Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Structuce of Cell Udmrit Thaworn

Structuce of Cell Udmrit Thaworn

Published by อุดมฤทธิ์ ถาวร, 2019-06-30 04:45:28

Description: Structuce of Cell Udmrit Thaworn

Keywords: เซลล์ม,cell

Search

Read the Text Version

โครงสร้างของเซลล์ STRUCTURE OF THE CELL โดย….ครอู ุดมฤทธ์ิ ถาวร โรงเรยี นวัดทพิ พาวาส

Ecology Biosphere Ecosystem Community Population Individual organism System Organ Tissue Cell Atom Organelle Molecule

Ecology

CELL Robert Hoock เป็ นผู้ประดษิ ฐ์กล้อง จุลทรรรศน์ชนิดเลนส์ ประกอบและได้ส่องดู เซลล์ไม้คอร์ค ได้เหน็ เป็ นห้อง ๆจงึ ตงั้ ช่ือแต่ ละห้องว่า Cell



เซลล์เย่อื หอม

กจิ กรรมท่ี 3.1 การศึกษาเซลล์ของส่ิงมชี ีวติ ด้วยกล้องจุลทรรศน์



กจิ กรรมท่ี 3.1 การศึกษาเซลล์ของส่ิงมชี ีวติ ด้วยกล้องจุลทรรศน์

กจิ กรรมท่ี 3.1 การศึกษาเซลล์ของส่ิงมชี ีวติ ด้วยกล้องจุลทรรศน์

ขนาดของเซลล์ เซลล์เป็ นหน่วยทเ่ี ลก็ ทส่ี ุด ของส่ิงมีชีวติ เซลล์แต่ละเซลล์มีขนาด เลก็ มาก ต้องดูด้วยกล้อง จุลทรรศน์ จึงจะมองเห็น CELL แบ่งเป็ น 2 ชนิด



ผู้จดั ต้งั ทฤษฎเี ซลล์ (Cell theory) เซลล์พืช มัตทอี สั ยาคอบ ชไลเดน เซลล์สัตว์ เทโอดอร์ ชวนั น์

ทฤษฎเี ซลล์ 1. ส่ิงมีชีวิตท้ังหลายอาจมีเพียงเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ ซ่ึงภายในเซลล์มีสาร พนั ธุกรรมและมกี ระบวนการเมแทบอลซิ ึม ทาให้ส่ิงมชี ีวติ ดารงอยู่ได้ 2. เซลล์เป็ นหน่วยพืน้ ฐานที่เล็กที่สุดของส่ิงมีชีวิต ท่ีมีการจัดระบบการทางานภายใน โครงสร้างของเซลล์ 3. เซลล์มีกาเนิดมาจากเซลล์แรกเร่ิม เซลล์เกิดจากการแบ่งตวั ของเซลล์เดมิ แม้ว่าชีวิต แรกเร่ิมจะมีวิวัฒนาการมาจากส่ิงไม่มีชีวิต แต่นักชีววิทยายังคงถือว่าการเพิ่มขึน้ ของ จานวนเซลล์เป็ นผลสืบเนื่องมาจากเซลล์รุ่นก่อน

PROCARYOTE CELL เป็ นเซลล์ท่ี ไม่มเี ยื่อหุ้ม นิวเคลยี สไม่มี ออร์แกล เนลล์ ทม่ี เี ยื่อหุ้ม ได้แก่ เซลล์ของ แบคทเี รียและ สาหร่ายสีเขยี วแกมนา้ เงนิ

เซลล์ของแบคทเี รีย

เซลล์ของแบคทเี รีย



EUCARYOTE CELL  เป็ นเซลล์ทพี่ ฒั นาขนึ้ – มีเยอ่ื หุม้ นิวเคลียส – มี ORGANLLES ที่มีเยอื่ หุม้ – พบในเซลลพ์ วก PROTISTA เซลล์ พชื และเซลลส์ ตั ว์

PROTISTA อะมบี า ยูกลนี า

เซลลพ์ ชื และเซลลเ์ มด็ เลือดแดงและเมด็ เลือดขาว







โครงสร้างของเซลล์ ส่วนทห่ี ่อหุ้มเซลล์

- เป็ นส่วนที่อยู่ด้านนอกของเย่ือหุ้ม เซลลพ์ ชื แต่ไม่พบในเซลลส์ ตั ว์ - ทาหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงให้แก่ เซลล์ - ผนังเซลล์ของพืชเป็ นเส้นใยที่ ประกอบดว้ ยเซลลูโลส - ผนังเซลล์บางๆ จะมีช่องเล็กๆ สาหรับให้ไซโทพลาซึมไหล เรียกว่า Plasmodesmata

CELL MEMBRANE หนา 5 - 10 n m

เยื่อหุ้มเซลล์ ( Cell membrane ) หรือ Plasma membrane มีหนา้ ที่แยกเซลลอ์ อก จากส่ิงแวดลอ้ ม และนาสารเขา้ และออกจากเซลล์  ประกอบดว้ ยช้นั ของ Phospholipid 2 ช้นั ( lipid bilayer ) และมีโมเลกลุ ของโปรตีนฝัง แบบ Fluid mosaic model  ผิวนอกอาจมีโมเลกลุ Oligosacharide เกาะบน ฟอสโฟไลปิ ด หรือโปรตีน

-เป็นเยอื่ บางๆ ลอ้ มรอบไซโทพลาซึมพบในเซลลท์ ุกชนิด - ก้นั สารท่ีอยภู่ ายในกบั ภายนอกเซลลแ์ ละรักษาสมดุลของ สารภายในเซลลโ์ ดยควบคุมการผา่ นเขา้ -ออกของสาร ระหวา่ งเซลลก์ บั สิ่งแวดลอ้ มภายนอก - มีคอเลสเตอรอล ไกลโคโปรตีน ไกลโคลิพดิ เรียกวา่ ฟลู อิดโมเซอิกโมเดล (Fluid mosaic model)

เยื่อหุ้มเซลล์ ( Cell membrane ) หรือ Plasma membrane มีหนา้ ที่แยกเซลลอ์ อก จากส่ิงแวดลอ้ ม และนาสารเขา้ และออกจากเซลล์  ประกอบดว้ ยช้นั ของ Phospholipid 2 ช้นั ( lipid bilayer ) และมีโมเลกลุ ของโปรตีนฝัง แบบ Fluid mosaic model  ผิวนอกอาจมีโมเลกลุ Oligosacharide เกาะบน ฟอสโฟไลปิ ด หรือโปรตีน

CELL MEMBRANE

STRUCTURE OF CELL MEMBRANE



การลาเลียงสารผา่ นเขา้ ออกจากเซลล์

การลาเลียงสารผา่ นเขา้ ออกจากเซลล์

โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ ลกั ษณะโครงสร้าง ของเย่ือหุ้มเซลล์ เม่ือโดนความร้อน กรด หรือ เบส

สารเคลือบเซลล์

CELL JUNCTION ส่ิงมชี ีวติ หลายเซลล์ทมี่ ีการ รวมกนั ของเซลล์กลายเป็ น เนื้อเย่ือหรืออวยั วะโดยที่ เย่ือหุ้มเซลล์มกี าร เปลย่ี นแปลงโครงสร้างทา ให้เซลล์ท้งั สองเกาะอยู่ ติดกนั

CELL WALL

ชนิดของ ผนังเซลล์พืช ผนังเซลล์ปฐมภูมิ เกดิ ขนึ้ คร้ังแรกขณะทเ่ี ซลล์มี การเจริญเตบิ โต  ผนังเซลล์ทุตยิ ภูมิ เกดิ ขนึ้ ภายหลงั เซลล์ปฐมภูมิ หลงั จากทเี่ ซลล์หยุดการจริญแล้ว โดยจะพอก ทบั ผนังเซลล์ปฐมภูมิ ทาให้ผนังเซลล์มีความ แขง็ แรงมากขนึ้ สุดท้ายเซลล์จะตายเช่นไฟเบอร์

โครงสร้างทางเคมี ของผนงั เซลล์ ประกอบไปดว้ ย  POLYSACCHARIDE  เซลลูโลส เพคติน  ซูเบอริน ลิกนิน

โครงสร้างของเซลล์ ออร์แกเนลล์ เยื่อหุ้ม 1 ช้ัน

ทาหน้าท่ี สังเคราะห์ ลิพิด กาจัด สารพิษและเป็ นแหล่งสะสมแคลเซียมไอออน ในเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะเซลล์กลา้ มเน้ือยึด กระดูกและเซลลก์ ลา้ มเน้ือหวั ใจ

ENDOPLASMIC RETICULUM RER SER

ทาหน้าท่ีสังเคราะห์โปรตีน โดย โปรตีนที่ไรโบโซมสังเคราะห์จะเขา้ สู่ ER และถูกห่อหุ้มเวสิเคิลแลว้ มีการส่งต่อไปยงั กอลจิคอมเพลก็ ซ์จากน้นั จะลาเลียงส่งออก นอกเซลล์





ENDOPLASMIC RETICULUM  มี 2 ชนิด คือ  ROUGH ENDOPLASMIC RETICULUM เรียกย่อ ๆ ว่า RER มี ribosome มาเกาะ  SMOOTH ENDOPLASMIC RETICULUM เรียกย่อ ๆ ว่า SER ไม่มี ribosome มาเกาะ

ROUGH ENDOPLASMIC RETICULUM หน้าที่  สังเคราะห์โปรตนี ร่วมกบั RIBOSOME ขนออกนอกเซลล์  เช่นสารพวกเอนไซม์ ฮอร์โมนและ สารแอนติบอดี ( ANTIBODY )

SMOOTH ENDOPLASMIC RETICULUM  สังเคราะห์ ฟอสโฟไลปิ ด  สังเคราหะห์ สเตอรอยด์ คลอเลสเทอรอล ซ่ึงคลอเล สเทอรอลสามารถเปลย่ี นไปเป็ นสเตอรอยด์ ฮอร์โมน แอนโทเจนและเอสโทรเจนในระบบสืบพนั ธ์  ทาหน้าทสี่ ังเคราะห์และเกบ็ ไกลโคเจนในเซลล์ตับ  กาจัดพษิ ยาทเ่ี ซลล์ตับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook