Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง (อช21003) ม.ต้น

การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง (อช21003) ม.ต้น

Published by Mr.Peerapat Pimboon, 2021-02-07 04:14:10

Description: การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง (อช21003) ม.ต้น

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรียนสาระการประกอบอาชพี รายวิชา การพัฒนาอาชีพใหมีความเขม แข็ง (อช21003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หา มจาํ หนาย หนงั สอื เรียนเลมนี้จัดพมิ พดวยเงนิ งบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชวี ติ สําหรับประชาชน ลขิ สทิ ธ์ิ เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 31/2555 หนงั สอื เรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า การพฒั นาอาชพี ใหม คี วามเขม แข็ง (อช21003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554 ลิขสทิ ธเ์ิ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดบั ท่ี 31/2555



สารบญั หนา คํานํา 5 คําแนะนาํ การใชหนังสือเรยี น 6 โครงสรางรายวิชาการพัฒนาอาชพี ใหม ีความเขมแข็ง ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 7 บทท่ี 1 ศกั ยภาพธรุ กิจ 8 9 ใบความรูที่ 1 การพัฒนาอาชีพเพื่อความเขมแข็ง 13 ใบความรูที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 13 ใบความรูที่ 3 การวิเคราะหตําแหนง ธรุ กจิ 13 ใบความรูที่ 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลา 17 บทท่ี 2 การจดั ทําแผนพัฒนาการตลาด 22 ใบความรูที่ 1 การกําหนดทิศทางและเปาหมายการตลาด 27 ใบความรู ท่ี 2 การกาํ หนดและวเิ คราะหกลยทุ ธส ูเปาหมาย 30 ใบความรู ที่ 3 การกําหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด 31 บทท่ี 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรอื การบรกิ าร 33 ใบความรูที่ 1 การกาํ หนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ 36 ใบความรูที่ 2 การวิเคราะหทุนปจจัยการผลิตหรือการบริการ 38 ใบความรูที่ 3 การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 41 ใบความรูที่ 4 การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรือการบรกิ าร 43 ใบความรูที่ 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร 44 บทท่ี 4 การพฒั นาธุรกจิ เชิงรกุ 45 ใบความรทู ี่ 1 ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชงิ รุก 46 ใบความรูท ี่ 2 การแทรกความนยิ มเขาสูต ลาดของผูบริโภค 48 ใบความรูที่ 3 การสรา งรปู ลักษณค ุณภาพสินคา ใหม 53 ใบความรูท่ี 4 การพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง 54 บทท่ี 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง 56 ใบความรทู ่ี 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผน 63 ใบความรูท่ี 2 การเขยี นโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง 65 ใบความรทู ี่ 3 การตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง ใบความรทู ่ี 4 การปรับปรุงโครงการพัฒนาอาชีพ

คําแนะนําการใชห นงั สอื เรียน หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน รหัส อช21003 เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึน้ สําหรับผูเ รียนทีเ่ ปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษา หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการพฒั นาอาชพี ใหม คี วามเขม แขง็ ผเู รียนควรปฏบิ ัติดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง และ ขอบขายเนื้อหาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด ถายังไมชัดเจน ควรทําความเขาใจในเนอ้ื หาน้ันใหมใหเ ขาใจ กอนทจี่ ะศกึ ษาเรื่องตอ ๆ ไป 3. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมใบงานทายเรื่องของแตละบท เพอ่ื เปน การสรุปความรู ความเขาใจของเนือ้ หาใน เรื่องนัน้ ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมใบงานของแตละบท ผูเ รียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและ เพื่อน ๆ ทร่ี วมเรียนในรายวิชาและระดบั เดียวกนั ได 4. หนงั สอื เรียนเลมน้ีมี 5 บท บทที่ 1 ศักยภาพธุรกจิ บทที่ 2 การจดั ทาํ แผนพฒั นาการตลาด บทที่ 3 การจดั ทําแผนพัฒนาการผลติ หรอื การบริการ บทที่ 4 การพฒั นาธรุ กิจเชงิ รุก บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง

โครงสรางรายวิชารายวิชา พฒั นาอาชพี ใหม คี วามเขมแขง็ (อช21003) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง จําเปนตองศึกษา วิเคราะหศักยภาพของธุรกิจแลวจัดทํา แผนพฒั นาการการตลาด แผนพัฒนาการผลติ หรือการบริการ กํากับดแู ลเพือ่ ใหอ าชีพสคู วามเขมแขง็ ผลการเรียนรทู คี่ าดหวัง 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความจําเปนในการพัฒนาอาชีพใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพียงตอการดํารงชีวิต และเหลือเงินออมตามศักยภาพ 2. วเิ คราะหศ ักยภาพธุรกิจ การตลาด การผลติ หรือการบรกิ าร แผนธรุ กิจ เพื่อสรางธุรกิจใหมีความ เขมแข็ง 3. อธิบายวิธีการจัดระบบการพัฒนาอาชีพสูความเขมแข็ง 4. ปฏิบัติการจัดทําแผนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง ขอบขา ยเน้ือหาวชิ า บทที่ 1 ศักยภาพธรุ กจิ บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด บทที่ 3 การจดั ทาํ แผนพัฒนาการผลิตหรอื การบริการ บทที่ 4 การพฒั นาธรุ กิจเชงิ รุก บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง

7 บทท่ี 1 ศกั ยภาพธรุ กจิ สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็งจําเปนตองรจู กั การวเิ คราะหศักยภาพของธุรกจิ และวิเคราะห ตาํ แหนง ธุรกิจของตนในระยะตา งๆ ได รวมถงึ การวิเคราะหศ กั ยภาพธุรกิจของตนเองบนเสน ทางของเวลา ตัวช้วี ดั 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพเพื่อความเขมแข็ง 2. อธิบายความจําเปน และคุณคาของการวิเคราะหศักยภาพของธุรกิจ 3. สามารถวิเคราะหตําแหนงธุรกิจในระยะตางๆ 4. สามารถวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ ขอบขายเน้ือหา 1. ความหมาย ความสําคัญ และความจําเปนในการพัฒนาอาชีพเพื่อความเขมแข็ง 2. ความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 3. การวเิ คราะหต าํ แหนง ธุรกจิ 4. การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ สื่อการเรยี นรู ใบความรู / ใบงาน การพัฒนาอาชีพเพื่อความเขมแข็ง ใบความรู / ใบงาน การวเิ คราะหศักยภาพธรุ กจิ ใบความรู / ใบงาน การวเิ คราะหต ําแหนงธุรกิจ ใบความรู / ใบงาน การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่

8 ใบความรทู ่ี 1 การพัฒนาอาชพี เพื่อความเขมแขง็ การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การประกอบอาชีพที่มีการพัฒนาสินคา หรือผลิตภณั ฑใ หตรงกับความ ตองการของลูกคาอยูต ลอดเวลา โดยมสี วนครองตลาดไดตามตองการของผูผลติ แสดงถงึ ความมน่ั คงในอาชพี การพฒั นาอาชีพเพอ่ื ความเขมแข็ง มีความจําเปนและสําคัญ คือ 1. ทําใหอาชีพที่ประกอบการเจริญกาวหนาขึ้น เขมแข็ง พึ่งตนเองได 2. ทําผูประกอบการพัฒนาตนเองไมลาสมัย 3. ชว ยใหสรา งภาพลักษณทีด่ ีใหก ับตนเองและกิจการหรือองคก ร 4. ทําใหองคกรดึงบุคลากรที่มีความสามารถสูงเขามาทํางานไดมากขึ้น 5. เปนการรับประกันบุคคลมีความสามารถทํางานอยูกับองคกรตอไป ใบงานท่ี 1 พัฒนาอาชพี เพ่ือความเขมแขง็ ใหผ ูเรียนรวมกลมุ กัน 5 คน อภิปรายวา “การพัฒนาอาชีพมีความจําเปนจริงหรือ อยางไร” แลว จด บนั ทกึ สรุปผลการอภิปราย ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

9 ใบความรูท ี่ 2 การวเิ คราะหศักยภาพธรุ กิจ ศักยภาพ คือ ความสามารถภายในรางกายทีซ่ อนเรน และยังไมถูกนํามาใชในการพัฒนาธุรกิจหรือ ดําเนินการในสิง่ ตา งๆ การพัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลงอยางมีกระบวนการโดยมีจุดมุงหมายกําหนดไว การพัฒนาศักยภาพ คือ การนําเอาความสามารถที่ซอนเรนภายในมาใชประโยชนอยางมี กระบวนการ เพอ่ื ใหไดผลงานเกิดประสิทธิภาพทีด่ ที ี่สดุ การวเิ คราะห คือ การแยกแยะสิ่งที่จะพิจารณาออกเปนสวนยอย ทีม่ ีความสัมพันธกัน รวมถึงสืบคน ความสมั พนั ธสว นยอยเหลา นน้ั การวเิ คราะหศ กั ยภาพธุรกจิ คือ การแยกแยะสวนยอยของความสามารถทีซ่ อนเรนใยตัวตนนํามาใช ประโยชนอ ยา งมกี ระบวนการ เพอื่ ผลงานท่ีดที ีส่ ุด คณุ คาและความจาํ เปน ของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 1. ผปู ระกอบการรจู ักตัวเอง, คแู ขง ขนั 2. ผูป ระกอบการสามารถวางกลยุทธทางธุรกิจไดหลายระดับ และแบงแยกหนาที่ไดชัดเจน เหมาะสมกับความถนัด 3. ผูประกอบการสามารถมองหาลูทางการลงทุนไดดีขึ้น ตัวอยา งการวิเคราะหศักยภาพธรุ กิจ คณุ พงษศ กั ดิ์ ชัยศิริ เจา ของรา นเฟอรนิเจอรเ ครื่องเรือนไม 1. มีใจรักดานการคาเฟอรนิเจอร ชอบบริการงานดานการขาย 2. มมี นุษยสมั พันธท ด่ี ี ยิ้มแยมแจมใส เปนกนั เอง ออ นนอ มถอ มตน 3. มีความซื่อสัตยตอลูกคา ขายสินคาเหมาะสมกับราคา ไมเอาเปรียบลูกคา 4. มีความรดู า นเฟอรน ิเจอรเ คร่อื งเรอื นไมเ ปนอยางดี 5. ทําเลที่ตั้งรานมีความเหมาะสม 6. มเี งนิ ทนุ หมุนเวียนคลอ งตวั 7. มีสวนแบงตลาดในทองถิ่นประมาณ 30% 8. ลูกคาสวนใหญอาชีพพนักงานบริษัท ขาราชการ ระดับรายไดปานกลาง ในหมูบ านจัดสรร บริเวณใกลเคียงประมาณ 7 หมูบานแถบชานเมือง 9. ในทองถิ่นมีผปู ระกอบกิจการคา เฟอรนิเจอรไ มเชน เดยี วกัน 3 ราย 10. ทิศทางในอาชีพนี้ ยังมีอนาคตอีกยาวไกลจะมีจํานวนหมูบานจัดสรรเพิม่ ขึ้นในแถบนี้อีก ประมาณ 5 หมูบ าน

10 จะเห็นไดวา การวิเคราะหศักยภาพมีความสําคัญและจําเปนตอการพัฒนาอาชีพใหเขมแข็งมาก หาก ไดวิเคราะหแยกแยะศักยภาพของตนเองอยางรอบดาน ปจจัยภายในตัวตนผูประกอบการ ปจจัยภายนอกของ ผูป ระกอบการ โอกาสและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจการคา ยิง่ วิเคราะหไดมากและถูกตองแมนยํามาก จะทําใหผูประกอบการรูจักตนเอง อาชีพของตนเองไดดียิง่ ขึน้ เหมือนคํากลาว รูเขา รูเรา รบรอยครัง้ ชนะทัง้ รอ ยครง้ั ใบงานท่ี 2 การวเิ คราะหศักยภาพธุรกจิ ใหผูเ รียนวิเคราะหศักยภาพธุรกิจอาชีพของตนเอง หรืออาชีพที่ตนเองสนใจจากปจจัยภายในตัวตน ของผูเรียนและปจจัยภายนอกที่แวดลอม รวมถึงโอกาสท่ีดี อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นเปนลําดับเหมือนตัวอยาง ใบความรทู ่ี 2 .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

11 ใบความรทู ี่ 3 การวเิ คราะหต ําแหนง ธรุ กิจ ตําแหนงธุรกิจ หมายถึง ระยะเวลาในชวงการประกอบอาชีพหรือธุรกิจของผูประกอบการแตละ ระดบั ข้ันตอนของการดําเนินกจิ การ โดยทว่ั ไปแบงระยะดังน้ี 1. ระยะเรม่ิ ตน 2. ระยะสรางตัว 3. ระยะทรงตัว 4. ระยะตกต่ําหรือสูงขึ้น ซึ่งจะอธิบายเปนรูปแบบกราฟดังนี้ มูลคาธรุ กจิ 4.1 ธุรกิจกา วหนา จะมผี ูคนเขา มา เรยี นรูทาํ ตาม ทําใหเกดิ วิกฤตสว น แบง ทางการตลาด 1. ระยะเรม่ิ ตน 2. ระยะสรา งตัว 3.ระยะทรงตัว 4.2 ถาไมม ีการพัฒนาธรุ กิจจะเปน ขาลง จาํ เปน ตอ งขยายขอบขา ย จงึ มคี วาม ตอ งการใชนวัตกรรมเทคโนโลยเี ขา มาใช เวลา 4. ระยะสูงขน้ึ หรอื ตกตา่ํ 1.เปน ระยะท่ี 2- 3 ธุรกิจอยูใ นชวงพัฒนา อาชีพหรอื ธุรกิจอยู ขยายตวั หรือยังทรงตัวจะมคี น ในระยะฟก ตวั ของ จบั ตามองและพรอ มทาํ ตาม การเขา สอู าชพี (เริ่มมคี แู ขงขัน) กราฟวิเคราะหตําแหนง วงจรธรุ กจิ

12 1 ระยะเร่ิมตน เปนระยะท่ีอาชีพหรอื ธรุ กิจอยใู นระยะฟกตวั ของการเขาสอู าชีพ 2 – 3 ระยะสรางตัว และระยะทรงตัว ธรุ กจิ อยใู นชว งพฒั นาขยายตวั หรือยังทรงตัวอยูจะมีคนจับตา และพรอมทําตาม (เร่ิมมีคูแขงขันทางการคา) 4 ระยะตกตํ่าหรอื สูงขน้ึ 4.1 เมอ่ื ธุรกิจกา วหนาจะมผี คู นเขามาเรยี นรู ทาํ ตาม ทาํ ใหเกิดวิกฤตสิ วนแบงทางการตลาด 4.2 ถาไมมีการพัฒนาธุรกิจจะเปนขาลง จําเปนตองขยายขอบขายจึงมีความตองการใช นวัตกรรม เทคโนโลยีเขาใชงาน ผปู ระกอบการตอ งมีการวเิ คราะหต ําแหนงธรุ กจิ ในอาชีพหรือกจิ การของตนใหไดวาอยูในชวงระยะ ใด กําลังขยายตัว ทรงตัว หรือเปนขาขึน้ และหรือขาลง ซึ่งในใบความรูต อไปจะเปนการวิเคราะหมุมมอง กิจการผลประกอบการกําไร – ขาดทุนแตละระยะเวลาในการดําเนินธุรกิจที่ตอเนือ่ งกัน ทําใหเราไดทราบวา ขณะน้เี ราจดั อยูในชวงไหนในการวิเคราะหจดั ตําแหนงธรุ กจิ ระยะทรงตวั ขาขึน้ หรอื ขาลง ใบงานท่ี 3 การวเิ คราะหที่ตําแหนงธุรกจิ ใหผูเ รียนวิเคราะหตําแหนงธุรกิจอาชีพของตนเองหรือาชีพทีต่ นเองสนใจวาในขณะนัน้ อยูใ นระยะใด และใหเ หตผุ ลประกอบดว ย .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

13 ใบความรูท ี่ 4 การวเิ คราะหศกั ยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตล ะพืน้ ท่ี เสน ทางของเวลา คือ วัฎจักรของการประกอบอาชีพ ธุรกิจ สินคา หรือบริการในชวงระยะเวลาหนึง่ ของการดําเนินกิจการ ตวั อยาง การปลกู คะนาใน 1 ฤดูกาลการเกบ็ เกี่ยว กิจกรรม การ การ การ การ บริหาร วางแผน เตรียม จดั การ การจดั การสรปุ จาํ หนา ย ยอด จดั การ ปจ จยั การ แรงงาน กาํ ไร- ผลติ ขาดทนุ การผลิต การ การปลกู การ การเกบ็ เตรียมดนิ บาํ รงุ รักษา เกี่ยว ผกั คะนา การ จัดหา การ จดั การ เงินทนุ จดั การ เงนิ ทนุ หมนุ เวยี น เงินทนุ หมนุ เวยี น หมนุ เวียน ชว ง 1 2 3 4 5 6 7 8 ระยะเวลา ระยะเวลา ตัวอยา ง การปลูกผักคะนาในชวงฤดูหนาวแบงออกเปน 8 ชวง มีความสัมพันธกับกิจกรรม 3 รูปแบบคือ 1 การบรหิ ารจดั การ 2 การผลิตผักคะนา 3 การจดั การเงนิ ทนุ หมนุ เวยี น ระยะเวลา ที่แบงเปน 8 ชวงในชวงฤดูหนาว ขั้นตอนที่ 1, 2, 3 เปนการวางแผน, เตรียมปจจัยการ ผลิต จัดหาแรงงานของกิจกรรมการบริหารจัดการ ซึ่งสัมพันธกับกิจกรรมการจัดการเงินทุนหมุนเวียน ในชวง 1, 2, 3 คือ การเตรียมการสวนลงทุนจัดหาเงินทุนเพื่อดําเนินกิจกรรม ซึง่ ตอมามีการตอเนือ่ งในชวง 4, 5, 6, 7 ที่เกย่ี วของกับการผลิต (การเตรียมดิน, การปลุก, การบํารุงรักษา, การเก็บเกีย่ ว) จนไดผลิตผลและ จัดจําหนายไดรับเงินในระยะเวลาที่ 8 ซึ่งสัมพันธกับการจัดการเงินทุนหมุนเวียน การจัดหาเงินหมุนเวียน ไดรับเงินจากการผลิตคะนาในชวงระยะเวลาที่ 8ซึง่ สัมพันธกับกิจกรรมการบริหารจัดการ คือ การสรุปยอด กําไรขาดทุนเปนการสรุปรวบยอดผลการประกอบการ จะเหน็ ไดวา ในการประกอบธรุ กจิ อาชีพหนึง่ ๆ หากไดมีการวเิ คราะหศกั ยภาพธุรกิจบนเสนทางของ เวลาอยางตอเนื่องในชวงดําเนินกิจกรรมจะชวยใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดไว

14 การดาํ เนนิ ธุรกิจอาชพี การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลา ทําใหทราบถึงผลประกอบการกําไร - ขาดทุน ในชวงเวลาหน่ึง หากมีการวเิ คราะหอยา งตอเนื่อง เชน หวงเวลา 1 + หวงเวลา 2 + หวงเวลา 3 ทําใหไดทราบ และพยากรณถ งึ ตาํ แหนงธรุ กจิ ของตนเองไดวา อยูในชว งขาขน้ึ - หรือขาลง การวิเคราะหศักยภาพบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพื้นที่ คือ การแยกแยะ กระบวนการทางธุรกิจ หรือการดําเนินการดานอาชีพหรือการประกอบอาชีพ โดยแบงตามชวงระยะเวลา ดําเนินกิจกรรม และมีเปาหมายคือ ผลการประกอบการในชวงเวลานัน้ เมือ่ เปรียบเทียบชวงกอนหนานัน้ จัดอยูป ระเภทขาขึน้ หรือขาลงในตําแหนงธุรกิจโดยเขียนเปนผังการไหลของงาน เพือ่ ใชเฝาระวังการ ดําเนินงานใหกําหนดภารกิจการทํางานเปนเรื่อง ๆ จัดลาํ ดบั กอน - หลงั ดงั ตอ ไปน้ี 1. ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแตละพน้ื ท่ี ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ ซึง่ มนุษยสามารถนําไปใชใหเกิด ประโยชนตอชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพได เชน การวางแผนการปลูกคะนา มีแหลงน้าํ เพียงพอ ตอระยะเวลาในการปลูก 1 ฤดูกาล หรือไม และความอุดมสมบูรณของดินมีมากนอยเพียงใด ซึง่ จะสงผลตอ การปรับปรุงบํารุงดินและการใสปุยคะนา 2. ศกั ยภาพของพ้นื ทต่ี ามลกั ษณะภมู ิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจําถิน่ ในชวงระยะเวลาหนึง่ ซึง่ มีอิทธิพลตอการ ประกอบอาชีพในแตละพื้นทีม่ ีสภาพอากาศทีแ่ ตกตางกัน การเตรียมปจจัยการปลูกคะนาเกีย่ วกับเมล็ดพันธุ ควรเลือกเมลด็ พันธุใ หเ หมาะสมกบั ฤดูกาล เพราะจะทําใหคะนามีการเจริญเติบโตที่ดี 3. ศักยภาพของภูมปิ ระเทศ และทาํ เลทตี่ ้งั ของแตล ะพ้นื ที่ ภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผนดิน ความสูงต่ํา ทีร่ าบลุม ที่ราบสูง ภเู ขา แมนํา้ ทะเล เปน ตน สภาพภมู ปิ ระเทศในการปลกู คะนา ควรเลอื กพื้นที่ที่ราบสงู ใกลแ หลง นํ้า 4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ิตของแตล ะพืน้ ที่ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หมายถึง ความเชือ่ การกระทําทีม่ ีการปฏิบัติสืบเนือ่ งกันมาเปน เอกลกั ษณ และมีความสาํ คัญตอ สังคม ในแตละภาคของประเทศไทย มีวิถีชีวิต ความเปนอยู และการบริโภคทีแ่ ตกตางกัน การปลูกคะนา ควรปลกู ใหตรงกับความตองการของผบู ริโภคและตลาด 5. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ นแตล ะพืน้ ที่ ทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยทีเ่ ปนภูมิรู ภูมิปญญา ทงั้ ในอดีตและปจ จบุ นั ตางกัน ในแตล ะทองถ่ินมีความถนัดและความชํานาญในการจัดการแรงงาน การดูแล รกั ษา การเก็บเกย่ี วท่ไี มเหมอื นกนั สง ผลใหผลผลติ และรายไดทตี่ า งกนั

15 ใบงานท่ี 4 การวเิ คราะหศกั ยภาพบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพ้ืนที่ ใหผูเรียนจัดทําผังการไหลของการพัฒนาอาชีพของตนเองหรืออาชีพที่สนใจ แลวิเคราะหศักยภาพ ของธุรกจิ แตละขั้นตอนวามีความสามารถอะไรไดบาง ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

16 บทท่ี 2 การจัดทําแผนพฒั นาการตลาด สาระสําคัญ การจัดทําแผนพัฒนาการตลาดเปนการพัฒนาการตลาดของสินคาใหสามารถแขงขันได โดยการกําหนดเปาหมายและกลยุทธตางๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมายทางการตลาดที่กําหนดไว ตวั ช้วี ัด 1. กําหนดทิศทางและเปาหมายการตลาดของสินคาหรือบริการได 2. กําหนดและวเิ คราะหก ลยทุ ธส เู ปา หมายการตลาดได 3. กาํ หนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาดได ขอบขายเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1 ทิศทางและเปาหมายการตลาดเพื่อพัฒนาการตลาด เรอ่ื งท่ี 2 การกําหนดกลยุทธและวิเคราะหสูเปาหมาย เรอื่ งท่ี 3 วเิ คราะหก ลยทุ ธ เร่ืองที่ 4 กาํ หนดกจิ กรรมและแผนการพัฒนาการตลาด สือ่ การเรียนรู ใบความรู / ใบงาน การกําหนดทิศทางและเปาหมายการตลาดเพื่อพัฒนาการตลาด ใบความรู / ใบงาน กาํ หนดและวิเคราะหกลยทุ ธส เู ปาหมาย ใบความรู / ใบงาน การกาํ หนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด ใบความรู / ใบงาน กําหนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด

17 ใบความรูที่ 1 การกําหนดทิศทางและเปาหมายการตลาด ( 1. กําหนดทิศทางการตลาดได 2. การกําหนดเปาหมายการตลาดได) การกําหนดทิศทางธุรกิจ เปนการคิดใหมองเห็นอนาคตการขยายอาชีพใหมีความพอดี จะตองกาํ หนดใหไ ดว า ในชว งระยะ ขางหนาควรจะไปถึงไหน อยางไร การกาํ หนดเปาหมายการตลาด เปาหมายการตลาดเพื่อการขยายอาชีพ คือ การบอกใหทราบวา สถานประกอบการนัน้ สามารถทํา อะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกําหนดไวเปนระยะสัน้ หรือระยะยาว 3 ป หรือ 5 ป ก็ได การกําหนดเปาหมายของการพัฒนาอาชีพตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การกําหนด เปาหมายหากสามารถกําหนดเปนจํานวนตัวเลขไดก็จะยิ่งดี เพราะทําใหมีความชัดเจนจะชวยใหการ วางแผนมคี ุณภาพยงิ่ ข้นึ และจะสง ผลในทางปฏิบตั ิไดด ียิง่ ขึน้ การบริหารการตลาด (Marketing Management) เปนกระบวนการตัดสินใจทีเ่ กี่ยวกับการวางแผน การปฏิบัติการและการควบคุมกิจกรรมตางๆ ที่ทําใหธุรกิจบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว ประกอบดวย 3 สว น 1. การวางแผนวิธีการเพื่อบรรลุเปาหมาย 2. การปฏิบัติตามแผน 3. การควบคุมและตรวจสอบ การตลาดในยุคโลกาภิวัฒนมีการเปลีย่ นแปลงเร็วมากซึง่ ขึน้ อยูก ับกระแสของสังคม กําลังซือ้ ของ ผูบ ริโภค และสวนแบงของตลาด ดังนั้น ผูป ระกอบอาชีพจําเปนตองศึกษากระบวนการตลาดอยูต ลอดเวลา เพือ่ นํามากําหนดทิศทางและเปาหมายทางการตลาด โดยพยายามผลิตสินคาหรือบริการขึน้ มาที่จะสามารถ ตอบสนองความพึงพอใจของผูบ ริโภคใหไดมากที่สุด ดังนัน้ จําเปนทีจ่ ะตองมีการกําหนดทิศทางและ เปาหมายทางการตลาดมาใชทางการตลาด เพือ่ เอาชนะคูแขงขันทางการตลาดและเปนผูประสบความสําเร็จ ในที่สุด การกําหนดทิศทางและเปาหมายทางการตลาดจะตองตอบคําถามเหลานี้ใหไดดังนี้ 1. ตลาดตองการซ้อื อะไร หมายถึง สนิ คาทีผ่ บู ริโภคตอ งการ 2. ทําไมจึงซื้อ หมายถึง จุดประสงคในการซื้อสินคาไปทําไม 3. ใครคอื ผซู อื้ หมายถึง กลมุ เปา หมายที่จะซอ้ื คือกลมุ ใด 4. ซื้ออยางไร หมายถึง กระบวนการซื้ออยางไร เชน ซื้อแบบตั้งคณะกรรมการการประมูล 5. ซ้ือเมอื่ ไร หมายถึง โอกาสทีจ่ ะซอ้ื สินคา เมือ่ ไร เชน ทุกวัน ทกุ เดอื น 6. ซือ้ ที่ไหน หมายถึง สินคาที่จะซือ้ มีขายตามรานคาประเภทใด เชน รานขายของเบ็ดเตล็ด รา นขายทั่วไป

18 ผูประกอบการจะตองสรุปใหไดวาผูบ ริโภคตองการสินคาชนิดใดนําไปใชทําอะไร กลุม เปาหมายที่ ตองซือ้ เปนกลุม ทีม่ ีกําลังซือ้ หรือไม วิธีการทีซ่ ือ้ เชน ซือ้ ไดทัว่ ไปหรือตองผานคณะกรรมการ ซื้อใชเมือ่ ใด และควรซื้อแหลงใด สิ่งเหลานี้จะเปนทิศทางในการผลิตสินคาแลวนํามากําหนดเปาหมายทีจ่ ะผลิตสินคา เชน ผลิตผักอินทรีย ผูซ ื้อตองการกินอาหารปลอดสารเคมี คือกลุม เปาหมายผูสูงอายุในหมูบาน ซื้อปลีกใช ทกุ วนั ตามรา นคา ในชมุ ชน นอกจากนอ้ี าจจะตอ งวเิ คราะหส ง่ิ ตา งๆ ดงั น้ี เพอ่ื นาํ มาพจิ ารณากาํ หนดทศิ ทางดว ย ตวั อยา ง การวิเคราะหพฤติกรรมการบริโภคของลูกคาสายการบิน 1. ตลาดตอ งการซอ้ื อะไร : การเดินทางที่สะดวก สบาย รวดเร็ว การบริการทีป่ ระทับใจ มีเที่ยวบิน ใหเลอื กมาก มเี ทย่ี วบินตรง 2. ทาํ ไมจงึ ซอื้ : ตองการประหยัดเวลา ตองการเดินทางอยางรวดเร็ว มีความภูมิใจ 3. ใครคอื ผูซือ้ : นักธรุ กจิ นักทอ งเทยี่ ว 4. ซื้ออยางไร : ซ้อื ซา้ํ ซื้อเมอื่ มธี รุ ะดวนและจาํ เปน ซอ้ื จากความประทบั ใจ 5. ซื้อเม่ือไร : ซ้ือสมํ่าเสมอ ซ้อื เรงดว นเปนครัง้ คราว ซือ้ เมื่อตองการเดินทางทองเทย่ี ว 6. ซื้อทไี่ หน : ตัวแทนจําหนาย สํานักงานขายของสายการบิน การเลือกตลาดเปาหมาย (Target Market) นั้น เปนองคประกอบที่สําคัญของกลยุทธทางการตลาด ซึ่งนักการตลาดจะเลือกตลาดเปาหมายได จะตองทําการวิเคราะหส ง่ิ ตา งๆ ดังตอ ไปน้ี 1. ผูท ี่คาดวาจะเปนลูกคาในอนาคตมีลักษณะการบริโภคอยางไร มีความตองการสินคาชนิดใด มี รูปแบบพฤติกรรมการบริโภคอยางไร? และผทู ี่คาดวาจะเปนลกู คา ในอนาคตเปนใครอยทู ไี่ หน 2. สวนผสมทางการตลาด และความสามารถในการจัดสวนผสมทางการตลาดใหเขาถึงเปาหมาย ทางการตลาดที่ไดวางไว 3. เปาหมายของกิจการ โดยวิเคราะหถึงการแสวงหาโอกาสทางการตลาดที่เห็นวาพอมีชองทาง 4. ปจจัยอื่นๆ ซึ่งสวนมา ไดแก ตัวแปร หรือสภาพแวดลอมทางการตลาดทีค่ วบคุมไมได เพราะ ปจจัยนม้ี ผี ลตอ การเลือกตลาดเปาหมายเชนกนั 5. การแบงสวนตลาด เพื่อที่จะไดกลยุทธและยุทธวิธีทางการตลาดใหเหมาะสมกับตลาดแตละ สว น เปาหมายทางการตลาด เปนการคัดเลือกกลุม ลูกคาทีเ่ ปนเปาหมายโดยตองคํานึงถึงปจจัยสําคัญ คือ สวนผสมทางการตลาด ผูที่คาดหวังวาจะเปนลูกคาในอนาคตและกรณีมีสวนแบงในการตลาด หลกั การกําหนดเปาหมายทางการตลาด มดี ังน้ี 1. เปาหมายที่กําหนดตองมีความเปนไปได 2. เปาหมายตองชัดเจน 3. การกําหนดเปาหมายตองมีความละเอียดเพียงพอ

19 ตวั อยา ง 1. ตอ งการเพ่มิ สินคาอกี 25% จากปกอ น 2. ตองการกําไรตอยอดขายสูงกวาคูแขงอยางนอย 2% 3. ตองการเพิ่มจุดกระจายสินคาจาก 10 จดุ เปน 15 จดุ

20 ใบงานท่ี 1/1 การกาํ หนดทศิ ทางและเปาหมายการตลาด ( 1. กําหนดทิศทางการตลาดได 2. การกําหนดเปาหมายการตลาดได) ใหผูเรียนรวมกลุม กัน 5 คนกําหนดทิศทางและเปาหมายการตลาดในการพัฒนาสินคาของตนเอง หรือสินคาท่สี นใจ 1. ศึกษาตลาดเพื่อกําหนดทิศทาง 1.1 สินคา คือ.......... 1.2 ลกู คาซื้อไปทําอะไร 1.3 กลมุ เปา หมายท่ีซอื้ สนิ คาคือใคร มกี ําลงั ซอ้ื หรอื ไม 1.4 ลกู คาจะซ้อื อยางไร 1.5 ลกู คา ซอ้ื ใชเมือ่ ไร 1.6 ซ้ือสินคา ไดท่ีไหน 2. เมื่อศึกษาทิศทางการตลาดแลวใหกําหนดเปาหมายการตลาดในการผลิตสินคา แบบบันทึก สมาชกิ ในกลุม 1............................................................................................................................................. 2............................................................................................................................................. 3............................................................................................................................................. 4............................................................................................................................................. 5............................................................................................................................................. 1. ทศิ ทางการผลติ สนิ คา .................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. เปา หมายการผลติ สินคา .............................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

21 ใบงานท่ี 1/2 การกําหนดทิศทางและเปา หมายการตลาด ( 1. กําหนดทิศทางการตลาดได 2. การกําหนดเปาหมายการตลาดได) ผูเรียนนําทิศทางและเปาหมายการตลาดจากใบงานที่ 1 ไปใหผูร ูว ิเคราะหความเปนไปได แลวสรุป ลงในแบบบันทึก แบบบันทึก ชื่อสินคา ............................................................................................................................................................ สรปุ ผลการวิเคราะหจ ากผูรู .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... แนวทางการแกไขจากการแสดงความคดิ เห็นของผูรู .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

22 ใบความรูที่ 2 การกาํ หนดและวเิ คราะหกลยุทธสูเปา หมาย ( 3. กาํ หนดกลยทุ ธส เู ปาหมายได 4. วเิ คราะหกลยุทธไ ด ) การกําหนดกลยุทธ เปนการพัฒนาแผนระยะยาวบนพืน้ ฐานของโอกาสและอุปสรรคภายใน สภาพแวดลอ มภายนอก จดุ แขง็ และจดุ ออ นภายในสภาพแวดลอมภายในของบริษัท การกําหนด กลยุทธจะตองรวมทัง้ การรุก การรับ การกําหนดเปาหมายกอนการพัฒนากลยุทธ และการกําหนดนโยบาย ของบริษัท การกําหนดกลยุทธ เปนการทําใหธุรกิจเจริญเติบโตเพื่อความอยูร อดเปนสําคัญ การสรางความ เจริญเติบโตอยางตอเนื่องอันจะนํามาซึง่ ยอดขายทีส่ ูงขึ้น ตนทุนตอหนวยลดลงและเปนผลเนือ่ งจาก ประสบการณในการผลิตและเปนผลทําใหกําไรสูงขึน้ อีกดวย ถือวาไดเปนกลยุทธการเจริญเติบโตโดยวิธี ทางลัด เพื่อตัดลดคาใชจายทั้งทางดานการเงินและการบริหารจัดการกลยุทธ กลยุทธการพัฒนาการตลาด เปนกลยุทธที่นํามาใชเพื่อเพิม่ ยอดขายและขยายการเติบโต โดยใช ผลิตภัณฑที่มีอยูออกจําหนา ยในตลาดใหม กลุมลกู คา ในพน้ื ทแี่ หง ใหม เพื่อใหสามารถครอบคลุมใหครบทุก พื้นที่ทั้งในประเทศและตางประเทศ กลยุทธ เปน แนวทางปฏิบัติ เพ่อื ใหบ รรลุวัตถปุ ระสงค กลยุทธ คือหลักวิธีการและแนวทางในการปฏิบัติ เพือ่ ใหสอดคลองกับวัตถุประสงค ซึ่งจะใชกล ยทุ ธใ นระดับปฏิบัตกิ าร การวเิ คราะหก ลยุทธสเู ปา หมาย อาจใชว ธิ ีการวิเคราะหจ ดุ ออน จุดแข็ง (SWOT Analysis) ซึ่งมีองคประกอบดังนี้ SWOT Analysis จุดแขง็ จุดออน โอกาส อุปสรรค SWOT Analysis เปนการวิเคราะหสํารวจสภาพภายในองคกร และสภาพแวดลอมภายนอก เพือ่ นํามาสังเคราะหวาองคกรมีจุดออน (S) จดุ แขง็ (W) อปุ สรรค (T) และโอกาส (O) อยางไร ปจจัยภายใน คือ สง่ิ ทเ่ี ราควบคมุ ไว ไดแกจ ดุ ออ น จดุ แขง็ ปจ จัยภายนอก คอื สงิ่ ทเ่ี ราควบคมุ ไมได ไดแก อุปสรรคและโอกาส

23 จดุ แขง็ (Strengths) มลี กั ษณะ ดงั น้ี 1. เปนงานที่เราถนัด ทําแลวมีความสุข 2. เปนงานที่โดดเดน ชุมชนชื่นชอบ 3. ทรัพยากรและเครื่องมือมีความพรอม จดุ ออ น (Weakness) มลี กั ษณะดงั นี้ 1. เปนงานที่เราไมสบายใจที่จะทํา 2. ตองการรับความชวยเหลือจากคนอื่น 3. ทักษะบางอยางที่เรายังไมมั่นใจ 4. ขาดทรัพยากรในการทํางานใหบรรลุเปาหมาย อุปสรรค (Threats) มลี ักษณะดงั นี้ 1. ใครคือคูแขง ขันทท่ี าํ ไดดกี วาเรา 2. ถาสภาพแวดลอมเปลี่ยนจะทําใหแผนโครงการเรามีปญหา 3. ความขัดของที่จะเกิดจากเราเอง โอกาส (Opportumties) มลี ักษณะดังน้ี คอื 1. โอกาสทีก่ ําลังจะเกิดขึ้นที่จะทําใหเราประสบความสําเร็จ 2. มีเคร่ืองมือใหมท่ไี ดร ับการสนับสนุน 3. มีสวนแบงของตลาดที่เรามองเห็น 4. บุคลากรมีศักยภาพทําใหงานสําเร็จไดงายขึ้น ศึกษาความเปนไปได ดังนี้ คอื 1. ความเปนไปไดทางการเงิน 2. ความเปนไปไดทางการตลาด 3. ความเปนไปไดทางการผลิต 4. ความเปนไปไดทางเทคโนโลยี การกาํ หนดกลยุทธ 1. ลงทุนต่ําที่สุด ซึ่งมีความเปนไปไดทางการเงิน 2. ทําในส่ิงทท่ี าํ ไดด ี ซึ่งมคี วามเปนไปไดใ นการผลิต 3. ทาํ จํานวนนอย แลวคอยๆ เพิ่มไปสจู าํ นวนมาก 4. เปนธุรกิจที่สามารถทําไดในระยะยาว ซึ่งมีความเปนไปไดทางการตลาด ความสามารถในการแขง ขยั อาจพิจารณาในสิ่งตางๆ ดังนี้ 1. อะไรทีเ่ ราทาํ ไดด ีทสี่ ดุ เม่อื เทียบกับผูอน่ื 1.1 ดกี วา 1.2 เรว็ กวา

24 1.3 ถูกกวา 1.4 แตกตา งกวา เดน กวา 2. มองจุดเดนที่เรามี 2.1 สนิ คา / บริการของเราดีอยางไร 2.2 ใครคือลูกคาของเรา 2.3 ขนาดตลาดมีมูลคาเทาไร 2.4 เทคโนโลยใี นการผลิตสุดยอดเพียงใด 2.5 ถาคแู ขงทําไดจะใชเวลาอีกนานเทาไร กลยุทธการตลาดโดยใช 4P กลยุทธการตลาดนัน้ มีอยูม ากมาย แตเปนที่รูจ ักและเปนพืน้ ฐาน คือการใช 4P เปนการวางแผนใน แตละสวนใหเขากันในบางครั้งอาจจะไมสามารถปรับเปลี่ยนทั้ง 4P ไดทัง้ หมดในระยะสัน้ ก็ไมเปนไร แตจะ คอยๆ ปรบั จนสมดุลครบทั้ง 4P ในท่ีสดุ 1. สินคา หรือบรกิ าร (Product) กําหนดสินคาใหตรงกับความตองการของลูกคา เชน ลูกคาสูงอายุ ตอ งการนํา้ ผลไมทีม่ ีรสหวานเล็กนอ ย 2. ราคาสินคา (Price) เปนการตัง้ ราคาทีเ่ หมาะสมกับสินคาหรือบริการ และกําลังซือ้ ของลูกคา พิจารณาจากราคาของคูแขง บางครั้งอาจลดราคาต่าํ กวาคูแ ขงก็ได โดยลดคุณภาพบางตัวทีไ่ มจําเปนก็จะทํา ใหสินคามีราคาต่ํากวาคูแขง หรือกําหนดราคาสูงกวาคูแขงก็ไดถาสินคาของเราดีกวาคูแขงดานใดเพื่อให ลูกคามีโอกาสเปรียบเทียบ 3. สถานทีข่ ายสินคา (Place) ควรเลือกทําเลขายใหเมาะสมกับลูกคา หรือคิดหาวิธีการสงของ สินคาใหถ ึงมอื ลูกคาไดอยา งไร 4. การสง เสริมการขาย (Promotion) เปนการทํากิจกรรมตางๆ เพือ่ ใหลูกคารูจ ักสินคาและอยากที่ จะซื้อมาใช เชน การแจกใหทดลองใช การลดราคาในชวงแรก การแถมไปกับสินคาอื่นๆ

25 ใบงานท่ี 2/1 การกาํ หนดและวเิ คราะหกลยุทธทางการตลาด ( 3. กําหนดกลยุทธสูเปา หมายได 4. วเิ คราะหก ลยทุ ธไ ด ) ใหผูเรยี นรวมกลุมกนั 5 คน รว มกนั กาํ หนดและวเิ คราะหก ลยทุ ธพ ฒั นาทางการตลาดแลวสรุปลงใน แบบบันทึก แบบบันทึก สมาชิกในกลุม 1............................................................................................................................................. 2............................................................................................................................................. 3............................................................................................................................................. 4............................................................................................................................................. 5............................................................................................................................................. กลยทุ ธ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... การวเิ คราะหก ลยุทธ โดยการวเิ คราะหจ ดุ ออ น จดุ แขง็ 1. จดุ แขง็ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. จดุ ออ น....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. โอกาส........................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 4. อปุ สรรค................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... สรุปผลการวเิ คราะห .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

26 ใบงานท่ี 2/2 ตรวจสอบผลการวเิ คราะหก ลยุทธ ใหผูเรยี นนาํ ผลการวิเคราะหกลยทุ ธจ ากใบงานท่นี าํ ไปใหผ ูรชู ว ยตรวจสอบความเปน ไปไดแลวสรุป ลงในแบบบันทึก แบบบันทึก กลยทุ ธ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... สรุปผลการวิเคราะหจ ากผรู ู .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... แนวทางการแกไ ขจากการแสดงความคิดเหน็ ของผูรู .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

27 ใบความรูที่ 3 การกําหนดกจิ กรรมและแผนการพัฒนาการตลาด การตลาดมีความสําคัญเพราะเปนจุดเริม่ ตนและมีผลตอการบรรลุเปาหมายสุดทายของการดําเนิน ธุรกิจ ธรุ กิจตอ งเริ่มดวยการศกึ ษาความตองการทีแ่ ทจริงของลูกคา จากน้ันจึงทาํ การสรา งสินคาหรือบริการที่ ทาํ ใหล กู คา เกิดความพอใจสูงสุด (Customer Focus) การบริหารตลาด เปนกระบวนการวางแผน ปฏิบัติงานและการควบคุมกิจกรรมทางการตลาดที่ กอใหเ กิดการแลกเปล่ยี นระหวางผูซื้อและผูขาย พรอมทงั้ นาํ ความพอใจมาสูทงั้ 2 ฝา ย การกําหนดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาการตลาด เมือ่ เราทราบวากลยุทธทีก่ ําหนดไวมีดานใดบาง เชน กลยุทธ 4P ก็คือดานตัวสินคา ดานราคา ดาน สถานที่ขาย และการสงเสริมการขาย กลยุทธทั้ง 4 ดาน ใหน าํ มากาํ หนดเปน กิจกรรมท่ตี องดาํ เนนิ การ เชน 1. กิจกรรมดานพัฒนาตัวสินคา พัฒนาใหตรงกับความตองการของลูกคา 2. กจิ กรรมดานราคา ผผู ลติ ก็ตอ งกาํ หนดราคาทีเ่ หมาะสมกับกําลังซือ้ ของผูบริโภค และเหมาะสม กับคุณภาพของสินคา 3. กิจกรรมดานสถานที่ ตองคิดวาจะสงมอบสินคาใหกับผูบ ริโภคไดอยางไร หรือตองมีการปรับ สถานที่ขาย ทําเลที่ตั้งขายสินคา 4. กจิ กรรมสง เสริมการขาย จะใชวธิ ีการใดที่ทําใหล ูกคารจู ักสนิ คา ของเรา การวางแผนพัฒนาการตลาด ผูผ ลิตจะตองนํากิจกรรมตางๆ มาวางแผนเพือ่ พัฒนาการตลาด ซึง่ สามารถนําไปสูก ารปฏิบัติใหได ดงั ตัวอยาง

ท่ี กจิ กรรมทตี่ อ งดาํ เนนิ 28 1 ศึกษาขอมูลเพื่อกําหนดทิศทางการ แผนการพัฒนาการตลาด พัฒนาการตลาด แผนการพฒั นาการตลาดป 2553 2 กําหนดเปาหมายการตลาด ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 3 กาํ หนดกลยุทธสูเหมาย 4 วิเคราะหกลยทุ ธ 5 ดาํ เนนิ การ - การโฆษณา - การประชาสัมพันธ - การทํางานขอมูลลูกคา - การสงเสริมการขาย - การกระจายสินคา - การสงมอบสินคา - ฯลฯ

29 ใบงานท่ี 3 การกาํ หนดกจิ กรรมและแผนการพัฒนาการตลาด ใหผูเรียนรวมกลุมและรวมกันกําหนดกิจกรรมและวางแผนการพัฒนาตลาด ลงในแบบบันทึกที่ กาํ หนดให แบบบันทึก สมาชิกในกลมุ 1............................................................................................................................................. 2............................................................................................................................................. 3............................................................................................................................................. 4............................................................................................................................................. 5............................................................................................................................................. กิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด ท่ี กจิ กรรมท่ตี อ งดาํ เนิน แผนการพฒั นาการตลาดป 2553 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

30 บทท่ี 3 การจัดทาํ แผนพัฒนาการผลติ หรือการบริการ สาระสําคัญ การพัฒนาการผลิตหรือการบริการ หรือจากการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ วิเคราะห ทุนปจจัยการผลิตหรือการบริการ กําหนดเปาหมาย การกําหนดแผนกิจกรรมและการพัฒนาระบบการผลิต หรือการบริการ จึงจะนําสูการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง ตัวช้วี ดั 1. อธิบายการกาํ หนดคณุ ภาพผลผลติ หรือการบรกิ าร 2. วเิ คราะหทุนปจ จยั การผลติ หรือการบริการ 3. กําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 4. กาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลิต 5. พัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ ขอบขา ยเน้ือหา 1. การกาํ หนดคุณภาพผลผลิตหรือการบรกิ าร 2. การวเิ คราะหทุนปจจัยการผลติ หรือการบริการ 3. การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 4. การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลิต 5.การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร สอ่ื ประกอบการเรียนรู ใบความรู / ใบงาน การกาํ หนดคณุ ภาพผลผลิตหรอื การบรกิ าร ใบความรู / ใบงาน การวเิ คราะหท ุนปจ จยั การผลติ หรือการบริการ ใบความรู / ใบงาน การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ ใบความรู / ใบงาน การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลิต ใบความรู / ใบงาน การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ

31 ใบความรทู ่ี 1 การกําหนดคณุ ภาพผลผลติ หรือการบรกิ าร การจดั การการผลิต หมายถึง การสรา งสรรคหรือการแปรสภาพสง่ิ หน่งึ สิ่งใด ใหเปนสนิ คา เปน กระบวนการท่ีดาํ เนนิ งานผลติ สินคาตามข้ันตอนตา งๆ อยางตอเนือ่ งและมกี ารประสานงานกนั เพอ่ื ให บรรลุเปาหมายขององคกรหรือกิจการการผลิต การกําหนดคุณภาพผลผลิต เปน การกําหนดคณุ สมบัตขิ องผลผลิตตามท่ีลูกคา ตองการ เชน ลูกคาตองการผักปลอดสารพิษ ดังนั้นตองพัฒนากระบวนการปลูกผกั โดยใชสารธรรมชาตแิ ทนปยุ เคมี หรือ พฒั นารสชาดของอาหารแปรรูปใหม รี สเปรีย้ วย่ิงข้ึนเพ่ือใหตรงกบั ความตอ งการของลูกคากลมุ วยั รนุ การบรกิ าร หมายถึง กระบวนการที่เนนการใหบริการแกลูกคาโดยตรง โดยการทําใหลูกคา ไดรับความพึงพอใจ มีความสุขและไดรับผลประโยชนอยางเต็มที่ ลกั ษณะงานอาชพี ในการผลติ งานอาชีพในการผลิตนั้น สวนใหญม ีอยใู นภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรม เชน ภาคเกษตรกรรม - ผลผลิตไดแ ก พืชไร พชื สวน ไมดอกไมประดบั นาขาว ปศุสตั ว ฟารม เปนตน ภาคอตุ สาหกรรม - อาชพี ตัดเยบ็ เส้ือผา อาชพี ผลิตรถยนต ผลผลิต คือ รถยนต เปนตน การผลติ เพอื่ ใหไ ดผ ลผลติ ทีด่ ีน้นั ตองใหตรงกบั ความตองการของผใู ชหรือผซู ื้อใหม ากท่ีสดุ คุณภาพของผลผลติ ที่ดีนัน้ ตองมาจากผูผ ลิตทมี่ คี ุณลักษณะทีด่ ี ซ่งึ ประมวลไดดังนี้ 1. ซื่อสัตยต อผูบรโิ ภค 2. รกั ษาคุณภาพของผลผลติ ใหคงที่และปรับปรุงใหดีขึ้น 3. ไมปลอมปนผลผลิต 4. ไมเ อารดั เอาเปรยี บผบู รโิ ภค 5. ไมก กั ตุนผลผลติ 6. มีความรู ความชํานาญในงานอาชีพที่ดําเนินการเปนอยางดี 7. มีความรักและศรัทธาในงานอาชีพที่ดําเนินการ 8. มีความเช่ือมนั่ ในตวั เอง 9. มคี วามคดิ รเิ ร่มิ และมีมนุษยสมั พนั ธที่ดี ลกั ษณะงานอาชีพการใหบริการ การบริการ เปนกจิ กรรมหรอื การกระทาํ ท่ผี ใู หบ ริการทําขึน้ เพ่อื สงมอบการบริการใหแ กผ ูรับบริการ

32 ผรู ับบรกิ ารสวนใหญจะเนนใหความสาํ คญั กับ “กิจกรรม” หรือ “กระบวนการบริการ” ของผูใหบริการ มากกวา สงิ่ อ่นื และจะเกดิ ความประทับใจ ในขณะท่ีผรู บั บริการสัมผสั ไดกบั การไดรับบรกิ ารนน้ั ๆ คุณภาพของการบริการ วดั ไดจ ากการบรกิ ารของผใู หบ รกิ าร 7 ประการ ดงั นี้ 1. การยิ้มแยม เอาใจใส เห็นอกเห็นใจตอความลําบากยุงยากของลูกคา 2. การตอบสนองตอความประสงคของลูกคาอยางรวดเร็วทันใจ 3. การแสดงออกถึงความนับถอื ใหเกียรตลิ ูกคา 4. การบริการเปนแบบสมัครใจและเต็มใจทํา 5. การแสดงออกถึงการรักษาภาพลักษณของการใหบริการ 6. การบรกิ ารเปนไปดว ยกริ ิยาทีส่ ุภาพ และมีมารยาทดี ออ นนอมถอมตน 7. การบริการมีความกระฉับกระเฉง กระตือรือรน มีบางอาชีพที่เปนไปไดทั้งการผลิตและการบริการ เชน ผูป ระกอบการอาชีพรานอาหาร ตองมี ผลผลติ เชน อาหารประเภทตางๆ ควบคกู ับการบริการ ใบงานที่ 1 การกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบรกิ าร ใหผูเรียนกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ ในงานอาชีพทีผ่ ูเ รียนดําเนินการเองหรืออาชีพ ท่ีสนใจ ใหเ หตผุ ลประกอบ ลักษณะงานอาชีพ…………………………………………………………………………………… ประเภทของผลผลิตหรอื การบรกิ าร…………………………………………………………………. ชือ่ เจาของธุรกจิ ……………………………………………………………………………………... ทีต่ ั้งของธุรกิจ………………………………………………………………………………............ คุณภาพของผลผลติ หรอื การบริการท่ปี รากฏ และอธบิ ายเหตุผลประกอบคณุ ภาพน้ันๆ ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................

33 ใบความรทู ่ี 2 การวิเคราะหทนุ ปจ จัยการผลิตหรือการบรกิ าร การวิเคราะหท นุ ซ่งึ เปน ปจจัยการผลิตจึงมคี วามจําเปนตอการพัฒนาอาชพี จะสง ผลตอความ เขม แขง็ ของอาชพี ถา รจู กั ลดตนทุน ใชท ุนอยา งเหมาะสมและประหยดั จัดหาทุนทดแทน ทุน หมายถึง ปจจัยทีใ่ ชในการลงทุนในการดําเนินการประกอบอาชีพ เพื่อหวังผลกําไรจากการ ดําเนินการ ทุนถือวาเปนปจจัยสําคัญในการประกอบอาชีพใหดําเนินงานไปอยางมีประสิทธิภาพ และมี ความเจรญิ เตบิ โตอยา งตอ เนอ่ื ง ตน ทนุ การผลิต หมายถึง ทุน ในการดําเนินการประกอบอาชีพ แบงได 2 ประเภท คือ 1. ทนุ คงท่ี คือปจ จัยทผี่ ปู ระกอบการจดั หามา เพอ่ื ใชใ นการจดั หาสินทรัพยถ าวร เชน ดอกเบีย้ เงินกู ทีด่ ิน อาคาร เครือ่ งจักร เปนตน สําหรับใชในการประกอบอาชีพทุนคงที่ สามารถแบงได 2 ลกั ษณะ คือ 1) ทุนคงท่ที เี่ ปนเงนิ สด เปนจํานวนเงินท่ีตอ งจายเปน คา ดอกเบี้ยเงนิ กู เพื่อนํามาใช ในการดําเนินการประกอบอาชีพ 2) ทุนคงที่ทไี่ มเ ปน เงนิ สด ไดแก พื้นท่ี อาคารสถานที่ โรงเรือน รวมถึงคาเส่อื ม ราคาของเครื่องจักร 2. ทนุ หมนุ เวียน คอื ปจจัยที่ผูป ระกอบการจัดหามา เพ่อื ใชในการดาํ เนินการจดั หา สนิ ทรพั ยห มนุ เวยี นในการดาํ เนนิ กจิ กรรมอาชพี เชน วตั ถุดิบในการผลติ สนิ คา หรือการบริการ วัสดุ สิ้นเปลือง คาแรงงาน คาขนสง คาไฟฟา คาโทรศัพท เปนตน ทนุ หมนุ เวยี นแบงออกเปนดังนี้ คอื 1. คา วสั ดุอุปกรณใ นการประกอบอาชีพ ดงั นี้ 1.1) วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมผลิตผลผลิต เชน งานอาชีพเกษตรกรรม เชน คาปุย พนั ธุพืช พนั ธสุ ตั ว คานํ้ามนั เปนตน 1.2) วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมบริการ เชน อาชีพรับจางซักรีดเสื้อผา เชน คา ผงซกั ฟอก คา นํา้ ยาซกั ผา เปน ตน 2. คาจางแรงงาน เปนคาจางแรงงานในการผลิตหรือบริการ เชน คาแรงงานในการไถดิน คาจางลูกจางในรา นอาหาร 3. คาเชา ทดี่ นิ /สถานที่ เปนคา เชา ทดี่ ิน/สถานที่ในการประกอบธุรกิจ 4. คา ใชจ ายอืน่ ๆ เปนคา ใชจา ยในกรณีอ่ืนทน่ี อกเหนอื จากรายการ 5. คาใชจายในครัวเรือน เปนแรงงานในครัวเรือนสวนใหญ ในการประกอบอาชีพอาจจะ ไมไดนํามาคิดเปนตนทุน จึงไมทราบขอมูลการลงทนุ ที่ชัดเจน ดงั น้นั การคิดคาแรงในครวั เรือน จงึ จาํ เปนตองคิดดว ยโดยคิดในอัตราคา แรงขนั้ ตํ่าของทองถนิ่ น้ันๆ

34 6. คาเสียโอกาสทีด่ ิน กรณีเจาของธุรกิจมีทีด่ ินเปนของตนเอง การคิดตนทุนใหคิดตาม อตั ราคา เชา ท่ดี นิ ในทองถิ่นหรือบริเวณใกลเ คยี ง ในการดําเนินงานประกอบอาชีพ การบริหารเงินทุนหรือดานการเงินนั้น เปนสิง่ ทีผ่ ูป ระกอบการ ตองใหความสําคัญเปนอยางมาก เพราะมีผลตอความมั่นคงของอาชีพวาจะกาวหนาหรือลมเหลวได

35 ใบงานที่ 2 การวเิ คราะหทนุ ปจ จัยการผลติ หรอื การบริการ ใหผูเรียนกําหนดทุนและวิเคราะหความจําเปนในการพัฒนาอาชีพ เพือ่ จะทําใหอาชีพมีความ เขมแข็ง รายการทนุ จาํ นวน เหตผุ ลในการใชทุน รายการ

36 ใบความรทู ี่ 3 การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ เปาหมายการผลิตหรือการบริการ เปนสิง่ ทีผ่ ูป ระกอบอาชีพตองการมุง ไปใหถึง เกิดผลตามที่ ตองการ ดวยวิธีการตาง ๆ เปาหมายจึงเปนตัวบงชีป้ ริมาณที่จะตองผลิตหรือบริการใหไดตามระยะเวลาที่ กําหนดดวยความพึงพอใจของลูกคา เต็มใจในการรับบริการ ปจจยั ทส่ี งผลใหประสบความสําเร็จนั้นประกอบดวย 1. การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมายอยางชัดเจน 2. การเสริมสรางสวนประสมทางการตลาดไดอยางลงตัว 3. การคํานึงถึงสภาวะแวดลอมที่ควบคุมไมได 4. สามารถตอบคําถามตอไปนี้ไดทุกขอ ขอมูลปจ จยั ของลูกคา ทตี่ อ งการสินคาท่จี ะพัฒนาขึ้นใหมป ระกอบดวย ใครคือ กลุมลูกคาเปา หมายสาํ หรบั ผลผลติ ท่ีผลติ ขนึ้ หรอื การบรกิ าร ลูกคาเปา หมายดังกลา วอยู ณ ทใ่ี ด ในปจจุบันลกู คา เหลานซ้ี ือ้ ผลผลติ หรอื การบริการไดจากทใ่ี ด ลกู คา ซ้ือผลผลิตหรือการบรกิ ารบอ ยแคไหน อะไรคอื สิง่ จงู ใจที่ทําใหล ูกคาเหลาน้นั ตดั สนิ ใจใชบรกิ าร เหตุผลทําไมลูกคา ถึงใชผลผลติ หรอื บริการของเรา อะไรทลี่ ูกคา เหลา นัน้ ชอบและไมชอบผลผลิตหรือบริการอะไรทเี่ รามีอยูบาง ขอ มูลปจจัยของผลผลติ หรอื การบริการ ประกอบดวย 1. ลูกคาตองการผลผลิตหรือบรกิ ารอะไร 2. ลกู คา อยากจะใหม ผี ลผลติ หรือบริการในเวลาใด 3. งานดา นการบริการ ควรต้งั ชือ่ วาอะไร เพื่อเปนส่ิงดงึ ดูดใจลกู คาไดม ากที่สุด นอกจากนีข้ อมูลดานการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการใหสอดคลองกับความเปนจริง และความเปน ไปไดแ ลว ขอ มูลองคป ระกอบดานผูประกอบการ ในการพัฒนาอาชีพจะตองพิจารณาตามประเด็นสําคัญๆ ดงั น้ี 1. แรงงาน ตองใชแรงงานมากนอยที่เพิม่ หรือลดลงเทาไร ปจจุบันมีแรงงานเพียงพอตอการ ดําเนินงานหรือไม ถาไมเพียงพอจะทําอยางไร จะนําเครื่องจักรมาใชแทนแรงงานบางไดหรือไม 2. เงินทุน ตองใชเงินทุนมากนอยเพียงไร ปจจุบันมีเงินทุนเพียงตอการดําเนินงานหรือไม ถาไม เพียงพอจะทําอยางไร 3. เครอ่ื งมอื /อปุ กรณ ตองใชเ ครื่องมือ/อุปกรณอะไร จํานวนเทาไร เพียงพอหรือไม ถาไมเพียงพอจะ ทําอยางไร

37 4. วัตถดุ บิ เปน สิ่งสําคัญมากขาดไมไ ด ผูผลิตจะตอ งพิจารณาวาจะจดั หาจัดซื้อวตั ถดุ ิบจากท่ีใด ราคา เทา ไร จะหาไดจ ากแหลง ไหน และโดยวธิ ใี ด 5. สถานที่ หากเปนการประกอบอาชีพดานการผลิต ตองกําหนดสถานทีท่ ีใ่ กลแหลงวัตถุดิบ ถาเปน ธุรกิจดานการบริการ ตองจัดสถานที่ใหมีความเหมาะสม สะอาด และเดินทางสะดวก เปนหลัก ใบงานท่ี 3 การกาํ หนดเปาหมายการผลิตหรือการบรกิ าร ใหผูเ รียนรวมกลุม กัน 3-5 คน กําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ ในการพัฒนาอาชีพที่ ผเู รียนดาํ เนินการเอง หรอื อาชีพท่สี นใจแลวบันทกึ ดงั น้ี 1. ลักษณะงานอาชีพ…………………………………….………………………………………… 2. ประเภทของผลผลติ หรอื การบรกิ าร…………………………………………………………… 3. ชอ่ื เจา ของธุรกิจ………………………………………………………………………… 4. ท่ตี ง้ั ของธรุ กจิ ………………………………………………………………………… 5. เปาหมายการผลิตหรือการบริการ……………………………………………………… 6. เหตุผลในการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ เพราะ ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................

38 ใบความรทู ี่ 4 การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรือการบริการ แผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ คอื แผนงานทางการประกอบอาชีพท่ีแสดงกจิ กรรมตา งๆ ที่ตองปฏิบัติในการลงทุนประกอบการ โดยมีจดุ เรม่ิ ตนจากจะผลิตสินคา และบรกิ ารอะไร มีกระบวนการ ปฏิบัติอยางไรบาง และผลจากการปฏิบัติออกมาไดมากนอยแคไหน ใชงบประมาณและกําลังคนเทาไร เพื่อใหเกิดเปน สินคาและบริการแกล กู คา และจะบริหารธุรกิจอยางไรธุรกจิ จงึ จะอยรู อด การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ เปนสิ่งทีส่ ําคัญยิ่งตอการประกอบอาชีพ เพราะ เปนการกําหนดเปาหมายในสิง่ ทีต่ องการใหเกิด รายละเอียดที่ตองปฏิบัติ ผานกระบวนการตัดสินใจอยางมี ระบบและขอมูล เพือ่ ใหเกิดผลการปฏิบัติบรรลุผลตามเปาหมายทีก่ ําหนดไว โดยมีขัน้ ตอนการกําหนดแผน กิจกรรมการผลติ หรือการบรกิ าร ดงั น้ี 1. สํารวจตัวเองเพือ่ ใหรูถึงสถานภาพปจจุบันของงานอาชีพของตนเอง เปนการตรวจสอบขอมูล เกยี่ วกบั แรงงาน เงินทนุ เคร่อื งมอื /อุปกรณ วัตถุดิบ และสถานทีว่ า มีสภาพความพรอมหรือมีปญหาอยางไร รวมถงึ ผลผลติ หรอื บรกิ ารของตนวามอี ะไรบกพรอ งหรือไม 2. สาํ รวจสภาพแวดลอม เปน การตรวจสอบขอ มูลภายนอกเกย่ี วกบั สภาพธุรกิจประเภทเดียวกันใน ชุมชน ความตองการของลูกคา การดําเนินงานตามขัน้ ตอนที่ 1 และ 2 เปนการศึกษาขอมูลเพือ่ ระบุถึงปญหาทีเ่ กิดขึ้นและควร แกไ ข ซง่ึ ขอมูลของทง้ั สองขอ นี้ อยูในเร่ือง ของสภาพปญ หา และหลกั การและเหตผุ ล ในสวนแรกของ แผนงาน/โครงการผลิต หรอื บรกิ าร 3. การกําหนดทางเลือกเพือ่ ใหการวางแผนมีความชัดเจน หลังจากสามารถกําหนดสาเหตุของ ปญหา( ขอ 1 และ ขอ 2 ) ไดแลว ผูประกอบการตองตัดสินใจเพือ่ พิจารณาหาทางเลือก เพื่อใหได ทางเลือกหลายทางสูการปฏิบัติ 4. การประเมินทางเลือก เมื่อสามารถกําหนดทางเลือกไดหลากหลายแลว(จาก ขอ 3 ) เพ่ือใหได ทางเลือกสูก ารปฏิบัติทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด ในการวางแผนกลยุทธทางการตลาด ผูป ระกอบการตองพิจารณา ประเมินทางเลือกในแตล ะวิธี เพอื่ ใหสามารถบรรลุเปาหมายใหดที ่สี ดุ 5. การตัดสินใจ เมือ่ ไดทางเลือกหลายทางเลือกในการตัดสินใจสามารถใชหลัก 4 ประการในการ พิจารณาประกอบการตัดสินใจคือ 1) ประสบการณ 2) การทดลอง 3) การวจิ ยั หรือการวเิ คราะห และ 4) การตดั สนิ ใจเลือก 6. กําหนดวัตถุประสงค เปนการกําหนดเปาหมายของการดําเนินงานวา ตองการใหเกิดอะไร 7. พยากรณอนาคตถึงความเปนไปได เปนการคิดผลบรรลุลวงหนาวา หากดําเนินการตามแผน กิจกรรมการผลติ หรือการบรกิ ารแลว ธรุ กจิ ที่ดาํ เนนิ งานจะเกิดอะไรขึ้น 8. กําหนดแนวทางการปฏิบัติ เปนการกําหนดรายละเอียดขัน้ ตอนการปฏิบัติวาจะทําอยางไร เม่อื ไร เพื่อใหเกิดผลตามวัตถปุ ระสงคท่ีกําหนดไว

39 9. ประเมินแนวทางการปฏิบัติที่วางไว เปนการตรวจสอบความสมบูรณของแผนกิจกรรมการผลิต หรือการบริการวา มีความสอดคลองกันหรือไมอยางไร สามารถทีจ่ ะปฏิบัติตามขัน้ ตอน วิธีการทีก่ ําหนดไว ไดหรือไมอยางไร หากพบวาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการทีจ่ ัดทําขึน้ ยังไมมีความสอดคลอง หรือมี ขั้นตอนวิธีการใดที่ไมมั่นใจ ใหจัดการปรับปรุงใหมใหมีความสอดคลองและเหมาะสม 10. ทบทวนและปรับแผน เมือ่ สถานการณสิง่ แวดลอมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และผลลัพธไมเปนไป ตามทีก่ ําหนด เปนการพัฒนาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในระหวางการปฏิบัติตามแผน เมื่อมี สถานการณเปลยี่ นแปลงไป หรือมีขอมูลใหมท ่สี าํ คัญ การควบคุมคุณภาพการผลิตหรือการบรกิ าร หมายถึง การจัดกิจกรรมตา งๆ เพื่อใหผ ลผลติ หรอื การบริการไดตามที่กาํ หนดคุณภาพไว ทําให ตอบสนองความตองการและสามารถสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาบนแนวคิดพื้นฐานวา เมื่อกระบวนการ ดี ผลลัพธทอ่ี อกมาก็จะดีตาม การจดั การเกีย่ วกับการควบคมุ คณุ ภาพการผลิตหรือการบรกิ าร การควบคมุ คณุ ภาพนั้น มีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหผ ลติ ภัณฑหรอื การบริการบรรลจุ ดุ มุงหมาย ดังตอ ไปน้ี 1. สินคา ทส่ี ง่ั ซ้ือหรอื สงั่ ผลิตมีคุณภาพตรงตามขอตกลงหรือเงือ่ นไขในสัญญา 2. กระบวนการผลิตดําเนินไปอยางถูกตองเหมาะสม 3. การวางแผนการผลิตเปนไปตามที่กําหนดไว 4. การบรรจุหีบหอดีและเหมาะสม หมายถึงสามารถนําสงวัสดุยังจุดหมาย ปลายทางในสภาพดี ข้นั ตอนการควบคุมคุณภาพการผลิต แบง ออกเปน 4 ข้นั ตอน คือ 1. ขัน้ การกาํ หนดนโยบาย เปนการกําหนดวัตถุประสงคอยา งกวา งๆ เชน ระดับสินคา ขนาดของตลาด วธิ กี ารจาํ หนาย ตลอดถึงการรับประกนั ขอกําหนดเหลานีจ้ ะเปนเครอ่ื งชน้ี ําวา กจิ การจะตอ ง ทําอะไรบา ง เพ่ือใหบ รรลุวตั ถุประสงคที่ไดก าํ หนดไว 2. ขนั้ การออกแบบผลติ ภณั ฑ หมายถึง การกําหนดคุณลกั ษณะของผลิตภณั ฑ การ ออกแบบผลติ ภณั ฑ ซ่งึ จะตองมีความสัมพันธกบั ระบบการผลิต 3. ขน้ั ตอนการควบคุมคุณภาพของการผลิต การควบคุมคุณภาพการผลิต แบงออกเปน ข้นั ตอนยอย 3 ขั้น คือ การตรวจสอบคุณภาพของชิ้นสวน การควบคุมกระบวนการการผลิตและการ ตรวจสอบคุณภาพของผลติ ภัณฑ โดยในการตรวจสอบทง้ั 3 ขั้นนี้ สว นใหญจ ะใชเ ทคนิคการสุมตวั อยา ง เพราะผลติ ภัณฑที่ผลิตไดน้ัน มีจํานวนมากไมอาจจะทําการตรวจสอบไดอยางทั่วถึงภายในเวลาจํากัด 4. ข้ันการจัดจําหนาย การควบคุมคุณภาพในการจําหนาย จะใหความสําคัญกับบริการ หลังการขาย ซึ่งในระบบการตลาดสมัยใหม ถือวาเปนเรือ่ งสําคัญมาก เพราะสินคาบางชนิดโดยเฉพาะ

40 อยางยิง่ สินคาประเภทเครือ่ งมือ เครื่องจักรหรืออุปกรณทางไฟฟา หรือ เครือ่ งอิเล็กทรอนิกสหรือ คอมพิวเตอร ซึง่ มีวิธีการใชและการดูแลรักษาที่คอนขางยุงยาก ผูผลิตหรือผูข ายจะตองคอยดู และเพื่อ ใหบริการหลังการขายแกผูซ ื้ออยูเสมอ เพื่อสรางความพึงพอใจ ซึ่งจะมีผลตอการสรางความเชื่อมัน่ และ ความกาวหนาทางธุรกิจในอนาคต การควบคุมคุณภาพการผลิตหรอื การบริการมีความสําคัญตอการกําหนดกิจกรรมการผลิตหรือการ บริการเปนอยางมาก เพราะการผลิตสนิ คาหรือการบรกิ ารท่ดี นี นั้ ตองมคี ุณภาพท่คี งท่ี ดเี สมอตนเสมอ ปลาย จงึ จะคงความพงึ พอใจตอลูกคาใหซ่อื สัตย และเช่ือมั่นในคุณภาพของสินคา และการบรกิ ารตลอดไป ………………………………………………………………. ใบงานท่ี 4 การกําหนดกิจกรรมการผลติ หรอื การบรกิ าร ใหผูเรียนกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในการพัฒนาอาชีพของผูเ รียน หรืออาชีพ ที่สนใจโดยบันทึก ดังน้ี ลักษณะงานอาชีพ…………………………………………………………………………………… ประเภทของผลผลิตหรือการบริการ………………………………………………………………… ชอ่ื เจาของธุรกจิ ……………………………………………………………………………………... ทีต่ ั้งของธรุ กิจ……………………………………………………………………………………….. แผนกิจกรรมการผลิตหรอื การบรกิ าร คือ ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... แผนฯ นไ้ี ดม ีการจัดการควบคุมคุณภาพดาน ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... เหตุผล เพราะ.................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................

41 ใบความรทู ่ี 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรือการบรกิ าร การประกอบอาชีพทัง้ ดานการผลิตและการบริการ ทีด่ ําเนินการอยูจ ะสามารถดําเนินไปไดดวยดี แลวก็ตาม แตเพือ่ ใหการประกอบอาชีพนีม้ ีความกาวหนาและมัน่ คง ผูป ระกอบการธุรกิจตองคํานึงถึงการ พฒั นาระบบการผลิตหรอื การบรกิ ารอยางตอเน่อื ง การพัฒนาระบบการผลิตหรอื การบรกิ าร สามารถดาํ เนนิ การไดด งั น้ี 1. ลกั ษณะการผลิตและการใหบริการ หมายถงึ สภาพของแหลง ใหบ รกิ ารทีด่ ีท่ีผูใชบ รกิ ารสามารถ สมั ผัสจบั ตองได ลักษณะของสินคา และผลิตภณั ฑดูดี นาซอื้ นา ใช 2. ความไววางใจ หมายถึง ความสามารถในการนําเสนอผลิตภัณฑหรือการบริการตามคํามั่น สญั ญาท่ใี หไวอยางตรงไปตรงมาและถูกตอง และมกี ารรบั รองคุณภาพจากหนว ยงานที่เก่ยี วของ 3. ความกระตือรือรนดานการบริการ หมายถึง การแสดงความเต็มใจที่จะชวยเหลือ และพรอมที่ จะใหบริการผูใชบริการอยางทันทวงที 4. ความเชี่ยวชาญ หมายถึง ความรู ความสามารถ ในการปฏิบัติงานบริการทีร่ ับผิดชอบอยางมี ประสิทธิภาพ ความนาเชื่อถือในตัวสินคา รับรองดวยตราสินคาที่มีเชี่ยวชาญเฉพาะดาน 5. อัธยาศัยที่นอบนอมดานการบริการ หมายถึง ความมีมิตรไมตรี ความสุภาพนอบนอมเปนกันเอง 6. ใหเกยี รติผูอื่น จรงิ ใจ มนี ํา้ ใจ และความเปนมติ รของผูปฏิบตั งิ านผลผลติ และบรกิ าร 7. ความนาเชือ่ ถือ หมายถึงความสามารถในดานการสรางความเชื่อมัน่ ดวยความซือ่ สัตยของ ผปู ระกอบการธรุ กจิ 8. ความปลอดภัย หมายถึง สภาพที่ปราศจากอันตราย ความเสี่ยงภัยและปญหาตางๆ 9. การเขาถึงบริการ หมายถึง การติดตอเพือ่ การซื้อผลิตภัณฑหรือใชบริการ ดวยความสะดวกไม ยุงยาก 10. การติดตอสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการสรางความสัมพันธ และสือ่ ความหมายได ชัดเจน ใชภาษาที่งาย และรับฟงความคิดเห็นของผูรับบริการ 11. ความเขาใจลูกคา หมายถึง ความพยายามในการคนหาและทําความเขาใจกับความตองการของ ผูใชบ รกิ าร และใหความสําคัญตอบสนองความตองการของผูใชบริการโดยทันที คุณภาพของการผลิตหรือการบริการเปนสิง่ สําคัญทีผ่ ูป ระกอบการธุรกิจตองรักษาระดับคุณภาพ และพัฒนาระดับคุณภาพการผลิตหรือการบริการใหเหนือกวาคูแขงขัน โดยเสนอคุณภาพการผลิตหรือการ ใหบริการตามลูกคาคาดหวัง หรือเกนิ กวา สงิ่ ทล่ี กู คา คาดหวังไวเ สมอ

42 .ใบงานที่ 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรือการบรกิ าร ใหผูเ รียนอธิบายการพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการในการพัฒนาอาชีพทีผ่ ูเ รียนดําเนินการ หรืออาชีพที่สนใจ ดงั น้ี 1...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 2...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 5...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 6...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

43 บทท่ี 4 การพัฒนาธรุ กจิ เชิงรุก สาระสําคัญ การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก จะตองเห็นความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก การแทรกความนิยมเขา สูความตองการของผบู ริโภค การสรางรูปลักษณค ุณภาพสินคา ใหม และการพัฒนาอาชีพอยางตอเนื่อง ตวั ช้วี ดั 1. ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชงิ รกุ 2. อธิบายการแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภคอยางแทจริง 3. อธบิ ายการสรา งรปู ลกั ษณค ุณภาพสนิ คา ใหม 4. อธิบายการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องที่ 1 ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก เรื่องที่ 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค เร่ืองท่ี 3 การสรา งรปู ลกั ษณคุณภาพสนิ คาใหม เรื่องท่ี 4 การพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแขง สื่อการเรียนรู ใบความรูที่ 1 ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก ใบความรูที่ 2 การแทรกความนยิ มเขา สูตลาดของผบู ริโภค ใบความรูท่ี 3 การสรางรูปลักษณค ณุ ภาพสินคา ใหม ใบงานท่ี 1 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก ใบความรูที่ 4 การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ใบงานที่ 2 การพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง

44 ใบความรูท่ี 1 ความจาํ เปนและคุณคา ของธุรกจิ เชิงรุก 1. ความหมายของธุรกิจเชิงรุก ธุรกิจเชิงรุก หมายถึง การบริหารจัดการธุรกิจแบบมีแบบแผน เปนระบบการพัฒนางานที่ดี อํานวยประโยชนใหกับผูป ระกอบการ สามารถวางแผนติดตามและควบคุมใหการดําเนินงานในทุกดานได อยางมีประสิทธภิ าพ 2. ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก ธุรกิจเชิงรุก เปนความพยายามทีจ่ ะหาวิธีการใหไดเปรียบทางการแขงขันทางธุรกิจ เปนการพัฒนา สินคาใหตรงกับความตองการของผูบริโภค สินคาไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องตลอดเวลา ผูบริโภคมี โอกาสเลือกซือ้ สินคาไดห ลากหลาย

45 ใบความรทู ่ี 2 การแทรกความนิยมเขาสูตลาดของผูบริโภค การแทรกความนิยมเขาสคู วามตองการของผูบรโิ ภค การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค จะตองรูวาชวยอะไรใหกับใคร กลยุทธเปนสวนประกอบทางการตลาดที่ตองแทรกความนิยมเขาสูความตองการของลูกคา ซึ่งสวนประกอบ ทางการตลาดเบือ้ งตน ไดแก ผลิตภัณฑ ( Product ) ซึง่ เปนทัง้ สินคา ( Goods ) หรือบริการ ( Services ) หรือทั้งสองอยาง ซึง่ ผปู ระกอบการตองช้ีแจงไดวาผลติ ภัณฑข องตนคืออะไร ใชประโยชนไดอยางไร และ มุง หวังวาจะตองหาทางผลักดันใหเปนทีย่ อมรับของลูกคาในตลาดใหไดโดยการแทรกรสนิยมเขาสูส ินคา หรอื บริการนั้นๆ ผลติ ภัณฑคอื สิง่ ตอบสนองความตองการของลูกคา ผูประกอบการควรคํานึงถึงสินคาทีข่ ายใหกับลูกคา เปรียบเสมือนผูแ กปญหาทางการตลาด ปญหา ของลูกคา คือ ความตองการสิง่ ทีม่ าตอบสนองใหกับตนเอง เชน ลูกคานิยมกลิน่ ใบเตยในขนมปง ผูผลิต จึงนําใบเตยมาใชเปนสวนผสมในขนมปง การใชใบเตยในขนมปงจึงเปนการแทรกความนิยมลงในสินคา รปู ที่ 1 ความสัมพนั ธร ะหวา งผลติ ภัณฑกับลูกคา ผลติ ภณั ฑ ลูกคา ( สงิ่ ทธี่ รุ กจิ ขาย ) ( สิ่งที่ลูกคา ตอ งการ )

46 ใบความรูท ี่ 3 การสรา งรูปลักษณคุณภาพสนิ คา ใหม การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม เปนการพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของผูบริโภค เชน มีความสวยงาม ใชงานสะดวก มีความทนทาน การพัฒนาผลิตภัณฑของธุรกิจมีหลายรูปแบบ ซึง่ การ พัฒนาผลิตภัณฑ อาจมีสาเหตุมาจากความมั่นคงของธุรกิจ หรือการเติบโตของธุรกิจจึงตองมีการพัฒนา ผลิตภัณฑใหมีคุณภาพ แตกตางกันไป แตละธุรกิจจะพัฒนาไดตอเมือ่ ผูป ระกอบการรับรูค วามตองการใน การตัดสินใจซือ้ สินคาและบริการ จึงกําหนดทิศทางทางวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑไดเหมาะสมสอดคลองกับ ความตองการของผูประกอบการ แนวทางพิจารณาผลิตภัณฑไมหมายถึงเฉพาะรูปแบบหรือวัตถุสิง่ ของที่เปนรูปรางเทานั้น แตยัง รวมไปถึงคุณคาของผลิตภัณฑและการบริการดวย ดังนัน้ ผลิตภัณฑจึงหมายถึง สินคาที่สามารถตอบสนอง ความพอใจที่จับตองไดและจับตองไมได สว นประกอบทส่ี ําคญั ในการพัฒนาผลติ ภณั ฑ มี 2 ประการ คือ 1. ผลิตภัณฑนน้ั ตอ งมคี ุณคา และตอบสนองความตองการผูบริโภคไดม ากทสี่ ุด 2. สวนประกอบของผลติ ภัณฑต องมอี ยา งครบถว น หนาทใี่ นการพฒั นาผลิตภัณฑ ในการคดิ คนผลิตภณั ฑใหมอ อกสูตลาด ผูผลิตควรดาํ เนนิ การ ดังน้ี 1. รวบรวมขอ มูลสําหรบั ปรบั ปรงุ และวธิ ีการดําเนนิ การพฒั นาผลติ ภัณฑ 2. กาํ หนดแผนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ 3. ดําเนนิ การและตดิ ตามผลพัฒนาผลติ ภัณฑใ หม ีประสทิ ธภิ าพ 4. วางแผนกลยทุ ธก ารขายผลติ ภณั ฑ

47 ใบงานท่ี 1 การพฒั นาธรุ กจิ เชิงรุก ใหผเู รียนรวมกลุมกันอภปิ รายแลกเปล่ยี นเรยี นรูซ่งึ กนั และกันเพ่ือดาํ เนนิ การพัฒนาธุรกจิ เชิงรกุ ใน การที่จะทําใหอาชีพที่ประกอบการอยูหรืออาชีพที่สนใจมีความเขมแข็งสามารถครองอยูในตลาดไดนาน ตามหวั ขอ ดงั น้ี 1. มีความจาํ เปนอยา งไรท่จี ะตอ งพฒั นาธุรกจิ เชิงรุก ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 2. คิดวาการแทรกความนิยมของสินคาที่จะพัฒนาขึ้นใหมเขาสูความตองการของผูบริโภค อะไรบาง อยางไร ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. คดิ วา จะกําหนดรูปลักษณคุณภาพสินคาที่จะพฒั นาข้นึ ใหม เปนอยา งไร เพราะเหตุใด ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................

48 ใบความรทู ี่ 4 การพัฒนาอาชพี ใหมคี วามเขมแขง็ การพัฒนาอาชีพเขาสูความเขมแข็งของผูประสบความสําเร็จมีมากมาย จะมีลักษณะการกระทําที่ สอดคลองกันเปนสวนใหญวา ความเขมแข็งของอาชีพขึ้นอยูกับองคประกอบอยางนอย 3 ประการ คือ (1) การลดความเสย่ี งในผลผลิต (2) ความมุมมั่นพัฒนาอาชีพ และ (3) การยดึ หลักคณุ ธรรม ลดความเสย่ี งผลผลติ มุงมัน่ พฒั นาอาชพี สคู วามมน่ั คงยงั่ ยืน ยดึ หลกั คณุ ธรรม จากแผนภูมิ จะพบวา องคประกอบรวมทงั้ 3 องคประกอบเปนตัวสงผลตอความเขมแข็งในอาชีพ ที่เราจะตองนํามาบูรณาการใหเปนองครวมเดียวกัน การลดความเส่ียงผลผลติ การประกอบอาชีพมักจะประสบกับความเสี่ยง เชน - เสี่ยงตอ การขาดทุน ตองจัดการโดยการหาตลาดไวล ว งหนา เชน มีการประกันราคาผลผลิต - เสีย่ งตอการไมม ีเงนิ ทนุ ในการดาํ เนนิ การ แกป ญ หาความเสย่ี งดว ยการจดั หาแหลงเงินทนุ หรือ พยายามที่จะลดตนทุนการผลิต การพัฒนาอาชีพ เปนกระบวนที่เนนความสําคัญการพัฒนาระบบการจัดการทั้งการผลิตและการตลาดใหตรงกับความ ตองการของลูกคา ดงั น้ี คณุ ภาพผลผลติ ลดตน ทนุ การผลติ การพฒั นาอาชพี การสงมอบ ความปลอดภัย

49 ปจจัยรว มทัง้ 4 ดาน เปนปจจัยทส่ี งผลตอการพัฒนาอาชีพ โดยมลี กั ษณะความสาํ คญั ดังน้ี 1. คุณภาพผลผลติ เปนเรื่องที่เราจะตองใหคุณภาพตรงความตองการของลูกคาใหมากที่สุด เพอื่ ใหล กู คามัน่ ใจไดว า จะไดรับสินคา /บริการที่ดีเปนไปตามความคาดหวัง 2. ลดตน ทนุ การผลติ เก่ียวขอ งกับการกําหนดราคาผลผลิตที่จะตองเปนราคาที่ลูกคาสามารถซื้อ ผลผลติ ของเราได แตไมใ ชก ําหนดราคาต่ําจนกระทงั่ รายไดไมพอเพยี ง ดังนั้น การลดตนทุนจึงเปน เรื่อง สาํ คญั ทเี่ ราจะตองศึกษาเรยี นรูหาวิธลี ดตนทนุ ทที่ าํ ใหมีรายไดเ พยี งพอ ไมใ ชไ ปลดตนทุนกับคาแรงงาน แต เปน การบรหิ ารจัดการใหลดความเสียหายในปจ จัยการผลิต และการจดั การใหไ ดผ ลผลติ สงู 3. การสง มอบผลิตผล ใหลูกคาตองเปนไปตามขอตกลงทั้งเวลานัดหมายและจํานวนผลผลิต ตวั อยาง เชน อาชพี รานตัดเยบ็ เสอ้ื ผา ชาย สว นใหญม ักจะผดิ นัดทาํ ใหเ สยี หายกับลกู คาทม่ี ีกําหนดการ จะใชเ สื้อผา จึงหันไปใชบริการเสือ้ ผาสําเร็จรปู ทม่ี คี วามสะดวกมองเห็นสินคา และตดั สนิ ใจเลือกซือ้ ได ทันที ทําใหปจจุบันรานเย็บเสื้อผาชายเกือบหายไปจากสังคมไทย 4. ความปลอดภยั ทง้ั ผผู ลติ และผูบรโิ ภคผลผลิต เชน อาชีพเกษตรอินทรยี  คนงานไมมีโอกาส สมั ผสั กับสารพษิ ทําใหการทํางานปลอดภยั ขณะเดยี วกัน ผลผลิตจากเกษตรอินทรียเปน อาหารท่ีปลอดภัย การยดึ หลักคุณธรรม การยดึ หลกั คุณธรรม เปนพฤตกิ รรมภายในของผปู ระกอบอาชพี ท่สี าํ คญั สง ผลตอ ความมัน่ คงของ อาชีพ ดงั น้ี ความขยัน ความประหยดั คณุ ธรรมประกอบอาชพี ความซือ่ สัตย ความอดทน

50 คณุ ธรรมทัง้ 4 ประการดงั กลา วหลายคนบอกวา เปน เรื่องทตี่ องปลกู ฝง มาแตเยาวว ยั จึงจะเกดิ ขน้ึ ไดความเช่อื นีเ้ ปน จรงิ แตมนายเื ราสามารถเรียนรู สรางความเขาใจ มองเหน็ คุณคา ปรับเปล่ยี นและตกแตง พฤติกรรมเพื่อใชเปนเครื่องมือสรางความสําเร็จใหกับตนเองได 1. ความขยัน มีลกั ษณะพฤติกรรมของการทําอะไรอยางเอาจริงเอาจัง แข็งขันไมเกียจคราน ถาผูประกอบอาชีพเปนอยางนี้ เขาจะมองเห็นงานอยางทะลุไปขางหนามุงมั่นเอาจริงเอาจังยกระดับ ความสําเร็จไปอยางตอเนื่อง ความมั่นคงก็จะเกิดขึ้น 2. ความประหยดั เปนพฤตกิ รรมของการยบั ยง้ั ระมัดระวงั การใชจายใหพอ สรางความคุมคา ใหมีความเสียหายนอยทีสุด พฤติกรรมเชนนี้เปนเรื่องของความรอบคอบในการทํางาน 3. ความซอ่ื สัตย เปนลักษณะการประพฤติตรงและจริงใจตอลูกคา ทีมงานไมคิดทรยศ คดโกง หลอกลวง คูค า ผรู วมทุนเปนพฤตกิ รรมทีส่ รางความภักดี ความไวว างใจตอลูกคา ทีมงานหนุ สวน 4. ความอดทน มลี ักษณะพฤติกรรมท่ีสามารถอดกลัน้ งดเวน ทนอยูไ ดก ับความยากลําบาก ไมทิ้งงาน ไมยกเลิกขอตกลงงายๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook