4) โรงเรยี นแมท่ าวิทยาคม 5) โรงเรยี นสบจางวทิ ยา 5) โรงเรยี นทาขุมเงนิ วทิ ยาคาร 6) โรงเรยี นประชารฐั ธรรมคุณ 2. สหวิทยาเขตจามเทวี ประกอบด้วย 7) โรงเรยี นเมอื งมายวทิ ยา 1) โรงเรียนปา่ ซาง 8) โรงเรยี นประชาราชวทิ ยา 2) โรงเรียนวชิรปา่ ซาง 2. สหวทิ ยาเขตกัลยา ประกอบดว้ ย 3) โรงเรียนนา้ ดบิ วทิ ยาคม 4) โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลาพูน 1) โรงเรียนลาปางกลั ยาณี 5) โรงเรียนบา้ นแปน้ พทิ ยาคม 2) โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการเขลางค์นคร 3. สหวิทยาเขตศรีวชิ ัย ประกอบด้วย 3) โรงเรยี นโป่งหลวงวิทยา รัชมังคลาภเิ ษก 4) โรงเรียนหา้ งฉตั รวิทยา 1) โรงเรียนเวยี งเจดียว์ ิทยา 5) โรงเรยี นเวยี งตาลพทิ ยาคม 2) โรงเรยี นแม่ตนื วทิ ยา 6) โรงเรียนแมส่ นั วิทยา 3) โรงเรียนทงุ่ หัวชา้ งพทิ ยาคม 3. สหวิทยาเขตเถนิ บรุ ินทร์ ประกอบด้วย 4) โรงเรยี นธรี กานทบ์ า้ นโฮง่ 1) โรงเรียนแม่ทะวทิ ยา 5) โรงเรียนบา้ นโฮ่งรัตนวิทยา 2) โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคี 3) โรงเรียนแมท่ ะพัฒนศกึ ษาคม 4) โรงเรยี นไหลห่ ินวทิ ยา 5) โรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม 6) โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 7) โรงเรยี นสบปราบพทิ ยา 8) โรงเรียนเถนิ วทิ ยา 9) โรงเรยี นเวียงมอกวทิ ยา 10) โรงเรียนแม่พริกวทิ ยา 4. สหวิทยาเขตพญาวงั ประกอบดว้ ย 1) โรงเรยี นแจห้ ่มวทิ ยา 2) โรงเรียนวงั เหนือวทิ ยา 3) โรงเรยี นเมืองปานพฒั นวิทย์ 4) โรงเรียนเมืองปานวทิ ยา 5) โรงเรียนทุ่งอดุ มวิทยา 6) โรงเรยี นทงุ่ กว๋าววทิ ยาคม รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 11
ขอ้ มูลบุคลากรของสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 บุคลากรของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีจานวนท้ังส้ิน 67 คน ประกอบด้วย บุคลากรตาแหน่งต่าง ๆ ดังแสดงในตารางดงั น้ี ตารางที่ 2 แสดงจานวนบุคลากรของสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 (ข้อมูล 10 มถิ ุนายน 2562) ตำแหน่ง/กลมุ่ ผบู้ ริหำร บคุ ลำกร บุคลำกร พนักงำน ลกู จ้ำง ลูกจ้ำง รวม ชำย เพศ รวม ผ้อู ำนวยกำรเขตสำนักงำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำ 38(1) 38(2) รำชกำร ประจำ ช่วั ครำว (คน) หญิง 1 11 1 รองผ้อู ำนวยกำรสำนักงำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำ 1 11 1 กลุม่ อำนวยกำร 4 1 7 12 7 5 12 กล่มุ นโยบำยและแผน 6 6 66 3 3213 กลุ่มส่งเสริมกำรศกึ ษำทำงไกล 6 17167 เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสอ่ื สำร กลุ่มบริหำรงำนกำรเงนิ และสนิ ทรัพย์ กล่มุ บริหำรงำนบุคคล 72 9549 กลุ่มพฒั นำครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ 1 12 22 กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตำม และประเมนิ ผลกำรจัดกำรศกึ ษำ 13 1 14 5 9 14 กล่มุ ส่งเสริมกำรจัดกำรศกึ ษำ 7 18268 กล่มุ กฎหมำยและคดี 2 22 2 หน่วยตรวจสอบภำยใน 2 2 22 รวมทงั้ สนิ้ 2 13 38 2 1 11 67 26 41 67 รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 12
ขอ้ มลู โรงเรียนในสังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 ตารางท่ี 3 แสดงข้อมูลพน้ื ฐานโรงเรียนในสังกัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศึกษา 2562 (ข้อมลู 10 มิถุนายน 2562) จำนวนนักเรยี น จำนวนหอ้ งเรียน ที่ รหสั โรงเรียน สหวทิ ยำเขต ชือ่ สถำนศกึ ษำ อำเภอ จงั หวดั จำนวนครู ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช นร.ทงั้ สนิ้ หอ้ ง หอ้ ง หอ้ ง หอ้ งเรียน ตำมจ.18 รวม รวม รวม รวม ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช รวม 202 50 48 0 98 1 52012006 1* บุญวำทย์วิทยำลยั เมอื งลำปำง จ.ลำปำง 13 2,101 1,888 0 3,989 3 40 7 2 52012002 1 กวิ่ ลมวทิ ยำ เมอื งลำปำง จ.ลำปำง 13 91 37 0 128 3 60 9 3 52012004 1 เมอื งมำยวิทยำ เมอื งลำปำง จ.ลำปำง 46 66 43 0 109 19 8 0 27 4 52012007 1 แมเ่ มำะวทิ ยำ อ.แมเ่ มำะ จ.ลำปำง 13 585 227 0 812 3 40 7 5 52012009 1 สบจำงวิทยำ อ.แมเ่ มำะ จ.ลำปำง 32 81 37 0 118 12 6 0 18 6 52012011 1 เสดจ็ วนชยำงคก์ ลู วทิ ยำ เมอื งลำปำง จ.ลำปำง 13 301 152 0 453 3 60 9 7 52012012 1 ประชำรำชวิทยำ 47 101 116 0 217 10 16 3 29 8 52012013 1 ประชำรัฐธรรมคณุ อ.งำว จ.ลำปำง 27 314 466 70 850 9 60 15 9 52012014 2* หำ้ งฉตั รวิทยำ อ.งำว จ.ลำปำง 159 277 145 0 422 38 39 0 77 10 52012008 2 ลำปำงกลั ยำณี อ.หำ้ งฉตั ร จ.ลำปำง 14 1,600 1,563 0 3,163 3 60 9 11 52012003 2 โป่งหลวงวทิ ยำ รัชมงั คลำภิเษก เมอื งลำปำง จ.ลำปำง 63 86 67 0 153 20 16 0 36 12 52012010 2 เตรียมอดุ มศกึ ษำพฒั นำกำรเขลำงคน์ คร เมอื งลำปำง จ.ลำปำง 17 695 389 0 1,084 6 60 12 13 52012015 2 แมส่ นั วทิ ยำ เมอื งลำปำง จ.ลำปำง 13 152 66 0 218 3 30 6 14 52012016 2 เวยี งตำลพทิ ยำคม อ.หำ้ งฉตั ร จ.ลำปำง 57 49 39 0 88 17 17 0 34 15 52022004 3* เสริมงำมวิทยำคม อ.ห้ำงฉตั ร จ.ลำปำง 47 572 415 0 987 15 13 0 28 16 52022002 3 สบปรำบพทิ ยำคม อ.เสริมงำม จ.ลำปำง 17 473 323 0 796 6 80 14 17 52022001 3 แมท่ ะวิทยำ อ.สบปรำบ จ.ลำปำง 13 161 71 0 232 3 40 7 18 52022003 3 เกำะคำวิทยำคม อ.แมท่ ะ จ.ลำปำง 18 63 43 0 106 6 90 15 19 52022005 3 แมพ่ ริกวทิ ยำ อ.เกำะคำ จ.ลำปำง 15 124 129 0 253 6 60 12 20 52022006 3 แมท่ ะประชำสำมคั คี อ.แมพ่ ริก จ.ลำปำง 12 76 41 0 117 3 60 9 21 52022007 3 ไหล่หนิ วทิ ยำ อ.แมท่ ะ จ.ลำปำง 25 71 57 0 128 7 70 14 22 52022008 3 เวยี งมอกวิทยำ อ.เกำะคำ จ.ลำปำง 15 222 178 0 400 6 60 12 23 52022009 3 แมท่ ะพฒั นศกึ ษำ อ.เถิน จ.ลำปำง 65 99 101 0 200 22 17 1 40 24 52022010 3 เถินวทิ ยำ อ.แมท่ ะ จ.ลำปำง 64 693 520 6 1,219 17 19 0 36 25 52032002 4* วงั เหนือวิทยำ อ.เถิน จ.ลำปำง 62 634 569 0 1,203 19 20 0 39 26 52032006 4 แจ้ห่มวิทยำ อ.วังเหนือ จ.ลำปำง 17 647 492 0 1,139 6 60 12 27 52032001 4 เมอื งปำนวทิ ยำ อ.แจ้ห่ม จ.ลำปำง 23 152 95 0 247 6 60 12 28 52032003 4 ทงุ่ กว๋ำววทิ ยำคม อ.เมอื งปำน จ.ลำปำง 19 123 70 0 193 6 50 11 29 52032004 4 เมอื งปำนพฒั นวิทย์ อ.เมอื งปำน จ.ลำปำง 13 126 105 0 231 3 30 6 30 52032005 4 ทงุ่ อดุ มวทิ ยำ อ.เมอื งปำน จ.ลำปำง 162 88 73 0 161 40 42 0 82 31 51012003 5* จักรคำคณำทร จังหวดั ลำพนู อ.เมอื งปำน จ.ลำปำง 27 1,587 1,592 0 3,179 9 90 18 32 51012004 5 แมท่ ำวิทยำคม เมอื งลำพนู จ.ลำพนู 18 198 121 0 319 6 30 9 33 51012006 5 ป่ำตำลบ้ำนธิพทิ ยำ อ.แมท่ ำ จ.ลำพนู 232 166 102 0 268 6 70 13 34 51012008 5 ทำขมุ เงนิ วิทยำคำร อ.บ้ำนธิ จ.ลำพนู 16 189 139 0 328 6 60 12 35 51012009 5 อโุ มงคว์ ิทยำคม อ.แมท่ ำ จ.ลำพนู 165 124 75 0 199 46 44 0 90 36 51012007 6* ส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพนู เมอื งลำพนู จ.ลำพนู 31 1,740 1,412 0 3,152 8 60 14 37 51012005 6 ป่ำซำง เมอื งลำพนู จ.ลำพนู 18 258 215 0 473 6 60 12 38 51012001 6 บ้ำนแป้นพทิ ยำคม อ.ปำ่ ซำง จ.ลำพนู 25 198 96 0 294 8 60 14 39 51012010 6 น้ำดบิ วทิ ยำคม เมอื งลำพนู จ.ลำพนู 25 184 151 0 335 7 70 14 40 51012011 6 วชริ ป่ำซำง อ.ปำ่ ซำง จ.ลำพนู 50 232 168 0 400 15 15 0 30 41 51022001 7* ธีรกำนท์บำ้ นโฮ่ง อ.ปำ่ ซำง จ.ลำพนู 81 543 349 0 892 21 23 2 46 42 51022006 7 เวียงเจดยี ์วิทยำ อ.บ้ำนโฮ่ง จ.ลำพนู 13 771 720 15 1,506 3 30 6 43 51022002 7 บ้ำนโฮ่งรัตนวทิ ยำ อ.ลี้ จ.ลำพนู 28 76 55 0 131 9 90 18 44 51022003 7 ทงุ่ หัวช้ำงพทิ ยำคม อ.บ้ำนโฮ่ง จ.ลำพนู 24 271 232 0 503 6 60 12 45 51022004 7 แมต่ นื วิทยำ อ.ทงุ่ หัวช้ำง จ.ลำพนู 1,154 162 114 0 276 330 326 4 660 อ.ลี้ จ.ลำพนู 915 10,823 8,517 76 19,416 196 192 2 390 รวมจงั หวัดลำปำง 2,069 526 518 6 1,050 รวมจงั หวดั ลำพนู 6,699 5,541 15 12,255 17,522 14,058 91 31,671 รวม สพม.35 หมำยเหตุ * หมำยถงึ ประธำนสหวิทยำเขต 1.สหวิทยำเขตบญุ วำทย์ 2. สหวทิ ยำเขตกลั ยำ 3. สหวทิ ยำเขตเถนิ บรุ นิ ทร์ 4. สหวทิ ยำเขตพญำวัง 5. สหวทิ ยำเขตหรภิ ญุ ชัย 6.สหวิทยำเขตจำมเทวี 7.สหวทิ ยำเขตศรวี ิชัย รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 13
ตารางท่ี 4 แสดงจานวนสถานศกึ ษาในสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปีการศกึ ษา 2562 (ข้อมลู 10 มิถุนายน 2562) เลก็ ขนำดโรงเรยี น ลำพูน ลำปำง รวม กลำง นักเรียน น้อยกวำ่ 500 คน 10 20 30 ใหญ่ นักเรียน 500 - 1,499 คน 2 8 10 ใหญ่พเิ ศษ นักเรียน 1,500 - 2,499 คน 1 -1 นักเรียน ตง้ั แต่ 2,500 คน ขนึ้ ไป 2 24 15 30 45 รวม สพม.35 ตารางที่ 5 สรปุ ข้อมลู พน้ื ฐานภาพรวมของสถานศึกษาในสงั กดั สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 จงั หวัด อำเภอ จำนวน จำนวนนักเรียน หอ้ งเรียน ครู * โรงเรียน ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช. รวม 1.เมอื งลำพนู 3,649 3,175 - 6,824 196 361 2.แมท่ ำ 4 387 647 31 259 3.บ้ำนโฮ่ง 2 619 260 - 1,023 36 63 3.ล้ี 2 933 1,782 58 105 4.ทงุ่ หวั ช้ำง 2 271 404 - 503 18 5.ป่ำซำง 1 674 1,208 42 28 6.บ้ำนธิ ลำปำง ลำ ูพน 3 166 834 15 268 9 81 1 6,699 12,255 390 18 รวม จ.ลำพูน 15 4,940 232 - 9,079 254 915 1.เมอื งลำปำง 7 666 930 34 496 2.แมเ่ มำะ 2 134 534 - 234 16 59 3.เกำะคำ 2 572 987 34 25 4.เสริมงำม 1 415 102 - 1,067 38 57 5.งำว 2 647 1,139 39 60 6.แจ้ห่ม 1 634 5,541 15 1,203 36 62 7.วงั เหนือ 1 915 1,619 54 64 8.เถิน 2 124 4,139 - 253 15 90 9.แมพ่ ริก 1 336 549 38 18 10.แมท่ ะ 3 473 264 - 796 28 47 11.สบปรำบ 1 478 728 33 47 12.ห้ำงฉตั ร 3 489 100 - 832 41 57 13.เมอื งปำน 4 10,823 19,416 660 72 30 17,522 415 - 31,671 1,050 1,154 รวม จ.ลำปำง 45 2,069 รวม สพม.35 582 70 492 - 569 - 698 6 129 - 213 - 323 - 250 - 343 - 8,517 76 14,058 91 หมายเหตุ * จานวนครตู ามจ.18 (ผ้บู รหิ ารโรงเรยี น+ครผู ูส้ อน) รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 14
ตารางที่ 6 แสดงจานวน และ รอ้ ยละของนกั เรียนรายชั้น เพศ ห้องเรียน และจานวนนักเรยี นตอ่ ห้องเรยี น สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 จาแนกรายจงั หวัด และ ภาพรวมระดบั เขตพื้นท่ี จงั หวดั ลำพนู จงั หวัดลำปำง ชน้ั จำนวนนักเรียน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ อตั รำสว่ น จำนวนนักเรียน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ อตั รำสว่ น จำนวน หอ้ งเรียน จำนวน จำนวน จำนวน หอ้ งเรียน จำนวน จำนวน มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ ม.1 ชำย หญิง รวม นักเรียน (หอ้ ง) หอ้ งเรียน นร. : ห้อง ชำย หญิง รวม นักเรียน (หอ้ ง) หอ้ งเรียน นร. : ห้อง ม.2 ม.3 3,157 3,542 6,699 54.66 196 50.26 34 5,095 5,728 10,823 55.74 330 50.00 33 มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย 1,046 1,148 2,194 17.90 64 16.41 34 1,695 1,862 3,557 18.32 109 16.52 33 ม.4 ม.5 1,055 1,226 2,281 18.61 69 17.69 33 1,678 1,892 3,570 18.39 110 16.67 32 ม.6 1,056 1,168 2,224 18.15 63 16.15 35 1,722 1,974 3,696 19.04 111 16.82 33 ประกำศนียบัตรวิชำชีพ ปวช.1 2,145 3,396 5,541 45.21 192 49.23 29 3,141 5,376 8,517 43.87 326 49.39 26 ปวช.2 ปวช.3 737 1,154 1,891 15.43 64 16.41 30 1,091 1,815 2,906 14.97 107 16.21 27 รวมทงั้ สนิ้ 696 1,181 1,877 15.32 63 16.15 30 1,045 1,811 2,856 14.71 110 16.67 26 712 1,061 1,773 14.47 65 16.67 27 1,005 1,750 2,755 14.19 109 16.52 25 1 14 15 0.12 2 0.51 8 21 55 76 0.39 4 0.61 19 1 6 7 0.06 1 0.26 7 0 0 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0.00 0 7 19 26 0.13 1 0.15 26 0 8 8 0.07 1 0.26 8 14 36 50 0.26 3 0.45 17 5,303 6,952 12,255 100.00 390 100.00 31 8,257 11,159 19,416 100.00 660 100.00 29 รวม สพม.35 จำนวนนักเรียน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ อตั รำสว่ น ช้นั จำนวน หอ้ งเรียน จำนวน จำนวน มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ ชำย หญิง รวม นักเรียน (ห้อง) หอ้ งเรียน นร. : หอ้ ง ม.1 8,252 9,270 ม.2 2,741 3,010 17,522 55.33 526 50.10 33 ม.3 2,733 3,118 5,751 18.16 173 16.48 33 มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย ม.4 5,851 18.47 179 17.05 33 ม.5 ม.6 2,778 3,142 5,920 18.69 174 16.57 34 ประกำศนียบตั รวชิ ำชีพ 5,286 8,772 14,058 44.39 518 49.33 27 ปวช.1 1,828 2,969 4,797 15.15 171 16.29 28 ปวช.2 ปวช.3 1,741 2,992 4,733 14.94 173 16.48 27 1,717 2,811 4,528 14.30 174 16.57 26 รวมทงั้ สนิ้ 0.29 6 0.57 15 22 69 91 0.02 1 0.10 7 1 6 7 0.08 1 0.10 26 7 19 26 0.18 4 0.38 15 14 44 58 13,560 18,111 31,671 100.00 1,050 100.00 30 จากตารางที่ 6 ปีการศึกษา 2562 จานวนนักเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 รวมท้ังส้นิ 31,671 คน ระดบั ชั้นที่มนี ักเรยี นมากท่ีสดุ คือ ระดบั ม.3 จานวน 5,920 คน คดิ เป็นร้อยละ 18.69 และ น้อยท่ีสุดคือระดับ ปวช. 1 จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 0.02 จานวนห้องเรียนรวมทั้งหมด 1,050 ห้อง มากที่สุดในระดับชั้น ม.2 จานวน 179 ห้อง อัตราส่วนนักเรียนต่อห้องมากที่สุดในระดับช้ัน ม.3 จานวน 34 คนต่อห้อง และน้อยที่สุดในระดับชั้น ปวช.1 จานวน 7 คนต่อห้อง อัตราส่วนเฉล่ียของทุกระดับช้ัน จานวน 30 คนต่อห้อง รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 15
ตารางท่ี 7 แสดงจานวนโรงเรียน จานวนนักเรียน จานวนครู จานวนห้องเรียน อัตราส่วนนักเรียนต่อห้อง อัตราส่วนนักเรียนต่อครู ตามขนาดของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศกึ ษา 2562 รายจงั หวดั และภาพรวมระดบั เขตพนื้ ท่ี ขนำดโรงเรยี น จำนวน รร. นักเรียน จ.ลำพูน นร : ห้อง นร.: ครูผสู้ อน 10 3,023 ห้อง 24 12 (นักเรียน น้อยกวำ่ 500 คน) เล็ก 2 1,395 124 29 18 (นักเรียน 500 - 1,499 คน) กลำง 1 1,506 48 33 19 (นักเรียน 1,500 - 2,499 คน) ใหญ่ 2 6,331 46 37 19 (นักเรียน ตงั้ แต่ 2,500 คน ขนึ้ ไป) ใหญ่พเิ ศษ 15 12,255 172 31 17 390 รวม/เฉลยี่ จำนวน รร. นักเรียน นร : หอ้ ง นร.: ครูผสู้ อน 20 4,174 จ.ลำปำง 19 12 ขนำดโรงเรียน 8 8,090 ห้อง 30 18 - 216 - - (นักเรียน น้อยกวำ่ 500 คน) เลก็ 2 - 269 41 20 (นักเรียน 500 - 1,499 คน) กลำง 30 7,152 - 30 17 (นักเรียน 1,500 - 2,499 คน) ใหญ่ 19,416 175 (นักเรียน ตงั้ แต่ 2,500 คน ขน้ึ ไป) ใหญพ่ เิ ศษ 660 รวม/เฉลย่ี ขนำดโรงเรียน จำนวน รร. นักเรียน รวม สพม.35 นร : ห้อง นร.: ครูผสู้ อน 30 หอ้ ง 21 12 (นักเรียน น้อยกวำ่ 500 คน) เล็ก 10 7,197 340 30 18 (นักเรียน 500 - 1,499 คน) กลำง 1 9,485 317 33 19 (นักเรียน 1,500 - 2,499 คน) ใหญ่ 4 1,506 46 39 20 (นักเรียน ตง้ั แต่ 2,500 คน ขน้ึ ไป) ใหญพ่ เิ ศษ 45 13,483 347 30 17 31,671 1,050 รวม/เฉลยี่ ตารางท่ี 8 แสดงจานวนนักเรียนตอ่ ประชากรวยั เรยี น จาแนกรายช้ัน สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 รายจงั หวัด และภาพรวม ระดับเขตพ้นื ท่ี จังหวัดลำพนู จังหวดั ลำปำง ระดบั ช้ัน ประชำกร นักเรียนใน ร้อยละของ ประชำกร ร้อยละของ อำยุ จำนวน สงั กดั (คน) นักเรียนตอ่ นักเรียนใน นักเรียนตอ่ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 1 ประชำกรวยั เรียน มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 2 สังกดั (คน) ประชำกรวยั มธั ยมศกึ ษำปีที่ 3 รวมมธั ยมศกึ ษำตอนตน้ อำยุ จำนวน เรียน มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 4 และ ปวช.1 มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 5 และ ปวช.2 (ป)ี (คน) (ป)ี (คน) มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 6 และ ปวช.3 รวมมธั ยมศกึ ษำตอนปลำยหรือเทยี บเทำ่ 12 3,771 2,194 58.18 12 6,552 3,557 54.29 13 3,922 2,281 58.16 13 6,612 3,570 53.99 14 3,930 2,224 56.59 14 7,034 3,696 52.54 12-14 11,623 6,699 57.64 12-14 20,198 10,823 53.58 15 3,841 1,898 49.41 15 6,855 2,906 42.39 16 4,023 1,877 46.66 16 6,955 2,882 41.44 17 3,828 1,781 46.53 17 6,908 2,805 40.61 15-17 11,692 5,556 47.52 15-17 20,718 8,593 41.48 รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 16
ตารางท่ี 8 แสดงจานวนนกั เรยี นตอ่ ประชากรวยั เรยี น จาแนกรายช้นั สังกดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 35 ปีการศึกษา 2562 รายจังหวดั และภาพรวม ระดับเขตพน้ื ท่ี (ตอ่ ) ประชำกร รวม สพม.35 ระดบั ชนั้ อำยุ จำนวน นักเรียนใน ร้อยละของ (ป)ี (คน) สังกดั (คน) นักเรียนตอ่ มธั ยมศกึ ษำปีที่ 1 ประชำกรวยั เรียน มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 2 มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 3 12 10,323 5,751 55.71 มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 4 และ ปวช.1 มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 5 และ ปวช.2 13 10,534 5,851 55.54 มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 6 และ ปวช.3 14 10,964 5,920 53.99 รวมทง้ั สน้ิ 15 10,696 4,804 44.91 16 10,978 4,759 43.35 17 10,736 4,586 42.72 12-17 64,231 31,671 49.31 ตารางท่ี 9 แสดงจานวนนักเรยี นด้อยโอกาสของโรงเรยี นในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศึกษา 2562 ประเภทดอ้ ยโอกำส จังหวัดลำพนู จังหวดั ลำปำง รวม สพม.35 คดิ เป็น จำนวนนักเรียนทงั้ หมด ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม ร้อยละ นักเรียนดอ้ ยโอกำสทง้ั หมด 5,303 6,952 12,255 8,257 11,159 19,416 13,560 18,111 31,671 เดก็ ถกู บงั คบั ใหข้ ำยแรงงำน 2,522 3,002 5,524 3,166 3,933 7,099 5,688 6,935 12,623 39.86 เดก็ ทอี่ ยู่ในธุรกจิ ทำงเพศ 0.00 เดก็ ถกู ทอดทง้ิ 000 000000 0.00 เดก็ ในสถำนพนิ ิจและคมุ้ ครองเยำวชน 000 000000 0.02 เดก็ เร่ร่อน 101 112213 0.00 ผลกระทบจำกเอดส์ 000 000000 0.00 ชนกลุม่ น้อย 000 000000 0.01 เดก็ ทถี่ ูกทำร้ำยทำรุณ 101 000101 0.20 เดก็ ยำกจน 6 15 21 0 4 4 6 19 25 0.03 เดก็ ทม่ี ปี ัญหำเกย่ี วกบั ยำเสพตดิ 000 044044 99.32 กำพร้ำ 2,509 2,981 5,490 3,153 3,894 7,047 5,662 6,875 12,537 0.00 ทำงำนรับผิดชอบตนเองและครอบครัว 000 000000 0.25 ขอ้ มลู ผิดปกติ 347 6 19 25 9 23 32 0.17 อำยุนอกเกณฑ์ 224 6 11 17 8 13 21 0.00 อน่ื ๆ 000 000000 0.00 000 000000 0.00 000 000000 จากตารางท่ี 9 พบวา่ จานวนนักเรยี นในสังกดั ท้ังสิน้ 31,671 คน มนี ักเรยี นดอ้ ยโอกาสทง้ั ส้ิน 12,623 คน คิดเป็นร้อยละ 39.86 ของจานวนนักเรียนทั้งหมด เป็นนักเรียนยากจนมากที่สุด จานวน 12,537 คน คิดเป็น ร้อยละ 99.31 ของนักเรียนด้อยโอกาสท้งั หมด รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 17
ตารางที่ 10 แสดงจานวนนักเรยี นทีอ่ อกกลางคัน จาแนกตามช้ัน เพศ และสาเหตุ ของโรงเรยี นในสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศึกษา 2561 รายจังหวัด และ ภาพรวม ระดับเขตพืน้ ท่ี จงั หวดั ลำพนู จงั หวัดลำปำง รวม สพม.35 สำเหตุ เพศ ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช. รวม รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ นักเรยี นออกกลำงคนั ออกกลำงคัน ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช. รวม ออกกลำงคัน ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช. รวม ออกกลำงคัน นกั เรียนทง้ั หมด ชำย 3,195 2,261 0 5,456 5,143 3,097 34 8,274 8,338 5,358 34 13,730 หญิง 3,557 3,562 17 7,136 0.55 5,855 5,442 96 11,393 0.10 9,412 9,004 113 18,529 0.27 ปกี ำรศกึ ษำ 2561 รวม 6,752 5,823 17 12,592 10,998 8,539 130 19,667 17,750 14,362 147 32,259 ฐำนะยำกจน ชำย 0 0 00 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0 00 0.00 หญิง 0 0 00 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0 00 0.00 รวม 0 0 00 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0 00 0.00 มปี ญั หำครอบครัว ชำย 0 15 0 15 0.12 3 1 0 4 0.02 3 16 0 19 0.06 หญิง 0 6 06 0.05 1 1 0 2 0.01 1 7 08 0.02 รวม 0 21 0 21 0.17 4 2 0 6 0.03 4 23 0 27 0.08 สมรสแลว้ ชำย 0 0 00 0.00 1 0 0 1 0.01 1 0 01 0.00 หญิง 0 15 0 15 0.12 0 0 0 0 0.00 0 15 0 15 0.05 รวม 0 15 0 15 0.12 1 0 0 1 0.01 1 15 0 16 0.05 มปี ญั หำในกำรปรับตวั ชำย 0 0 00 0.00 3 0 0 3 0.02 3 0 03 0.01 หญิง 0 0 00 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0 00 0.00 รวม 0 0 00 0.00 3 0 0 3 0.02 3 0 03 0.01 ตอ้ งคด/ี ถูกจับ ชำย 0 0 00 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0 00 0.00 หญิง 0 0 00 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0 00 0.00 รวม 0 0 00 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0 00 0.00 เจ็บปว่ ย/อบุ ัตเิ หตุ ชำย 0 0 00 0.00 0 1 0 1 0.01 0 1 01 0.00 หญิง 0 1 01 0.01 0 0 0 0 0.00 0 1 01 0.00 รวม 0 1 01 0.01 0 1 0 1 0.01 0 2 02 0.01 อพยพตำมผ้ปู กครอง ชำย 0 0 00 0.00 0 0 0 0 0.00 0 0 00 0.00 หญิง 0 0 00 0.00 1 0 0 1 0.01 1 0 01 0.00 รวม 0 0 00 0.00 1 0 0 1 0.01 1 0 01 0.00 หำเล้ยี งครอบครัว ชำย 0 19 0 19 0.15 4 2 0 6 0.03 4 21 0 25 0.08 หญิง 0 13 0 13 0.10 0 1 0 1 0.01 0 14 0 14 0.04 รวม 0 32 0 32 0.25 4 3 0 7 0.04 4 35 0 39 0.12 นกั เรยี น ชำย 0 34 0 34 0.27 11 4 0 15 0.08 11 38 0 49 0.15 ออกกลำงคนั ทงั้ หมด หญิง 0 35 0 35 0.28 2 2 04 0.02 2 37 0 39 0.12 รวม 0 69 0 69 0.55 13 6 0 19 0.10 13 75 0 88 0.27 ร้อยละของนักเรยี นทีอ่ อกกลำงคนั จำกนักเรยี นทัง้ หมดในแตล่ ะระดบั 0.00 1.18 0.00 0.55 0.12 0.07 0.00 0.10 0.07 0.52 0.00 0.27 จากตารางที่ 10 พบว่า ภาพรวมระดับเขตพื้นท่ี ปีการศึกษา 2561 จานวนนักเรียนออกกลางคันทั้งสิ้น 88 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.27 ของจานวนนักเรียนต้นปีทั้งหมด สาเหตุท่ีออกมากที่สุดคือ หาเลี้ยงครอบครวั คดิ เป็น รอ้ ยละ 44.32 ของนกั เรยี นท่ีออกกลางคนั สาเหตุรองลงมาคอื มปี ญั หาครอบครวั คดิ เป็นรอ้ ยละ 30.69 รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 18
ตารางที่ 11 แสดงจานวนนกั เรียนพกิ ารเรียนรว่ ม สังกัดสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 ปกี ารศึกษา 2562 รายจงั หวดั และภาพรวมระดบั เขตพนื้ ที่ ประเภทพกิ ำร จังหวัดลำพนู จังหวดั ลำปำง รวม สพม.35 คดิ จำนวนนักเรียนทง้ั หมด ชำย หญงิ รวม ชำย หญิง รวม ชำย หญงิ รวม เป็น นักเรียนพกิ ำรเรียนร่วมทงั้ หมด บกพร่องทำงกำรมองเห็น 5,303 6,952 12,255 8,257 11,159 19,416 13,560 18,111 31,671 ร้อยละ บกพร่องทำงกำรไดย้ ิน 200 66 266 397 126 523 597 192 789 บกพร่องทำงสตปิ ญั ญำ 314 9 4 13 12 5 17 2.49 บกพร่องทำงร่ำงกำยและสขุ ภำพ 101 235 336 2.15 บกพร่องทำงกำรเรียนรู้ 7 7 14 11 3 14 18 10 28 0.76 บกพร่องทำงกำรพดู และภำษำ 516 10 5 15 15 6 21 3.55 บกพร่องทำงพฤตกิ รรมหรืออำรมณ์ 177 56 233 326 97 423 503 153 656 2.66 ออทิสตกิ 000 303 303 83.14 พกิ ำรซ้ำซ้อน 505 27 10 37 32 10 42 0.38 101 7 3 10 8 3 11 5.32 112 213 325 1.39 0.63 จากตารางที่ 11 พบว่า จานวนนักเรียนในสังกัดท้ังส้ิน 31,671 คน มีนักเรียนพิการเรียนร่วม ท้ังส้ิน 789 คน คิดเป็นร้อยละ 2.49 ของจานวนนักเรียนทั้งหมด เป็นนักเรียนบกพร่องทางการเรยี นรู้ มากท่ีสุด จานวน 656 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.14 ของนักเรยี นพิการเรียนร่วมทง้ั หมด รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 19
ตารางที่ 12 แสดงจานวนนักเรยี นที่จบการศกึ ษาชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ที่ศึกษาต่อ/ประกอบอาชีพ จาแนกตาม เพศ สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 ปีการศึกษา 2561 รายจงั หวัด และ ภาพรวมระดับเขตพื้นที่ จำนวนนกั เรียน (จ.ลำพูน) ร้อยละจำนวน จำนวนนกั เรียน (จ.ลำปำง) รอ้ ยละจำนวน จำนวนนักเรยี น (รวม สพม.35) รอ้ ยละจำนวน รำยกำร นกั เรยี นจบ นกั เรียนจบ นกั เรียนจบ ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ นักเรียน ม.3 ตน้ ปกี ำรศกึ ษำ 1,056 1,168 2,224 ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ นักเรียน ม.3 จบกำรศกึ ษำ 835 1,078 1,913 86.02 1.ศกึ ษำตอ่ 1,722 1,974 3,696 90.83 2,778 3,142 5,920 89.02 เรียนตอ่ ม.4 โรงเรียนเดมิ 1,479 1,878 3,357 2,314 2,956 5,270 เรียนตอ่ ม.4 โรงเรียนอนื่ ในจังหวดั เดมิ เรียนตอ่ ม.4 โรงเรียนอนื่ ในตำ่ งจังหวัด 614 914 1,528 79.87 1,033 1,562 2,595 77.30 1,647 2,476 4,123 78.24 เรียนตอ่ ม.4 โรงเรียนอน่ื ใน กทม. สถำบันอำชวี ศกึ ษำของรัฐบำล 146 111 257 13.43 92 99 191 5.69 238 210 448 8.50 สถำบันอำชวี ศกึ ษำของเอกชน สถำบนั อนื่ ๆ 5 4 9 0.47 5 16 21 0.63 10 20 30 0.57 รวม ศกึ ษำตอ่ 1 - 1 0.05 1 2 3 0.09 22 4 0.08 2. ไมศ่ กึ ษำตอ่ 2.1 ประกอบอำชีพ 59 31 90 4.70 286 126 412 12.27 345 157 502 9.53 (1) ภำคอตุ สำหกรรม (2) ภำคกำรเกษตร - 8 8 0.42 1 1 2 0.06 19 10 0.19 (3) กำรประมง (4) คำ้ ขำย ธุรกจิ 8 7 15 0.78 53 68 121 3.60 61 75 136 2.58 (5) งำนบริกำร (6) รับจ้ำงทว่ั ไป 833 1,075 1,908 99.74 1,471 1,874 3,345 99.64 2,304 2,949 5,253 99.68 (7) ทำงำนอนื่ ๆ รวมประกอบอำชีพ --- - -11 0.03 - 1 1 0.02 2.2 บวชในศำสนำ --- -1 -1 0.03 1 - 1 0.02 2.3 ไมป่ ระกอบอำชพี และไมศ่ กึ ษำตอ่ --- ---- - 2.4 อน่ื ๆ --- ---- - -- - - --- ---- - -- - - รวมไม่ศกึ ษำตอ่ ทงั้ สนิ้ --- -415 - -- 5 - -33 0.16 2 2 4 0.15 4 1 7 0.09 -33 0.16 7 4 11 0.12 2 5 14 0.13 1 -1 0.05 1 - 1 0.33 7 7 2 0.27 1 -1 0.05 - - - 0.03 2 - 1 0.04 --- ---- -1- - 0.02 235 0.26 8 4 12 - -- 17 - 0.36 10 7 0.32 จากตารางท่ี 12 พบว่า ในภาพรวมระดับเขตพ้ืนท่ี จานวนนักเรียนจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คิดเป็นรอ้ ยละ 89.02 ของจานวนนักเรียน ม.3 ต้นปกี ารศกึ ษา และ ศกึ ษาตอ่ คิดเป็นรอ้ ยละ 99.68 ของนกั เรียน ที่จบการศึกษา เรียนตอ่ ม.4 โรงเรยี นเดมิ มากทส่ี ุด คิดเป็นรอ้ ยละ 78.24 รองลงมาเรยี นต่อสถาบนั อาชีวศึกษาของ รัฐบาล คดิ เป็นร้อยละ 9.53 และ นกั เรียนท่ีไม่ศกึ ษาต่อคดิ เป็นรอ้ ยละ 0.32 ของนกั เรยี นท่ีจบการศึกษาท้ังหมด รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 20
ตารางที่ 13 แสดงจานวนนักเรียนทจ่ี บการศึกษาชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีศกึ ษาต่อ/ประกอบอาชีพ จาแนกตาม เพศ สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปีการศกึ ษา 2561 รายจังหวดั และ ภาพรวมระดบั เขตพืน้ ที่ รำยกำร จำนวนนกั เรียน (จ.ลำพนู ) ร้อยละจำนวน จำนวนนักเรียน (จ.ลำปำง) ร้อยละจำนวน จำนวนนักเรยี น (รวม สพม.35) ร้อยละจำนวน นกั เรยี นจบ นักเรียนจบ นักเรยี นจบ นักเรียน ม.6 ตน้ ปกี ำรศกึ ษำ นักเรียน ชน้ั ม.6 จบกำรศกึ ษำ ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ 1.ศกึ ษำตอ่ 1.1 มหำวิทยำลัยของรัฐ 712 1,061 1,773 97.74 1,005 1,750 2,755 92.49 1,717 2,811 4,528 94.55 1.2 มหำวิทยำลยั เปดิ ของรัฐ 628 1,105 1,733 858 1,690 2,548 1,486 2,795 4,281 1.3 มหำวิทยำลัยของเอกชน 1.4 สถำบนั อำชวี ศกึ ษำของรัฐบำล 525 953 1,478 85.29 645 1,410 2,055 80.65 1,170 2,363 3,533 82.53 1.5 สถำบนั อำชวี ศกึ ษำของเอกชน 9.17 20 42 62 2.43 1.6 สถำบันพยำบำล 57 102 159 0.17 7 14 21 0.82 77 144 221 5.16 1.7 สถำบนั ทหำร 1.79 97 109 206 8.08 1.8 สถำบนั ตำรวจ -3 3 0.29 32 5 0.20 7 17 24 0.56 1.9 สถำบนั อนื่ ๆ 0.35 12 0.47 18 13 31 - 12 1 0.04 115 122 237 5.54 รวม ศกึ ษำตอ่ - 1- 1 0.04 2.ไมศ่ กึ ษำตอ่ 32 5 - 1- 141 5.53 6 4 10 0.23 2.1 ประกอบอำชพี 0.46 51 90 98.27 (1) รับรำชกำร 15 6 97.52 825 1,679 2,504 1 17 18 0.42 (2) ทำงำนรัฐวิสำหกจิ (3) ภำคอตุ สำหกรรม -- - 1- 1 0.02 (4) ภำคกำรเกษตร (5) กำรประมง -- - 1- 1 0.02 (6) คำ้ ขำย ธรุ กจิ (7) งำนบริกำร 44 8 55 94 149 3.48 (8) รับจ้ำงทว่ั ไป รวมประกอบอำชีพ 608 1,082 1,690 1,433 2,761 4,194 97.97 2.2 บวชในศำสนำ 2.3 ไมป่ ระกอบอำชพี และไมศ่ กึ ษำตอ่ -- - -1- 1 0.04 1- 1 0.02 2.4 อนื่ ๆ 0.06 - - - 0.02 1-1 0.06 11 2 13 -1 - 1 0.33 รวมไม่ศกึ ษำตอ่ ทงั้ สนิ้ - -1 1 - -- - 0.51 11 3 14 - - -- 2 - -- - 0.17 - 2 - --- - 0.12 0.06 - - 26 0.02 -- - 2.14 19 7 42 --- - 1.47 2.48 31 11 1 1.99 -3 3 -1- 1 0.08 -5 5 0.02 -1- - 0.02 1-1 - -- 44 -1 - 1 - 2.48 33 11 2.03 18 19 37 1.02 37 26 63 20 23 43 1.65 51 34 85 -- - 0.04 1- 1 -- - 0.04 1- 1 -- - --- - 20 23 43 1.73 53 34 87 จากตารางที่ 13 พบว่า ในภาพรวมระดับเขตพ้ืนที่ จานวนนักเรียนจบการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 คิดเป็นร้อยละ 94.55 ของจานวนนักเรียน ม.6 ต้นปีการศกึ ษา และ ศกึ ษาต่อ คดิ เปน็ ร้อยละ 97.97 ของนักเรียน ท่ีจบการศึกษา ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของรัฐ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 82.53 รองลงมาเรียนต่อสถาบัน อาชีวศึกษาของรัฐบาล คิดเป็นร้อยละ 5.54 และ นักเรียนที่ไม่ศึกษาต่อคิดเป็นร้อยละ 2.03 ของนักเรียน ทีจ่ บการศกึ ษาทั้งหมด รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 21
ขอ้ มูลครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสงั กดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ตารางที่ 14 แสดงจานวนข้าราชการครใู นสถานศึกษาทปี่ ฏบิ ตั งิ านอยู่จริง จาแนกตามวิทยฐานะ และวฒุ ิการศึกษา (ขอ้ มูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2562) จงั หวดั /วทิ ยฐำนะ วุฒกิ ำรศกึ ษำ รวม ตำ่ กว่ำ ป.ตรี ปริญญำตรี ป.บณั ฑติ ปริญญำโท ปรญิ ญำเอก 176 จงั หวัดลำพูน 239 286 ครู/ครูผชู้ ว่ ย 0 128 8 40 0 6 ชำนำญกำร 0 123 2 114 0 707 ชำนำญกำรพเิ ศษ 2 172 1 110 1 252 451 เชียวชำญ 0 006 0 438 รวมลำพนู 2 423 11 270 1 6 1,147 จงั หวัดลำปำง 428 ครู/ครูผ้ชู ว่ ย 0 187 3 62 0 690 724 ชำนำญกำร 0 231 3 213 4 12 1,854 ชำนำญกำรพเิ ศษ 0 223 2 209 4 เชยี วชำญ 0 213 0 รวมลำปำง 0 643 9 487 8 ระดบั เขตพนื้ ท่ี ครู/ครูผู้ชว่ ย 0 315 11 102 0 ชำนำญกำร 0 354 5 327 4 ชำนำญกำรพเิ ศษ 2 395 3 319 5 เชียวชำญ 0 219 0 รวมระดบั เขตพน้ื ท่ี 2 1,066 20 757 9 หมายเหตุ ข้าราชการครู หมายถงึ ผู้บรหิ ารโรงเรียนและครผู ู้สอน ตารางท่ี 15 แสดงผลการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาโดยยึดถือภารกิจและพน้ื ทีป่ ฏิบัตงิ าน เปน็ ฐานดว้ ยระบบ TEPE Online หลกั สตู รการพัฒนาครูผชู้ ว่ ยใหไ้ ด้รับการเตรยี มความพรอ้ มและ พฒั นาอย่างเขม้ กอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งครู รนุ่ ที่ 1 ประจาปี 2562 สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวน(คน) ภาษาไทย 11 คณติ ศาสตร์ 16 วิทยาศาสตร์ 27 สงั คมศึกษา 13 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 5 ศลิ ปะ 3 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8 ภาษาตา่ งประเทศ 14 สอนมากวา่ 1 วิชา 1 อน่ื ๆ 1 ปฏบิ ตั หิ น้าที่การสอน 1 100 รวม รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 22
ขอ้ มลู วิชำกำร สพม. 35 ตารางท่ี 16 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 สังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปีการศึกษา 2561 รายจงั หวดั และ ภาพรวมระดบั เขตพน้ื ท่ี กลมุ่ สาระ ระดับชนั้ ระดบั ชนั้ การเรียนรู้ ม.3 ปกี ารศกึ ษา 2561 ม.6 ปกี ารศกึ ษา 2561 ผลต่างเทยี บ ผลตา่ งเทียบ สพม.35 สังกดั ประเทศ ระดับประเทศ สพม.35 สังกดั ประเทศ ระดบั ประเทศ ภาษาไทย 59.85 55.04 55.42 +5.43 50.70 48.16 47.31 +3.39 ภาษาอังกฤษ 30.82 29.1 29.45 +1.37 32.68 31.15 31.41 +1.27 คณติ ศาสตร์ 35.02 30.28 30.04 +4.98 33.78 31.04 30.72 +3.06 วทิ ยาศาสตร์ 39.61 36.43 36.1 +3.51 32.93 30.75 30.51 +2.42 สังคมศึกษา ไมม่ ีการทดสอบ 36.71 35.48 35.16 +1.55 ตารางที่ 17 เปรียบเทยี บค่าเฉลี่ยรวม ร้อยละผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 และชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ปกี ารศึกษา 2560 – 2561 กลุ่มสาระฯ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ 2560 2561 ค่าพฒั นา 2560 2561 ค่าพัฒนา คณติ ศาสตร์ 52.46 59.85 +7.39 52.74 50.7 -2.04 วทิ ยาศาสตร์ 32.07 30.82 -1.25 29.62 32.68 +3.06 สังคมศึกษา 31.19 35.02 +3.83 27.17 33.78 +6.61 34.98 39.61 +4.63 32.19 32.93 +0.74 36.53 36.71 +0.18 ไมม่ กี ารทดสอบ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 23
ตารางที่ 18 เปรยี บเทียบคา่ เฉล่ยี รวม ร้อยละผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 ปีการศึกษา 2558 – 2561 กลมุ่ สาระ 2558 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 2561 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ภาษาไทย 45.27 59.85 ภาษาอังกฤษ 32.62 2559 2560 30.82 2558 2559 2560 2561 คณติ ศาสตร์ 36.33 50.41 52.46 35.02 52.27 55.88 52.74 50.70 วิทยาศาสตร์ 41.58 33.91 32.07 39.61 25.87 28.42 29.62 32.68 สงั คมศกึ ษา 34.41 31.19 29.26 27.50 27.17 33.78 37.95 34.98 35.21 33.99 32.19 32.93 41.10 37.81 36.53 36.71 ไมม่ ีการทดสอบ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 24
สว่ นที่ 2 ผลการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้รับการจัดสรร งบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อบริหารจัดการสานักงานและสนับสนุน การดาเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน โดยสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 ได้ขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติทั้ง 3 ส่วน คือ 1) นโยบายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน 2) การดาเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ 3) การดาเนิน โครงการของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานท่ดี าเนินการในส่วนของ สพม.35 สรุปผลได้ดังนี้ นโยบายในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 1. โครงการตามพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 และพระบรมวงศานวุ งศ์ 1.1 โครงการพฒั นาการเรียนรปู้ ระวัติศาสตร์ ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ขับเคล่ือนนโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ เพ่ือให้ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจในการ จัดการเรียนรู้สาระประวัติศาสตร์ในทุกระดับและส่งเสริม นักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องต่อชาติบ้านเมือง ยึดม่ันในศาสนา ม่ันคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และมี ความเอ้ืออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน ตาม พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 ท่ีมุ่งสร้างพ้ืนฐานให้แก่ผู้เรียนด้านมีทัศนคติ ทถี่ ูกตอ้ งต่อบ้านเมอื ง ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้ดาเนินการส่งเสริมการพัฒนาการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์โดยมุ่งเน้นการสร้างความตระหนักถึงความสาคัญของประวัติศาสตร์ไทยให้กับครูผู้จัดการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และผู้ท่ีเก่ียวข้อง ให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ กระบวนการทางประวัติศาสตรแ์ ละวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งประวตั ิศาสตร์ของไทยให้โรงเรียน ในสังกัด จานวน 45 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 และมีการจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ห้องประวัติศาสตร์ แหล่งการเรยี นรู้ มมุ การเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร์ทสี่ ง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 25
แนวทางการพฒั นา ควรดาเนนิ งานตอ่ เนือ่ งในปีงบประมาณ 2563 เพือ่ ความยั่งยืนในการพัฒนาการเรยี นรขู้ องนักเรยี น 1.2 โครงการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูส่ ถานศึกษา ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ขับเคล่ือนนโยบายการดาเนินการตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โดยส่งเสริมการดาเนินการของโรงเรียนในด้านการปลูกฝังและบ่มเพาะผู้เรียน ให้ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการคิด การวางแผน และการปฏิบัติตน พร้อมกับคุณลักษณะอ่ืน ๆ ทจ่ี าเป็นในการดาเนินชวี ิตในศตวรรษที่ 21 ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ดาเนินการส่งเสริมการดาเนินการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่สถานศึกษา โดยสร้างความตระหนักให้กับคณะผู้บริหาร โรงเรียนและครูผจู้ ดั การเรียนรทู้ ี่เกี่ยวข้องกับการสอนหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนในสังกัด จานวน 45 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 แนวทางการพฒั นา ควรดาเนินงานตอ่ เนอ่ื งในปีงบประมาณ 2563 เพอื่ ความยง่ั ยนื ในการพฒั นาการเรียนการสอน รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 26
1.3 โครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาริหลักสูตรจิตอาสา 904 “หลกั สูตรพ้นื ฐาน” ความเป็นมา เลขาธิการพระราชวังได้รับพระบรมราชโองการ เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมให้ประกาศ ให้ทราบ โดยทั่วกันว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัด โครงการ หน่วยพระราชทานและประชาชนจิตอาสา “เราทาความ ดี ด้วยหัวใจ” โดยพระราชทาน ช่ือจิตอาสา ว่า “จิตอาสาพระราชทาน 904 วปร.” โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาริ ได้กาหนด “หลักสูตรพื้นฐาน” โดยมีเน้ือหาเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย์กับประเทศไทย ตั้งแต่สมัยก่อต้ัง ประเทศสยามจนถึงปัจจุบัน เนื้อหาส่วนใหญ่ คือ เล่าเร่ืองความรักและความเสียสละของสถาบันพระมหากษัตริย์ ท่ีมีต่อพสกนิกรชาวไทยตลอดมา จุดประสงค์เพ่ือก่อให้เกิดทัศนคติท่ีดีต่อสถาบัน รวมท้ังมีความเสียสละ มีอุดมการณ์และความสามัคคี และเน้นให้น้อมนานโยบายของในหลวงรัชกาลที่ 10 ไปสอนต่อผู้อ่ืนได้ คนท่ีผ่าน การอบรมสามารถเป็นวิทยากรอบรมหลักสูตรจิตอาสาให้กับหน่วยงานและโครงการจิตอาสาต่าง ๆ ตามพระราชดาริทวั่ ประเทศ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการจิตอาสา พระราชทาน ได้แก่ ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการทาความดีเพื่อประโยชน์สาธารณะ ลดความเห็นแก่ตัว โดยยึดหลกั พอเพยี ง มวี ินัย สจุ รติ จติ สาธารณะ และประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารจติ อาสาร่วมพฒั นา ต้านการทุจรติ ผลการดาเนนิ งาน ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 (นายประจักษ์ สีหราช) ได้เข้า ร่วมฝึกอบรมโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนว พระราชดาริ หลกั สตู รจิตอาสา 904 “หลักสตู รพน้ื ฐาน” รนุ่ ท่ี 3/62 วนั ท่ี 10 – 25 สงิ หาคม 2562 ณ ค่ายสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหาร ราบท่ี 4 (ศอ.จอส.904 วปร.ภาค 2) ข้าราชการครูและบุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็น สมาชิกจิตอาสาพระราชทาน 904 วรป.จานวน 60 คน คดิ เป็นร้อยละ 92.31 เขา้ ร่วมอบรมหลักสตู รประจารุ่น ที่ 2/61 “เป็นเบ้า เป็นแม่พิมพ์” วันท่ี 27 เมษายน 2562 ณ หอประชุมจังหวัดลาปาง จานวน 308 คน เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการทาความดี เพอื่ ประโยชน์สาธารณะ ลดความเหน็ แก่ตวั โดยยึดหลกั รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 27
พอเพียง มีวนิ ัย สจุ ริต จิตสาธารณะ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม จานวน 65 คน และเขา้ รว่ มประชมุ เชิงปฏบิ ัติการจิตอาสา รว่ มพัฒนา ต้านการทจุ ริต จานวน 150 คน แนวทางการพฒั นา 1. ควรสร้างความตระหนักให้บุคลากรในสังกัดในเร่ืองของจิตสานึกรักในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และมจี ติ สาธารณะ และแยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตวั ออกจากผลประโยชนส์ ว่ นรวมอยา่ งตอ่ เน่ือง 2. ควรจดั สรรงบประมาณให้อยา่ งเพียงพอ 1.4 โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ขับเคล่ือนนโยบายโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานลดความเหล่ือมล้า ทางการศกึ ษาของรัฐบาล ในส่วนของสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัดนิทรรศการและสาธิต การเรียนทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศจากโรงเรียนต้นทางไปยังโรงเรียนปลายทาง โดยมีการติดตาม ผลการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ผลการดาเนินงาน โรงเรียนที่ได้รับจัดสรรอุปกรณ์ DLTV ในปีงบประมาณ 2562 มีจานวน 1 โรง คือ โรงเรียนบ้านแป้น- พิทยาคม มีความพร้อมของเครื่องรับโทรทัศน์หรือมัลติมิเดียโปรเจคเตอร์สามารถใช้งานได้อย่างสมบูรณ์คมชัด ท้ังภาพและเสียง มีระบบอินเทอร์เน็ตที่รองรับการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเป็นอย่างดี รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 28
ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีรับผิดชอบดูแลระบบและบารุงรักษา มีแผนการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม และผู้บริหารมีการกากับดูแล สนับสนุนช่วยเหลือ และส่งเสริมให้ครูสามารถ จัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทาให้บรรลุตามเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ คือ ครูและ นักเรียนสามารถนา DLTV มาช่วยแก้ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนอย่างดี และส่งผลให้นักเรียนมีสมรรถนะ การเรียนดขี ึน้ โดยสามารถวดั ได้จากผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ทสี่ งู ขนึ้ แนวทางการพฒั นา 1. โรงเรียนควรจัดตารางการเรียนสาหรับนักเรียนให้ตรงกับตารางการออกอากาศของการศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทยี ม 2. ควรพัฒนาคลังส่ือประกอบการเรียนการสอนให้ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน เช่น สื่อ ทางเทคโนโลยยี ังมีอยู่นอ้ ย เพอื่ เปน็ การกระตุ้นให้นักเรียนเกดิ การเรียนรูแ้ ละทนั ต่อวทิ ยาการสมัยใหม่ 3. ควรมีการส่งเสริมการดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทียม (DLTV) อย่างต่อเนื่องเพื่อการเรียนการสอนท่ีมปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขนึ้ 2. โครงการตามนโยบายของรัฐบาล 2.1 โครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partnership School Project) ความเป็นมา โครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partnership School Project) เป็นแนวคิดการสร้างนวัตกรรม การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาภายใต้บทบาทความรว่ มมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ และ บริษทั มูลนธิ ิ องค์กร หรือสถาบันที่สนับสนุนทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการบริหารให้กับสถานศึกษา ซึ่งเป็นส่วนขยายของ โรงเรียนประชารัฐ โดยมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาด้านต่าง ๆ ซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาและ ข้อเสนอแนะของมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ในเป้าหมายการพัฒนา 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 2) การพัฒนาครู 3) การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ 4) การพัฒนาคุณภาพ การบรหิ ารจัดการ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 29
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด เปา้ หมาย ใหส้ ถานศึกษาอย่างน้อย 1 แหง่ ในแตล่ ะสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา เข้าร่วมเพ่ือรับการพัฒนาตามโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ในการบริหารจัดการ ร่วมพัฒนาและสนับสนุนสถานศึกษา พัฒนาคุณภาพและรังสรรค์นวัตกรรมการบริหารจัดการให้ สามารถยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เตรียมความพร้อม สาหรับอนาคตให้แก่ผู้เรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ทุกคนในชุมชนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาทักษะและคุณภาพ ชีวิตและได้รับโอกาสในการพัฒนาอย่างทั่วถึง นาไปสู่การลด ความเหลอ่ื มล้าทางการศึกษา ผลการดาเนนิ การ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ในคราวประชุมผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด เมื่อวันท่ี 18 กันยายน 2562 มีมติคัดเลือกโรงเรียนเสริมงามวิทยาคม เข้าร่วมโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partnership School Project) ซึ่งในปีงบประมาณ 2562 โรงเรยี นเสริมงามวทิ ยาคม อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ตามวัตถปุ ระสงค์ และแนวทางการดาเนินการของโครงการ แนวทางการพฒั นา ควรส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานของโรงเรียนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของ โครงการ 2.2 โครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล (1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ) ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 ดาเนินการคัดเลือกโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโรงเรียน คณุ ภาพประจาตาบล จานวน 21 โรงเรียน จังหวดั ลาปาง จานวน 13 โรงเรียน จังหวดั ลาพนู จานวน 8 โรงเรยี น ซึ่งมีความมุ่งหมายในการพัฒนาโรงเรียน นักเรียน ให้ได้รับการศึกษาที่เท่าเทียม สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับ ที่สูงข้ึน มีทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ อันจะส่งผลให้โรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชนพึงพอใจและเข้ามามีส่วนร่วม ในการพัฒนาการศกึ ษาของโรงเรยี น ผลการดาเนินงาน โรงเรียนมีความพร้อมในการดาเนินการ จานวน 17 โรง มคี วามพร้อมคอ่ นข้างมาก จานวน 4 โรง รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 30
แนวทางการพฒั นา 1. ควรปรับปรุงหลกั สูตรให้สอดคล้องกับยุคปจั จบุ นั ไทยแลนด์ 4.0 2. ควรสนบั สนุนงบประมาณเพ่มิ เตมิ ใหก้ ับโรงเรยี นขนาดเล็กท่ีจาเป็นต้องจดั จ้างครูผู้สอน 3. ควรกาหนดใหโ้ รงเรียนคุณภาพประจาตาบลได้รบั การประเมิน สมศ.รอบ 4 ในระยะเริ่มตน้ 2.3 โครงการโรงเรยี นประชารัฐ ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ขับเคลื่อน “โครงการโรงเรียนประชารัฐ”โดยประชุม ชี้แจงแนวทางการดาเนินงานโครงการโรงเรียนประชารัฐ ทบทวนหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อสอดคล้องกับนโยบาย ปรับปรุงข้อมูลพ้ืนฐานเสนอต่อผู้รับผิดชอบโครงการ นิเทศ กากับ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพตามนโยบายของ โครงการโรงเรียนประชารัฐ ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีโรงเรียนในโครงการโรงเรียนประชารัฐ เข้าร่วม จานวน 5 โรงเรยี นไดแ้ ก่ โรงเรยี นวชิรปา่ ซาง จงั หวัดลาพนู โรงเรยี นอโุ มงค์วิทยาคม โรงเรยี นเมืองปานพัฒนวิทย์ โรงเรียนทุ่งอุดมวิทยาและโรงเรียนเวียงตาลพิทยาคม ซึ่งโรงเรียนทั้ง 5 โรงได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอน เป็นไปตามกระบวนการของโครงการและได้จัดทากิจกรรมที่สนองต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ยกตัวอย่าง กจิ กรรมของโรงเรียนวชริ ปา่ ซาง ได้แก่ โครงการธนาคารขยะ สะสมคณุ ธรรมด้วยกระบวนการ I Clean Model รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 31
แนวทางการพัฒนา ควรจดั แสดงผลการปฏบิ ตั ิงานที่เปน็ เลิศ เพ่ือเป็นต้นแบบการดาเนนิ งาน 3. โครงการตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการและนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ขนั้ พ้นื ฐาน 3.1 โครงการอา่ นออก เขียนได้ และคดิ เลขเป็น ความเปน็ มา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่านการเขียนให้แก่ นักเรียน เพราะเป็นทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการศึกษาหาความรู้ควบคู่กับทักษะอื่น เป็นพ้ืนฐานท่ีสาคัญของการ เรียนรู้และการพัฒนาสติปัญญาของคนในสังคม ทาให้เกิดการพัฒนาด้านสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมและค่านิยมตา่ ง ๆ รวมทั้งชว่ ยในการเปล่ียนแปลงการดาเนินชีวติ ไปส่สู ิ่งที่ดที ่สี ดุ ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีข้อมูลสารสนเทศด้านการอ่านการเขียนของนักเรียน มีแนวทางการจัดการเรียนการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านการเขียนของนักเรียน และมีผลการประเมิน ระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O -NET) กลุ่มสาระภาษาไทย สงู กว่าค่าเฉล่ียระดบั ประเทศ นอกจากนั้น ยังสนับสนุนการจัดโครงการรักษ์ภาษาไทย เนื่องในสัปดาห์วันภาษาไทยแห่งชาติ ปี 2562 เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะด้านการอ่านการเขียนของนักเรียน ณ โรงเรียนลาปางกัลยาณี โรงเรยี นบญุ วาทย์วิทยาลัย และโรงเรยี นธีรกานทบ์ ้านโฮ่ง รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 32
แนวทางการพฒั นา พัฒนาแบบประเมินการอ่านการเขียนให้ครบทุกระดับช้ัน (ม.1 - ม.6) โรงเรียนรายงานผลการอ่าน การเขียนของนักเรียนเป็นรายบุคคลในระบบการรายงานการอ่านการเขียนทางเวบ็ ไซต์ http://thai.sesa35.info ปีการศกึ ษาละ 1 คร้ัง และนิเทศ กากบั ตดิ ตามการดาเนินงานของโรงเรียนอย่างสมา่ เสมอ 3.2 โครงการ การพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศของสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา (Big Data) ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ไดเ้ พ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การ โดยเน้นการพัฒนา หน่วยงานในสังกัด ให้เป็นหน่วยงานท่ีมีขีดสมรรถนะสูง มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็น Digital เข้ามาประยุกต์ใช้ อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาส ให้ทุกภ าคส่ว น เ ข้า ม ามีส่ ว นร่ ว ม เ พื่ อต อ บ ส น อ ง ความต้องการของประชาชนได้อยา่ งสะดวก รวดเร็ว ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีระบบข้อมูลสารสนเทศของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (Big Data) เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษา ของสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา และสถานศกึ ษานาร่อง 10 โรงเรียน สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือและสนับสนุน ให้ทุกภาคส่วนร่วมบริหารจัดการศึกษา ช่วยยกระดับ การบริหารงานของสถานศึกษาให้มีอิสระ นาไปสู่ การกระจายอานาจทั้ง 4 ด้าน ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี ตลอดจน ส่งเสริมสนับสนุน ให้สถานศึกษา นา Digital Technology มาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารอย่างเป็น ระบบ แนวทางการพัฒนา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จะดาเนินโครงการขยายผลระบบข้อมูลสารสนเทศของ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (Big Data) เพิ่มอีก 10 โรงเรียน รวมเป็น 20 โรงเรียนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และมแี ผนทจี่ ะขยายผลระบบสารสนเทศ ใหค้ รบทัง้ 45 โรงเรียนภายในปีงบประมาณ 2564 รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 33
3.3 โครงการนิเทศบรู ณาการโดยใชพ้ ้นื ท่ีเปน็ ฐานเพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ความเปน็ มา กระบวนการนิเทศการศึกษาเป็นภารกิจจาเป็นต่อการจัดการศึกษาที่ต้องอาศัยความร่วมมือจา กบุคคล หลายฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในหน่ว ยงาน จัดการศึกษาจาเป็นต้องพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพ ท้ังยังเปน็ สว่ นสาคัญในการส่งเสรมิ ระบบประกนั คุณภาพการศึกษา ท่ตี อ้ งพฒั นาคุณภาพผู้เรียนให้มี ทกั ษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีระบบนิเทศภายในของโรงเรียนในสหวิทยาเขต โดยคณะกรรมการนิเทศระดับสหวิทยาเขต ผู้ทรงคุณวุฒิ ครูผู้นิเทศ จานวน 45 โรงเรียน ประกอบด้วย ผู้บริหาร โรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนละ 12 คน เพื่อนิเทศติดตามการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในสหวิทยาเขต ปีละ 1 ครั้ง และจัดสรรงบประมาณให้ศูนย์สาระการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนตามบริบท ความต้องการของศูนย์ฯ จานวน 32 ศูนย์ โดยแบ่งเป็นศูนย์ระดับจังหวดั ลาปางและ จังหวัดลาพูน ส่งผลให้ผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน o-net ระดับชั้น ม.3 และ ม.6 มีค่าเฉล่ียร้อยละ ทุกวิชาสูงกว่าค่าเฉลี่ยรวมระดับประเทศและระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยอยู่ใน 10 ลาดับแรกของ 42 เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา และในภาพรวมของโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน จานวน 225 เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา แนวทางการพัฒนา ดาเนนิ การนิเทศโดยใช้เครอื ข่ายการนเิ ทศ และศึกษานิเทศก์นเิ ทศชนั้ เรยี น และสรา้ งความเขม้ แข็งระบบ นิเทศภายในสถานศกึ ษา รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 34
3.4 โครงการสร้างเครือขา่ ยและความรว่ มมือในการจัดการศกึ ษาระหวา่ ง สพฐ. สอศ. และหน่วยงาน ทางการศกึ ษา และโครงการหอ้ งเรียนอาชีพ (การแนะแนวเพอื่ การศึกษาต่อและการมีงานทา) ความเป็นมา การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการจัดการศึกษา ระหว่างหน่วยงานที่มีภารกิจเชื่อมโยงกัน มีความสาคัญในการ ขับเคล่ือนนโยบายเพื่อการมีงานทาของนักเรียน สานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จึงได้จัดทาโครงการ พั ฒ น า ค ว า ม เ ข็ ม แ ข็ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ น ะ แ น ว ในสถานศึกษาโดยการมีสว่ นร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อพัฒนา กระบวนการแนะแนวให้มีการใช้เครื่องมือทางจิตวิทยาในการ วัดแววและวัดความถนดั ทางอาชีพใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ ผลการดาเนนิ งาน จัดประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับการขับเคลื่อนงานแนะแนว เพื่อการศึกษาต่อและการมีงานทา วันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม 100 ปี โรงเรียนลาปางกัลยาณี มีผู้เข้าร่วมประชุม 60 คน ซึ่งครูแนะแนวและบุคลากรทางการแนะแนวสามารถใช้ เครื่องมือทางจิตวิทยา แบบวัดแวว แบบวัดถนัดอาชีพและสร้างเสริม ประสบการณ์อาชีพให้แก่นักเรียนในการวางแผนการประกอบอาชีพ ในอนาคตไดอ้ ย่างเหมาะสม แนวทางการพฒั นา จัดกิจกรรมให้ครูและบุคลากรทางการแนะแนวมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถพัฒนางานให้มีคุณภาพ และจัดใหม้ ีเวทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรู้นาเสนอผลงาน (Best Practice) อย่างตอ่ เนอื่ ง 3.5 โครงการอนิ เตอรเ์ น็ตความเรว็ สูง ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 มีการให้บริการด้านการส่ือสารข้อมูลทางด้านระบบ อนิ เทอรเ์ น็ตเพื่อให้ ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ปฏิบัติงานราชการ สืบค้นหนงั สอื ราชการ และบรกิ าร ข่าวสาร เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ รวมถึงให้บริการระบบสารสนเทศแก่สถานศึกษาในสังกัด ผ่านโครงการ ระบบวงจรส่อื สารความเรว็ สูง เพอื่ ใชบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 มีระบบวงจรสื่อสารความเร็วสูงเพื่อใช้บริการ อินเทอร์เน็ต มีระบบยืนยันตัวตนเพ่ือความปลอดภัยในการใช้ระบบอินเทอร์เน็ต และเพิ่มความเร็วของระบบ อนิ เทอรเ์ น็ตจากปี 2561 จากเดมิ 30/10Mbps เป็น 100/20Mbps สาหรบั วงจรหลัก และมวี งจรสารอง ความเร็ว 500/500Mbps รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 35
แนวทางการพฒั นา เพม่ิ ความเร็วของระบบอนิ เทอรเ์ นต็ และจัดเก็บการจราจรทางเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต เพ่ือประสิทธภิ าพ ในการใชง้ านมากขึน้ 3.6 การประกนั คุณภาพการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ความเปน็ มา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนา ให้ผ้เู รยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้ครบถว้ นตามมาตรฐานคุณภาพท่ีระบุไว้ในหลักสตู ร และใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรูค้ วามสามารถ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่างๆ เต็มศักยภาพของแต่ละบุคคลที่แตกต่างกันอย่างมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ตรงตามความมงุ่ หวงั ของสงั คม ผลการดาเนนิ งาน สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ภาพรวม ระดับดขี น้ึ ไป จานวน 45 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 100 จาแนกเปน็ ระดบั ยอดเยี่ยม จานวน 12 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 26.67 ระดับดีเลิศ จานวน 28 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 62.22 ระดับดี จานวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 11.11 และสถานศึกษาที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ จานวน 17 แห่ง ได้รับการสร้างความเข้าใจถึงระบบ ประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาทม่ี คี วามสัมพันธ์ และเชื่อมโยงกับการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบส่ี แนวทางการพัฒนา จัดการประชุมเพ่ือส่ือสาร สร้างความเข้าใจในการ ดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีเชื่อมโยงกับ ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ภ า ย น อ ก ร อ บ สี่ ใ ห้ กั บ บุ ค ล า ก ร ทุ ก ค น ในโรงเรียน และนิเทศ กากับ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาตลอดปีงบประมาณ เพ่ือประสิทธิภาพของระบบ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลดข้อจากัดในการ ส่อื สาร และความสับสนในการดาเนนิ งาน รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 36
3.7 โครงการการอบรมขยายผลตามโครงการพัฒนาครแู กนนาภาษาองั กฤษ (Boot Camp) สาหรับครผู ูส้ อนภาษาอังกฤษ ในสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 35 ปกี ารศกึ ษา 2562 ความเปน็ มา เน่ืองจากโ ครงการอบรมพัฒนาครูแ ก น น า ด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (Boot Camp) ระดับภูมิภาค ได้สิ้นสุดลงในรุ่นท่ี 20 ซึ่งยังมีครูผู้สอน ภาษาอังกฤษอีกจานวนหนงึ่ ที่ยงั ไม่ได้เข้ารับการอบรมพฒั นา ตามโครงการดังกล่าว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 จึงได้จัดทาโครงการขยายผลโครงการ พัฒนาครูแกนนาภาษาองั กฤษในระดับภมู ิภาค (Boot Camp) สาหรับครูในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ที่ยังไม่ได้เข้ารับการอบรม และนิเทศติดตา ม เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษอย่างเปน็ ระบบ ผลการดาเนนิ งาน 1. ครูท่ีผ่านการอบรมมีสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอน แบบ Communicative Approach และ Active Learning ร้อยละ 100 (ผลจากการนิเทศ ช้ันเรียนและการติดตามครูผู้ผ่านการอบรม Boot Camp) 2. ครูมีความรู้ ความเข้าใจ ในเร่ืองเทคนิคการสอน ตามแนวการจัดการเรียนการสอนแบบ Boot Camp โดยภาพรวม อยู่ในระดับดีมาก-ดี คิดเป็นร้อยละ 89.73 (ผลจากครูผู้สอนประเมิน ตนเอง หลงั การอบรม) รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 37
- Classroom Language & Giving Instruction ระดับ ดีมาก ร้อยละ 50 ดี ร้อยละ 50 - Teaching Vocabulary & Activities for Teaching Vocabulary ระดับดีมาก ร้อยละ 53.60 ดี ร้อยละ 46.40 - Lesson Planning & Activity Cycle ระดบั ดมี าก รอ้ ยละ 46.40 ดี ร้อยละ 50 ปานกลาง ร้อยละ 3.60 - CLT & Grammar Teaching หลังการอบรม ระดบั ดมี าก ร้อยละ 42.90 ดี ร้อยละ 50 ปานกลาง รอ้ ยละ 7.1 - Teaching Receptive ระดับดีมาก ร้อยละ 35.70 ดี ร้อยละ 57.10 ปานกลางร้อยละ 3.60 น้อย ร้อยละ 3.60 - Teaching Integrated Skills ระดับ ดีมาก รอ้ ยละ 39.30 ดี ร้อยละ 57.10 ปานกลาง รอ้ ยละ 3.60 - Motivating learners & Using Technology in Teaching ระดับ ดีมาก ร้อยละ 25 ดี ร้อยละ 71.40 ระดับ ปานกลาง ร้อยละ 3.60 - Assessment for learning Monitoring and Feedback ระดับ ดีมาก ร้อยละ 28.60 ดี ร้อยละ 14.30 ปานกลาง ร้อยละ 17.90 นอ้ ย ร้อยละ 3.60 แนวทางการพฒั นา 1. จัดกิจกรรมอบรมต่อเน่ืองให้แก่ครูที่พัฒนาแล้ว และยังไม่ได้รับการพัฒนา เพ่ือเพิ่มทักษะในการจัด กิจกรรมแบบ Communicative Approach และ Active Learning ในรูปแบบตา่ ง ๆ 2. จดั กจิ กรรม PLC ใหแ้ ก่ครูภาษาอังกฤษเพื่อให้ครูไดม้ ีโอกาสแลกเปล่ยี นประสบการณ์ 3. นเิ ทศ ติดตามครทู ่ไี ด้รับการพฒั นา 4. จดั ทางานวิจัยเพ่ือพัฒนาครูผ้สู อนภาษาอังกฤษ 5. จัดทาโครงการประกวด Best Practice ด้านต่างๆ เช่น สื่อนวัตกรรม รูปแบบการสอน การทาวิจัย ชนั้ เรียน 3.8 โครงการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก “บรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ สคู่ วามย่ังยืน” ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ดาเนินงานตามปฏิทินการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยกรอกข้อมูล การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก (โรงเรียนท่ีมีนักเรียน 120 คน ลงมา) ผ่านระบบ Google Form และจัดทาแผนบริหารจัดการ โรงเรียนขนาดเล็ก ปีการศึกษา 2562 – 2565 ส่งให้สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เมอ่ื วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2562 รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 38
ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีโรงเรียนขนาดเล็ก (โรงเรียนที่มีนักเรียน 120 คนลงมา จากข้อมูล จานวนนักเรียน ณ วันที่ 10 มถิ นุ ายน 2562) จานวน 5 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเวียงตาลพิทยาคม โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม โรงเรียน เมืองมายวิทยา โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคี โรงเรียนสบจางวิทยา คิดเป็นร้อยละ 11.11 ของโรงเรียนท้ังหมด ซึ่งไม่ได้กาหนดแผน ในการควบรวมเนื่องจากโรงเรียนสามารถบริหารจัดการศึกษา ด้วยตนเองได้ และส่วนหนึ่งเพื่อรองรับนักเรียนด้อยโอกาสท่ีมี ความต้องการเรยี นโรงเรียนใกลบ้ า้ น แนวทางการพัฒนา การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ควรเน้นไปที่ การพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นการพัฒนาสมรรถนะที่จาเป็น เช่น ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ เนื่องจากโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดท้ัง 5 โรง มีความจาเป็น ต้องรองรับนักเรียนในพื้นท่ีท่ีด้อยโอกาสเพื่อลดความเหล่ือมล้า ทางการศึกษา 3.9 โครงการจัดตั้งกลมุ่ โรงเรียน ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัดตั้งกลุ่มโรงเรียน โดยใช้ช่ือสหวิทยาเขต เพื่อเป็น การกระจายอานาจการบรหิ ารจัดการและสรา้ งความเขม้ แข็งของโรงเรียนในการพัฒนาการจดั การศึกษาตามบริบท ของสหวทิ ยาเขต โดยสนับสนุนงบประมาณให้สหวิทยาเขตพฒั นาคุณภาพการศึกษาสาหรบั ดาเนินการทางวิชาการ การแขง่ ขันทักษะวิชาการและกจิ กรรมอืน่ ๆ ทพี่ ัฒนาโรงเรยี นภายในกลุ่มให้สามารถบรหิ ารจดั การและจัดกจิ กรรม การเรียนรู้ให้แก่นักเรียนอย่างมีคุณภาพ และสามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามตัวชี้วัดความสาเร็จ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและสามารถดาเนินกิจกรรมอันเป็ นบริบทต่อการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงสถานศึกษาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 39
ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 กระจายอานาจการบริหารจัดการ ให้กับโรงเรียน โดยผ่าน คณะกรรมการบริหารงานของสหวิทยาเขต ได้แก่ การจัด โครงการแขง่ ขันความเป็นเลิศทางวชิ าการ โครงการคา่ ยลูกเสือ ต้านภัยยาเสพติดของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 และร่วมเป็นคณะกรรมการ พิจารณาการเกลี่ยอัตรากาลังครู และการเตรียมการจัดต้ัง งบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ทดี่ ินและส่งิ กอ่ สรา้ ง) แนวทางการพัฒนา จัดกิจกรรมภายในสหวิทยาเขต เพ่ือพัฒนาคุณภาพ ท า ง วิ ช า ก า ร ร่ ว ม กั น เ พื่ อ ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง แ ล ะ มี ก า ร พั ฒ น า อย่างตอ่ เนอื่ ง การดาเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 1. โครงการสง่ เสริม พัฒนาทักษะและแลกเปลี่ยนประสบการณท์ างวชิ าการ ความเปน็ มา สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 ขบั เคลอื่ น นโยบายการดาเนินงานตามจุดเน้น 6 ยุทธศาสตร์การปฏิรูป การศึกษา ซ่ึงการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการบริหาร จัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง โดยครอบคลุมถึง กิจกรรมและภารกิจทางวิชาการและทางการบริการ การจัดการท่ีมี ระบบ มีการวางแผนล่วงหน้า เพื่อที่จะสร้างความม่ันใจ ที่สมเหตุสมผลว่าผู้เรียนจะมีความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์ตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 40
ผลการดาเนินงาน กจิ กรรม : อบรมครผู ู้นิเทศ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 และ โรงเรียนในสังกัดมีระบบการนิเทศภายในสถานศึกษาท่ีเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ โดยครูผู้นิเทศ จานวน 330 คน ได้รับการพัฒนา ให้มีความรู้ความใจ เทคนิควิธีการนิเทศการขับเคลื่อนโครงการและ นโยบาย เพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รียน กิจกรรม : การอบรมครผู ู้รบั ผิดชอบงานประกนั คณุ ภาพ ภายใน (SAR) ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทารายงานการประเมิน ตนเอง (self-assessment report: SAR) ณ ห้องประชุมปันเจิง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 วันที่ 11 มิถุนายน 2562 พบว่า ครูท่ีรับผิดชอบงานประกันคุณภาพมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียน SAR แนวใหม่ท่สี อดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 3 มาตรฐาน สามารถเขียนผลการดาเนินงาน ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนตนเองได้ ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ ค รู ท่ี รั บ ผิ ด ช อ บ ง า น ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ มีความพึงพอใจต่อการนิเทศของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 อยู่ในระดับดีมาก มีความตระหนักในการ ดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ และ เตรยี มพร้อมรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกแนวใหม่รอบส่ี แนวทางการพฒั นา 1. สง่ เสรมิ สนับสนนุ และกากับติดตามให้โรงเรยี นมีระบบนเิ ทศภายในที่เขม้ แขง็ 2. พฒั นาครผู ู้นิเทศอย่างต่อเนื่องเพ่ือเติมเต็มเทคนคิ วิธกี ารนเิ ทศ 3. ควรมีกลไกหรือมาตรการในการดาเนินการให้ผู้บริหารสถานศึกษาทุกแห่งได้ตระหนักและเห็น ความสาคัญของการดาเนนิ งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 4. จัดสรรงบประมาณในการจัดทาสรุปรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพื่อให้มี คณะดาเนินงานในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดระบบข้อมูลให้มีความชัดเจน ถูกต้อง และผ่านการตรวจสอบ จากผู้ท่ีมีความชานาญ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 41
2. โครงการพฒั นาครูผ้ชู ว่ ยให้ได้รับการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มก่อนแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ครูด้วยระบบ TEPE Online ความเปน็ มา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐานจัดทาระบบพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยยดึ ถือ ภารกจิ และพื้นท่ีปฏิบัติงานเปน็ ฐานดว้ ยระบบ TEPE Online ซง่ึ เปน็ หลกั สูตรที่เสริมสร้างศักยภาพของข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีเชื่อมโยงกับความก้าวหน้าทางตาแหน่งและวิทยฐานะในการปฏิบัติงานในหน้าท่ี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเรียนรู้ได้ตามกระบวนการพัฒนาทุกสถานที่ ทุกเวลา ตามความต้องการและ ความสนใจ โดยให้สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา เปิดหลกั สตู รการพฒั นา จานวน 3 หลักสูตร ไม่เกินรนุ่ ละ 100 คน ได้แก่ หลักสูตรเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งครู หลักสูตรพัฒนาก่อนแต่งต้ัง ให้มีวทิ ยฐานะชานาญการพิเศษและวทิ ยฐานะเช่ียวชาญ ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 เปิดหลักสูตรการพัฒนาการเตรียมความพร้อม และพัฒนาอย่างเข้มก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งครู โดยมีผู้สาเร็จการพัฒนาตามโครงสร้างของหลักสูตร จานวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 80 ซ่ึงสามารถช่วยให้ครูมีโอกาสได้รับการพัฒนาโดยทั่วถึงเท่าเทียมกันตามศักยภาพ โดยไมท่ ิง้ ห้องเรยี น แนวทางการพฒั นา ควรส่งเสรมิ การพฒั นาใหเ้ ปน็ โครงการพัฒนาต่อเนือ่ งในปีต่อไป 3. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและลูกจ้างประจา พน้ จากราชการเนื่องจากเกษยี ณอายุ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จัดให้มีการให้ความรู้เก่ียวกับสิทธิประโยชน์อันพึงได้ ของผู้เกษียณอายุราชการในสังกัด ว่ามีสิทธิประโยชน์หรือสวัสดิการอะไรบ้างที่พึงมีพึงได้ ตามพระราชบัญญัติ บาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม พระราชบัญญัติบาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบาเหน็จลูกจ้าง พ.ศ. 2519 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ประกอบกับ ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการขอรบั และการจ่ายบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ พ.ศ. 2527 สามารถให้ผู้ที่จะ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 42
เกษียณอายุราชการสามารถยื่นคาขอรับบาเหน็จบานาญต่อส่วนราชการเจ้าสังกัดล่วงหน้าได้เป็นเวลา 8 เดือน ก่อนวันครบเกษียณอายุ ตามหลักเกณฑ์ที่กรมบัญชีกลางกาหนด ท้ังนี้ เพ่ือให้ข้าราชการและลูกจ้างประจา ผู้เกษียณอายุราชการได้รับบานาญต่อเนื่องกับเงินเดือนในเดือนตุลาคม 2562 โดยไม่ต้องรอคาสั่งเล่ือนขั้น เงนิ เดือนหรือเลื่อนคา่ จ้าง ณ วนั ท่ี 1 เมษายน หรือ 30 กันยายน 2562 แต่อยา่ งใด ผลการดาเนนิ งาน ผเู้ กษียณอายรุ าชการในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 เขา้ รว่ มประชุม จานวน 105 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 บันทึกข้อมูลการขอรับเงินบาเหน็จบานาญ บาเหน็จรายเดือน และเงินกองทุน กบข. ผ่านระบบ e – filing และ สามารถรับบานาญรายเดือน และบาเหนจ็ รายได้ตามระยะเวลาภายในเดอื นตุลาคม 2562 แนวทางการพัฒนา ควรดาเนินโครงการต่อเนื่องในปีงบประมาณ 2563 เพื่อให้ผู้เกษียณอายุราชการได้วางแผนการใช้เงิน ภายหลังจากการเกษยี ณอายุราชการ 4. โครงการประชมุ เชิงปฏิบัติการจดั ทาแผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2562 – 2566) และ แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ โดยใช้แผนเป็นกรอบทิศทาง การดาเนินงาน ดังนั้น เพ่ือให้แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2562 - 2566) และแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีความเชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนและนโยบายสาคัญต่าง ๆ ของชาติ ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ภายใต้บริบทและสภาพแวดล้อมของพื้นท่ี จึงได้จัดทาโครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2562 - 2566) และแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 43
Search