Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน 2565

นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน 2565

Published by librarydanchang, 2022-05-28 04:01:56

Description: ห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" อำเภอด่านช้าง

Search

Read the Text Version

คานา ขา้ พเจ้าบรรณารกั ษ์ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอด่านช้าง ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอด่านช้าง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดทาเอกสาร เร่ือง นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน ฉบับนี้เพื่อนาเสนอผลงานนวัตกรรม ส่งเสริมการอา่ น โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ส่งเสรมิ สนับสนุน พัฒนาชุมชน พัฒนากิจกรรมการสร้างเมืองนักอ่าน และพัฒนาวฒั นธรรมการอ่านของชุมชน ใหเ้ กิดการเรียนรู้และการศกึ ษาตลอดชีวิตอย่างแท้จริง โดยนารูปแบบ การบริหารจัดการมาประยกุ ต์ใช้ให้เกิดผลประจักษ์ ชุมชนเกิดการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิต ตามข้ันตอน การพัฒนาไปสู่การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วย ๑. ตระหนักรู้ปัญหา ความต้องการ และความสนใจ ของตนเอง ๒. กาหนดเป้าหมายในการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาตนเอง ๓. ลงมือปฏิบัติ โดยนาตนเองในการเรียนรู้ มีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม รู้และแสวงความรู้ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ๔. ทบทวน ตนเอง พัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ งและตลอดชีวิต ๕. พัฒนาคุณค่าการเรียนรู้ด้วยการถ่ายทอดประสบการและ แลกเปลี่ยนเรียนรูก้ บั ผูอ้ ืน่ ผ่านช่องทางทหี่ ลากหลายสม่าเสมอ ขอบขอบคุณ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอด่านช้าง คณาจารย์ทุกท่าน ที่ให้คาแนะนา ให้คาปรึกษา ให้ การสนบั สนุน และให้กาลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงานด้วนดีเสมอมา ขอบคณุ นกั ศกึ ษา กศน.อาเภอด่านช้าง ท่ีให้ความ รว่ มมือในการทากจิ กรรมตา่ งๆ ด้วยดตี ลอดมา ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี นายสมยศ ปานสุวรรณ บรรณารักษ์ (จ้างเหมาบรกิ าร) นายดเิ รก ศรสี วสั ด์ิ บรรณารกั ษ์

สารบญั หนา้ ๑ ชอ่ื ผลงาน ๑ หนว่ ยงาน ๑ เจา้ ของผลงาน ๑ บทคดั ย่อ ๒ ความสาคัญและท่ีมาของนวัตกรรมสง่ เสริมการอ่าน ๓ ขอบเขตของนวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่าน ๔ ดา้ นกระบวนการพัฒนานวตั กรรม ๗ วิธีการดาเนินงาน (Floe Chat) ๘ ดา้ นผลท่ีเกิดขนึ้ จากการดาเนินงานตามนวัตกรรม ๑๐ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ๑๐ ขั้นตอนการดาเนนิ งาน ๑๐ วธิ ีใชแ้ ละการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง ๑๐ ผลการดาเนินงาน ๑๐ ตัวชว้ี ัดผลสาเร็จของโครงการและผลลัพธ์ ๑๐ สรุปผลการดาเนินงานโครงการนวตั กรรม ภาคผนวก

ช่อื ผลงาน กลอ้ งเพอรสิ โคปนกั อ่าน หนว่ ยงาน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอด่านช้าง เจา้ ของผลงงาน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอด่านช้าง โทร.๐๓๕-๕๙๕๙๘๐ อเี มล์ [email protected] บทคดั ยอ่ ห้องสมุดประชาชน เป็นกลไกในการส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตแก่ประชาชน เป็นหน่วยจัดกิจกรรม การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตระดับอาเภอ โดยยึดประชาชนและเยาวชนในชุมชนเป็นฐานในการจัด กจิ กรรมการเรียนรตู้ ลอดชีวติ โดยใชพ้ ้ืนที่ในชมุ ชน เชน่ บา้ นหนังสือชุมชน กศน.ตาบล ตลาดนัดในชุมชน และ พนื้ ทขี่ องหนว่ ยงานภาคีเครือขา่ ย จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในการส่งเสริม สนับสนุน เข้ามามีส่วนร่วมในการร่วม จัดกิจกรรม ห้องสมุดประชาชน ท้ังในฐานะผู้ให้บริการ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิถีของชุมชน มีอาสาสมัคร ที่เป็น บุคคลในชุมชน ในการส่งเสริมสนับสนุน ติดตามดูแล ร่วมประเมินผลการดาเนินงาน ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอดา่ นชา้ ง

ความสาคัญและทีม่ าของนวัตกรรมส่งเสรมิ การอา่ น ความเจริญกา้ วหน้าทางวทิ ยาการด้านตา่ งๆ ของยุคศตวรรษท่ี ๒๑ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วย กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนา คณุ ภาพการเรียนรู้ของประเทศเพือ่ สร้างคนไทยใหเ้ ป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสุข มีทักษะ กระบวนการทางานท่ี มีการวางแผนที่ดี สามารถพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพพร้อมท่ีจะแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในเวทีโลก ได้ การพัฒนาศักยภาพกาลังคนของประเทศถือได้ว่าเป็นภารกิจหน้าท่ีที่สาคัญมากที่สุดประการหน่ึง ที่รัฐบาล จะต้องดาเนินการให้เกิดขึ้นอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเทศในมิติต่างๆ อย่างเป็น ระบบ รัฐบาลไทยภายใต้การนาของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กาหนดนโยบายท่ี เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายที่ ๔ การศึกษาและการเรียนรู้ การทานุบารุง ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ข้อ ๔.๔ การพัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลักของประเทศที่รับผิดชอบดูแลในเร่ืองของการบริหารจัดการศึกษา และพัฒนาศักยภาพกาลังคนของประเทศ ได้มีแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) โดยเฉพาะอย่างย่ิงในยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงการบริการทาง การศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ซ่ึงได้กาหนดผลลัพธ์ว่า ให้ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาท่ีมี คุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภทการศึกษา สามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวติ สถานศกึ ษาในภมู ิภาค/ชนบท ได้รับการยกระดับคุณภาพในการให้บริการเด็กพิการและด้อยโอกาส ได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ สานักงาน กศน. จึงได้ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ โดยในยุทธศาสตร์ท่ี ๓ เป็นยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งมุ่งส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง ในศตวรรษท่ี ๒๑ รวมท้ังความ ต้องการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบท่หี ลากหลาย ให้ประชาชนคิดเปน็ วเิ คราะห์ได้ และตดั สินใจภายใต้ ข้อมูลที่ถูกต้อง โดยมี ห้องสมุดประชาชน เป็นกลไกในระดับอาเภอท่ีการดาเนินงานกับประชาชน กลุ่มเป้าหมายโดยตรง โดยมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีรูปแบบการพัฒนา ห้องสมุดประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการพัฒนา บรรณารักษ์ และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามอัธยาศัย การส่งเสริมการอ่าน ภายในห้องสมุด ให้สามารถทาหน้าที่เป็นกลไกในการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของประชาชน กลุ่มเปา้ หมายในระดับพ้ืนท่ีได้อย่างท่ัวถึง ครอบคลุม และมีประสิทธิภาพมากขึ้นในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือต้องการสร้างเมืองนักอ่านนครแห่งการอ่านและการพัฒนาวัฒนธรรมการอ่านของชุมชน ให้เกิดผลเชิง ประจกั ษ์ ประชาชนในชมุ ชนเกดิ การเรียนรู้ และการศึกษาตลอดชีวิต มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสม สามารถคิด วเิ คราะห์ และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั รวมท้งั แกป้ ญั หาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ อย่างสรา้ งสรรค์ และไดร้ ับการเสรมิ สร้างนิสยั รกั การอ่านเพอ่ื การแสงหาความรู้ดว้ ยตนเอง

ขอบเขตของนวตั กรรมส่งเสริมการอา่ น เทคโนโลยีการศึกษา มิได้หมายถึงเฉพาะเรื่องของการใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ (Hardware) และวัสดุ (Software) เท่านั้น แต่เทคโนโลยีการศึกษายังหมายความรวมถึง การผสมผสานองค์ประกอบต่างๆ ทั้งหลาย ท่ีจะเกื้อหนุนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย ดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาซ่ึงมีขอบเขต กว้างขวางครอบคลมุ การจดั ดาเนินการศึกษาทั้งหมด ดงั แผนภูมิดังตอ่ ไปน้ี ด้านการจดั การศึกษา ด้านการพฒั นาการศกึ ษา ดา้ นทรัพยากรการเรียนรู้ หมายเหตุ -การจัดการองค์กร -ทฤษฎีการวจิ ัย -ขอ้ มลู ความรู้ -ผรู้ บั บรกิ าร -การจดั การบุคคล -การออกแบบ -บุคลากร -การผลิต -วัสดุ -การใช้ -เคร่ืองมือ -การสนับสนุน -เทคนคิ -การประเมินผล -อาคารสถานที่ -การเผยแพร่

ดา้ นกระบวนการพฒั นานวตั กรรม ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอด่านชา้ ง ไดอ้ อกแบบนวตั กรรม โดยใช้รปู แบบการพัฒนา นวัตกรรมด้วย “ศาสตร์พระราชา” นาหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร คือ “เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา” ควบคู่กับทฤษฎีการบริหารเป็นฐาน ความคิด มาประยกุ ต์ใช้ในการพัฒนา ห้องสมุดประชาชน ตามขัน้ ตอนดังนี้ กระบวนการเกดิ นวตั กรรม มกี ระบวนการท่สี าคัญ ๓ ข้นั ตอน คอื ๑. มีกระบวนการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ สง่ิ ใหม่หรอื ปรบั ปรงุ ของเกา่ ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณป์ ัจจุบนั ๒. มีการตรวจสอบ หรอื ทดลอง และปรับปรุงพัฒนา ๓. มีการนามาใชห้ รือปฏบิ ัติในสถานท่ีจริง การคดิ สร้างสรรคห์ รอื กรรมวิธีใหม่ๆ ซึ่งต่างไปจากท่ีเคยปฏิบัติมาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานต่างๆ ด้วย จุดมุ่งหมายท่ีจะเปล่ียนแปลงปรับปรุงวิธีการทางานให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึน เราเรียกว่า “นวัตกรรม” นวัตกรรมตรงกับคาว่า “innovation” ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า To renew หรือ to modify หรือ “ทาข้ึนมาใหม่” ดังน้ันคนเราจึงควรมีนวัตกรรม คือ ต้องรู้จักสร้างสรรค์ ต้องมีความพร้อมท่ีจะก้าวไปข้างหน้า เพ่อื ปรับตัวใหท้ นั กบั ความเปลย่ี นแปลงของโลกปจั จบุ ัน ในการพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในบั้นปลายน้ันจาเป็นอย่างย่ิงท่ี ผู้จัดกิจกรรม จะต้องพยายามค้นคว้าวิธีการใหม่ๆ ท่ีคิดค้นในรูปแบบต่างๆ ซึ่งเรียกว่า “นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน” ดังนั้น นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน จึงหมายถึง การนาส่ิงใหม่ๆ แนวคิดวิธีการหรือการกระทาใหม่ๆ ซึ่งผ่านการทดลอง วิจัย หรืออยู่ระหว่างการ ทดลอง หรืออาจเป็นส่ิงท่ีเคยใช้แล้วมาปรับปรุงใหม่มาใช้ในการศึกษาเพ่ือปรับปรุง หรือเพิ่มประสิทธิภาพให้ดี ยิง่ ขึ้น

ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอด่านช้าง ได้นา นวัตกรรมส่งเสริมการอา่ นมาประยุกตใ์ ช้เพอื่ ช่วยสง่ เสริมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถเรียนรู้ ไดท้ กุ เวลาตามความต้องการ นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน จะเกิดข้ึนได้ต้องอาศัย “วิถีคิด” ท่ีออกนอกกรอบเดิม พอสมควร คือ จะต้อง ออกนอก “ร่อง” หรือ ช่องทางเดิมๆ ท่ีเคยชิน เรียกได้ว่าจะต้องปรับเปล่ียนแนวคิด หรอื กระบวนทศั น์ ทีม่ ีอยู่เดิมเกย่ี วกับการเรียนรูเ้ สียใหม่ จากที่เคยเข้าใจว่า การเรยี นรู้ คือ การศึกษาเพียงเพื่อ ได้รู้น้ัน มาเป็นการเรียนรู้ท่ีนามาใช้พัฒนางาน พัฒนาชีวิต และพัฒนาสังคมประเทศชาติ ซึ่งเป็นความรู้ที่แนบ แน่นอยู่กับงาน เกี่ยวพันอยู่กับปัญหา เป็นความรู้ที่มีบริบท การเรียนรู้ตามการบวนทัศน์ใหม่น้ีมักเริ่มต้นด้วย การพฒั นาตัวโจทย์ข้ึนมากอ่ นโดยใชป้ ัญหาหรือส่งิ ทเี่ กิดขึ้นในชีวติ ประจาวันเป็นหลัก เรียกได้ว่ามีความต้องการ ที่จะแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาส่ิงต่างๆ ให้ดีขึ้นจึงเป็นแรงพลักดันท่ีทาให้เกิดการเรียนรู้นี้ขึ้น มีวิธีการอย่างไร ที่จะทาให้ผู้รับบริการ สามารถเรียนรู้ได้เอง สามารถคิดเอง ทาเอง และแก้ปัญหาเองได้ โดยผู้จัดกิจกรรมเป็น เพยี งผชู้ แ้ี นะ คอยใหค้ าแนะนาในการเรียนรู้ ดังนั้นในการพัฒนาการเรียนรู้ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอด่านช้าง ได้มีการสร้าง นวัตกรรมส่งเสรมิ การอ่านทน่ี า่ สนใจและผู้รบั บรกิ ารใคร่ท่จี ะเรยี นร้ตู ลอดเวลา เพราะนวตั กรรมการส่งเสริมการ อา่ น มแี นวโนม้ ในทางท่ดี ขี ึ้น เพราะการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัยเป็นการจัดการศึกษาท่ีไม่มีรูปแบบการศึกษา หรือการเรียนรู้ท่ีตายตัว ไม่มีหลักสูตรเป็นตัวกาหนดรอบกิจกรรมหรือขอบข่ายสาระการเรียนรู้ จึงทาให้การ เรียนร้ขู ึ้นอยกู่ ับความตอ้ งการ และแรงจงู ใจใฝร่ ู้ของแต่ละบุคคล ทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายมีความ สนใจกระตือรือร้นและเกิดความอยากรู้อยากเห็น สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยองค์ประกอบท่ีสาคัญดังน้ี ผู้จัดกิจกรรม ต้องมีความรู้เก่ียวกับนวัตกรรมประเภท Multimedai สามารถจัดทาสื่อนวัตกรรมออกมาใช้ใน การให้บริการเพื่อให้ผู้รับบริการสามารถพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพอย่างเต็มท่ีและเต็มความสามารถ ผู้รับบริการจะต้องสนใจใฝ่เรียนรู้ในเรื่องของการใช้นวัตกรรมให้มากข้ึน เพื่อที่จะได้เกิดความคุ้นเคยแล้ว สามารถใช้สื่อได้อย่างถูกต้อง และสถานท่ีให้บริการต้องจัดทาส่ืออุปกรณ์เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ให้พร้อม เพ่ือสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการและทาให้การจัดกระบวนการเรียนรู้มีความสมบูรณ์ ซ่ึงจะส่งผลให้ เกดิ ประสิทธิภาพสงู สุดในการนานวัตกรรมสง่ เสริมการอา่ นไปพัฒนาการเรยี นรู้ให้มีความเจริญกา้ วหน้าตอ่ ไป ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอด่านช้าง ได้นาหลักการของวงจรเดมมิ่ง (PDCA) มา บูรณาการในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านแบบองค์รวม ประยุกต์ใช้หลักการบริหารจัดการศึกษาตาม อธั ยาศัยร่วมกับภาคเี ครือข่าย PDCA คือ วงจรท่ีพัฒนามาจากวงจรที่คิดค้นโดย วอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) ผู้บุกเบิก การใช้สถิติสาหรับวงการอุตสาหกรรม ต่อมาวงจรน้ีเร่ิมเป็นท่ีรู้จักกันมากข้ึน เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหารคุณภาพเผยแพร่ให้เป็นเคร่ืองมือสาหรับการปรับปรุง กระบวนการทางานของพนักงานภายในโรงงานให้ดียิ่งข้ึน และช่วยค้นหาปัญหาอุปสรรคในแต่ละข้ันตอนการ ผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจรน้ีเป็นท่ีรู้จักกันในอีกช่ือว่า “วงจรเดมมิ่ง” ต่อมาพบว่า แนวคิดในการใช้วงจร PDCA น้ัน สามารถนามาใช้ได้กับทุกกิจกรรม จึงทาให้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นทั่วโลก PDCA เป็น อักษรนาของศพั ทภ์ าษาองั กฤษ ๔ คา คอื P : Plan = วางแผน D : Do = ปฏบิ ตั ติ ามแผน C : Check = ตรวจสอบ / ประเมินผลและนาผลประเมินมาวิเคราะห์ A : Action = ปรับปรุงดาเนนิ การให้เหมาะสมตามผลการประเมิน

การวางแผน (Plan : P) เป็นส่วนประกอบของวงจรท่ีมีความสาคัญ เนื่องจากการวางแผนเป็นจุดเร่ิมต้น ของงานและเป็นส่วนสาคัญท่ีจะทาให้การทางานในส่วนอื่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลการวางแผนในวงจรเดม มิ่ง เป็นการหาองค์ประกอบของปัญหา โดยวิธีการระดมความคิด การหาสาเหตุของปัญหา การหาวิธีการ แก้ปัญหา การจัดทาตารางการปฏิบัติงาน การกาหนดวิธีการดาเนินการ การกาหนดวิธีการตรวจสอบ และ ประเมินผล ในข้นั ตอนน้ี มีการดาเนินการดงั นี้ -ตระหนักและกาหนดปัญหาท่ีต้องการแก้ไข หรือปรับปรุงให้ดีข้ึน โดยบรรณารักษ์ ปรึกษาครู กศน.ตาบล ในการระบุปัญหาที่เกดิ ขน้ึ ในการดาเนนิ การจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อท่ีจะร่วมกันแก้ไขปัญหาและนามา วเิ คราะห์หาแนวทางแกไ้ ขต่อไป -เก็บรวบรวมขอ้ มลู สาหรับการวเิ คราะห์และตรวจสอบการดาเนนิ งาน หรือสาเหตุของปัญหาเพ่ือใช้ในการ ปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น ได้ดาเนินการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบระเบียบ เข้าใจง่ายและสะดวกต่อ การใช้งาน เช่นตารางตรวจสอบ แผนภูมิ แผนภาพ หรือ แบบสอบถามเปน็ ตน้ -อธิบายปัญหาและกาหนดทางเลือก วิเคราะห์ปัญหาเพ่ือใช้ในการกาหนดสาเหตุของความบกพร่อง ตลอดจนแสดงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น โดยใช้วิธีการเขียนและวิเคราะห์แผนภูมิหรือแผนภาพ เช่น แผนภูมิ ก้างปลา แผนภูมิพาเรโต และแผนภูมิการควบคุม เป็นต้น เพ่ือให้ผู้รับบริการทุกคนเข้าใจในสาเหตุและปัญหา อย่างชัดเจน แล้วร่วมระดมความคิด (Brainstorm) ในการแก้ปัญหา โดยสร้างทางเลือก ท่ีเป็นไปได้ในการ ตัดสินใจแก้ปญั หา เพอ่ื มาทาการวิเคราะหแ์ ละตดั สนิ ใจเลอื กทีเ่ หมาะสมที่สดุ มาดาเนินงาน -เลือกวิธีการแก้ไขปัญหาเพ่ือปรับปรุงการดาเนินงาน โดยร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ ทางเลือกต่างๆ ผ่านการระดมความคิด และแลกเปลีย่ นความคิดเห็น เพ่อื ตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมที่สุดในการ ดาเนินงานให้สามารถบรรลุตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงอาจจะต้องทาวิจัยและหาข้อมูลเพิ่มเติม หรอื กาหนดทางเลอื กใหมท่ ม่ี ีความนา่ จะเป็นในการแกไ้ ขปัญหาไดม้ ากกวา่ เดมิ การปฏิบัติตามแผน (Do : D) เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนท่ีกาหนดไว้ในตารางการปฏิบัติงานผู้จัดทา นวัตกรรมส่งเสริมการอ่านทุกคนมีความเข้าใจถึงความสาคัญและความจาเป็นในแผนที่วางไว้ ความสาเร็จของ การนาแผนมาปฏิบัติ ต้องอาศัยการทางานด้วยความร่วมมือเป็นอย่างดีจากผู้มีส่วนเก่ียวข้องจัดทานวัตกรรม ทกุ คน ตลอดจนการจดั การทรพั ยากรที่จาเป็นตอ้ งใช้ในการปฏบิ ัติงานตามแผน ในข้ันตอนนี้ขณะท่ีลงมือปฏิบัติ จะมีการตรวจสอบไปดว้ ย หากไม่เป็นไปตามแผน จะมีการปรบั แผนใหม่และเมื่อแผนนั้นใช้งานได้ก็นาไปใช้เป็น แนวและถือปฏบิ ัติต่อไป การตรวจสอบ (Check : C) เป็นการตรวจสอบดูว่าเม่ือปฏิบัติงานตามแผน หรือการแก้ปัญหางาน ตามแผนแล้วผลลัพธ์เป็นอย่างไร สภาพปัญหาได้รับการแก้ไขตรงตามเป้าหมายที่กลุ่มต้ังใจหรือไม่ การไม่ ประสบผลสาเรจ็ อาจจะเกดิ จากสาเหตุหลายประการ เชน่ ไมป่ ฏบิ ตั ิตามแผน ความไม่เหมาะสมของการเลือกใช้ เทคนคิ ทีไ่ มเ่ หมาะสม การดาเนินการให้เหมาะสม (Action : A) เป็นการกระทาภายหลังท่ีกระบวนการ ๓ ขั้นตอนตาม วงจรได้ดาเนินการเสร็จแล้ว ข้ันตอนนี้เป็นการนาเอาผลจากข้ันการตรวจสอบ (C) มาดาเนินการให้เหมาะสม ต่อไป



ดา้ นผลทีเ่ กดิ ขึ้นจากการดาเนนิ งานตามนวตั กรรม การวางแผน Plan (P)  การจัดประชุมคณะทางาน หอ้ งสมดุ ประชาชน เชิญภาคีเครือข่าย หน่วยงานราชการ เข้าร่วมเพื่อ ระดมความคิดเห็น ร่วมวางแผนการดาเนินงาน เพ่ือขับเคล่ือนพัฒนา ห้องสมุดประชาชน ให้เป็น นครแหง่ การอ่านและสร้างวัฒนธรรมการอ่านของชมุ ชน  สารวจความพร้อมดา้ นต่างๆ ดงั นี้ o การพัฒนา ครู กศน. และบุคลากรต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน (Good Teacher) o การพัฒนา ห้องสมุดประชาชน ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการจัด กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น (Good Place Best Check - In) o ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพภายใน ห้องสมุด ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอดา่ นชา้ ง (Good Activities) o ส่งเสรมิ การให้ความรว่ มมอื กับภาคีเครอื ขา่ ย (Good Partnership) o นาเทคโนโลยีดจิ ิทลั เขา้ มาบรู ณาการในการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน พัฒนาให้เกิดเป็น นวัตกรรมใหม่ๆ ประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (Good Innovation) การปฏิบตั ิ Do (D)  ดาเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของ ห้องสมุดประชาชน เพื่อให้ดึงดูดด้วยความ สวยงามและเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ ดังนี้ o สภาพอาคารอย่ใู นสภาพทม่ี ่นั คง เป็นสัดสว่ น มีความปลอดภยั o จดั สภาพแวดลอ้ มโดยยดึ หลัก ๕ ส (สะสาง, สะดวก, สะอาด, สขุ ลักษณะ, สรา้ งนสิ ัย) o จัดทาระบบการบรกิ ารทสี่ ะดวกด้วยเทคโนโลยี จัดทารหัส QR Code เพื่อให้ผู้รับบริการ เกิดความประทับใจ (สะอาดตา, ปลอดภัย, มชี ีวติ ชีวา และมีความสุข เมอ่ื เข้ารับบริการ) o จัดทาข้อมูลสารสนเทศตามบริบทของ ห้องสมุดประชาชน เป็นปัจจุบัน ด้วยเทคโนโลยีท่ี ทันสมยั (จัดทารหสั QR Code) o จัดทาเอกลกั ษณ์/อัตลักษณ์ ของห้องสมุดประชาชน ตามบริบทของพน้ื ทอี่ าเภอดา่ นชา้ ง o จัดหาส่ิงอานวยความสะดวกที่หลากหลายท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ เช่น โต๊ะ เก้าอ้ี คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ โดยประสานจากภาคเี ครือข่ายเพ่อื สนับสนุนทรัพยากร o จัดทาจุดเช็คอิน (Check in) เพื่อดึงดูดความสนใจ เพ่ือเป็นสิ่งจูงใจให้กับผู้รับบริการได้ เขา้ มาใช้บรกิ าร o พัฒนานวตั กรรมส่งเสรมิ การอา่ น เพอื่ ใชใ้ นการเรียนรู้ขอ้ มลู ต่างๆ การตรวจสอบ Check (C)  สงั เกตประชาชน ผู้มาใชบ้ ริการ  ประเมินจากแบบทดสอบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ และข้อเสนอแนะต่างๆ เพ่ือนา ขอ้ มูลมาพัฒนาปรับปรุงใหด้ ีข้ึนต่อไป

 นาเสนอผลงานและเผยแพร่ นาเสนอผลงานได้ถูกต้องต้องตรงตามประเด็น เป็นไปตามข้ันตอน และมีการเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ ปรบั ปรงุ พัฒนา Action (A)  ปรับปรุงพัฒนา ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอด่านช้าง ให้มีความพร้อมในทุกๆ ด้าน ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ได้มาตรฐานและคงความ เป็นมาตรฐานไวต้ ่อไป

วตั ถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพื่อสง่ เสริมใหเ้ ยาวชน ประชาชนเหน็ ความสาคัญของการอ่าน ๒. เพอื่ พัฒนานวตั กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น เพิม่ ทางเลอื กการเรียนรู้ และใหป้ ระชาชนมนี ิสัยรักการอ่าน ๓. เพอื่ ส่งเสรมิ การใช้แหลง่ เรียนรใู้ ห้เกิดประโยชน์ ข้ันตอนการดาเนินงาน ๑. การจดั ประชุมคณะทางาน หอ้ งสมดุ ประชาชน เชิญภาคีเครือข่าย หน่วยงานราชการ เข้าร่วมเพื่อ ระดมความคิดเห็น ร่วมวางแผนการดาเนินงาน เพื่อขับเคล่ือนพัฒนา ห้องสมุดประชาชน ให้เป็น นครแห่งการอ่านและสรา้ งวัฒนธรรมการอ่านของชมุ ชน ๒. ศึกษาพัฒนาปรับปรุงนวัตกรรมให้มีความทันสมัย ส่งเสริมการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ เพ่ือให้ นวัตกรรมส่งเสริมการอ่านตรงกับกลุ่มเป้าหมาย และช่วงวัย เพ่ือให้ผู้รับบริการได้รับประโยชน์ สงู สดุ ๓. จัดทานวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน คู่มือการใช้งาน และสื่อเพ่ือประชาสัมพันธ์กิจกรรม ให้ผู้สนใจ และผู้รบั บริการ ไดศ้ ึกษาเรียนรดู้ ว้ ยการอา่ นและการศึกษาจากส่ือทีจ่ ดั เตรียมไวใ้ ห้ ๔. ศึกษาความต้องการใช้งานนวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน และข้อเสนอแนะ จากแบบสอบถามของ ผู้รบั บริการ เพ่ือนามาพัฒนานวัตกรรมให้ตรงกับความต้องการมากย่ิงขึน้ วิธใี ชแ้ ละการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง ๑. เลอื กเกมทเี่ หมาะกบั ช่วงอายุ หรอื ตามความสนใจ ๒. นาการ์ดนกั อา่ นใสช่ ่องใส่การด์ นักอ่านบรเิ วณหน้ากล้องเพอร์ริสโคป ๓. เลอื กตัวอักษร ตามทีเ่ ห็นในฟิล์มการด์ นักอา่ น ๔. รบั รางวัลเม่อื ตอบคาถามถกู ต้อง ผลการดาเนินงาน ๑. ผรู้ ับบรกิ ารมีจินตนาการ และความรจู้ ากนวัตกรรมส่งเสริมการอา่ น ๒. ผู้รับบริการได้รับประโยชน์จากการใช้งานนวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน ในแต่ละคร้ังท่ีใช้งาน และ สามารถเสริมสรา้ งนิสัยรกั การอ่านใหก้ ับผรู้ ับบรกิ าร ตวั ชว้ี ัดผลสาเร็จของโครงการและผลลัพธ์ ตัวชว้ี ัด (KPI) เป้าหมาย (Target) ผลลพั ธท์ ่ปี ฏบิ ตั ิได้ ผู้รับบริการมีทักษะการอ่านที่ดี จานวนผรู้ ับบริการเพ่ิมขึ้นจากการ มีนวัตกรรม ที่ผู้รับบริการสนใจ เพิ่มขน้ึ จัดทานวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน ศึกษาเรียนรู้และใช้บริการที่ “กลอ้ งเพอริสโคปนักอา่ น” หลากหลายทนั สมยั และเข้าถึงงา่ ย

สรุปผลการดาเนินงานโครงการนวตั กรรม ปจั จัยแห่งความสาเร็จ นวัตกรรมส่งเสริมการอ่านประกอบการร่วมกิจกรรมดึงดูดความสนใจ และมีรางวัลเป็นเป้าหมายให้ ผรู้ ับบริการ และนาไปสูก่ ารสง่ เสริมการอา่ น และการเรียนรู้ ปญั หา อุปสรรค เนอ่ื งจากนวตั กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน “กล้องเพอริสโคปนักอ่าน” ถูกออกแบบมาให้เหมาะสมแต่ละช่วง วัยเพ่ือให้การเรียนรู้ เหมาะสมกับผู้รับบริการมากท่ีสุด ผู้รับบริการจึงต้องเลือกเกมที่ตรงกับช่วงวัยเพื่อให้การ เรียนรเู้ กิดประสิทธภิ าพกบั ผูร้ บั บริการสงู สดุ ข้อเสนอแนะและโอกาสพฒั นา นวตั กรรมส่งเสริมการอ่าน “กล้องเพอริสโคปนักอ่าน” ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้เกิดความ สนกุ กบั ผู้รบั บริการ เพ่ือส่งเสริมให้ผู้รับบริการ มีนิสัยรักการอ่าน มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และเพือ่ พฒั นาการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านในรปู แบบทห่ี ลากหลายและเหมาะสมทกุ ช่วงวยั

ภาคผนวก






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook