Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบเนื้อหา หน่วยที่ 5 ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย

ใบเนื้อหา หน่วยที่ 5 ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย

Published by ppwittaya0123, 2020-06-13 03:50:40

Description: ใบเนื้อหา หน่วยที่ 5 ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย

Search

Read the Text Version

คา่ จา้ ง ค่าจ้าง หมายความว่า “เงินท่ีนายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทํางานตาม สัญญาจ้าง สาํ หรับระยะเวลาการทาํ งานปกตเิ ปน็ รายชว่ั โมง รายวัน รายสัปดาห์ รายเดอื น หรือระยะเวลาอื่น หรือจ่ายให้โดยคํานวณตามผลงานที่ลูกจ้างทําได้ในเวลาปกติของวันทํางาน และให้ หมายความรวมถึงเงนิ ทีน่ ายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างในวันหยุดและวันท่ีลูกจ้างมิได้ทํางานแต่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับตาม พระราชบญั ญตั ิ คุ้มครองแรงงานนี้” คา่ จ้างในวนั ทาํ งาน หมายความวา่ “คา่ จา้ งทจ่ี ่ายสาํ หรบั การทํางานเต็มเวลาการทาํ งานปกติ อตั ราค่าจ้างขนั้ ต่ํา หมายความวา่ “อตั ราค่าจ้างทค่ี ณะกรรมการค่าจ้างกําหนดตามพระราชบัญญตั ินี้” พระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ฉบับนย้ี งั กําหนดไวอ้ กี ว่า “หา้ มมิให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง แก่ลูกจ้าง น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ําหรืออัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือท่ีกําหนด” หากฝ่าฝืนอาจมีโทษ จําคุกไม่เกินหก เดอื นหรอื ปรับไมเ่ กินหนึง่ แสนบาทหรอื ทงั้ จําทัง้ ปรับ หมายความว่า คา่ จา้ งในวันทํางานปกติ ให้ยึดอัตราค่าจ้างขั้น ตาํ่ ไวเ้ ปน็ เกณฑต์ า่ํ สดุ 2 อนึง่ คาํ ว่า ค่าจ้างตามพระราชบัญญัติคมุ้ ครองแรงงานนี้ให้หมายถงึ เงิน เทา่ นน้ั ซง่ึ ตา่ งกบั ค่าตอบแทน การจ้าง แรงงานตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยใ์ ชค้ าํ วา่ “สนิ จ้าง” ซงึ่ สินจา้ งนีอ้ าจเป็นเงินหรือ เป็นทรัพย์สินอย่าง อื่นกไ็ ด้

อัตราค่าจ้างข้ันตํ่า อัตราค่าจ้างขั้นตํ่า คือค่าจ้างที่คณะกรรมการค่าจ้าง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เป็นผู้ พิจารณา ปลัดกระทรวงแรงงานเป็นประธานกรรมการประกอบด้วยผู้แทน 3 ฝ่ายคือ ฝ่ายรัฐบาล จํานวน 4 คน ฝ่ายนายจ้างจํานวน 5 คน และฝ่ายลูกจ้างจํานวน 5 คน มีข้าราชการในกระทรวง แรงงานท่ีรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็น เลขานุการ การพิจารณาของคณะกรรมการค่าจ้าง จะกําหนดอัตราค่าจ้างข้ันต่ําท่ีลูกจ้างควรได้รับ โดยพิจารณา ข้อเท็จจริงเกีย่ วกับ อตั ราคา่ จ้างท่ีลกู จา้ งได้รบั อยู่ ประกอบกบั ขอ้ เท็จจรงิ อ่ืนโดยคาํ นงึ ถงึ ดชั นคี า่ ครองชีพ อัตราเงิน เฟ้อ มาตรฐานครองชีพ ต้นทุนการผลิตราคาของสินค้าและบริการ ความสามารถของธุรกิจ ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมตามที่กฎหมายกําหนด ค่าจ้างที่คณะกรรมการ ค่าจา้ งกําหนดขนึ้ เป็นอตั ราตาํ่ สุดเพอ่ื จ่ายให้แกล่ กู จา้ งทํางานใน 1 วัน คือ ทํางาน 8 ช่ัวโมงต่อวัน สําหรับงานปกติ ทว่ั ไป และทาํ งาน 7 ชว่ั โมงต่อวัน สําหรับงานท่ีอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือร่างกายของลูกจ้าง แล้วเสนอต่อ รฐั มนตรี กระทรวงแรงงานเพ่ือประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา คณะกรรมการค่าจ้างจะยึดเอาสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมในเขตพ้ืนท่ีของจังหวัดนั้นๆ เป็นพื้นฐาน ในการ พิจารณาว่าอัตราค่าจ้างข้ันต่ําของจังหวัดน้ีควรจะเป็นกี่บาทต่อวัน จังหวัดที่มีเศรษฐกิจสังคม สูง และประชากร หนาแน่น ก็จะมีค่าจ้างต่อวันสูงกว่าจังหวัดที่มีเศรษฐกิจสังคมต่ําและประชากรมี ความหนาแน่นน้อยกว่า เช่น ปัจจบุ ันอตั ราค่าจ้างขั้นตาํ่ ในเขตทอ้ งท่ีกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และภูเก็ต อตั ราค่าจา้ งขนั้ ตา่ํ เปน็ เงนิ วันละสามรอ้ ยบาทในเขตทอ้ งท่ีของจงั หวดั นครราชสมี า ปราจีนบรุ ี วันละสองร้อยห้าสิบ ห้าบาท ในเขตท้องท่จี งั หวดั แพร่ มหาสารคาม แมฮ่ ่องสอน วนั ละสองร้อยย่ีสบิ เจด็ บาท เปน็ ตน้

ค่าจ้างทางานวันหยุด นอกจากคา่ จ้างในวันทาํ งานปกติทั่วๆ ไปแล้ว ยังมีค่าจ้างในวันหยุดและค่าจ้างในการทํางานล่วงเวลา อีกด้วย ในเร่ืองของวันหยุดได้ศึกษามาแล้วว่ามี 3 ประเภท คือวันหยุดประจําสัปดาห์วันหยุดตามประเพณี และวันหยุด พักผอ่ นประจําปี การให้ทํางานในวันหยุดยอ่ มเปน็ งานเร่งด่วนหรือเป็นงานที่ต้องทําติดต่อกันไป หากไม่ทําจะเกิด ความเสียหายต่อธุรกิจ โดยต้องได้รบั ความยนิ ยอมจากลกู จา้ ง โอกาสที่นายจ้างจะให้ ลูกจ้างทํางานในวันหยุดส่วน ใหญจ่ ะเปน็ วันหยุดประจาํ สัปดาห์ และวันหยดุ ตามประเพณี เมอ่ื ลกู จา้ งทํางานในวนั หยุด คือทํางานในเวลาปกติของเวลาทํางาน แตว่ นั นนั้ เป็นวันหยุดตามคําส่ังของนายจ้าง นายจ้างต้องยอมจ่ายค่าจ้างเรียกว่า ค่าทํางานในวันหยุด ให้แก่ลูกจ้างซ่ึงกฎหมายให้ความหมายว่า ค่าทํางาน ในวันหยุด คอื เงนิ ทน่ี ายจ้างจ่ายให้แกล่ ูกจา้ งเป็นการตอบแทนการทาํ งานในวันหยุดและ ในกรณีนายจ้างให้ลูกจ้าง ทาํ งานในวันหยุดให้นายจ้างจา่ ยค่าจ้างทํางานในวันหยดุ ใหแ้ กล่ กู จ้างตามอตั รา ที่กฎหมายกําหนดแบ่งเป็น 2 กรณี ดงั น้ี 1. สําหรบั ลกู จา้ งมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด กรณีลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดอยู่แล้ว ให้เพิ่มข้ึนจาก ปกตอิ กี ไมน่ ้อยกว่าหนึง่ เท่าของอตั ราค่าจา้ งต่อชว่ั โมงในวันทาํ งานตามจํานวนชั่วโมงท่ีทํา หรือไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่า ของอตั ราค่าจ้างตอ่ หนว่ ยในวันทํางานตอ่ วันตามจาํ นวนผลงานที่ทาํ ได้ ตวั อยา่ ง นางสาวสมศรี พนักงานคอมพิวเตอร์ ได้รับค่าจ้างจากนายจ้างเป็นรายเดือน จึงเป็นผู้มีสิทธิ ได้รับค่าจ้างใน วันหยุด เมอ่ื มีงานเรง่ ด่วน ตอ้ งทาํ งานในวันหยุดประจําสปั ดาห์คือวนั อาทิตยจ์ าํ นวน 1 วัน นางสาวสมศรีต้องได้รับ ค่าจ้างเพิ่มจากเงินเดือนปกติในอัตราเฉล่ียของค่าจ้างปกติ 1 วัน เช่น นางสาวสมศรีได้รับเงินเดือน เดือนละ 12,000 บาท เฉลี่ยอัตรา 1 วัน เท่ากับ 400 บาท นางสาวสมศรี ต้องได้รับค่าจ้างทํางานวันหยุด เพ่ิมจากค่าจ้าง เงินเดือนอีก 400 บาท แต่ถ้าทํางานวันหยุดไม่เต็มวัน คือทําเพียง 4 ช่ัวโมง ให้คิดเฉลี่ยจากวันหน่ึง ทํางาน 8 ช่ัวโมง จะเป็นค่าจ้างช่ัวโมงละ 50 บาท จํานวน 4 ชั่วโมง หรือคร่ึงวันเป็นเงินค่าจ้างในวันหยุด เพ่ิมข้ึนอีกอย่าง น้อย 200 บาท เปน็ ต้น ลูกจ้างทาํ งานวนั หยดุ มสี ทิ ธิไดร้ ับคา่ จ้างสงู ขน้ึ จากปกตไิ มน่ อ้ ยกวา่ 1 เท่าของอัตราค่าจ้าง 1 ชว่ั โมง

2. สําหรับลูกจ้างไมม่ ีสิทธไิ ดร้ บั คา่ จา้ งวนั หยดุ กรณลี ูกจ้างไมม่ ีสทิ ธิได้รับค่าจ้างทํางานในวันหยุด ให้นายจ้างจ่าย คา่ จา้ งไม่น้อยกวา่ สองเทา่ ของอัตราค่าจ้างตอ่ ช่ัวโมงในวันทํางานตามชั่วโมงท่ีทําหรือไม่น้อยกว่าสองเท่าของอัตรา ค่าจ้างตอ่ หน่วยในวันทํางานตอ่ วันตามจาํ นวนผลงานท่ีทาํ ได้ ตัวอย่าง นางสะอาดเปน็ ลกู จา้ งรายวนั รบั หน้าที่เป็นลูกจ้างทําความสะอาดบริษัท วันที่มาทํางานจะได้ รับค่าจ้างวันละ 300 บาทและกําหนดให้มีวันหยุดประจําสัปดาห์ 1 วัน คือวันอาทิตย์วันหยุดน้ี จะไม่ได้รับค่าจ้าง ต่อมาบริษัทมี งานเร่งด่วน ทุกคนในบริษัทต้องมาทํางานรวมท้ังนางสะอาดต้องมา ทําความสะอาดอาคารและสํานักงานของ บรษิ ทั กรณีเช่นนีแ้ มน้ างสะอาดจะไมไ่ ด้รบั คา่ จ้างใน วนั อาทิตย์เพราะเป็นวันหยุด เม่ือให้นางสะอาดมาทํางานวัน อาทติ ย์ นางสะอาดจะตอ้ งไดร้ ับคา่ จา้ ง ในวนั หยุดเพ่ิมเปน็ สองเท่าจากวันปกติ หรอื ไม่นอ้ ยกว่าสองเท่าจากวันปกติ ทเ่ี คยได้รับ คอื จะได้รบั เงนิ คา่ จา้ งทํางานวันหยดุ อยา่ งน้อยจํานวน 600 บาท เปน็ ต้น

การทางานลว่ งเวลา การทํางานล่วงเวลาหรือที่เรียกกันโดยท่ัวไปว่าทําโอที (Overtime) หมายความว่า “การทํางานนอก หรือเกิน กว่าเวลาทาํ งานปกตหิ รอื เกนิ ชวั่ โมงทํางานในแต่ละวันที่นายจ้างลูกจ้างตกลงกัน” การทํางาน ล่วงเวลามีได้ท้ังวัน ทํางานปกติและเวลาในวันหยุด การทํางานล่วงเวลานายจ้างและลูกจ้างจะต้องตกลงกัน และต้องได้รับความ ยนิ ยอมจากลูกจา้ งทกุ ครั้ง คา่ จ้างทาํ งานลว่ งเวลา ค่าจ้างหรือค่าตอบแทนที่นายจ้างให้แก่ลูกจ้างทํางานล่วงเวลาเรียกว่า “ค่าล่วงเวลา” เมื่อมีการ ทํางาน ล่วงเวลา นายจ้างจะต้องจ่ายคา่ ลว่ งเวลาใหล้ กู จา้ งเพิ่มจากเงินคา่ จ้างทรี่ บั ปกติ มหี ลักเกณฑด์ งั น้ี 1. คา่ ล่วงเวลาในวันทํางานปกติ การทํางานล่วงเวลาในวันทํางานปกติคือการทํางานระยะเวลา ท่ีลูกจ้างเลิก จากการทํางานในเวลาปกติที่ทําอยู่ขณะน้ัน และให้เริ่มทํางานต่อไป ระยะที่ทําต่อน้ีเรียกว่า ทํางานล่วงเวลา นายจ้างจะตอ้ งจ่ายค่าจ้างผดิ ไปจากเดมิ เรยี กว่า คา่ ล่วงเวลา ใหแ้ ก่ลกู จา้ งในอัตรา ไม่น้อยกวา่ หน่งึ เท่าคร่ึงของอัตราคา่ จา้ งตอ่ ช่วั โมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงทท่ี ํา หรือไมน่ ้อยกว่า หน่ึงเท่าครึ่ง ของอัตราคา่ จ้างต่อหนว่ ยในวันทํางานตามจาํ นวนผลงานที่ทาํ ไดส้ าํ หรบั ลกู จ้างซึ่งไดร้ ับค่าจา้ ง ตามผลงานท่ีคํานวณ เงนิ เปน็ หน่วย ๆ ตัวอยา่ ง นางสาวสมศรีได้รับเงินเดือน 12,000 บาท คิดเป็นวันละ 400 บาท หรือชั่วโมงละ 50 บาท หลังเลิกงานปกติ เวลา 17.00 นาฬกิ า นายจา้ งตกลงกบั นางสาวสมศรีใหท้ ํางานตอ่ เริ่มเวลา 18.00 ถึง 22.00 นาฬิกา รวม 4 ช่ัวโมง กรณเี ช่นน้ีนางสาวสมศรจี ะไดร้ ับค่าล่วงเวลาเพม่ิ ข้นึ จากปกติ อย่างนอ้ ยชั่วโมงละ 1.5 เทา่ เทา่ กบั 75 บาท จํานวน 4 ชว่ั โมง จึงเปน็ ค่าลว่ งเวลาเท่ากบั 300 บาท 2. ค่าลว่ งเวลาในวนั หยดุ การทาํ งานในวันธรรมดา เราเรียกว่าวันเวลาทํางานปกติ แต่ถ้าวันใด ตรงกับวันหยุด ประจําสัปดาห์ (โดยทั่วไปจะกําหนดวันอาทิตย์ เว้นบางอาชีพอาจกําหนดเป็นวันอื่น) วันหยุดตามประเพณี และ วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจําปี เราเรียกวนั เหลา่ นวี้ า่ วนั หยุด ตามที่ศึกษามาแล้ว เม่ือนายจ้างมีงานเร่งด่วนหรืองานต้อง ทําต่อเนื่อง นายจ้างต้องทําความตกลงกับลูกจ้างว่า ขอให้มาทํางาน ในวันหยุด เวลาการทํางานในวันหยุดก็คือ เวลาทํางานปกติระหว่างเวลา 08.00 ถงึ 17.00 นาฬิกา นน่ั เอง ลกู จา้ งจะไดร้ บั คา่ จ้างตามอตั ราการทํางานวันหยุด ตามท่ีศึกษามาแล้ว เม่อื ทํางานวันหยุดจนหมดเวลาถงึ 17.00 นาฬกิ าแล้ว งานก็ยงั ไมเ่ สร็จ นายจา้ งและลูกจ้างต้อง ตกลงกนั หรือตกลงไว้ล่วงหน้าแล้ววา่ ให้ทาํ ต่อไปอีก เวลาทีเ่ กนิ จากเวลาปกติในวันหยุดนี้เรยี กว่า “ทาํ งานล่วงเวลา

ในวันหยุด” นายจ้างต้องจ่าย ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ให้ลูกจ้างในอัตราไม่น้อยกว่าสามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อ ช่ัวโมงวนั ทาํ งานตาม ชวั่ โมงท่ีทาํ หรอื ตามจํานวนผลงานทที่ ําได้สําหรับลกู จ้างท่ีไดร้ บั ค่าจา้ ง ตามผลงานท่ที ํา ตัวอย่าง จากตวั อยา่ งเดมิ นางสาวสมศรมี ีค่าจา้ งเดอื นละ 12,000 บาท หรือวันละ 400 บาท หรือชั่วโมงละ 50 บาท ค่า ล่วงเวลาวันหยุดมีอัตราไม่น้อยกว่า 3 เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมง จึงเท่ากับ ค่าล่วงเวลา ชั่วโมงละ 150 บาท ทํางาน 4 ชว่ั โมงจึงเปน็ ค่าล่วงเวลาที่นางสาวสมศรจี ะไดเ้ งินเพ่ิมขึ้นอกี 600 บาท

คา่ ชดเชย คา่ ชดเชย ในพระราชบัญญตั ิคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 น้ีหมายความว่า เงินท่ีนายจ้างจ่ายให้แก่ ลูกจ้างเม่ือ เลิกจา้ ง นอกเหนือจากเงินประเภทอนื่ ซ่งึ นายจ้างตกลงจา่ ยใหแ้ กล่ กู จ้าง การเลกิ จ้าง หมายความว่า การกระทําใดทนี่ ายจา้ งไม่ให้ลูกจ้างทํางานต่อไป และไม่จ่ายค่าจ้างให้ ไม่ว่าจะเป็น เพราะเหตุส้ินสุดสัญญาจ้างหรือเหตุอ่ืนใด และหมายความรวมถึง กรณีที่ลูกจ้างไม่ได้ทํางาน และไม่ได้รับค่าจ้าง เพราะเหตุทนี่ ายจา้ งไม่สามารถดาํ เนนิ กิจการต่อไป การเลิกจา้ งข้างตน้ มใิ ห้ใชบ้ งั คับแกล่ กู จ้างท่ีจะได้รับค่าชดเชยเพราะเหตุได้จ้างให้ทํางานโครงการ เฉพาะท่ีมิใช่ งานปกติอันเป็นธุรกิจหรือการค้าของนายจ้างที่มีระยะเวลาเร่ิมต้นและส้ินสุดแน่นอน เป็นงาน อันมีลักษณะคร้ัง คราวโดยถอื เอาผลสาํ เรจ็ ของงานเป็นตัวกําหนด เป็นงานตามฤดูกาลที่จ้างไว้เฉพาะ ฤดูกาลน้ันและมีกฏเกณฑ์ว่า งานดังกล่าวมีระยะเวลาแล้วเสรจ็ ภายในเวลาไม่เกินสองปีซ่ึงนายจ้างและ ลูกจ้างได้ทําสัญญาเป็นหนังสือไว้ตั้งแต่ เมอ่ื เริม่ จ้างแลว้ จากความหมายและหลักกฎหมายข้างต้น สรปุ ได้ 2 ประการ 1. คา่ ชดเชย หมายถงึ 1.1 เงินทนี่ ายจ้างจา่ ยให้แกล่ กู จา้ งเม่ือเลิกจา้ ง 1.2 การเลกิ จ้าง มสี าเหตุมาจากนายจ้าง อันมิใชส่ าเหตุมาจากลูกจา้ ง ดังน้ัน ลูกจ้างจึงมีสทิ ธิ ไดร้ บั คา่ ชดเชย 1.3 สาเหตุจากนายจ้าง เช่น งานหรือสัญญาของนายจ้างส้ินสุดลงปิดโครงการเพื่อไปเร่ิม กิจการใหม่ เหตุ อ่นื ท่ีนายจา้ งต้องการเลกิ จ้างลกู จา้ งโดยไมใ่ ชค่ วามผดิ ของลูกจ้าง หรือกรณีนายจ้าง ไม่สามารถดําเนินกิจการต่อไป ไดต้ ้องปิดกจิ การ ปดิ โรงงาน 2. การเลิกจ้าง ตามข้อที่ 1 มิให้ใช้บังคบั หรอื ไมต่ อ้ งจา่ ยคา่ ชดเชย ในกรณที นี่ ายจ้างและลูกจ้าง ตกลงทํางานที่ มีระยะเวลานานไมเ่ กิน 2 ปี ได้กําหนดเวลาเร่ิมงานส้ินสุดของงานไว้แล้ว และเลิกจ้าง ตามกําหนดระยะเวลาน้ัน โดยท้ังนายจ้างและลกู จ้างไดท้ าํ สัญญาเปน็ หนังสอื ตอ่ กนั ไวต้ ้งั แตเ่ ม่อื เร่ิมจา้ งแลว้ งานดังกล่าวได้แก่ 2.1 เป็นโครงการเฉพาะที่มิใช่งานปกตขิ องธรุ กิจหรือการค้าของนายจ้าง เช่น ธุรกิจการค้า ของนายจ้างคือ รับซอ่ มเครอ่ื งรถยนต์แต่ได้มอบงานให้ลูกจ้างมีหน้าท่ีขับรถส่งลูกหลานไปโรงเรียน มีระยะเวลา 1 ปี ครบ 1 ปี ก็ เลกิ กัน 2.2 งานอนั มีลกั ษณะดผู ลของความสาํ เร็จของงานเป็นหลัก เช่น ก่อสร้างและต่อเติมอาคาร เม่ืองานเสร็จก็ เลิกกนั

2.3 งานท่ีเป็นไปตามฤดูกาล และได้จ้างช่วงเวลาของฤดูกาลนั้น เช่น จ้างมาเก็บผลทุเรียน ในสวนช่วง ฤดกู าลออกผล เม่อื หมดฤดกู าลกเ็ ลิกกนั 2.4 การเลกิ จา้ งมีสาเหตมุ าจากตวั ลูกจ้างเอง เช่น ลกู จ้างขอลาออกจากงาน นายจา้ งไมต่ ้อง จา่ ยค่าชดเชย การจ่ายคา่ ชดเชย กฎหมายกําหนดใหน้ ายจา้ งจ่ายค่าชดเชยใหล้ กู จ้างซง่ึ เลิกจา้ งดังนี้ 1. ลกู จ้างซึ่งทํางานตดิ ตอ่ กันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ให้จา่ ยค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 30 วัน หรือไม่น้อยกวา่ คา่ จ้างการทาํ งาน 30 วนั สุดทา้ ย สําหรบั ลกู จา้ งไดร้ บั คา่ จ้างตาม ผลงานโดยคํานวณเป็นหน่วย (คาํ วา่ ตามผลงาน หมายถงึ ไม่ได้จ้างเป็นรายวนั หรอื เดอื น แตใ่ ห้คา่ จ้าง ท่ีผลงาน) ส่วนลูกจ้างทํางานยังไม่ครบ 120 วนั จึงไม่มสี ทิ ธิพจิ ารณาค่าชดเชย 2. ลูกจา้ งซึ่งทํางานตดิ ตอ่ กนั ครบ 1 ปี แตไ่ มค่ รบ 3 ปี ให้จ่ายค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา สุดท้าย 90 วัน หรือไมน่ อ้ ยกวา่ คา่ จ้างการทาํ งาน 90 วันสดุ ทา้ ย สาํ หรบั ลกู จา้ งไดร้ บั คา่ จ้างตามผลงาน 3. ลูกจ้างซ่ึงทํางานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี ให้จ่ายค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา สุดท้าย 180 วัน หรอื ไม่น้อยกวา่ คา่ จ้างการทํางาน 180 วนั สดุ ทา้ ย สาํ หรบั ลกู จา้ งไดร้ ับค่าจ้างตาม ผลงาน 4. ลูกจ้างซงึ่ ทาํ งานตดิ ตอ่ กันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ให้จ่ายค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา สุดท้าย 240 วัน หรอื ไมน่ ้อยกวา่ ค่าจ้างการทาํ งาน 240 วันสุดทา้ ย สาํ หรับลกู จ้างได้รบั ค่าจา้ งตามผลงาน 5. ลูกจ้างซง่ึ ทํางานตดิ ต่อกันครบ 10 ปีขน้ึ ไป ใหจ้ ่ายค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน หรือไม่ น้อยกว่าค่าจ้างของการทาํ งาน 300 วันสุดท้าย สาํ หรับลกู จา้ งไดร้ บั คา่ จา้ งตามผลงาน โดยสรุปเงินชดเชยให้ลูกจา้ งเมอื่ เลิกจ้างอัตราํต่าสุดคือเท่ากับอัตราค่าจ้างไม่น้อยกว่า 30 วัน หรือ ประมาณ 1 เดือน และสูงสุดเทา่ กับอัตราค่าจ้างไม่น้อยกว่า 300 วนั หรือประมาณ 10 เดอื น กรณที ีเ่ คยจา้ งไมต่ ้องจา่ ยคา่ ชดเชย การจ้างลูกจ้างมาทํางานในกิจการธุรกิจการค้าของนายจ้างแม้จะมีการเลิกจ้าง นายจ้างมีสิทธิไม่ต้อง จ่าย ค่าชดเชยใหแ้ กล่ ูกจ้างหากการเลกิ จา้ งนน้ั มีสาเหตุมาจากตัวลกู จ้างในกรณดี ังต่อไปนี้ 1. ลูกจ้างทุจริตต่อหน้าท่ีหรือการกระทําความผิดอาญาโดยเจตนาต่อนายจ้าง เช่น ลักทรัพย์ ของนายจ้าง ยักยอกเบียดบังทรพั ยส์ นิ ของนายจ้างหรือทาํ ร้ายรา่ งกายนายจ้าง เปน็ ต้น

2. จงใจทําให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ปล่อยปละละเลยไม่รักษาทรัพย์สินของนายจ้าง เช่น จงใจให้ ยานพาหนะของโรงงานชํารุดเสียหายจงใจนัดหยุดงานทําให้งานของนายจ้างเสียหาย เมื่อบอกเลิกจ้าง นายจ้างมี สิทธไิ ม่ต้องจา่ ยคา่ ชดเชย 3. ประมาทเลนิ เลอ่ เป็นเหตุให้นายจา้ งไดร้ ับความเสียหายอยา่ งรา้ ยแรง ขอ้ นี้ความเสียหายต้อง มีความร้ายแรง ด้วย เช่น เป็นช่างรับผิดชอบต้นกําลังไฟฟ้าของโรงงานนายจ้าง ไม่ตรวจปรนนิบัติบํารุงรักษา เป็นเหตุให้ ํน้ามนั เคร่ืองในเคร่ืองยนตข์ องเคร่อื งกาํ เนดิ ไฟฟา้ แห้ง เคร่ืองกําเนิดไฟฟ้าเสียหายใช้การไม่ได้ ต้องหยุดปฏิบัติงาน ของโรงงาน ถือว่าเป็นความประมาทเลินเล่อทําให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่าง ร้ายแรง เมื่อบอกเลิกจ้าง นายจา้ งมีสิทธไิ มต่ อ้ งจา่ ยค่าชดเชย 4. ฝา่ ฝืนข้อบังคบั เกี่ยวกับการทํางาน ฝา่ ฝืนระเบียบหรือคําสั่งของนายจา้ งอนั ชอบด้วยกฎหมาย และเป็นธรรม และนายจ้างได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีร้ายแรง เช่น ข้อ 3 นายจ้างไม่จําเป็น ต้องตักเตือน สําหรับ หนงั สอื เตือนของนายจา้ งใหม้ ผี ลบังคบั ได้ไม่เกนิ 1 ปี นบั แตว่ ันที่ลูกจา้ งกระทาํ ความผิด เม่ือบอกเลิกจ้างนายจ้างมี สทิ ธไิ ม่ตอ้ งจ่ายค่าชดเชย ความผิดเกี่ยวกับข้อบังคับ ระเบียบปฏิบัติในการทํางานของนายจ้างที่วางไว้ในข้อน้ี เช่น การมาทํางานสาย การ ขาดงานบ่อยครงั้ เล่นการพนันในที่ทํางาน กอ่ ใหเ้ กดิ ความแตกแยกในหมคู่ ณะ หรอื การลักทรัพย์ในที่ทํางานเหล่านี้ นายจ้างอาจตักเตือนด้วยวาจาก่อน หากไม่เช่ือฟังก็อาจให้ทําทัณฑ์บน มีหลักฐานเป็นหนังสือซึ่งมีผลบังคับ 1 ปี นับแต่วันกระทาํ ความผดิ แตล่ ูกจา้ งกย็ ังปฏิบัติเช่นเดิมไม่เชื่อฟัง นายจ้าง กรณีเช่นน้ีนายจ้างสามารถบอกเลิกจ้าง ได้เพราะได้ให้โอกาสและเตอื นแลว้ 5. ละท้ิงหนา้ ที่เปน็ เวลา 3 วันทํางานติดต่อกนั ข้ึนไป ไม่วา่ จะมวี นั หยดุ คัน่ หรือไมก่ ็ตาม โดยไม่มีเหตุอนั สมควร ความผิดข้อนี้เป็นความผดิ ฝ่าฝนื ระเบยี บขอ้ บังคับการทาํ งานของนายจ้าง เหน็ ไดว้ ่าลูกจ้างไม่มี ความรับผิดชอบต่อ งานในหนา้ ทีไ่ ม่เหน็ ความเสยี หายอันจะเกิดขึ้นแกส่ ว่ นรวม ถอื ไดว้ ่าเปน็ ความผิดรา้ ยแรง และละท้ิงหน้าที่เกนิ 3 วัน โดยไมม่ เี หตอุ นั สมควรนายจ้างสามารถบอกเลิกจ้างได้และไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย (คําว่ามีเหตุอันควรเป็นดุลยพินิจ ของนายจา้ งควรพจิ ารณาให้รอบคอบ) 6. ได้รับโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดท่ีได้กระทํา โดยประมาท หรือความผดิ ลหโุ ทษ ความผิดใน 2 กรณีหลังน้ี นายจ้างจะบอกเลิกจ้างได้ต้องเป็นกรณี เป็นเหตุให้นายจ้างได้รับ ความเสยี หาย โทษของอาญาที่ลูกจ้างจะได้รับถึงจําคุกจะเป็นความผิดเก่ียวกับทรัพย์ เช่น ลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ หรือความผดิ เกี่ยวกับรา่ งกายและชวี ิตเช่นทํารา้ ยรา่ งกายผู้อ่ืนฆ่าผู้อื่นอันถือว่าเป็นความผิดอาญา ต่อแผ่นดิน เมื่อ

ถูกศาลพิพากษาลงโทษถึงท่สี ุดให้จําคกุ แล้ว นายจ้างเลิกจา้ งได้ เว้นโทษท่ีกระทํา โดยประมาท เพราะเป็นความผิด เกิดขึ้นโดยผู้กระทํามิได้มีเจตนา เพียงแต่กระทําโดยปราศจากความ ระมัดระวัง ซ่ึงบุคคลในภาวะเช่นนั้นและ ผู้กระทําอาจใช้ความระมัดระวงั เช่นนั้นได้ แตห่ าไดใ้ ชใ้ หเ้ พยี งพอไม่ และความผิดลหโุ ทษ คอื ความผิดซ่ึงต้องระวาง โทษจําคกุ ไม่เกิน 1 เดือน หรือปรบั ไมเ่ กนิ 1,000 บาท หรือทง้ั จาํ ทงั้ ปรับ ถือว่าเป็นโทษเล็กน้อย 2 กรณีหลังนี้ แม้ ลกู จ้างได้รบั โทษถึงท่ีสดุ ให้จาํ คกุ แลว้ นายจา้ งก็ยังไม่สมควรบอกเลกิ จ้าง เวน้ แต่เหตุที่เกิดนั้นเป็นสาเหตุให้นายจ้าง ได้รับความเสียหาย จงึ สมควรบอกเลิกจา้ งได้ อนงึ่ การเลิกจา้ งลูกจ้างโดยนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยจาํ นวน 6 ขอ้ ดงั กลา่ วมาแล้วนี้ นายจ้าง จะต้องทําเป็น หนังสือบอกเลิกสัญญาจ้าง ระบุข้อเท็จจริง สาเหตุท่ีไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้ลูกจ้างทราบ ในขณะท่ีเลิกจ้างด้วย มิฉะนนั้ นายจา้ งจะยกเหตุขึ้นอ้างภายหลงั ไม่ได้ ลกู จ้างยกั ยอกเงินบริษทั นายจา้ งบอกเลิกจา้ งโดยไม่ตอ้ งจ่ายค่าชดเชย คา่ ชดเชยพิเศษ ค่าชดเชยพเิ ศษ หมายความว่า เงนิ ท่ีนายจา้ งจ่ายใหแ้ กล่ ูกจา้ งเมือ่ สญั ญาจ้างสิน้ สดุ ลง เพราะ มีเหตุกรณีพิเศษท่ี กําหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั ินี้ ค่าชดเชยพิเศษ เป็นเงินทีล่ กู จา้ งมสี ิทธทิ ี่จะได้รับจากนายจ้างเม่ือลูกจ้างลาออกจากงานที่ทํากับ นายจ้าง หรือ ลูกจ้างบอกเลิกสัญญากับนายจ้าง ทั้งสองกรณี เป็นสิทธิของลูกจ้าง เพราะมีสาเหตพิเศษ เกิดจากนายจ้าง ท่ี นายจา้ งประสงค์ 2 ประการ คอื นายจา้ งจะย้ายสถานท่ปี ระกอบกิจการไปตง้ั ณ สถานที่อ่ืน ประการหน่ึง และอีก ประการหนึ่ง นายจ้างจะปรับปรุงกระบวนการผลิต การจําหน่าย การประกอบกิจการ ใช้เคร่ืองจักรแทน แรงงานคน นายจ้างจงึ มหี น้าทจ่ี ะตอ้ งจา่ ยค่าชดเชยพเิ ศษให้กับลกู จ้างทท่ี ํางาน อยูก่ บั ตน สาระสาํ คญั ของหลักกฎหมาย สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. กรณนี ายจ้างจะย้ายสถานที่ประกอบกิจการไปตงั้ ณ สถานที่อน่ื ในกรณีนายจ้างจะย้ายสถานที่ประกอบกิจการไปต้ัง ณ สถานที่อื่น การย้ายโรงงานหรือ สถานประกอบ กิจการไปยังสถานที่แห่งใหม่ย่อมมีผลกระทบต่อการดํารงชีวิตตามปกติของลูกจ้าง และครอบครัว นายจ้างจึงมี หน้าที่ต้องปฏบิ ัติตอ่ ลกู จา้ งดังนี้ 1.1 นายจา้ งต้องแจง้ ใหล้ กู จ้างทราบลว่ งหนา้ ไมน่ ้อยกว่า 30 วนั กอ่ นวันยา้ ยสถานที่ ประกอบกิจการ 1.2 ถา้ ลกู จ้างไม่ประสงค์จะไปทํางานดว้ ย ให้ลูกจ้างมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจ้างได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ ได้รับแจ้งจากนายจ้าง หรือวันที่นายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการแล้วแต่กรณี และให้ลูกจ้าง มีสิทธิได้รับ

ค่าชดเชยพิเศษในอัตราค่าชดเชยที่ลูกจ้างพึงมีสิทธิได้รับในเร่ืองค่าชดเชยดังกล่าวมาแล้ว ตามระยะเวลาท่ีตน ทํางาน 1.3 ถา้ นายจา้ งไม่แจ้งใหล้ กู จา้ งทราบลว่ งหน้า ตามข้อ 1.1 ใหน้ ายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่าย ค่าชดเชยพิเศษแทน การบอกกลา่ วลว่ งหนา้ เทา่ กับคา่ จ้างอัตราสดุ ท้ายของลกู จา้ ง 30 วนั 1.4 ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยพเิ ศษตามข้อ 1.2 หรอื ค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกลา่ วล่วงหน้า (ถ้ามี) ให้แก่ ลกู จา้ งภายใน 7 วัน นบั แตว่ นั ท่ลี กู จา้ งบอกเลกิ สัญญา 1.5 ในกรณีนายจา้ งไม่จา่ ยคา่ ชดเชยพิเศษหรือค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ดังกล่าวมาแล้ว ในข้อ 1.2 และ 1.3 ให้ลูกจ้างมีสิทธิยื่นคําร้องต่อคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานภายใน 30 วัน นับแต่วันครบ กาํ หนดการจา่ ยค่าชดเชยพเิ ศษหรือคา่ ชดเชยพเิ ศษแทนการบอกกลา่ วลว่ หนา้ ตวั อยา่ ง นายสมพรเปน็ ลกู จ้างเพาะเลี้ยงกล้วยไมเ้ พอ่ื ส่งออกต่างประเทศ สถานทปี่ ระกอบกิจการ ของบริษัทอยู่ที่อําเภอ เมือง จงั หวดั นครสวรรค์ ทํางานมาแล้วกว่า 7 ปีไดค้ า่ จา้ งเป็นรายเดือน เดือนละ 9,000 บาท บริษัทจะย้ายสถานท่ี เพาะเลี้ยงกล้วยไม้ ไปตั้งท่ีอําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพื่อ สะดวกต่อการติดต่อลูกค้าและการส่งออก ตา่ งประเทศ กําหนดย้ายบริษทั และสถานท่ีเพาะเล้ียง กล้วยไม้ วันที่ 29 มกราคม 2556 และได้แจ้งให้นายสมพร ลกู จ้างรับทราบเมอ่ื วันที่ 5 มกราคม 2556 หลังจากจดั งานฉลองวันปีใหมแ่ ลว้ นายสมพรทราบการแจ้งย้ายสถานทขี่ องบรษิ ทั จึงปรึกษากับครอบครัวมคี วามเห็นว่าการ ไปอยู่ต่างจังหวัดท่ี จงั หวัดนนทบรุ ไี มส่ ะดวกกบั ครอบครัวหลายประการ จึงทําเร่ืองขอลาออกจาก การเป็นลูกจ้างของบริษัทเมื่อวันท่ี 15 มกราคม 2556 กรณีเช่นนี้บริษัทแจ้งกําหนดการย้ายบริษัทให้นายสมพรทราบไม่เกิน 30 วัน ดังน้ันบริษัท จะต้องจ่ายเงิน คา่ ชดเชยพิเศษใหก้ ับนายสมพรเป็น 2 ยอดเงิน คือ 1. ได้รับคา่ ชดเชยพิเศษ ทาํ งานมาแล้วกว่า 7 ปี มีสิทธิได้รับเงินค่าชดเชยไม่น้อยกว่า ค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน ปัจจบุ นั มเี งินเดือน 9,000 บาท 2. ไดร้ บั คา่ ชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า เท่ากบั ค่าจ้างอตั ราสดุ ท้ายของ ลูกจา้ ง 30 วัน ปัจจุบันนาย สมพรรับเงนิ อตั ราสุดทา้ ยเดือนละ 9,000 บาท จํานวน 30 วนั จึงเป็น ยอดเงินค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าว ล่วงหน้า = 9,000 บาท รวมเปน็ เงินได้รบั ค่าชดเชยพิเศษ 72,000+9,000 = 81,000 บาท 9,000 x 240 - 72,000 บาท

2. กรณีนายจา้ งจะปรบั ปรุงกระบวนการผลิตและใชเ้ ครือ่ งจักรแทนแรงงานคน กรณนี ี้เปน็ กรณที ่ีนายจ้างคือผู้ประกอบกจิ การมแี นวคิดปรบั ปรุงสถานประกอบกจิ การ ในเรอ่ื งกระบวนการผลิต การจําหน่ายหรือบริการด้วยการนําเอาเคร่ืองจักรและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้แทนแรงงานคน ทําให้ต้องลด แรงงานคนลงผู้ประกอบกิจการคอื นายจ้างจงึ ต้องลดจํานวนลูกจ้างลง เพ่ือประหยัดค่าใช้จ่ายแต่ได้ผลผลิตมากข้ึน กรณีเช่นนี้นายจ้างจะต้องบอกเลิกสัญญาจ้างต่อลูกจ้าง โดยกฎหมายกําหนดให้นายจ้างต้องแจ้งวันที่จะเลิกจ้าง เหตผุ ลของการเลกิ จ้างและรายชอ่ื ลกู จา้ งต่อ พนักงานตรวจแรงงานและลูกจ้างที่จะเลิกจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อย กว่า 60 วัน กอ่ นวันทจ่ี ะเลิกจ้าง เพอื่ ใหล้ กู จา้ งมีเวลาเตรยี มตวั จัดแจงตนเองในการหางานใหม่ทาํ ถา้ นายจา้ งแจง้ ลว่ งหนา้ ให้ลูกจ้างทราบน้อยกว่า 60 วัน ก่อนที่จะเลิกจ้าง นอกจากลูกจ้างจะได้รับ เงินชดเชย พิเศษในอัตราเงินชดเชยท่ีกล่าวมาแล้ว นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเซยพิเศษทดแทนการบอกกล่าว ล่วงหน้าเท่ากับ ค่าจ้างอัตราสดุ ทา้ ย 60 วนั และถ้าลูกจ้างนั้นทํางานติดต่อกันมาเกิน 6 ปี ให้นายจ้างจ่าย ค่าชดเชยพิเศษเพิ่มข้ึน จากค่าชดเชยตามมาตรา 118 ไม่น้อยกว่าอตั ราค่าจ้างสุดท้าย 15 วัน ต่อการทํางาน ครบ 1 ปี แต่รวมแล้วต้องไม่ เกิน ค่าจา้ งอตั ราสดุ ทา้ ย 360 วนั การคํานวณนับอายกุ ารทาํ งานของลกู จา้ งเพือ่ คํานวณค่าชดเชยพิเศษ ถ้าเศษระยะเวลาการทํางาน ของปีเหลือ มากกวา่ 180 วัน ใหน้ ับการทํางานครบ 1 ปี จากหลักกฎหมายน้ี การคิดค่าชดเชยพิเศษให้ลูกจ้างกรณีนายจ้างจะปรับปรุงกระบวนการผลิตและ ใช้ เคร่ืองจักรแทนแรงงานคน จึงมี 3 ข้ันตอน คือ ค่าชดเชยพิเศษ ค่าชดเชยพิเศษทดแทนการบอกกล่าว ล่วงหน้า (ถ้าม)ี และถา้ ลูกจา้ งทํางานมาเกิน 6 ปีให้จา่ ยคา่ ชดเชยพิเศษเพ่มิ ขึ้น 15 วนั ต่อปขี องอตั ราค่าจา้ ง สุดท้าย ตวั อยา่ ง นายสมพร ลูกจ้างบริษัท แมชช่ัน จํากัด มีอายุการทํางาน 8 ปี 7 เดือน รับเงินเดือน 10,000 บาท ต่อเดือน ไดร้ ับแจง้ จากบรษิ ทั เม่ือวันท่ี 20 พฤษภาคม 2556 วา่ บรษิ ัทไดจ้ ัดหาเครอื่ งจกั รเข้ามา จํานวนมาก จําเป็นต้องลด จาํ นวนแรงงานคน คอื ลกู จ้างลง และขอเลกิ จ้างนายสมพร ตัง้ แตว่ นั ที่ 1 กรกฎาคม 2556 เปน็ ต้นไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook