Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

เอกสารประกอบการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

Published by saowaree63, 2021-01-08 16:30:01

Description: เอกสารประกอบการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

Keywords: Faculty of Practice

Search

Read the Text Version

1 เอกสารคาสอน รายวิชา ปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ และวยั ร่นุ อาจารย์เสาวรี เอี่ยมละออ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฎั นครปฐม ๒๕๖๑

2 คานา การเรียนการสอนด้านการพยาบาลนั้น มีท้ังการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การเรียน ภาคทฤษฎีเป็นการเรียนโดยศึกษาหลักการและแนวคิด จากน้นั นาความรู้ทีไ่ ดไ้ ปสู่การปฏิบัติ ซึ่งจะ พบว่า มีความยุ่งยากและซับซ้อน ทาให้การฝึกปฏิบัติการพยาบาลค่อนข้างยาก และนักศึกษาจะ รสู้ ึกขาดความม่ันใจ เกิดความเครียด เพราะการนาทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติน้ันต้องใช้ทักษะและการ คิดวิเคราะห์เข้ามาใช้ในการฝึกภาคปฏิบัติการพยาบาล โดยเฉพาะการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น ท่ีมีความเป็นลักษณะเฉพาะของเด็กแต่ละช่วงวัย ลักษณะเฉพาะของโรคเด็ก และการ พยาบาลโรคเดก็ ท่ีมีความเสย่ี งสงู ขณะทาหตั ถการหรอื ให้การดแู ล ดังน้ัน นักศึกษาพยาบาลต้องสามารถนาความรู้ทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้กับการฝึก ภาคปฏบิ ัติการพยาบาลได้ โดยต้องทาความเข้าใจตง้ั แต่ลกั ษณะหรอื บรบิ ทของหน่วยงานกุมารเวช กรรม เตรยี มความรู้เก่ียวกบั การชว่ ยทาหตั ถการในเด็กต่างๆ ทพ่ี บบอ่ ย เช่น เตรียมและช่วยแพทย์ ในการเจาะหลัง การช่วยให้สารน้าทางหลอดเลือดดาในเด็ก การ restrain ผู้ป่วยเด็กขณะให้สาร น้า การชว่ ยเจาะเลือด การป้อนยา ปอ้ นนม เปน็ ตน้ นอกจากนั้น ยงั ต้องมีความรู้เก่ียวกับหลักของ Patient safety ในที่นี้จะใช้หลักการตามมาตรฐาน HA (Hospital Accreditation) ซึ่งเป็น มาตรฐานคุณภาพสถานพยาบาลของ สรพ. (สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล องค์การ มหาชน) เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นฉบับน้ี จะกล่าวถึง หลกั การจดั หอผปู้ ว่ ยกุมารเวชกรรม ปฏบิ ัติการพยาบาลผปู้ ่วยโรคเด็กตดิ เชื้อทปี่ ้องกันไดด้ ว้ ยวัคซีน และไม่สามารถปอ้ งกันได้ด้วยวคั ซีน ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กาเนิด TOF โรคมือ เท้า ปาก โรคคาวาซากิ โรคระบบทางเดินปัสสาวะ บูรณาการเรื่อง Patient Safety เข้าไปในทุก ปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย ตัวอย่างการเขียนบันทึก ทางการพยาบาลในทกุ ๆ ปฏิบตั ิการพยาบาล เพ่ือให้เห็นภาพทั้งหมดของการปฏิบัติงานจริงบนหอ ผู้ป่วย หวงั วา่ คูม่ อื การฝึกปฏิบัติการพยาบาลโรคเด็กฉบับน้ี นักศึกษาจะได้ใช้ประโยชน์ในการฝึก ทักษะการปฏิบตั ิงานบนหอผ้ปู ว่ ยได้เป็นอยา่ งดี ทาให้เกิดคุณภาพในการศกึ ษาตอ่ ไป เสาวรี เอ่ียมละออ

3 สารบญั

4 แผนบริหารการสอนประจาวิชา รหสั วิชา ๔๑๗๓๖๘๑ รายวิชา ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ Children and Adolescent Nursing Practicum คาอธบิ ายรายวิชา เพ่ือให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง โดยสามารถนากระบวนการพยาบาลมาใช้ ปฏิบัติการพยาบาลสาหรับผู้ป่วยเด็กต้ังแต่แรกเกิดจนถึงวัยรุ่นท่ีมีปัญหาสุขภาพโดยบูรณาการความรู้ ทฤษฎี ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการเล่น การส่งเสริมสัมพันธภาพ ระหว่างเด็กและครอบครัว สิทธิเด็ก สิทธิ ผู้ป่วย และการดูแลเด็กซึ่งมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง โดยอยู่บนพ้ืนฐานของจริยธรรมและขอบเขตการปฏิบัติ ของวชิ าชีพ วัตถปุ ระสงคท์ ว่ั ไป ๑. เพื่อใหน้ กั ศกึ ษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฎีการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น สู่การ ปฏิบตั ไิ ด้ ๒. เพ่ือให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้เก่ียวกับปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น และ กระบวนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน HA และมาตรฐาน QA ของสภาการพยาบาล ๓. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนการพยาบาลในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กและ วัยรุน่ ได้ ๔. เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาสามารถเขียนบันทกึ ทางการพยาบาลได้ครบถ้วน เหมาะสม เพ่ือส่ือสาร กบั สหสาขาวชิ าชีพ และเพ่ือเป็นหลักฐานทางกฎหมายท่ีถกู ต้องครอบคลมุ การพยาบาลต่อไป เนอ้ื หา ๑ ชั่วโมง บทที่ ๑ บริบทของหอผู้ป่วยกมุ ารเวชกรรม บทท่ี ๒ การบูรณาการมาตรฐาน HA เขา้ สู่ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผู้ปว่ ยเด็ก - มาตรฐาน IC - มาตรฐาน Risk - Patient Safety - การใช้กระบวนการ C3THEER ในการทบทวนกระบวนการดูแลผู้ป่วยเพื่อการพัฒนา คณุ ภาพ

5 บทที่ ๓ กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคติดเชื้อที่พบบ่อย โดยบูรณา การมาตรฐาน HA เพ่ือใหผ้ ปู้ ่วยปลอดภัย (Patient Safety) โดยใช้กรณีศกึ ษา: ๓.๑ ไข้เลือดออก ๓.๒ ไขส้ มองอักเสบ ๓.๓ เยือ่ หุ้มสมองอกั เสบ ๓.๔ คาวาซากิ ๓.๕ กรวยไตอักเสบ ๓.๖ ลาไสอ้ ักเสบ ๓.๗ ไขห้ วัดใหญ่ บทที่ ๔ หลักการ Conference ๔.๑ Pre-Conference ๔.๒ Post – Conference ๔.๓ ตัวอยา่ งการ Pre-Post Conference ในผปู้ ่วยโรค ๔.๓.๑ สาไส้อกั เสบ (Gastroenteritis) ๔.๓.๒ หืด (Asthma) ๔.๓.๓ ไขเ้ ลอื ดออก บทที่ ๕ ตัวอยา่ งการทากรณศี กึ ษา (Case Study) บทท่ี ๖ ตัวอย่างหลักการใช้กระบวนการ C3THEER ในการทบทวนกระบวนการดูแลผู้ป่วย โรคเด็ก วิธีสอนและกิจกรรม ๑. สอนด้วยการให้ดูกรณศี ึกษา ๑.๑ ๑.๒ ๒. สาธติ ปฏิบตั กิ ารพยาบาลกบั ผู้ป่วย ๒.๑ สาธิตให้นักศกึ ษาแตล่ ะกล่มุ ไดเ้ รยี นร้กู ารปฏบิ ตั ิการพยาบาลท่ีพบบ่อยในเด็ก ๒.๒ สาธิตให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มได้เรียนรู้หัตถการที่สาคัญในเด็ก การช่วยแพทย์ในการทา หัตถการ ๓. สาธติ ยอ้ นกลับโดยใหน้ ักศกึ ษาปฏบิ ัตริ ายบุคคล

6 ๔. การอภปิ รายซักถามอาจารย์ ๔.๑ การนาเสนอปญั หาทพ่ี บขณะปฏิบัตกิ ารพยาบาล ๔.๒ ให้นักศึกษานาปัญหา ความไม่เข้าใจหรือความคิดเห็นที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลมา นาเสนอเพ่ือวเิ คราะห์รว่ มกนั และหาข้อสรุปโดยใชห้ ลักการพยาบาล ๔.๓ การสรุปประเดน็ และสาระการเรียนรู้ อาจารยผ์ ้สู อนร่วมอภปิ ราย และร่วมสรปุ ให้นกั ศกึ ษาไดส้ าระที่ควรแก่การจดจา หรือนาไป เป็นเหลกั ปฏิบัตติ อ่ ไป การวัดและประเมินผล รอ้ ยละ ๘๐ การวดั ผล ๑. คะแนนภาคปฏบิ ัติ ๑.๑ คะแนนการ conference case study ๑.๒ คะแนนการปฏบิ ตั บิ นหอผู้ป่วย ๑.๓ คะแนนการเขยี นการวางแผนการพยาบาล การประเมนิ ผล ไดร้ ะดบั A ไดร้ ะดับ B+ คะแนนระหวา่ ง ๘๐-๑๐๐ ไดร้ ะดบั B คะแนนระหว่าง ๗๕-๗๙ ไดร้ ะดับ C+ คะแนนระหวา่ ง ๗๐-๗๔ ไดร้ ะดับ C คะแนนระหว่าง ๖๕-๖๙ ไดร้ ะดบั D+ คะแนนระหว่าง ๖๐-๖๔ ได้ระดบั D คะแนนระหวา่ ง ๕๕-๕๙ ไดร้ ะดับ E คะแนนระหว่าง ๕๐-๕๔ คะแนนระหวา่ ง ๐-๔๙

7 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี ๑ บริบทของหอผปู้ ่วยกมุ ารเวชกรรม หัวขอ้ เนื้อหาประจาบท ๑. บริบทของหอผ้ปู ่วยกุมารเวชกรรม ๒. การบริหารความเส่ยี งในหอผปู้ ว่ ยกุมารเวชกรรม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๑. นกั ศึกษาสามารถอธบิ ายความหมายและลักษณะทว่ั ไปของหอผู้ปว่ ยกุมารเวชกรรมได้ ๒. นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ ายหลกั การบริหารความเสยี่ งในหอผปู้ ่วยกุมารเวชกรรมได้ ๓. นกั ศกึ ษาสามารถปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือป้องกันความเส่ียงในหอผปู้ ว่ ยกมุ ารเวชกรรมได้ ๔. นักศึกษาสามารถจดั ส่งิ แวดลอ้ มในหอผ้ปู ว่ ยกุมารเวชกรรมไดเ้ หมาะสม วิธีสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาบท ๑. วิธีสอน ๑.๑ การ orientation ในสถานทหี่ อผู้ปว่ ยกุมารเวชกรรม ๑.๒ การปฏิบัตดิ า้ นการจัดสิ่งแวดลอ้ มในหอผปู้ ่วย การจดั เตยี งทไี่ ด้รบั มอบหมาย ๑.๓ การวิเคราะห์การปฏิบตั ิการพยาบาลเพ่ือป้องกันความเสีย่ งในหอผู้ป่วยและในกรณศี ึกษาท่ี ไดร้ บั มอบหมาย ๑.๔ การนาเสนอผลการปฏิบัติการพยาบาลดา้ นการจัดสงิ่ แวดลอ้ มและการป้องกนั ความเสยี่ งใน หอผู้ปว่ ย ๒. กจิ กรรมการเรียนการสอน ๒.๑ การประเมนิ ความรเู้ ดิมของนักศึกษา จากการสอบถามด้วยวาจาเพือ่ ประเมนิ ความรูเ้ ดมิ ของนักศกึ ษา ให้อาจารย์ทราบวิธคี ิด และ ปัญหาของนกั ศึกษา ๒.๒ การอภิปรายรว่ มกนั ระหว่างอาจารย์และนักศึกษา อาจารยน์ านกั ศึกษารว่ มอภปิ รายในกลมุ่ ช่วงการ pre-conference case สอ่ื การเรยี นการสอน ๑. สถานทหี่ อผปู้ ว่ ยกุมารเวชกรรม ๒. อุปกรณต์ า่ งๆ ในหอผปู้ ว่ ยกุมารเวชกรรม เชน่ ปล๊กั ไฟ หม้อตม้ นา้ ร้อน ของเล่นเด็กในห้องเล่น เด็ก ฯลฯ ๓. เอกสารประกอบการสอนวิชาปฏิบัตกิ ารพยาบาลเดก็ และวัยรนุ่ การวดั ผลและการประเมินผล ๑. ประเมนิ จากการปฏบิ ัติ การจดั สิง่ แวดลอ้ มทีเ่ ออื้ ต่อการให้การพยาบาลผ้ปู ว่ ยเด็ก การปฏิบตั เิ พอื่ ปอ้ งกนั ความเส่ยี ง

8 ๒. ประเมินจากการ conference การคดิ วเิ คราะห์ และการแกป้ ัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ บรบิ ทของหอผู้ปว่ ยแผนกกุมารเวชกรรม หอผูป้ ว่ ยแผนกกมุ ารเวชกรรม จะรับผู้ป่วยตั้งแตแ่ รกเกิดจนถงึ อายุ ๑๕ ปบี รบิ รู ณ์ โดยส่วนใหญใ่ น โรงพยาบาลระดบั ตตยิ ภมู ิมักจะแยกหอผปู้ ่วยกุมารเวชกรรมออกเปน็ ๑. หอผปู้ ่วยทารกแรกเกดิ ระยะวกิ ฤติ (NICU) ๒. หอผู้ปว่ ยทารกแรกเกดิ กึ่งวกิ ฤติ (Semi NICU) ๓. หอผปู้ ่วยหนักเดก็ ๔. หอผู้ป่วยเด็ก ๕. อาจจะมหี นว่ ยงานเฉพาะเชน่ โรคระบบทางเดนิ หายใจในเดก็ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด เป็นตน้ การดแู ลผู้ปว่ ยแผนกกุมารเวชกรรม จะเร่ิมตน้ ต้งั แตท่ ารกแรกเกิด ท่ีมีภาวะวิกฤติ ก่ึงวิกฤติ และทารก ที่มีปัญหาหลังคลอดทั่วไป เช่น ตัวเหลืองหลังคลอด น้าหนักตัวแรกคลอดมากกว่า ๔,๐๐๐ กรัม หรือคลอด จากมารดาที่ติดเช้ือเอชไอวี ซ่ึงต้องได้รับยาต้านไวรัส กลุ่มเด็กแรกคลอดท่ีมีปัญหาทางศัลยกรรม เช่นปาก แหว่ง เพดานโหว่ ไม่มีรูทวาร ตลอดจนกลุ่มทารกและเด็กที่มีปัญหาด้านพัฒนาการ มีหน่วยงานกระตุ้น พัฒนาการเด็ก ยังมีหน่วยงานที่ให้การดูแลเด็กป่วยเฉพาะโรคเช่น กลุ่มเด็กออทิสติก กลุ่มเด็กโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบต่อมไรท้ ่อ จนกระทัง่ การให้การดแู ลผ้ปู ว่ ยเดก็ ในระยะสดุ ทา้ ยของชวี ิต และในกลุ่มเด็กปกติ จะมีการดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และส่งเสริม ภมู ิคมุ้ กันเพอ่ื ป้องกนั โรค นอกจากนัน้ บางแหง่ ยังมีศูนย์เด็กเลก็ ขนึ้ อย่กู บั แผนกกุมารเวชกรรมด้วย หอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤติ (NICU)