Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไตรภูมิพระร่วง

ไตรภูมิพระร่วง

Published by kanlayanin.tnun, 2019-12-14 04:35:01

Description: ไตรภูมิพระร่วง

Search

Read the Text Version

หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่อื ง ไตรภมู ิพระรว่ ง

ผแู้ ต่ง พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ ( พญาลไิ ท ) ทำนองแต่ง เป็นความเรียงรอ้ ยแกว้ จดุ มุ่งหมำย เพอ่ื ทรงแสดงธรรมโปรดพระราชมารดา และสงั่ สอนประชาชน

เนอื้ เรอ่ื งย่อ ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณกรรมทางพุทธศาสนาที่ กล่าวถึงภูมิ (แดน) ทั้งสาม คือ กามภูมิ รูปภูมิ และ อรูปภูมิ ซ่ึงมีเนื้อหาพรรณนาถึงท่ีอยู่ ท่ีต้ัง และการเกิด ของมนุษย์ สตั วน์ รก เปรต อสรุ กาย และเทวดา

กำมภูมิ คอื โลกของผทู้ ่ียังตดิ อยูใ่ นกามกเิ ลส แบง่ ออกเปน็ ดินแดน ๒ ฝ่าย และ แบ่งเป็นโลกย่อยๆ ๑๑ แห่ง ไดแ้ ก่ ๑. ทุติยภูมิ หรืออบายภูมิ ๔ ดินแดนฝ่ายไม่ดีหรือฝ่า เส่ือม ประกอบด้วยโลกย่อยๆ ๔ แห่ง ได้แก่ นรกภูมิ เปรตภมู ิ อสรุ กายภูมิ และสัตวด์ ริ จั ฉานภมู ิ ๒. สุคติภูมิ คือ มนุสสภมู ิ ๑ สวรรค์ ๖ ดินแดน ฝ่ายดีหรือฝ่ายเจริญ ประกอบด้วยโลกย่อยๆ รวม ๗ แห่ง ได้แก่ มนุสสภูมิหรือโลกมนุษย์ ๑ แห่ง และ สวรรคภูมหิ รือฉกามาพจรภมู ิ

รปู ภมู ิ เปน็ ดินแดนของพรหมท่มี ีรูป มีท้ังส้ิน ๑๖ ชั้น ผู้ มาเกิดต้องบาเพ็ญสมาธิจนได้ฌานสมาบัติ พรหมในช้ัน เหล่านี้ไม่มีการเคล่ือนไหวใดๆ ทั้งส้ิน พรหมทั้ง ๑๖ ชั้นน้ีเรียกว่า โสฬสพรหม พรหม ๕ ชั้นสูงสุด คือ พรหมต้ังแต่ช้ันท่ี ๑๒ – ๑๖ เป็นพรหมช้ันพิเศษท่ี เรียกว่า ปัญจสุทธาวาส เป็นที่เกิดของพระอนาคามี คือ ผ้ทู ีจ่ ะไม่มาสู่กามภมู ิอีก ไดแ้ ก่ จตตุ ตถฌาณ ๗ ชนั้

อรปู ภูมิ เป็นดินแดนของพรหมไม่มีรูป มีแต่จิตหรือ วิญญาณ แบ่งเป็น ๔ ช้ัน คือ อาสานัญจายตนะ วิญญานัญจายตนะ อากิญกญั จายตนะ เนวสัญญา นาสัญยตนะ ตอนต่อไปได้กล่าวกถึงการกาเนิด และสภาพความเป็นไปแห่งหมู่ภูมิน้ัน ๆ อย่าง ละเอียดลออ ผู้ท่ีมาเกิดในดินแดนท้ัง ๓ โลกน้ีมา เกิดตามผลของการทากรรมหรือทาบุญในชาติ ก่อนๆ อันเป็นเหตุให้ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน สังสารวฏั อย่างไม่มีวันสิ้นสุด ซ่ึงมีเนื้อหาพรรณนา ถึงที่อยู่ ท่ีตั้ง และการเกิดของมนุษย์ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย และเทวดา ที่ตั้งเหล่านี้มีเขาพระ สุเมรุเป็นหลัก เขาพระสุเมรุน้ันต้ังอยู่ท่ามกลาง จกั รวาล มีทิวเขาและทะเลล้อม

คณุ ค่ำและประโยชน์ ๑. ด้านศาสนา ในเรื่องนี้มีอิทธิพลต่อความคิด ของประชาชนที่ได้อ่านในเรื่องของบาปบญุ คุณ โทษ และ การเกดิ การตายเก่ยี วกบั โลกท้ังสาม ๒. ด้านภาษา สานวนโวหารในไตรภูมิพระร่วง โดยเฉพาะพรรณนาโวหารนั้นประณีตละเอียดลออเป็น อย่างยิ่ง จนนึกเห็นภาพสมจริง ท้ังความน่าสยดสยอง ของนรกภมู ิ ความรุ่งเรืองสุขีของสวรรค์ และยังแสดงให้ เหน็ ถึง พฒั นาการทางภาษาระหว่างยคุ สโุ ขทัยดว้ ย ๓. ด้านสังคม มุ่งใช้คุณธรรมความดีข้ันพ้ืนฐานใน การสรรสรา้ งสังคมไทย

เรอ่ื งนำ่ รู้ ๑. ไตรภูมิพระรว่ ง เดิมเรยี กว่า เตภูมกิ ถา ๒. กรมพระยาดารงราชานุภาพ เป็นผู้ทรง เปลีย่ นช่ือหนงั สือเลม่ น้ีเป็น ไตรภมู พิ ระร่วง ๓. หอพระสมุดวชิรญาณได้ต้นฉบับเร่ืองไตรภูมิ พระร่วงมาจากจงั หวัดเพชรบุรี จารกึ ดว้ ยอักษรขอม ๔. พระยาลิไทยได้ทรงคน้ ควา้ เร่ืองราวจากคัมภีร์ ตา่ งๆ ถึง ๓๐ คมั ภรี ์เพื่อพระราชนพิ นธ์ ๕. ไตรภูมิพระร่วง นับเป็นวรรณคดีที่เป็น ปรัชญาเรอื่ งแรกของไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook