Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore TE029

TE029

Published by เน เน้, 2020-10-07 12:10:49

Description: TE029

Search

Read the Text Version

การประชมุ วิชาการระดับชาติ “การนาเสนอผลงานวิจยั ของนกั ศกึ ษา สาขาการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี คร้ังที่ 2” ผลการจดั การเรียนรวู้ ชิ าวิทยาการคานวณดว้ ยการแก้ปญั หาผา่ นการฝกึ เขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วมิ ลพันธ์ สภุ าวะ1 นันธวัช นนุ ารถ2 1 นักศกึ ษาสาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ E-mail: [email protected] 2 อาจารย์สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ การวจิ ยั ครั้งน้ีมีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึก เขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 2) เพือ่ ศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าวทิ ยาการ คานวณด้วยการแก้ปัญหาผา่ นการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 3) เพ่ือศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 คนกลมุ่ เป้าหมาย คือ นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นวดั คลองคาง (แดงประชา นกุ ลู ) จานวน 13 คน เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั คร้งั นี้ ไดแ้ ก่ ส่ือ Unplugged แผนการจดั การเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย ค่าส่วนเบ่ีย งเบน มาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้อง และการทดสอบค่า t ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการประเมินคุณภาพรายแผนการจัดการเรียนรู้ในภาพรวมจากผู้เช่ียวชาญ 4 ผลปรากฏว่าแผนการจัดการ เรียนรมู้ ีความเหมาะสมดีมาก 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ผลปรากฏว่ามีคะแนนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05 3. ผลการสารวจพงึ พอใจของผูเ้ รียนทีม่ ตี ่อการจดั การเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาการคานวณดว้ ยการแกป้ ัญหาผา่ นการฝึกเขยี น Code.org แบบ Unplugged สาหรบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ผลปรากฏวา่ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด คาสาคญั : ผลการจดั การเรียนรู้ /วิทยาการคานวณ /การแก้ปญั หา /Code.org /Unplugged

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ “การนาเสนอผลงานวิจัยของนกั ศกึ ษา สาขาการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี ครงั้ ท่ี 2” The results of learning management in computational science with problem solving through Code.org writing practice Unplugged for grade 4 students Wimonpan Supawa1 Nuntawat Nunart2 1 นกั ศึกษาสาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ E-mail: [email protected] 2 อาจารยส์ าขาวิชาคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ E-mail: [email protected] ABSTRACT The purposes of this research were 1) to develop a learning management plan for computational science by solving problems through Code.org writing practice Unplugged for grade 4 students. 2) To study the learning achievement in computational science as well. Solving problems through Code.org writing practice Unplugged for grade 4 students. 3) to study the satisfaction of students learning the word science. Calculated by solving problems through Code.org writing practice Unplugged for Prathom 4 students. The target group is Prathom 4 students at Wat Khlong Chin School. (Daeng Prachanukun), amount 13 persons. The tools used in this research were Media Unplugged, Learning Management Plan. Achievement test before and after learning And satisfaction questionnaire The statistics used for data analysis are the mean, standard deviation. Correspondence index And testing the t value The results of the research showed that 1. The results of the overall quality assessment of the learning management plan from experts in total 4 results show that the learning management plan is very suitable. 2. Academic achievement by teaching and learning in computational science with problem solving through Code.org writing practice Unplugged for grade 4 students. The results show that the scores after studying are higher than before learning. With statistical significance at the level of .05 3. The results of a survey of learners' satisfaction with learning management in computational science through problem solving through Code.org writing practice for grade 4, results show that the satisfaction is at the level of The most Keywords: Learning management results / Computing Science / Problem Solving /Code.org / Unplugged

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ “การนาเสนอผลงานวิจยั ของนักศึกษา สาขาการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี ครงั้ ท่ี 2” บทนา ในปัจจุบันการศึกษาของประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงกันไปตามยุคสมัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งความก้าวหน้าท้ังด้าน เทคโนโลยีและสารสนเทศท่นี ามาใช้ในการเรยี นการสอน การศกึ ษาจึงจาเป็นตอ้ งมีการพัฒนาเปลีย่ นแปลงจากระบบการศกึ ษา ที่มีอยู่เดิม การศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 ส่งเสริมมนุษย์ให้ความรู้ความเข้าใจและทักษะวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยีเพอ่ื เพิม่ ประสิทธิภาพให้นักเรยี นพฒั นาตามศกั ยภาพอย่างยั่งยนื โดยสาหรับกลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ได้เพ่ิม สาระเทคโนโลยเี ปน็ สาระที่ ประกอบดว้ ย วชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี และวิชาวิทยาการคานวณซ่ึงปรับเปล่ียนจากเดิมที่ สอนให้เป็นผู้ใช้ (user) คอมพิวเตอร์สู่การเป็นผู้ท่ีมีทักษะกระบวนการคิดอย่างมีระบบ สามารถใช้ความรู้พัฒนาการทางาน สร้างนวัตกรรมทีเ่ พิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ชีวิตและอนาคตได้ ทักษะความรู้ด้านน้ีคือพลังสาคัญท่ีขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการ ดารงชีวิตใหก้ า้ วหนา้ และแขง่ ขนั ได้อยา่ งสอดคลอ้ งกบั ทิศทางการพฒั นาโลก (ชูกิจ ลิมปิจานงค์, 2560) การเปลย่ี นแปลงทางการศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์การเรียนรู้วิทยาการคานวณ (Computer Science) ผู้เรียนจะไม่ได้ เรียนแคโ่ ปรแกรมพื้นฐานของคอมพิวเตอรห์ รอื เรียนร้เู กีย่ วกับการใชค้ อมพวิ เตอร์แค่ข้นั พนื้ ฐานเท่านน้ั แตจ่ ะได้กระบวนการคิด เชงิ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ สามารถนามาปรับใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ในสาขาวิชาต่างๆ วิชาการคานวณเป็น กระบวนการความคดิ เชิงวเิ คราะห์เพ่อื นามาใชแ้ กป้ ญั หาของมนุษย์โดยเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานและช่วยแก้ไขปัญหา ตามท่ีเราต้องการไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ขอบเขตการเรยี นการสอนของวชิ าวทิ ยาการคานวณประกอบด้วยการคิดเชิงคานวณ ซึ่งเป็นวิธีการคิดและแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน สามารถวิเคราะห์ มองเห็นภาพรวมและรูปแบบของปัญหา ทาให้การ แก้ปัญหาทาได้อย่างมีประสิทธิภาพ พ้ืนฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลการสอนให้รู้จักเทคนิควิธีการต่างๆ เก่ียวกับ เทคโนโลยีดิจทิ ัล โดยเฉพาะยุคไทยแลนด์ 4.0 ท่ีเน้นด้านระบบอัตโนมตั ิ (Automation) ในชีวิตประจาวนั พน้ื ฐานการรู้เทา่ ทัน สือ่ และขา่ วสารเป็นทกั ษะเก่ียวกับการรเู้ ทา่ ทันส่อื และเทคโนโลยดี จิ ิทลั แยกแยะได้ว่าข้อมูลใดเป็นความจริงหรือความคิดเห็น ขอ้ มูลบนสื่อสังคมออนไลน์ ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ (ชูกจิ ลิมปิจานงค์, 2560) เว็บไซต์ Code.org มีจุดประสงค์หลักเพื่อทาให้ผู้เรียนเริ่มเรียนรู้การเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เน่ืองจากผู้ก่อตั้ง Code.org เชอ่ื วา่ การเรยี นรูด้ า้ นคอมพวิ เตอรน์ ัน้ มีความสาคญั อย่างยิ่งกับผู้เรยี นและควรจะให้ผเู้ รียนเรม่ิ ศึกษาพรอ้ มๆ กบั วชิ า หลักอื่นๆ เช่น คณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์จึงได้พยายามหาวิธีที่จะทาให้ผู้เรียนมาสนใจการเขียนโปรแกรมผ่านทาง Code.org และได้ออกแบบแบบฝึกหัดให้มีรูปแบบเป็น Block programming ซ่ึงง่ายต่อการเข้าใจมากกว่าการเขียนด้วย ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพราะ Block programming มีลกั ษณะเหมอื นการตอ่ จกิ๊ ซอว์ บล๊อคแต่ละชนิ้ มีสีสนั ท่แี ตกตา่ งกนั ทห่ี มายความถึงรปู แบบการเขียนหรือโครงสร้างของโปรแกรมที่แตกต่างกนั ทาให้ไวยากรณ์ของตัวภาษาไมซ่ ับซ้อนแต่เน้นไปที่ การพัฒนาตรรกะและทักษะในการแก้ปัญหาของผู้เรียนในหลักสูตร Code.org ได้อ้างอิงถึงกิจกรรมท่ีผู้เรียนไม่ได้อยู่ใน คอมพวิ เตอรว์ า่ เป็นบทเรยี นแบบ \"Unplugged\" (สตุ านนั ท์ ธนาธันย์น,ิ 2557) เว็บไซต์ Code.org ได้มีหลักสูตร Unplugged Lessons ทีอ่ อกแบบมาให้ผเู้ รียนได้ฝกึ เขียนโปรแกรมแบบไม่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนได้ลองเขียนโปรแกรมโดย การเคล่ือนไหวร่างกายและมีปฏสิ มั พันธก์ บั ผอู้ ืน่ คือ เหมือนผู้เรียนได้เล่นเกมแต่ได้ฝึกคิดตามไปด้วย เคลื่อนไหวไปด้วย ไม่ใช่ น่ังเขียนโปรแกรมอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ผู้เรียนที่อยู่ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6 จะเน้นส่ือการเรียนรู้ประเภท Unplugged เช่น แบบฝึกหัด การ์ดคาส่ัง บอร์ดเกม เป็นต้น และจะปรับส่ือการเรียนการรู้ให้เหมาะสมขึ้นตามระดับช้ันปี (Punyathorn, 2018) เน่ืองจากในประเทศไทยมีโรงเรียนบางส่วนอยู่ในถิ่นทุรกันดารอยู่ ไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึง ใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ได้ รวมถึงอินเตอร์เน็ตและอปุ กรณท์ เี่ ก่ยี วกบั การเรยี นการสอนท่ีใช้ไฟฟ้าหรือบางโรงเรียนท่ีงบประมาณไม่พอเพียงท่ีจะซื้อ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้นักเรียนได้ใช้ เพราะโรงเรียนจะได้งบประมาณตามจานวนหัวของนักเรียน เม่ือจา นวนนักเรียนน้อย งบประมาณท่ไี ดร้ บั ก็นอ้ ยตามไปดว้ ย ทาใหน้ ักเรยี นไมไ่ ด้เรยี นวิชาคอมพิวเตอร์ (สมบตั ิ ธารงธัญวงศ์, 2557) จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ผู้วิจัยมองเห็นถึงปัญหาของโรงเรียนท่ีอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ท่ีไม่สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ทาการเรียนการสอนได้ จึงนาการฝึกเขียนโปรแกรม Code.org แบบ Unplugged เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นวิชาวทิ ยาการคานวณและการแก้ปัญหาของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ให้ผู้เรียนได้ฝึกเขียนโปรแกรมแบบไม่ต้องใช้ คอมพิวเตอร์ก็สามารถฝกึ เขียนโปรแกรมได้

การประชมุ วิชาการระดับชาติ “การนาเสนอผลงานวิจัยของนักศกึ ษา สาขาการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี คร้ังท่ี 2” วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพ่ือพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unpluggedสาหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 วิธีดาเนินการวิจยั 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง หรอื กล่มุ เปา้ หมาย กล่มุ เปา้ หมายทผ่ี วู้ ิจัยต้องการศกึ ษา ได้แก่ นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรียนวัดคลองคาง (แดงประชา นุกลู ) จังหวดั นครสวรรค์ จานวน 13 คน ซงึ่ ได้มาโดยวิธเี ลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2. เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2.1 สื่อ Unplugged 2.2 แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาที่ 4 2.3 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีได้รับการ สอนวิชาวทิ ยาการคานวณดว้ ยการแก้ปญั หาผ่านการฝกึ เขียน Code.org แบบ Unplugged แบ่งออกเปน็ 2.3.1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เป็นแบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ 2.3.2 แบบทดสอบหลงั เรียน เป็นแบบทดสอบปรนัย ชนดิ 4 ตวั เลือก จานวน 20 ขอ้ 2.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 หลงั จากจดั การเรียนรวู้ ชิ าวิทยาการคานวณด้วย การแกป้ ญั หาผ่านการฝึกเขยี น Code.org แบบ Unplugged 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ ิจยั ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังน้ี 1. ผู้วิจัยนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged จานวน 20 ขอ้ 25 นาที แลว้ บนั ทกึ ผลไวเ้ ปน็ คะแนนกอ่ นเรยี นสาหรบั การวเิ คราะหข์ ้อมลู 2. ผู้วิจัยดาเนินการจัดการเรียนรู้สาหรับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการ คานวณดว้ ยการแกป้ ัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาท่ี 4 ใช้เวลาทั้งสิ้น 6 ชว่ั โมง โดยเรม่ิ ทดลองต้งั แต่วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2562 ถึง วนั ท่ี 4 มนี าคม พ.ศ.2562 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถิตทิ ใ่ี ช้ ผู้วจิ ัยไดว้ เิ คราะหข์ อ้ มลู ในการวิจัยดังนี้ 1. แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged วิเคราะห์เปน็ รายด้านโดยใช้สถติ ิคา่ เฉลย่ี ( ̅) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และนาเสนอผลการ วเิ คราะห์ในรปู แบบตารางประกอบการบรรยาย และการแปลผล 5 ระดบั 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนนก่อน เรียนและหลงั เรยี น โดยใชส้ ถติ ิ paired sample t – test และนาเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย 3. แบบสอบถามความพงึ พอใจ วเิ คราะหเ์ ปน็ รายดา้ นโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย ( ̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ นาเสนอผลการวิเคราะหใ์ นรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย และการแปลผล 5 ระดับ

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ “การนาเสนอผลงานวิจยั ของนักศึกษา สาขาการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี ครงั้ ที่ 2” สถติ ิทใี่ ช้ในการวิจยั 1. สถติ ิพน้ื ฐาน คือ คา่ เฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 1.1 ค่าเฉล่ีย ̅=∑ เม่ือ ̅ แทน ค่าเฉล่ีย ∑ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จานวนคะแนนหรือข้อมลู ทงั้ หมด 1.2 การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = √( ̅) เม่ือ S.D. แทน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน X แทน ข้อมลู หรือคะแนนแต่ละตวั ̅ แทน คะแนนเฉลีย่ ของกลุ่มตัวอย่าง N แทน จานวนข้อมูล หรอื คะแนนท้ังหมด 2. การหาค่าดชั นคี วามสอดคลอ้ ง 2.1 วเิ คราะหค์ า่ ดัชนีความสอดคลอ้ งระหว่างข้อสอบกบั จดุ ประสงค์ (Item-Objective Congruence : IOC) IOC = ∑ เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลอ้ งของเครือ่ งมอื ∑ แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ช่ียวชาญ N แทน จานวนของผ้เู ชย่ี วชาญ dependent 2.2 เปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี น โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์หา คา่ t-test แบบ t= ∑ √ ∑ (∑ ) เมอื่ t แทน คา่ ที D แทน ผลต่างของคะแนน N แทน จานวนคน ผลการวจิ ยั 1. ผูว้ จิ ัยได้สร้างแผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 4 จานวน 5 แผน ใช้เวลา 6 ช่ัวโมง ผลการประเมินคุณภาพรายแผนการ จัดการเรียนรู้ในภาพรวมจากผู้เช่ียวชาญ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.76 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.30 สามารถสรุปไดว้ ่าแผนการจัดการเรียนรูม้ ีความเหมาะสมดมี าก (แสดงดงั ตารางที่ 1)

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ “การนาเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา สาขาการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี คร้ังท่ี 2” ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู การวเิ คราะห์แบบประเมนิ คณุ ภาพแผนการจัดการเรียนรู้ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ̅ S.D. แปลความ 1 4.71 0.31 เหมาะสมดีมาก 2 4.75 0.31 เหมาะสมดมี าก 3 4.83 0.30 เหมาะสมดมี าก 4 4.71 0.27 เหมาะสมดี 5 4.79 0.31 เหมาะสมดี รวม 4.76 0.30 เหมาะสมดีมาก 2. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนดว้ ยการจดั การเรียนร้วู ิชาวิทยาการคานวณดว้ ยการแก้ปัญหาผา่ นการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 พบวา่ ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 6.69 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 2.59 และ หลงั เรียนมคี า่ เฉล่ีย เท่ากับ 15.69 คะแนน และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.73 จึงสามารถสรุปได้ วา่ คะแนนหลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติระดับ .05 (แสดงดงั ตารางท่ี 2) ตารางที่ 2 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วย การแกป้ ัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 คะแนนแบบทดสอบ N ̅ S.D. df t Sig. กอ่ นเรยี น 13 6.69 2.594 12 -23.966 .000 หลังเรยี น 13 15.69 2.725 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึก เขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 มคี ่าเฉลี่ยความคดิ เห็นของนักเรยี นในภาพรวมของ คะแนนคา่ เฉล่ียอยู่ในระดับความพงึ พอใจมากท่ีสุด ( ̄ = 4.82, S.D. = 0.43) (แสดงดงั ตารางท่ี 3) ตารางที่ 3 ผลศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 รายการประเมิน ̅ S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ 4.92 0.28 พึงพอใจมากทีส่ ดุ 1. เรา้ ความสนใจ 4.85 0.38 พึงพอใจมากท่สี ุด 2. มคี วามถกู ตอ้ งตามหลกั สตู ร 4.85 0.38 พงึ พอใจมากทสี่ ดุ 3. เน้อื หาสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 5.00 0.00 พงึ พอใจมากทส่ี ดุ 4. เน้ือหาแต่ละเรื่องมคี วามสอดคลอ้ งกัน 4.62 0.65 พงึ พอใจมากที่สุด 5. ความยากงา่ ยเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น 4.85 0.38 พงึ พอใจมากทส่ี ดุ 6. เนอ้ื หามีความถูกตอ้ งชัดเจน 4.77 0.60 พึงพอใจมากทสี่ ดุ 7. ภาษาทใี่ ช้ถกู ต้องเหมาะสมกบั วยั ของผ้เู รยี น 4.77 0.60 พึงพอใจมากที่สุด 8. ลักษณะของขนาดสี ตัวอกั ษร ชัดเจน อา่ นง่ายเหมาะสม 4.69 0.63 พึงพอใจมากท่สี ุด 9. ส่ือเหมาะสมชัดเจน สอดคลอ้ งกบั เนอื้ หา 4.85 0.38 พึงพอใจมากทส่ี ดุ 10. สือ่ มคี วามคงทนและมคี วามสวยงามมีความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการ ออกแบบ 4.82 0.43 พึงพอใจมากทสี่ ุด รวมคะแนนเฉลี่ย

การประชมุ วิชาการระดับชาติ “การนาเสนอผลงานวจิ ยั ของนักศึกษา สาขาการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี ครง้ั ที่ 2” สรุปผลและอภปิ รายผล จากการทาวจิ ยั เรอ่ื ง ผลการจดั การเรียนรู้วชิ าวทิ ยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาที่ 4 โรงเรียนวัดคลองคาง (แดงประชานุกลู ) อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ พบ ประเด็นทค่ี วรนามาอภปิ รายผลการวิจยั ดังนี้ ครั้งนี้มจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื เพ่ือพัฒนาแผนการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึก เขยี น Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ผลการวิเคราะห์คุณภาพรายแผนแผนการจัดการ เรียนร้ใู นภาพรวมจากผ้เู ช่ียวชาญ พบวา่ มีคะแนนเฉลีย่ เทา่ กับ 4.76 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.30 สามารถสรุป ได้วา่ แผนการจัดการเรยี นรมู้ คี วามเหมาะสมดีมาก ผูเ้ รียนทีเ่ รียนดว้ ยแผนการจัดการเรยี นการสอนวชิ าวทิ ยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 นักเรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 เนอื่ งจากก่อนเรยี นวิชาวิทยาการคานวณด้วยการแกป้ ัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged นักเรียนไม่มี พ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมอย่างง่ายและเม่ือเรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณ ด้วยการแก้ปัญหาผ่าน การฝกึ เขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทาให้นกั เรียนสามารถเขียนโปรแกรมอย่าง ง่ายได้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาแผนการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ช่วยให้ผลสัมฤทธ์ิทางการสูงข้ึน และสามารถนาไปใช้ใน การเรียนการสอนได้ ซ่ึงสอดคล้องกับคาพูดของ มิ่งขวัญ โพระดก (2558) ทาการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนและคุณลกั ษณะการนาตนเองโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภายหลังได้รับการสอนผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หลังใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ โดยใชป้ ัญหาเป็นฐานและนักเรียนมคี วามเช่ือมั่นในการทางาน และมคี วามรับผิดชอบมากขึน้ ความพงึ พอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการ ฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เมื่อผู้วิจัยได้ให้นักเรียนเรียนตามแผนจัดการ เรียนรู้แผนการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged แล้ว จงึ ต้องให้นกั เรยี นทาแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียน Code.org แบบ Unplugged รวมถึงข้อเสนอแนะของ นกั เรยี น เพ่อื นามาปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรใู้ หม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขนึ้ โดยแบบสอบถามความพงึ พอใจของผเู้ รยี น โดย ไดผ้ ลการประเมนิ ดงั นี้ จากการทาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นทมี่ ตี อ่ การเรียน Code.org แบบ Unplugged โดย ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.82 ค่าสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.43 ซ่ึงระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ซ่ึง สอดคล้องกบั คาพดู ของ บุญชม ศรสี ะอาด (2545) ทีไ่ ด้กล่าวไว้ว่า เพื่อเป็นการสรุปแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนใน ภาพรวม จึงจาเป็นท่ีจะนาสถิติทางการวิจัยเข้ามามีบทบาทในการแปลความหมายว่าผู้เรียนพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ใน ระดบั ใด ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทัว่ ไป จากผลการจัดการเรียนรู้วชิ าวทิ ยาการคานวณด้วยการแก้ปญั หาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรบั นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาท่ี 4 ผู้ศกึ ษามีขอ้ เสนอแนะดังนี้ 1.1 ก่อนที่จะทาการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณด้วยการแก้ปัญหาผ่านการฝึกเขียน Code.org แบบ Unplugged สาหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาท่ี 4 ไปใชก้ ับนกั เรยี นควรชแี้ จงเร่ืองทจ่ี ะเรยี น จุดประสงค์ และเนื้อหา วิธีการใช้ งานสอื่ Unplugged ใหน้ ักเรียนทราบก่อน 2. ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยคร้งั ต่อไป 1.2 ควรประยกุ ต์การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้สอ่ื Unplugged ในรายวชิ าอ่ืนๆ

การประชมุ วิชาการระดับชาติ “การนาเสนอผลงานวจิ ยั ของนกั ศกึ ษา สาขาการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี คร้ังท่ี 2” กติ ตกิ รรมประกาศ ในการจัดทาโครงงานพเิ ศษข้าพเจา้ ขอขอบพระคณุ ผู้ช่วยศาสตราจารยน์ นั ธวัช นนุ ารถ ท่ไี ด้ใหค้ วามอนเุ คราะห์ คอยให้คาปรกึ ษาให้ความสะดวกในการทาโครงงานพิเศษและขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับแนวทางในการทาโครงงานพเิ ศษของ ขา้ พเจ้า ขอบคณุ ผู้อานวยการโรงเรยี นวดั คลองคาง นายสาเร็จ บาลเพียร ที่ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตลอดจนคาแนะนาที่เปน็ ประโยชนใ์ นการทาโครงงานพเิ ศษของข้าพเจ้า ท้ายทสี่ ุด ขอกราบขอบพระคุณ คณุ พอ่ และคณุ แม่ ที่เปน็ ผู้ใหก้ าลงั ใจและ โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง ขา้ พเจา้ ผู้จดั ทาโครงงานพเิ ศษ ขอขอบคุณทุกทา่ นอยา่ งสูงทใี่ ห้ การสนบั สนนุ เออ้ื เฟ้อื และใหค้ วามอนุเคราะห์ ช่วยเหลอื จนกระทัง้ โครงงานพิเศษสาเรจ็ ลลุ ่วงไดด้ ้วยดี เอกสารอ้างองิ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2560). ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุม สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. ทศั นยี ์ กรองทอง. (2561). เริม่ ตน้ สอนเขยี นโปรแกรมงา่ ยนดิ เดยี ว. สืบค้นเม่อื 2 กนั ยายน 2561, จาก http://oho.ipst.ac.th/intro-to-programming/ บญุ ชม ศรีสะอาด. 2554. การวจิ ยั เบ้ืองตน้ . (พิมพ์ครัง้ ท่ี 9). กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พส์ วุ รี ยิ าสาส์น. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). สสวท. เปดิ มมุ คิดหลักสูตรใหม่“วทิ ยาการคานวณ”ทกั ษะการ เรียนรเู้ พ่ือเตรยี มคนทนั อนาคต. สบื คน้ เมือ่ 1 กันยายน 2561, จาก http://www.ipst.ac.th/index.php/news- and- announcements/articles/item/ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2561). หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4. (พิมพ์ครัง้ ท่ี 1). กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สมบัติ ธารงธญั วงศ์. (2557). โรงเรยี นขาดแคลน. สืบคน้ เมอ่ื 4 กนั ยายน 2561,จาก https://www.facebook.com/Prof.SombatThamrongthanyawong/ Chaiyong Ragkhitwetsagul. (2014). ฝกึ เรยี นเขียนโปรแกรมง่ายๆ กบั code.org. สบื คน้ เมอ่ื 2 กนั ยายน 2561,จาก https://medium.com/it-stuffs/code-org-1e5df6ee4aca Punyathorn. (2018). มาร้จู ักเวบ็ ไซต์ code.org แหล่งเรียนเขยี นโปรแกรมฟรที เี่ หมาะกบั คนทกุ วัย. สบื ค้นเม่ือ 2 กนั ยายน 2561, จาก https://www.dek-d.com/studyabroad/49325/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook