รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนที่บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | ก คำนำ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายให้สำนักงาน กศน. จัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตให้แก่ กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่บริการ 6 จังหวัด คือ พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี สระบุรี ลพบุรี และชัยนาท ในลักษณะของการจัดกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เคลื่อนที่ไปยังจุดต่าง ๆ ในเขตพื้นที่บริการ เพื่อบริการการเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ เป็นการขยายแหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้หลากหลาย เปิดโอกาสและชอ่ งทางการเรยี นรูด้ ้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละอำนวยความสะดวกให้แก่ผูร้ บั บรกิ าร ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา จึงได้จัด โครงการวิทยาศาสตร์ สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 13 เพื่อจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมทุกอำเภอในเขตพื้นที่บริการ จำนวน 61 อำเภอ โดยได้กำหนดให้เป็น โครงการหลักที่สำคัญของสถานศึกษา และเพื่อให้ทราบว่าผลการดำเนินงานของโครงการ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้หรือไม่เพียงใด จึงได้ทำการประเมินโครงการโดยใช้ รูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) ทเ่ี รียกว่า“แบบจำลองทย่ี ึดความสำเร็จของ จดุ ม่งุ หมายเปน็ หลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) การประเมินโครงการครั้งนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจาก ผู้บริหาร ครู และ นักเรียนจากสถานศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการ และผู้รับผิดชอบโครงการทุกท่าน จึงขอขอบคุณ อย่างสูง ไว้ ณ โอกาสนี้ และหวังเปน็ อย่างยิ่งวา่ สารสนเทศทีไ่ ดจ้ ากการประเมิน โครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจร สู่สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ทบ่ี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จะเปน็ ประโยชน์ ต่อหนว่ ยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขยายผลและพัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิง่ ขึ้นในปีงบประมาณ 2565 และบังเกิดประโยชน์อย่างแทจ้ ริง ต่อประชาชนผูร้ บั บริการ ในทส่ี ดุ (นางอัญชรา หวังวีระ) ครู รักษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาพระนครศรีอยุธยา
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีบรกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | ข บทสรปุ ผู้บริหาร การประเมินครั้งนี้ เป็นการประเมินเชิงรวมสรุปผลโครงการวิทยาศาสตร์สัญจร สู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ผู้ประเมินได้นำรูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler)ท่ี เรียกว่า “แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ในการประเมินโครงการครั้งนี้ เพื่อให้ได้ ข้อมูลและสารสนเทศที่มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจขยายการดำเนินงานโครงการ ของผ้บู ริหารและผู้ที่เกยี่ วข้อง ทงั้ น้ไี ด้กำหนดรูปแบบการประเมิน ขอบเขตการประเมนิ กรอบแนวคิด การประเมิน เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล และวิธกี ารประเมิน ดงั ต่อไปน้ี ขอบเขตการประเมินผล การประเมินครง้ั น้ีกำหนดขอบเขตของการประเมินโครงการ ที่สำคัญไว้ ดังนี้ 1. หน่วยการวิเคราะห์ คือ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ปีงบประมาณ 2564 2. รูปแบบการประเมิน ใช้รูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) ที่เรียกวา่ “แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ โดยประเมินจากตัวชี้วัดความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ ด้านผลผลติ และผลลพั ธ์ของโครงการ 3. แหลง่ ข้อมลู และกลุ่มตัวอย่าง การประเมินครัง้ นกี้ ำหนดแหลง่ ขอ้ มูล และกลุ่มตวั อยา่ ง ดงั น้ี 3.1 แหลง่ ขอ้ มลู 3.1.1 แหลง่ ข้อมลู ประเภทเอกสาร ได้แก่ เอกสารนโยบาย เอกสารโครงการ เอกสาร ทฤษฎที เี่ ก่ยี วขอ้ ง 3.1.2 แหล่งขอ้ มลู ประเภทบคุ คล ไดแ้ ก่ 1) เจา้ หน้าที่โครงการ 2) กลุม่ เปา้ หมายผรู้ บั บริการ 3.2 กลมุ่ ตัวอย่างและการกำหนดขนาดกล่มุ ตวั อยา่ งผู้ให้ข้อมลู กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้รับบริการกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สัญจร จากสถานศกึ ษาทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการทง้ั หมด จำนวน 21 คร้ัง ประกอบด้วย 1) ครูหวั หน้าหมวดวิทยาศาสตรจ์ ากสถานศึกษา ท่ีเป็นจดุ ทตี่ งั้ ใหบ้ ริการทุกแห่ง จำนวน 21 คน 2) นักเรยี นที่มารับบรกิ าร จำนวน 320 คน กลุ่มครู : ผู้ประเมินดำเนินการเก็บข้อมูลโดยวิธีเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เลือกครูหัวหน้าหมวดวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนที่เป็นจุดที่ตั้งให้บริการ จำนวน 21 จุด ไดก้ ลุ่มตัวอย่าง จำนวน 21 คน
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่บี ริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | ค กลุ่มนักเรียน : ผู้ประเมินดำเนินการเก็บข้อมูลจากนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม วทิ ยาศาสตรส์ ัญจรทกุ ครง้ั ทีจ่ ัดกจิ กรรม โดยกำหนดขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง จำนวน 320 คน ณ ค่าความเชื่อม่ัน ที่ 95% หรือ α = 0.05 (Yamane,1967 : อ้างถึงใน ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2540) จากประชากร นักเรียนทั้งหมด 16,496 คน แล้วสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ใช้จุดที่ตั้งให้บริการเป็นชั้น โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างนักเรียนแยกตามจุดที่ตั้งให้บริการ และทำการสุ่ม อย่างง่าย (Simple Random Sampling) จากจำนวนนักเรยี นแต่ละจดุ ทต่ี ั้งให้บริการตามสัดส่วนของ จำนวนสมาชกิ ประชากรยอ่ ยในแต่ละจดุ ท่ีต้งั ให้บริการ โดยใชส้ ูตรดงั นี้ จำนวนกลมุ่ ตวั อยา่ งในแตล่ ะจดุ ท่ตี ั้งให้บรกิ าร = จำนวนกลุ่มตวั อย่างทง้ั หมด × จำนวนกลุม่ ประชากรในแต่ละจุดทต่ี ง้ั ใหบ้ รกิ าร จำนวนประชากรทัง้ หมด เมื่อคำนวณจำนวนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละจุดให้บริการแล้วเมือ่ มีเศษ ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไปปัดเศษเป็นหน่ึง แต่เมอื่ มีเศษน้อยกว่า 0.5 ลงมา ปัดเศษท้งิ เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมิน ใช้การเก็บขอ้ มูล 2 วธิ ี คอื 1) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ใช้แบบบันทึกข้อมูลจำนวนสถานศึกษาและ กลุม่ เป้าหมายทีร่ ว่ มกิจกรรมวิทยาศาสตรส์ ญั จร 2) การรวบรวบข้อมูลด้วยเครือ่ งมือ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม มีทั้งปลายเปิด ปลายปิด มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) ที่ผู้ประเมิน ได้สร้างขึ้นและ ตรวจสอบความตรงเชงิ เน้ือหาและการส่ือความหมายโดยผู้เชย่ี วชาญจำนวน 3 ท่าน แบ่งเปน็ 3 ตอน คอื ตอนท่ี 1 ข้อมลู เบอ้ื งต้นของผู้ตอบแบบประเมนิ ตอนที่ 2 การประเมนิ ผลการดำเนนิ การและการจัดกจิ กรรม 5 ระดับ คอื ดมี าก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง และต้องปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะเปน็ คำถามปลายเปดิ วธิ ีเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ใช้แบบประเมนิ เชงิ ผลสรุปการจดั กิจกรรม เก็บขอ้ มลู ในระหว่าง ที่จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร ระหว่างวันที่ 13 พฤศจิกายน 2563 - 5 เมษายน 2564 จัดส่ง แบบประเมนิ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายครูหวั หนา้ หมวดวิทยาศาสตร์ จำนวน 21 ฉบบั นักเรียนทรี่ ่วมกิจกรรม จำนวน 341 ฉบับ รวม 341 ฉบับ ไดร้ ับแบบประเมินกลบั คนื จำนวน 341 ฉบบั คิดเป็น รอ้ ยละ 100.00
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรส่สู ถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทบี่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | ง การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผปู้ ระเมิน แบง่ การวิเคราะหข์ ้อมูลเป็น 2 ประเภท คอื 1. วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาโดยการวิเคราะห์เชิงตรรก (Logical Analysis) 2. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติดังนี้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย มัชฌิม เลขคณิต (Arithmetic Mean) และค่าคว ามเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows สำหรับการตรวจให้คะแนนที่ตอบแบบสอบถามแบบ มาตราส่วนประมาณค่า ใหค้ ะแนน ดงั นี้ ระดับความคิดเหน็ ดีมาก คะแนน 5 ระดบั ความคิดเห็น ดี คะแนน 4 ระดบั ความคิดเหน็ พอใช้ คะแนน 3 ระดับความคดิ เห็น ตอ้ งปรับปรุง คะแนน 2 ระดับความคิดเห็น ต้องปรบั ปรุงเร่งดว่ น คะแนน 1 จากนน้ั นำคะแนนเฉล่ียที่ไดม้ าแปลความหมายตามเกณฑ์ ดงั นี้ คะแนนเฉลย่ี 4.51 - 5.00 การจดั กจิ กรรมอยู่ในระดบั ดมี าก คะแนนเฉลยี่ 3.51 - 4.50 การจัดกจิ กรรมอยใู่ นระดับดี คะแนนเฉลย่ี 2.51 - 3.50 การจัดกจิ กรรมอยู่ในระดบั พอใช้ คะแนนเฉลี่ย 1.51 - 2.50 การจดั กิจกรรมอย่ใู นระดบั ต้องปรบั ปรงุ คะแนนเฉลี่ย 0.00 - 1.50 การจดั กิจกรรมอยู่ในระดับต้องปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน สำหรับเกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน ผู้ประเมินได้แบ่งเกณฑ์การตัดสิน และระดับ ผลการประเมิน เปน็ 5 ระดบั คือ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ และตอ้ งปรับปรุง เพอื่ ให้การประเมิน โครงการคร้ังนี้สอดคล้องกบั เกณฑ์ และตวั ชีว้ ัด ของการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ส่วนเกณฑ์ที่ใช้วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจ ต่อระดับการจัดกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในโครงการ ใช้วิธีนำคะแนนที่ได้ของแต่ละคนไปเทียบกับร้อยละของคะแนนเต็ม นำคะแนน ทไ่ี ดเ้ ปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ท่กี ำหนด โดยแบ่งระดับความพึงพอใจ ดังน้ี ระดับความพึงพอใจ ร้อยละ ช่วงคะแนน ดมี าก 90 ข้ึนไป 4.51 - 5.00 ดี 80-89 3.51 - 4.50 พอใช้ 65-79 2.51 - 3.50 ตอ้ งปรับปรุง 50-64 1.51 - 2.50 ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น 49 ลงมา 0.00 - 1.50 เกณฑ์การตัดสิน คือ ระดับความพึงพอใจดีมากและดี หรือ ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือ ช่วงคะแนน 4.51-5.00 และ 3.51-4.50 ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสูส่ ถานศึกษาในเขตพน้ื ท่บี ริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | จ เกณฑก์ ารประเมิน 1. เกณฑค์ วามสำเร็จตามตวั ชีว้ ัด เปรียบเทียบผลผลิต / ผลลัพธ์ ของโครงการที่ปรากฏจริงกับวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย โครงการ เป็นรายข้อ 2. เกณฑ์ความสำเร็จภาพรวมของโครงการ ผปู้ ระเมินกำหนดเกณฑค์ วามสำเร็จของโครงการ ดงั นี้ 2.1 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด ถือว่า โครงการประสบความสำเร็จในระดับดมี าก 2.2 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 4 ตัวชี้วัด ถอื วา่ โครงการประสบความสำเร็จในระดับดี 2.3 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 3 ตัวชี้วัด ถอื วา่ โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดบั พอใช้ 2.4 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 2 ตัวชี้วัด ถือวา่ โครงการประสบความสำเร็จในระดบั ตอ้ งปรับปรุง 2.5 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 0-1 ตัวชี้วัด ถือว่า โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดับต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน สรปุ ผลการประเมนิ โดยสรุป ผลการเพื่อเปรียบเทียบระหว่างผลการดำเนินงานโครงการที่ปรากฏกับตัวชี้วัด ความสำเร็จแต่ละวัตถปุ ระสงคท์ ก่ี ำหนดไว้ โดยนำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล เป็น 2 ตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1. ผลสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขต พ้นื ทบ่ี ริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยประเมินจากตวั ชวี้ ดั ความสำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ด้าน ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการตามท่กี ำหนดไว้ ดังต่อไปน้ี ผลการประเมินตามวตั ถปุ ระสงค์ข้อท่ี 1 : เพ่อื เปดิ โอกาสให้กลุ่มเป้าหมายไดเ้ ข้าถึงและใช้ ประโยชน์จากแหลง่ เรยี นรูท้ างวิทยาศาสตร์ ตัวชี้วดั ความสำเร็จ 1. จำนวนครงั้ ท่ีจัดกิจกรรม (กำหนดไว้ไมต่ ำ่ กวา่ 30 ครง้ั ) 2. จำนวนกลมุ่ เป้าหมายที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม (กำหนดไวไ้ มน่ ้อยกวา่ 25,000 คน) ผลการประเมินตามตัวชี้วดั ความสำเรจ็ ปรากฏดงั นี้ 1. สามารถจัดกิจกรรมใหก้ ลุ่มเปา้ หมายได้ จำนวน 21 ครัง้ แบ่งเป็น ในเขตพื้นที่บริการ จำนวน 21 ครั้ง คิดเป็น ร้อยละ 70.00 และนอกเขตพื้นที่บริการ จำนวน 1 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100.00 รวมทั้งหมด 21 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100.00 เมื่อเทียบกับ เปา้ หมายของโครงการ ผลการดำเนินโครงการไม่บรรลุผลตามตัวชี้วัดความสำเร็จตัวชี้วัดที่ 1 ตามที่กำหนดไว้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) จำเป็นต้อง งดจัดกจิ กรรม
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรสู่สถานศึกษาในเขตพืน้ ที่บรกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | ฉ 2. กลมุ่ เป้าหมายเขา้ ร่วมกจิ กรรม จำนวน 16,496 คน คดิ เป็น ร้อยละ 65.98 เมื่อเทียบกับ เป้าหมายของโครงการผลการดำเนินโครงการไม่บรรลุตามตัวชี้วัดความสำเร็จตัวชี้วัดที่ 2 ตามที่ กำหนดไว้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) จำเป็นต้องงดจดั กิจกรรม ผลการประเมินตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และ เกิดทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ 1. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (กำหนดไว้ไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ 85) 2. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม (กำหนดไว้ไมน่ อ้ ยกว่า ร้อยละ 85) ผลการประเมินตามตัวชีว้ ัดความสำเร็จ ปรากฏดงั นี้ 1. กล่มุ เปา้ หมายมีระดับความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในระดับดีมาก รอ้ ยละ 74.37 และระดบั ดี รอ้ ยละ 24.68 รวมเปน็ รอ้ ยละ 99.05 (���̅��� = 4.73) ผลการดำเนนิ โครงการบรรลุตามตัวชี้วดั ความสำเร็จตัวช้วี ัดที่ 1 ตามทก่ี ำหนดไว้ 2. กลุ่มเปา้ หมายมีความพงึ พอใจในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 2.1 ดา้ นกิจกรรม : กลุ่มเปา้ หมายมีพงึ พอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมในระดบั ดีมาก รอ้ ยละ 62.5 ระดบั ดี ร้อยละ 36.56 รวมเป็น รอ้ ยละ 99.06 (���̅��� = 4.69) และเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ ส่วนใหญอ่ ยใู่ นระดับดี ความพงึ พอใจในการร่วมกจิ กรรมระดับดีมาก เมื่อเรียงลำดับจากมากไป น้อย ดังน้ี กจิ กรรมโลกใต้เลนส์ (���̅��� = 4.84) กิจกรรมดาราศาสตร์ (ต้ังกล้องดูดาว) ���̅���=4.77) ดาราศาสตร์ (โดมท้องฟ้าจำลองเคล่ือนที่) (���̅��� = 4.73) กจิ กรรมรถนทิ รรศการเคล่ือนท่ี (���̅���=4.72) กิจกรรม Solar Cell (���̅���= 4.69) กิจกรรมวิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน (���̅��� = 4.60) กิจกรรมประดิษฐจ์ รวด ขวดน้ำ (���̅��� = 4.60) กิจกรรมเลนส์นำ้ (พลังงานแสงอาทิตย์) (���̅��� = 4.58) ตามลำดบั 2.2 ด้านกระบวนการ : กลุ่มเป้าหมายมพี ึงพอใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรมในระดบั ดีมาก ร้อยละ 76.25 ระดบั ดี รอ้ ยละ 20.62 รวมเปน็ รอ้ ยละ 96.87 (���̅���= 4.70) และเมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่าสว่ นใหญ่อยู่ในระดับดี ความพึงพอใจในการรว่ มกิจกรรมระดบั ดีมาก เมื่อเรียงลำดบั จากมากไปน้อย ดงั นี้ วทิ ยากรมีความสามารถในการจดั กจิ กรรม (���̅���= 4.93) เนอ้ื หาของการจัดกจิ กรรมมีประโยชน์ (���̅��� = 4.72) กจิ กรรมความมสี ว่ นรว่ มของผรู้ ่วมกิจกรรม (���̅��� = 4.72) อปุ กรณว์ ทิ ยาศาสตร์ (���̅��� = 4.71) กิจกรรมรูปแบบของการจัดกิจกรรมน่าสนใจ (���̅���= 4.67) กจิ กรรมบรรยากาศในภาพรวม (���̅��� = 4.66) เวลาที่ใชใ้ นการจัดกจิ กรรมเหมาะสม (���̅��� = 4.62 ) เอกสาร (���̅��� = 4.59) ตามลำดับ ผลการดำเนินโครงการบรรลุตามตัวช้วี ัดความสำเรจ็ ตวั ชี้วัดท่ี 2 ตามท่ีกำหนดไว้
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรส่สู ถานศกึ ษาในเขตพนื้ ที่บรกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | ช ผลการประเมิน ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการ รูจ้ ักและมีความตอ้ งการเข้ารบั บริการจากศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยาเพิ่มขึ้น ตวั ช้ีวัดความสำเร็จ 1. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความต้องการเข้ารับบริการจาก ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยาอีก (กำหนดไวไ้ ม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 80) ผลการประเมนิ ตามตวั ชี้วดั ความสำเร็จ ปรากฏดังน้ี 1. กลุ่มเป้าหมาย มีระดับความต้องการเข้ารับบริการจากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา พระนครศรีอยุธยาอีก ในระดับดีมาก ร้อยละ 81.56 ระดับดี ร้อยละ 17.5 รวมเป็น ร้อยละ 98.56 (���̅��� = 4.80) ผลการดำเนนิ โครงการบรรลุตามตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ ตัวช้ีวดั ที่ 1 ตามท่กี ำหนดไว้ ผลการดำเนินงานโดยรวม จากผลการประเมินโครงการตามวัตถุประสงค์โครงการ จำนวน 3 ข้อ และตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด ดังที่กล่าวมานั้น พบว่าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเรจ็ ตามตัวชี้วัด ทัง้ หมด จำนวน 5 ตัวชวี้ ดั จึงถือวา่ โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดับดมี าก ตอนท่ี 2. ข้อเสนอแนะในการรว่ มกิจกรรมของกลุม่ เปา้ หมาย ขอ้ เสนอแนะในการร่วมกิจกรรมของกลุม่ เปา้ หมาย เรยี งลำดบั จากมากไปหาน้อย ดงั นี้ 1. กจิ กรรมดมี ีประโยชน์ และไดร้ บั ความรมู้ าก อยากให้จดั อกี รอ้ ยละ 44.72 2. ควรเพมิ่ เอกสารและใบงานประกอบการเรียนรู้ รอ้ ยละ 30.89 3. ควรให้มีวทิ ยากรมากกวา่ นี้ รอ้ ยละ 24.39 ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1.1 ควรดำเนิน “โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ” อยา่ งตอ่ เน่ืองในปีงบประมาณ 2565 1.2 ควรให้กลุ่มบุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์ วางแผน โครงการและตดิ ตามประเมนิ ผลการดำเนนิ โครงการรว่ มกัน 1.3 ควรชี้แจงรายละเอียดโครงการใหห้ นว่ ยงานและผู้เกย่ี วข้องทุกระดบั ไดร้ บั ทราบและ เข้าใจตรงกัน เกี่ยวกับวัตถุประสงค์โครงการ รูปแบบการจัดกิจกรรม การติดตามผล เพื่อจะได้มี แนวทางการปฏิบตั ิไปในทศิ ทางเดียวกัน 1.4 ควรให้ความสำคัญกับการบริหารงานบุคคล ในด้านการคัดสรรบุคลากร การพัฒนา บุคลากรที่ร่วมโครงการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ 1.5 ควรมีคณะนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานตามโครงการอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ และมีการรายงานผลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ พร้อมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำ แก่ผู้รับผิดชอบ โครงการ เพอ่ื ให้ทุกฝ่ายทเ่ี กี่ยวขอ้ งมีความกระตือรอื รน้ ในการดำเนนิ งานโครงการอย่างต่อเนื่อง
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทบ่ี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | ซ 2. ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ัติ 2.1 ควรเพม่ิ จำนวนครงั้ ในการจดั กจิ กรรมและสถานศึกษาให้มากขน้ึ 2.2 ควรใช้กลยุทธ์การจัดการศึกษาร่วม โดยการทำ MOU กับสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษา ท้งั 6 จังหวัดในเขตพน้ื ท่บี ริการ 2.3 รูปแบบการจัดกิจกรรม ควรเปิดโอกาสและประชาสัมพันธ์ ให้สถานศึกษาที่อยู่ใน บริเวณใกล้เคียงมาร่วมกิจกรรมด้วย โดยจัดในลักษณะของเครือข่ายกลุ่มโรงเรียน คัดเลือกโรงเรียน หลกั เปน็ จดุ ต้งั และใหโ้ รงเรียนในกล่มุ มารว่ ม 2.4 ควรเพิ่มเอกสารความรู้และใบงาน เพื่อให้นักเรียนสามารถสรุป องค์ความรู้ ดว้ ยตนเองได้มากขน้ึ 2.5 ควรเพ่มิ จำนวนวิทยากรใหเ้ หมาะกับจำนวนนักเรียนทีม่ าร่วมกจิ กรรม 3. ข้อเสนอแนะเพ่ือการประเมนิ ในคร้งั ต่อไป 3.1 ควรมีการศึกษาผลลัพธ์ (Outcome) หรือผลกระทบ(Impact)ของโครงการ ทั้งกิจกรรมในลักษณะโปรยหว่านและเจาะลึก เพื่อเปรียบเทียบความต่างของกิจกรรมในแต่ละ กิจกรรม ที่มีผลต่อกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ ในลักษณะของการติดตามผล (Follow-up or Tracer Study) เพอื่ ดผู ลสรปุ รวมและประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการอยา่ งแท้จริง เพือ่ ใช้เป็นขอ้ มูลสารสนเทศ ในการกำหนดแนวทางการขยายโครงการ ในพ้ืนทีอ่ ืน่ ตอ่ ไป 3.2 ควรมีการประเมินผลแบบเจาะลึก ทั้งในระดับบุคคล และระดับสถานศึกษา เพื่อค้นหาบุคคลและสถานศึกษาที่เป็น Best Practice ของโครงการ แล้วทำการศึกษาเจาะลึกใน ลักษณะของกรณีศึกษา (Case Study) แล้วถอดบทเรียนเป็นต้นแบบเพื่อการประยุกต์ใช้สำหรับ กลมุ่ สถานศึกษาศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาและเครอื ข่าย ตอ่ ไป
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรสูส่ ถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทบี่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | ฌ สารบญั หนา้ เร่ือง ก ข คำนำ ฌ บทสรปุ ผู้บรหิ าร ฎ สารบญั 1 สารบัญตาราง บทท่ี 1 บทนำ 1 3 หลักการและเหตุผล 3 วัตถปุ ระสงค์การประเมนิ 5 ขอบเขตการประเมิน 5 เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ 6 การวเิ คราะห์ข้อมูล 7 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั 8 บทท่ี 2 เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ ง 8 14 1. ศนู ย์วิทยาศาสตร์ 2. ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา 16 3. โครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพื้นทบ่ี ริการ 20 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 26 4. กระบวนการจัด “โครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพืน้ ท่บี ริการ 30 ประจำปีงบประมาณ 2564” 33 5. แนวคิดเก่ียวกับการประเมนิ 6. แบบจำลองการประเมินผลของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) 33 33 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การประเมิน 35 35 1. รูปแบบการประเมินผล 37 2. ขอบเขตการประเมนิ ผล 39 3. เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ 4. วิธเี กบ็ รวบรวมขอ้ มูล 41 5. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 6. เกณฑ์การประเมิน 41 41 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1. การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 2. ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตรส์ ัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพน้ื ที่บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | ญ สารบัญ (ต่อ) หนา้ เรือ่ ง 48 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 48 50 1. ขอบเขตการประเมินผล 50 2. เครอื่ งมือท่ีใช้ในการประเมนิ 50 3. วธิ เี กบ็ รวบรวมข้อมลู 51 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 52 5. เกณฑ์การประเมิน 54 6. สรุปผลการประเมนิ 57 7. อภิปรายผล 8. ข้อเสนอแนะ 59 61 บรรณานุกรม 123 ภาคผนวก 124 คณะผู้ดำเนินงานโครงการ คณะผ้จู ัดทำรายงาน
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพน้ื ที่บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | ฎ สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า ตารางที่ 2-1 จำนวนประชากรและสถานศึกษา ในเขตพน้ื ท่ีบรกิ าร ของศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา จำแนกรายจงั หวดั 15 ตารางที่ 2-2 จำนวนอำเภอและประชากร ในเขตพ้นื ท่ีบรกิ าร ของศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ เพ่ือการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา จำแนกรายจังหวดั 16 ตารางที่ 2-3 รายช่อื สถานศึกษา/งานทเี่ ข้ารว่ มโครงการรวมทกุ กิจกรรม 23 ตารางที่ 2-4 จำนวนสถานศกึ ษา/งานทเี่ ข้าร่วมโครงการ จำแนกตามเขตจงั หวัดและพื้นท่ีให้บริการ 25 ตารางท่ี 2-5 แผนการใชง้ บประมาณและงบประมาณทใ่ี ชจ้ รงิ จำแนกตามกิจกรรม 25 ตารางท่ี 2-6 จดุ เหมือนและจดุ ตา่ งระหวา่ งการวิจัยและการประเมนิ 28 ตารางท่ี 3-1 แสดงจำนวนประชากรและกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามสถานภาพ 36 ตารางที่ 3-2 เกณฑ์ความสำเร็จตามตวั ช้ีวดั 39 ตารางที่ 4-1 จำนวนและรอ้ ยละของครงั้ ที่จัดกจิ กรรมตามโครงการเมื่อเทียบกับจำนวน ตามเปา้ หมายโครงการ จำแนกตามจังหวัดท่ีอยู่ ในเขตพื้นทบ่ี รกิ าร (กจิ กรรม วิทย์สัญจร) 42 ตารางท่ี 4-2 จำนวนและรอ้ ยละของครัง้ ท่จี ัดกจิ กรรมตามโครงการเมือ่ เทียบกบั จำนวนตามเปา้ หมาย โครงการ จำแนกตามจงั หวดั ทีอ่ ยู่นอกเขตพื้นทีบ่ ริการ (กิจกรรม วทิ ยส์ ญั จร) 42 ตารางท่ี 4-3 จำนวนและรอ้ ยละของคร้ังท่ีจัดกจิ กรรมตามโครงการเมื่อเทียบกับจำนวน ตามเปา้ หมายโครงการ จำแนกตามจงั หวดั ท่ีอย่ใู นเขตพ้นื ที่บริการ และนอกเขต 43 ตารางท่ี 4-4 คา่ เฉล่ียและค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานของกล่มุ เป้าหมายท่ีมีความรูค้ วามเข้าใจ และเกิดทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 43 ตารางที่ 4-5 จำนวนและร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย จำแนกตามระดับความรคู้ วามเข้าใจ และเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 44 ตารางท่ี 4-6 คา่ เฉลย่ี และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลของระดับความพงึ พอใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรม : ดา้ นกจิ กรรม 44 ตารางที่ 4-7 จำนวนและรอ้ ยละของกลมุ่ เป้าหมาย จำแนกตามระดับความพงึ พอใจ ในการรว่ มกจิ กรรม : ด้านกิจกรรม 45 ตารางท่ี 4-8 ค่าเฉลีย่ และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานและการแปลผลของระดับความพึงพอใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรม : ดา้ นกระบวนการ 45 ตารางท่ี 4-9 จำนวนและร้อยละของกล่มุ เป้าหมาย จำแนกตามระดับความพึงพอใจ ในการรว่ มกิจกรรม : ดา้ นกระบวนการ 46 ตารางที่ 4-10 คา่ เฉลย่ี และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลของความต้องการ เข้ารับบริการจากศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยาอีก 46
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรส่สู ถานศึกษาในเขตพ้ืนทบ่ี ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | ฏ สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หนา้ ตารางที่ 4-11 จำนวนและร้อยละของกล่มุ เป้าหมาย จำแนกตามระดับความตอ้ งการ 47 เขา้ รับบรกิ าร จากศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยาอีก 47 ตารางที่ 4-12 ขอ้ เสนอแนะในการรว่ มกจิ กรรมของกลุ่มเปา้ หมาย
บทที่ 1 บทนำ หลักการและเหตผุ ล ปัจจุบัน ประเทศต่าง ๆ ได้มีการพัฒนาทักษะและการแข่งขันกันสูงมากยิ่งข้ึน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นดังกล่าว เมื่อได้มีการศึกษาเชิงลึกแล้วจะพบว่า องค์ประกอบหลัก หรือพื้นฐานของการสร้างความก้าวหน้าของแต่ละประเทศอยู่บนรากฐานของวิทยาศาสตร์ ที่เป็น ตัวจุดประกายและกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาในแต่ละด้าน ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันของนานาประเทศ ในเวทีโลก ได้มีการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถและพื้นฐานด้านต่าง ๆ ของแต่ละประเทศ เพื่อการกำหนดแผน นโยบาย และเป้าหมายในการในการพัฒนาประเทศของตน ในแต่ละระยะ ซ่งึ ความสามารถในการแข่งขนั ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี นับเป็นตัวบ่งช้ีท่ีสำคัญ ท่ีมีผลต่อ ความสามารถ ในภาพรวมของประเทศ (จตพุ ร สทุ ธวิ ิวฒั น์, 2550) คนไทยทุกคนจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (Science Literacy) เนื่องจากโลกในศตวรรษที่ 21 เป็นโลกของเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และกา้ วหน้าสูงขน้ึ ตลอดเวลา ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีที่มีวทิ ยาศาสตร์เป็นพ้ืนฐานน้ัน ได้นำไปสู่ ผลกระทบต่อ วิถีการดำเนินชีวิตในแทบทุกด้าน การเตรียมกำลังคนเพื่อรองรับเทคโนโลยีเหล่าน้ี จำเป็นต้องมใี นคน ทกุ ระดับ ตงั้ แต่ระดับผรู้ ับความรู้ ผูใ้ ช้ และผปู้ รับปรุงพัฒนา การเตรียมกำลังคนหรือประชาชนในชาติเพื่อรองรับโลกในศตวรรษที่ 21 ดังกล่าว จะต้อง ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน เพื่อสร้างสังคมไทย ให้มีการศึกษา ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับประชาชนชาวไทยทุกคน ทุกระดับ ทุกเวลาและ ทุกสถานท่ี อีกทั้งสร้างสังคมไทยให้เป็นสงั คมท่ีเข้าใจและใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดำรงชีวติ ให้คน ในสังคมดำเนินวิถีชีวิตที่เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น โดยการพัฒนาความคิด แบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking) ให้แก่คนไทย อันเป็นเรื่องของการใช้เหตุใช้ผล มีระบบ การคิดค้น มีการคิด พรอ้ มกบั การปฏิบัติ มคี วามพรอ้ มในการพสิ จู น์สิง่ ต่าง ๆ มีความพยายามทจ่ี ะแก้ไข และมีความมุ่งมั่น ที่จะสร้างสิ่งต่าง ๆ สิ่งเหล่านี้จะต้องเกิดทัง้ ในตัวบคุ คล ครอบครัวชุมชน และประเทศชาติ การศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงไม่ใช่เรื่องของสถานศึกษาในระบบโรงเรียนที่จะรับผิดชอบการจัด การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เฉพาะในห้องเรียน สำหรับนักเรียนในสังกัดแต่เพียงหน่วยงานเดียว อีกต่อไป แต่ยังมีแหล่งการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนอีกหลายประเภทที่รับผิดชอบ จัดกิจกรรมการ เรยี นรดู้ ้านวิทยาศาสตรใ์ ห้กบั นักเรียน นักศกึ ษา ทง้ั ในและนอกระบบโรงเรยี น (จติ ตรา มาคะผล, 2545) ศูนย์วิทยาศาสตร์ (Science Center) เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์นอกระบบ โรงเรียน ประเภทหนึ่ง ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการให้ความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แก่บุคคลทั่วไป ทุกกลุ่มเป้าหมาย แนวคิดในการจัดกิจกรรมในศูนย์วิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ทว่ั โลก คอื เน้นให้มกี ารเรียนรอู้ ยา่ งมีสว่ นรว่ มดังคำกลา่ วทว่ี า่ การเรยี นวทิ ยาศาสตร์ควรอยู่บนรากฐาน ของการให้ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน เพราะวิทยาศาสตร์ไม่ได้เป็นเพียงทฤษฎีหรือหลักการเท่าน้ัน
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสูส่ ถานศกึ ษาในเขตพ้นื ทบ่ี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 2 แต่เป็นเรื่องของการปฏิบัติจริงอีกด้วย ดังนั้นการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ควรมุ่งเน้น การประยุกต์ ความรู้จากภาคทฤษฎีไปสู่ภาคปฏิบัติ คือ การสังเกตและการทดลองด้วยตนเองให้ได้ (Mill 1963 : อ้างถงึ ใน ยคุ ล พิรยิ ะกลุ , 2535) ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา เป็นสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาทหน้าที่ภาระสำคญั ในการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ธรรมชาติวิทยา และสิ่งแวดล้อม ให้กับนักเรียน นักศึกษา ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน รวมถงึ ประชาชนทั่วไปด้วย โดยจัดกจิ กรรมเผยแพร่ความร้คู วามเขา้ ใจในรูปของกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เช่น การจัดนิทรรศการถาวร นิทรรศการชั่วคราว การฉายดาว การจัดค่ายวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม การสมั มนา การแสดงการประกวดและแขง่ ขนั ทางวิทยาศาสตร์ และการจัดหน่วยนิทรรศการเคล่ือนที่ เพอื่ บริการกลุ่มเป้าหมายในเขตจังหวัด สงิ หบ์ ุรี ชัยนาท ลพบรุ ี สระบรุ ี อา่ งทอง และพระนครศรีอยุธยา โดยประสานความร่วมมือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน (ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา พระนครศรีอยุธยา, 2552) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ในลักษณะของ การจัดกิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์เคลอ่ื นท่ีไปยังจุดต่าง ๆ ในเขตพนื้ ทบ่ี ริการ โดยการจัดกจิ กรรม การเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเพื่อเป็นการขยายแหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้หลากหลาย เปิดโอกาสและช่องทางการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และอำนวยความสะดวก ให้แก่ผู้รับบริการ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา จึงได้จัดโครงการวิทยาศาสตร์ สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ในปีงบประมาณ 2564 อันถือเป็นโครงการหลักที่สำคัญ โดยจัดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรส์ ัญจร ให้กบั โรงเรยี นในเขตพื้นท่บี ริการ จำนวน 6 จังหวัด คือ สิงห์บุรี ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียน ในสถานศึกษาที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการเรียนรู้ จากกิจกรรมท่หี ลากหลายรูปแบบ และยงั เปน็ การประชาสัมพันธ์ให้กลมุ่ เปา้ หมายที่อยู่ ในพ้นื ทบี่ ริการรู้จักและมีความต้องการเข้ารับบริการจากศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา เพมิ่ ข้นึ เพอื่ ให้ทราบว่าผลการดำเนนิ งานของโครงการ บรรลุวัตถุประสงค์และเปา้ หมาย ที่กำหนดไว้ หรือไม่เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานหรือไม่อย่างไร และเพื่อนำผล การประเมิน มาพิจารณาปรับปรุง ขยายผลและพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สัญจร สามารถดำเนินงานโครงการให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ในปีงบประมาณ 2565 เพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมลู สารสนเทศเก่ียวกับการดำเนินงานโครงการ ท่ีครอบคลมุ แม่นตรง และเช่ือถือได้ สามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ การประเมินโครงการที่ดำเนินการอย่างมีระบบตามระเบียบ วิธีการวิจัย จึงมีความจำเป็นอย่างย่ิง เพราะเป็นรากฐาน ที่สำคัญ ที่จะส่งผลกระทบอันจะนำไปสู่ ความสำเร็จหรอื ความลม้ เหลวของการดำเนินงานโครงการ ในปงี บประมาณตอ่ ไป
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทบี่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 3 ดว้ ยความจำเป็นดังกล่าวศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา จงึ ได้ดำเนินการ ประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยนำแนวคิดรูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) ที่เรียกว่า “แบบจำลองที่ยึด ความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ในการประเมินโครงการครั้งนี้ ซึ่งเป็นการประเมินผลการดำเนินงาน (ผลผลิต/ผลลัพธ)์ โครงการโดยเทียบกบั วัตถปุ ระสงค์ของโครงการเป็นหลัก หากผลการประเมินพบว่า เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการทต่ี ้งั ไว้ กถ็ อื ได้วา่ โครงการนี้ประสบความสำเรจ็ เปน็ ที่นา่ พอใจ วตั ถุประสงคก์ ารประเมิน เพื่อประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษา ในเขตพืน้ ทีบ่ ริการ ประจำปงี บประมาณ 2564 ขอบเขตการประเมนิ การประเมินครั้งนี้เป็นการประเมินเชิงรวมสรุปผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของ โครงการ วิทยาศาสตร์สัญจรสูส่ ถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยกำหนดขอบเขต การประเมนิ ดงั น้ี 1. หน่วยการวิเคราะห์ คือ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 2. รูปแบบการประเมิน ใช้รูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) ที่เรียกว่า “แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ โดยประเมินจากตัวชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ดา้ นผลผลติ และผลลัพธข์ องโครงการ ตามทีก่ ำหนดไว้ ดังน้ี วัตถุประสงค์ ข้อ 1 : เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก แหลง่ เรยี นรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ ตัวชวี้ ดั ความสำเร็จ 1.1 จำนวนครั้งที่จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ (กำหนดไว้ไม่น้อยกว่า 30 ครัง้ ) 1.2 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมสัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ (กำหนดไวไ้ ม่นอ้ ยกวา่ 25,000 คน) วัตถุประสงค์ ข้อ 2 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ตวั ชี้วัดความสำเรจ็ 2.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (กำหนดไวไ้ ม่น้อยกวา่ ร้อยละ 85) 2.2 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม (กำหนดไวไ้ มน่ ้อยกว่า ร้อยละ 85)
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรส่สู ถานศึกษาในเขตพืน้ ทบ่ี ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 4 วตั ถุประสงค์ ข้อ 3 : เพ่อื ให้กลุ่มเปา้ หมายท่ีอยู่ในเขตพืน้ ท่ีบริการรจู้ ักและมีความต้องการ เข้ารบั บรกิ ารจากศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาพระนครศรีอยุธยาเพม่ิ ขน้ึ ตัวชว้ี ัดความสำเร็จ 3.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความต้องการเข้ารับบริการจาก ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยุธยาอกี (กำหนดไว้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85) 3. แหลง่ ขอ้ มลู และกลมุ่ ตวั อย่าง การประเมินคร้ังนก้ี ำหนดแหลง่ ข้อมูล และกลุ่มตวั อย่าง ดงั นี้ 3.1 แหล่งข้อมูล 3.1.1 แหลง่ ขอ้ มลู ประเภทเอกสาร ได้แก่ เอกสารนโยบาย เอกสารโครงการ เอกสาร ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง 3.1.2 แหล่งข้อมูลประเภทบุคคล ไดแ้ ก่ 1) เจ้าหน้าท่ีโครงการ 2) กลุม่ เป้าหมายผู้รับบริการ 3.2 กล่มุ ตัวอย่างและการกำหนดขนาดกลุ่มตวั อย่างผู้ให้ข้อมลู กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้รับบริการกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สัญจร จากสถานศกึ ษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการท้งั หมด จำนวน 21 ครงั้ ประกอบดว้ ย 1) ครูหัวหนา้ หมวดวิทยาศาสตร์จากสถานศึกษา ที่เป็นจุดทีต่ ั้งใหบ้ ริการทุกแห่ง จำนวน 21 คน 2) นักเรียนทีม่ ารับบรกิ าร จำนวน 320 คน กลุ่มครู : ผู้ประเมินดำเนินการเก็บข้อมูลโดยวิธีเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เลือกครูหัวหน้าหมวดวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนที่เป็นจุดที่ตั้งให้บริการ จำนวน 13 จดุ ได้กลมุ่ ตัวอย่าง จำนวน 13 จุด กลุ่มนักเรียน : ผู้ประเมินดำเนินการเก็บข้อมูลจากนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม วิทยาศาสตร์สัญจรทุกครง้ั ทจ่ี ัดกิจกรรม โดยกำหนดขนาดกลมุ่ ตัวอยา่ ง จำนวน 397 คน ณ คา่ ความเช่ือม่ันที่ 95% หรือ α = 0.05 (Yamane,1967 : อ้างถึงใน ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2540) จากประชากร นักเรียนทั้งหมด 16,496 คน แล้วสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ใช้จุดที่ตั้งให้บริการเป็นชั้น โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างนักเรียนแยกตามจุดที่ตั้งให้บริการ และทำการสุ่ม อย่างง่าย (Simple Random Sampling) จากจำนวนนักเรียนแต่ละจุดที่ตั้งให้บริการตามสัดส่วน ของจำนวนสมาชกิ ประชากรยอ่ ยในแตล่ ะจุดทีต่ ง้ั ให้บรกิ าร โดยใช้สูตรดังนี้ จำนวนกลุ่มตัวอยา่ งในแตล่ ะจุดท่ตี ั้งให้บริการ = จำนวนกลมุ่ ตวั อยา่ งทั้งหมด × จำนวนกลมุ่ ประชากรในแต่ละจดุ ทต่ี ั้งให้บรกิ าร กลมุ่ ประชากรในแตล่ ะจุดที่ตัง้ ใหบ้ รกิ าร เม่อื คำนวณจำนวนกลุ่มตวั อย่างในแต่ละจุดให้บริการแล้ว เมือ่ มเี ศษต้ังแต่ 0.5 ขึ้นไปปดั เศษ เป็นหนึ่ง แตเ่ ม่ือมีเศษน้อยกวา่ 0.5 ลงมา ปัดเศษทิ้ง
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ทีบ่ ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 5 เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการประเมนิ ใช้การเกบ็ ข้อมูล 2 วธิ ี คอื 1) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ใช้แบบบันทึกข้อมูลจำนวนสถานศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย ทีร่ ว่ มกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพนื้ ท่ีบรกิ าร 2) การรวบรวบข้อมูลด้วยเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม มีทั้งปลายปิด ปลายเปิด และมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) ที่ผู้ประเมิน ได้สร้างขึ้นและ ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหาและการสื่อความหมายโดยผูเ้ ช่ยี วชาญจำนวน 5 ทา่ น แบง่ เป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลเบ้อื งตน้ ของผู้ตอบแบบประเมิน ตอนที่ 2 การประเมนิ ผลการดำเนนิ การและการจดั กจิ กรรม 5 ระดบั คอื ดมี าก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ และตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเป็นคำถามปลายเปิด วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบประเมินเชิงผลสรุปการจัดกิจกรรม เก็บข้อมูล ในระหว่างที่จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร ระหว่างวันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 - 5 เมษายน 2564 จัดส่งแบบประเมิน ให้กลุ่มเป้าหมายครูหัวหน้าหมวดวิทยาศาสตร์ จำนวน 30 ฉบับ นักเรียน ท่ีเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 320 ฉบับ รวม 341 ฉบับ ได้รับแบบประเมินกลับคืน จำนวน 341 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100.00 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติดงั นี้คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความ เบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีเกณฑ์คุณภาพในการแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ ของเบสทแ์ ละคาหน์ (Best & Kahn, 1993) ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51 - 5.00 การจดั กจิ กรรมอยู่ในระดบั ดีมาก คะแนนเฉลี่ย 3.51 - 4.50 การจดั กจิ กรรมอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลยี่ 2.51 - 3.50 การจัดกจิ กรรมอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนเฉลีย่ 1.51 - 2.50 การจดั กจิ กรรมอยู่ในระดบั ต้องปรบั ปรงุ คะแนนเฉล่ยี 0.00 - 1.50 การจัดกจิ กรรมอยู่ในระดบั ต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน สำหรับเกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน ผู้ประเมินได้แบ่งเกณฑ์การตัดสิน และระดับ ผลการประเมิน เป็น 5 ระดับ คือ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง และต้องปรับปรุงเร่งด่วน เพื่อให้ การประเมินโครงการคร้ังน้ีสอดคล้องกบั เกณฑ์ และตวั ชี้วดั ของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตรส์ ัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพนื้ ทบ่ี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 6 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ การประเมิน“โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปี งบประมาณ 2562 มีนยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ดงั น้ี 1. โครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 หมายถึง โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพ่ือการศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา ดำเนินการในเขตพ้ืนทบี่ ริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 2. กิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร หมายถึง กิจกรรมการเรียนรู้ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยุธยาใหบ้ รกิ ารแกส่ ถานศกึ ษาในโครงการ ประกอบด้วย 1) รถนิทรรศการเคลอื่ นที่ (วิทยาศาสตรม์ หศั จรรย)์ 2) วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3) โลกใต้เลนส์ 4) เลนส์นำ้ (พลังงานแสงอาทิตย์) 5) Solar Cell 6) ดาราศาสตร์ (โดมทอ้ งฟา้ จำลองเคล่ือนท)ี่ 7) การประดษิ ฐ์จรวดขวดน้ำ (แรงและการเคลอื่ นท)ี่ 8) ดาราศาสตร์ การบรรยาย และฝกึ ปฏบิ ัตดิ ูดาวจากกล้องดูดาว 3. เขตพื้นที่บริการ หมายถึง เขตพื้นที่บริการ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ประกาศ ณ วันที่ 10 มีนาคม 2551 โดยให้ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบพื้นที่บริการ จำนวน 6 จังหวัด คือ สิงห์บุรี ชัยนาท ลพบุรี สระบรุ ี อ่างทอง และพระนครศรีอยธุ ยา 4. สถานศกึ ษาทีเ่ ปน็ จดุ ท่ตี ง้ั ให้บริการ หมายถึง สถานศึกษาสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่บริการ ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา เลือกให้เปน็ จุดท่ตี งั้ บริการในโครงการโดยเลือกจากท้งั 6 จังหวดั รวม 40 โรง 5. การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการวิจัย เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นจริงและเชื่อถือได้ แล้ววิเคราะห์ข้อมูลของการดำเนินโครงการ เพื่อพิจารณาบ่งชี้ให้ทราบถึงจุดเด่นหรือจุดด้อยของโครงการนั้น และตัดสินว่าโครงการนั้น บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ แล้วตัดสินใจว่าจะปรับปรุงแก้ไขโครงการเพื่อดำเนินงานต่อไปอย่างไร หรือจะยตุ ิโครงการน้ันเสีย สำหรับการประเมินครั้งน้ี ใช้การประเมินเชิงรวมสรุปผล โดยใช้แบบจำลอง โดยนำแนวคิด รปู แบบการประเมนิ ของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler)ที่เรยี กวา่ “แบบจำลองทยี่ ดึ ความสำเร็จของ จุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ในการประเมินโครงการคร้ังนี้ ซึ่งเป็นการประเมินผลการดำเนินงาน (ผลผลิต/ผลลัพธ)์ โครงการโดยเทียบกับวัตถุประสงคข์ องโครงการเป็นหลัก
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพนื้ ท่ีบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 7 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ทราบผลการดำเนินงานตามโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษา ในเขตพืน้ ทีบ่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ 2564 วา่ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์หรือไม่ เพยี งใด 2. เพื่อทราบปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของการดำเนินงานโครงการวิทยาศาสตร์ สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพืน้ ท่ีบริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 3. ได้ข้อมูลและสารสนเทศที่สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการขยายผลและพัฒนา การดำเนินงานโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2565 ทีเ่ หมาะสม มคี วามเปน็ ไปได้เพอื่ ให้การดำเนินโครงการมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลยิ่งข้ึนต่อไป
บทท่ี 2 เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎที เี่ กี่ยวข้อง การประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปี งบประมาณ 2564 ครั้งนี้ ผู้ประเมินได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนำเสนอเป็น 6 ตอน ดังน้ี 1. ศูนย์วิทยาศาสตร์ : รูปแบบใหม่ของพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ และบทบาททางการศึกษา ของศูนย์วทิ ยาศาสตร์ 2. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา 3. โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพื้นท่ีบริการ ประจำปงี บประมาณ 2564 4. กระบวนการจัดโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปี งบประมาณ 2564 5. แนวคดิ เก่ยี วกบั การประเมนิ 6. แบบจำลองการประเมินผลแบบราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler)ท่ีเรยี กวา่ “แบบจำลองที่ ยึดความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) 1. ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ 1.1 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์ : รูปแบบใหมข่ องพพิ ิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ (Science Center) หรือศนู ย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Center) ในความหมายเดียวกัน เป็นพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์รูปแบบใหม่ซ่ึงเกิดขึ้นเปน็ จำนวนมากในประเทศสหรัฐอเมรกิ าในรอบ 50 ปที ี่ผา่ นมา และภายในระยะเวลาไมน่ านนกั พิพิธภัณฑ์ รูปแบบนี้ก็ได้รับความนิยมสูงสุด ศูนย์วิทยาศาสตร์กว่า 300 แห่ง ในสหรัฐอเมริกามีผู้ชมถึง ปีละ 115 ลา้ นคน ซ่งึ มากขนึ้ ถึง 3 เทา่ จากเมื่อ 10 ปีที่แลว้ (Bjerklie, 1999 : อ้างถงึ ใน จิตตรา มาคะผล , 2545) และถือได้ว่ามีประสิทธิภาพสูงสุดไปทั่วโลก ลักษณะของพิพิธภัณฑ์รูปแบบนี้ที่แตกต่าง ไปจากพิพิธภัณฑ์ในลักษณะดั้งเดิม (Traditional Museums) คือ มีการให้ความรู้ความเข้าใจแก่คน ท่ัวไปในเรอ่ื งของวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม และการแพทย์ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่สนุกสนาน ได้ทั้งความรู้และความบันเทิง และสิ่งท่ี น่าสนใจทีส่ ดุ คอื การใชเ้ รอ่ื งราวในปัจจุบนั มากกวา่ ท่จี ะเป็นประวตั ิศาสตร์ นิทรรศการทจ่ี ัดแสดงเน้น การเปิดโอกาสให้ผู้ชมมีส่วนร่วมสัมผัส ทดลอง จับต้อง ด้วยตนเอง (hands-on exhibits) มากกว่า การจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ์ที่มีค่า (Danilov, 1982 : อ้างถึงใน จิตตรา มาคะผล, 2545) โดยทั่วไป แล้วการจัดกิจกรรมในศนู ย์วิทยาศาสตร์มักไม่ต้องมีนักวิชาการเฉพาะด้านหรือภัณฑารักษ์ (curator) มาคอยดูแล และไม่ได้เน้นหนักในเรื่องงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ จึงเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชน ทว่ั ไปทไ่ี มม่ ีความรูพ้ ้นื ฐานด้านวิทยาศาสตรล์ กึ ซึง้ มากนักไดเ้ ขา้ ไปเรียนรู้ในศนู ยว์ ิทยาศาสตร์
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพนื้ ท่บี ริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 9 ศนู ย์วิทยาศาสตร์จำนวนมาก โดยเฉพาะในต่างประเทศ มักใชช้ ือ่ ที่แสดงถงึ ความมีชีวิตชีวา และกระตุ้นความสนใจของเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้เรียนรู้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างของ ช่อื ต่าง ๆ เหลา่ นั้น เชน่ Discovery Place, Discovery Center, Exploratorium, Exploreum, Hall of Science, Imaginarium, Impression 5 , Institute of Science, Omniplex แ ล ะ Science Station (Danilov ,1990 : อ้างถึงใน จิตตรา มาคะผล, 2545) ศูนย์วิทยาศาสตร์บางแห่งเดิมจัดตั้งขึ้นเป็นพิพิธภัณฑ์ทางธรรมชาติ มีลักษณะ การจัดนิทรรศการแบบดั้งเดิม (Traditional Museum) แต่ภายหลังได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบมาสู่ การจัดนิทรรศการที่เน้นให้ผู้ชมมีส่วนร่วม สนุกสนาน และเร้าใจ ตัวอย่างเช่น Science Museums of Minnesota ที่เมืองเซนต์ปอล (St.Paul) ซึ่งจัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1907 Rochester Museum and Science Center ในเมืองนิวยอร์ค จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ.1912 และ Cranbrook Institute of Scienceในเมืองมิชิแกน ซึ่งจัดต้ังขนึ้ ในปี ค.ศ. 1930 (Danilov, 1990 : อ้างถงึ ใน จิตตรา มาคะผล, 2545) 1.2 บทบาททางการศกึ ษาของศูนย์วทิ ยาศาสตร์ บทบาทที่สำคัญและเป็นวัตถุประสงค์หลักในการจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์ คือ บทบาท ในการให้การศึกษา (Allmon 1994, Chizar, Murphy and liff 1990, Conway 1982, : อ้างถึง ในจิตตรา มาคะผล, 2545) โดยเป็นแหล่งความรู้ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปได้เพิ่มเติม ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและธรรมชาติรอบตัว ในศูนย์วิทยาศาสตร์ มีการจัดแสดงนิทรรศการในเนื้อหาและเรื่องราวที่หลากหลาย มีทั้งการแสดงปรากฏการณ์ ทางวิทยาศาสตร์การจัดแสดงวัตถุตัวอย่าง เครื่องจักรกลและอุปกรณ์เครื่องมือต่าง ๆ รวมไปถึง การจัดแสดงผลงานของนักวิทยาศาสตร์ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และความรู้เกี่ยวกับจักรวาล และตวั เรา ตวั อย่างเช่น ปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ เรอื่ งเกย่ี วกบั ชีวิตมนุษย์และพฤตกิ รรมของสัตว์ เป็นต้น นิทรรศการดังกล่าวข้างต้นของศูนย์วิทยาศาสตร์ มีลักษณะที่จะสามารถกระตุ้นผู้ชม ให้เกิดปฏิสัมพันธ์กับตัวนิทรรศการ โดยให้ผู้ชมเกิดคำถาม อันเป็นการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ด้วยตนเอง ตัวนิทรรศการมักถูกออกแบบให้จัดแสดงปรากฏการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งในธรรมชาติ หรือกระบวนการตามปกติของธรรมชาติ ที่ซับซ้อน โดยแยกปรากฏการณ์หรือกระบวนการนั้น ๆ ให้โดดเด่นออกมาจากปรากฏการณร์ อบ ๆ เพื่อให้ผู้ชมเกิดความอยากรู้ อยากทดลอง ได้ทดลองทำดู และในที่สุดเกิดความรู้ความเข้าใจในส่ิงน้ัน ๆ นอกเหนือจากบทบาทในการให้ความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์ยังเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สามารถกระตุ้นให้เกิดเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ได้จากศูนยว์ ิทยาศาสตรส์ ามารถทำใหผ้ ชู้ มท้ังเด็กและผู้ใหญ่เกิดความอยากรู้ อยากเห็น และชอบที่จะค้นหาคำตอบ หลายคนพบว่าหลังจากที่พวกเขาเข้าชมศูนย์วิทยาศาสตร์แลว้ พวกเขาเริ่มสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัวซึ่งเป็นพฤติกรรม ที่ไม่เคยทำมาก่อน และพวกเขาสามารถเข้าใจ ปรากฏการณ์ต่าง ๆไดช้ ดั เจนและลกึ ซ้งึ ขนึ้ กวา่ เดิม เนื่องจากศูนย์วิทยาศาสตร์มีบทบาทในการให้การศึกษา เราจึงจัดศูนย์วิทยาศาสตร์ เป็นสถาบนั การศกึ ษานอกโรงเรยี น (Nonformal Institutions) เช่นเดียวกับสถานทีอ่ ื่น ๆ ที่มีลักษณะ คล้าย ๆ กัน เช่น พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ สถานเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ซึ่งถือเป็น แหล่งเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน ที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าชมมีการเรยี นรู้ตลอดชีวิต (Schroeder, 1970 : อ้างถึงใน จิตตรา มาคะผล, 2545) การจัดการศึกษาในศูนย์วิทยาศาสตร์มีลักษณะที่แตกต่างไปจาก
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศึกษาในเขตพนื้ ท่บี ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 10 การศึกษาในระบบโรงเรียนซึ่งอาจมีขอบเขตจำกัดบางอย่าง ศูนย์วิทยาศาสตร์สามารถจัดโปรแกรม และกิจกรรม ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะต่าง ๆ จึงทำให้สามารถเข้าถึงกลุ่มครอบครัวชมุ ชน เยาวชน สตรี และกลมุ่ คนท่ีไมไ่ ด้เป็นผู้ทีศ่ ึกษาหรือทำงานดา้ นวทิ ยาศาสตร์โดยตรง ถึงแม้ศูนย์วิทยาศาสตร์จะเป็นแหล่งเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน แต่สื่อการเรียนรู้ ในศูนย์วิทยาศาสตร์ใช้สำหรับการสอนในโรงเรียนได้เป็นอย่างดี ครูสามารถใช้นิทรรศการ เป็นสื่อการสอน หรือจัดทำใบงานให้นักเรียนค้นหาคำตอบในขณะที่เข้ามาร่วมกิจกรรมกับ ศูนย์วิทยาศาสตร์ และใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนาสื่อการสอนในชั้นเรียนได้ ศูนย์วิทยาศาสตร์ จำนวนมากมีโปรแกรมสำหรับพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ ทั้งก่อนเข้าทำงาน (Pre-service) และในขณะ ประจำการอยู่(In-service) นอกจากนี้ศูนย์วิทยาศาสตร์หลายๆ แห่งยังจัดให้มีห้องสมุด ศนู ยส์ ารสนเทศฟลิ ์ม หอ้ งแสดงสาธติ ทางวิทยาศาสตร์ ฯลฯ เพ่ือให้ผสู้ นใจได้ค้นคว้าข้อมูลเพ่ิมเติมอีก ด้วย ถือได้ว่าศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถตอบสนองการศึกษาในระบบโรงเรียน โดยเป็นแหล่งสนับสนุนทรัพยากรที่เป็นสื่อการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเนื้อหา ของนิทรรศการส่วนใหญ่ ในศูนย์วิทยาศาสตร์สอดคล้องกับหลักสูตรในโรงเรียน โดยเฉพาะ ระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา จากผลการสำรวจแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามอัธยาศัย ( A National Survey of Institutions of Informal Science Education 1994) ของสหรัฐอเมริกาจำนวน 440 แห่ง ซึ่งประกอบด้วยพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ สวนสัตว์ สถานเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา สวนพฤกษศาสตร์ ท้องฟ้าจำ ลอง พิพิธภัณฑ์เด็ก และศูนย์ศึกษาธรรมชาติ พบว่าร้อยละ 75 มีการจัดเพื่อสนับสนุนการศึกษาในระบบโรงเรียนโดยเห็นว่าเป็นภารกิจหนึ่งที่มีความสำคัญ โดยแต่ละแห่งสนับสนุนโรงเรียนประมาณ 50 แห่ง และครูประมาณ 1,000 คน ในรูปแบบของ การจัดให้นักเรียน เข้ามาชมและทำกิจกรรมต่าง ๆ เป็นหมู่คณะ หรือการมีหน่วยบริการเคลื่อนที่ เข้าไปจัดกิจกรรมให้เด็กนักเรียนถึงในโรงเรียน การฝึกอบรมครู ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ทั้งการฝึกปฏิบัติการและให้คำปรึกษา รวมถึงสนับสนุนสื่อชุดทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ (American Science Technology Association 2000) นอกเหนือจากการสนับสนุนการศึกษาในระบบโรงเรียน ศูนย์วิทยาศาสตร์ ยังอำนวย ประโยชน์แก่นักศึกษาที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่งประสบปัญหาต่าง ๆ ในการเรียนการสอน ด้านวิทยาศาสตร์ ทั้งปัญหาขาดแคลนครูผู้สอน ขาดแคลนอุปกรณ์การเรียนการสอน แม้แต่ ห้องปฏิบัติการ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2541) การใช้ประโยชน์จาก ศูนย์วิทยาศาสตร์จะช่วยให้ปัญหาเหล่านี้ลดน้อยลง โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในศูนย์วิทยาศาสตร์ทดแทน ท้ังเนื้อหานิทรรศการและการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรและเป้าหมายในการเรียน เชน่ เดียวกบั นักเรียนในระบบโรงเรยี น นอกจากนี้ การปฏิรูปการศึกษาในประเทศไทยตามนัยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ก็ได้เปิดโอกาสให้ศูนย์วิทยาศาสตร์ทำหน้าที่เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ต่อความพยายามในการนำองค์ความรู้และการบริการทางวิชาการใน ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์มาเช่อื มโยงกบั ระบบการศึกษามากข้ึน โดยการนำความรทู้ ่ีเกิดจากศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ ซึง่ เป็นแหลง่ เรียนรู้ตามอัธยาศัยเทียบโอนมาสู่การศึกษาในระบบ (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสสู่ ถานศึกษาในเขตพ้ืนทบ่ี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 11 แห่งชาติ, 2542) สำหรับผู้ที่ไม่ได้กำลังศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน ศูนย์วิทยาศาสตร์ เป็นแหล่งเรียนรตู้ ลอดชวี ิตที่เปดิ โอกาสใหบ้ ุคคลทุกกลุ่มเป้าหมายทุกเพศ ทุกวัย ไดเ้ ข้ามาแสวงหาความรู้ ขอ้ มลู ข่าวสาร และฝกึ ทกั ษะ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอันจำเป็นสำหรบั การดำรงชีวิตได้ตลอด ชวี ิตของเขา เมอื่ ใดกไ็ ด้เท่าท่เี ขาตอ้ งการ 1.3 การร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้กับศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นสถานศึกษาแต่ไม่ใช่โรงเรียนศูนย์วิทยาศาสตร์สามารถจัดรูปแบบ การเรียนรู้ที่แตกต่างและทำได้ยากในโรงเรียน นักการศึกษานักวิทยาศาสตร์ และนักออกแบบ ต่างก็ตระหนักดีว่าพวกเขากำลังจัดการศึกษา อย่างไรก็ตามลักษณะที่แท้จริงและขอบเขต ของกจิ กรรมการเรยี นรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์ก็ยังไม่เป็นท่ีเข้าใจมากนักงานวิจัยเก่ียวกับประสบการณ์ การเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่ทำยาก เนื่องจากลักษณะของนิทรรศการที่เน้น การมีปฏิสัมพันธ์ของผู้ชม และไม่ต้องมีคำอธิบาย พื้นฐานความรู้และภูมิหลังที่แตกต่างกันของผู้ชม และรูปแบบทหี่ ลากหลายของศูนย์วิทยาศาสตร์เอง การศกึ ษาวิจัยเรื่องการเรียนรู้ในศนู ย์วิทยาศาสตร์ มักเป็นการศึกษาพฤติกรรมของผู้ชมหรือการสัมภาษณ์ผู้ร่วมกิจกรรมในประเด็นต่าง ๆ ผลจาก การศึกษาทำให้เข้าใจพฤติกรรมของผู้ร่วมกิจกรรมศูนย์วิทยาศาสตร์ และได้รู้ว่าควรออกแบบ นิทรรศการและคำอธิบายอย่างไร ลักษณะของงานวิจัยในปัจจุบันจึงเป็นเพียงการหารูปแบบ การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับศูนย์วิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตามด้วยลักษณะต่าง ๆ เหล่านี้เองที่ทำให้ ศูนย์วิทยาศาสตร์น่าสนใจ และหากได้ทำการศึกษาวิจัยในเรื่องของประสบการณ์การเรียนรู้ใน ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ็จะเป็นสง่ิ ทีม่ ีคณุ ค่าอย่างย่ิง การจัดการเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์ สามารถจัดได้ในหลายลักษณะ กิจกรรม บางประเภทเป็นการเรยี นร้อู ย่างเปน็ ทางการ (formal learning) เชน่ การฝึกปฏิบัติการ (workshop) การบรรยาย (lectures) การจัดชั้นเรยี น (classes) และการแสดง (shows) เนอ่ื งจากกิจกรรมเหล่าน้ี มีหลักสูตร มีวัตถุประสงค์และแบบแผนการเรียนรู้ที่แน่นอน ควบคุมโดยผู้จัดกิจกรรมบางประเภท เป็นการจัดการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ (non-formal learning) ซึ่งดำเนินการโดยเจ้าหนา้ ที่ เชน่ การนำชมพร้อมอธิบาย (tours) แผ่นป้ายคำอธิบาย (information signage) นิทรรศการ และ กิจกรรมการทดลองต่าง ๆ (exhibits/interactive displays) และการที่ผู้ชมแต่ละคนเข้าชม ศนู ย์วิทยาศาสตร์ดว้ ยตนเอง และเลอื กทีจ่ ะเรียนรู้อะไรบ้างในศูนย์วิทยาศาสตร์น้ัน ถือเป็นการศึกษา ตามอัธยาศัย (informal learning) (Deim, 1994) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า การเรียนรู้ในศูนย์วิทยาศาสตร์น้ัน เป็นทั้งการเรียนรู้อย่างเป็นทางการ เป็นทั้งการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการและเป็นทั้งการเรียนรู้ ตามอัธยาศยั (Heimlich, 1996) บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่า การเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาตามอัธยาศัย เนื่องจากเป็น การเรียนรู้ด้วยความสมัครใจของตนเอง เป็นการชี้นำตนเองโดยได้รับการจูงใจ ให้มีความสนใจใฝ่รู้ เกิดความสงสัย การคิดค้นหาคำตอบ และสร้างสรรค์จินตนาการจาก การชมนิทรรศการ ผู้ชมเป็นผู้ตัดสินใจและจัดโปรแกรมของตนเองในการชมนิทรรศการ โดยได้รับประโยชน์ตอบแทนเป็นความรู้ และความบันเทิง หรือทั้งสองอย่าง กิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัยส่วนใหญ่ที่จัดนั้น มักเน้นการมีส่วนร่วมในการค้นหาคำตอบและเปิดโอกาสให้มี ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ หรือเป็นกิจกรรมที่ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ร่วมกิจกรรมได้
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทบี่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 12 ซึ่งจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างครอบครวั พ่อ แม่ ลูก เป็นการสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ ตามอัธยาศัย อันเป็นสิ่งที่ ตลอดชีวิตของแต่ละบุคคล จะพบกับบรรยากาศเช่นนี้มากมายกว่า การเรียนรใู้ นโรงเรียน (National Science Foundation, 1999) 1.4 ลกั ษณะของกิจกรรมการเรยี นรใู้ นศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ ยุคล พิริยะกุล (2535) กล่าวถึงลักษณะของการจัดกิจกรรมการศกึ ษาใน ศูนย์วิทยาศาสตร์ ไว้ดงั นี้ 1. ผูเ้ รียนสามารถเลือกเรียนรู้เน้อื หาสาระหรือกิจกรรมต่าง ๆ ไดด้ ้วยตนเองตามความพอใจ โดยผูอ้ ำนวยความสะดวกจะไม่เข้ามามีส่วนในการควบคมุ สั่งการ หรือกำหนดให้ ผเู้ รยี นปฏิบตั ติ าม 2. เปน็ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ท่ผี เู้ รยี นสามารถเรยี นได้โดยไม่จำกดั เวลาเรียนได้ตามความพอใจ และความสนใจของผู้เรียน อาจมีผู้อำนวยความสะดวกทำหน้าที่กระตุ้นความสนใจ และช่วยเหลือ ให้ผเู้ รียนสามารถหาคำตอบจากปัญหาตา่ ง ๆ โดยการคน้ พบด้วยตนเอง 3. อุปกรณ์หรือสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่จัดสร้างขึ้น ควรมุ่งเน้นให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินผสมผสานไปกับเนื้อหาสาระทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้เรียนจะเกิดความรู้สึกตื่นเต้นและ อยากจะแสวงหาความรูอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องกันไปโดยไมร่ ูส้ ึกเบอ่ื หน่าย 4. เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เรียนด้วยกัน หรือเด็กกับ ผู้ใหญ่ สามารถเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกันได้โดยเปิดเผย ภายใต้บรรยากาศของความเป็นเพื่อน และการเป็นมติ รทด่ี ีต่อกนั 5. เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 กล่าวคือสามารถ ไดย้ ินดว้ ยหู เหน็ ด้วยตา สมั ผัสดว้ ยมอื และดมกลิ่นไดด้ ว้ ยจมูก เป็นต้น ไม่ใชก่ ารเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีสิทธิ แค่เพียงการดูด้วยตา เช่น กิจกรรมในพิพิธภัณฑ์แบบดั้งเดมิ จากคำกล่าวต่าง ๆ ข้างต้น พอสรุปได้ว่า การเรียนรู้ในศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการแตะต้อง สัมผัส ทดลอง แสวงหา ปัญหาและค้นพบวิธีแก้ปัญหา ตลอดทั้งเรียนรู้และเข้าใจกฎเกณฑ์หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ ดว้ ยตนเอง ส่ือการเรยี นรู้ทใี่ ช้ในศนู ย์วทิ ยาศาสตร์จะมีลักษณะของความมีชีวติ ชวี า เชญิ ชวน และท้าทาย ให้เกิดการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาหลากหลายรูปแบบเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือก ดำเนนิ กิจกรรมได้หลากหลาย ตามระดับความสามารถและความสนใจ ของตนทีต่ า่ งกัน ซง่ึ สอดคล้อง กับที่ Screven (1976, : อ้างถึงใน ยุคล พิริยะกุล, 2535) กล่าวว่า พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้ ซ่งึ มีการจัดสภาพแวดล้อมใหผ้ ูช้ มมีโอกาสเลือกท่ีจะเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง 1.5 หลักการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของศนู ย์วิทยาศาสตร์ หลักการหรือทฤษฎีทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในศูนย์วิทยาศาสตร์ซึ่งมีลักษณะที่น่าสนใจแตกต่างไปจากในระบบโรงเรียน ที่พอจะกล่าวถึง ไดม้ ีดว้ ยกัน 4 ขอ้ ข้อแรกคือความอยากรู้อยากเห็นซึ่งถือเปน็ แรงจูงใจภายในของบุคคล ข้อท่ีสอง คือ รูปแบบที่หลากหลายของการเรยี นรูใ้ นศนู ยว์ ิทยาศาสตร์ข้อสามคือกระบวนการเรียนรู้ ที่เป็นการเล่น และสำรวจคน้ หา และข้อสุดท้ายคือมุมมองทางด้านวิทยาศาสตร์ท่ีดีข้ึนของบุคคล ท่วั ไป (Semper, 1990)
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพนื้ ทีบ่ รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 13 หลักข้อแรกคือนิทรรศการหรือกิจกรรมในศูนย์วิทยาศาสตร์มีลักษณะที่สนุกสนาน ในการเรียนรู้และท้าทายความสามารถ อันเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดความอยากรู้อยากลอง ซึ่งแรงจูงใจ ภายใน (Intrinsic Motivation) ดังกล่าวนี้ มักถูกละเลยและไม่ให้ความสำคัญในการจัดการศึกษา ในระบบโรงเรียน โดยในโรงเรียนจะใช้รางวัลมาเป็นสิ่งจูงใจ(Extrinsic Motivation) เช่น ปริญญาบัตร ผลการสอบ คำรับรองจากครู หรืออาชีพการงานในอนาคต จนทำให้ธรรมชาตขิ องความอยากรู้อยาก เห็นในเด็กลดลง ผู้ที่เข้ามาชมศูนย์วิทยาศาสตร์ไม่ต้องทำข้อสอบ ไม่ได้รับผลการสอบ ไม่ต้องพบกับ คำว่าสอบไม่ผ่าน แต่ประสบการณ์ที่ได้จากศูนย์วิทยาศาสตร์อาจจุดประกายความคิดใหม่ ๆ ขึ้นใน ห้องเรียนได้ หรืออาจกลายเป็นหัวข้อสนทนากับเพื่อนหรือกับครอบครัวในเวลาต่อมา แรงจูงใจ จากภายในดังกล่าวซึ่งก็คือความสนใจใคร่รู้ ความสนุกสนานในการเรียนรู้ และอยากเอาชนะความท้าทาย จะมีผลให้สามารถเรียนรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการคิดอย่างมีเหตุมีผล ผ่านกิจกรรม การเรียนรูท้ ่สี นุกสนานในศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่กระตุ้นความอยากรู้อยากลองเป็นเรื่องที่ทำได้ไม่ยาก Mihaly Criszentmihalyi ไดท้ ำการศึกษากจิ กรรมท่ีมลี ักษณะดังกล่าวโดยศึกษาจากกิจกรรมปีนหน้าผา และเล่นหมากรุก ผลจากการศึกษาพบว่า กิจกรรมเหล่านั้นจะประสิทธิผลต่อเมื่อไม่ยากเกิน ความสามารถมากนัก และต้องมีผลตอบรับในทันที หากเป็นกิจกรรมที่ง่ายเกินไปก็จะไม่น่าสนใจ หรือถ้ายากเกินไปจนผู้ชมเกิดความรู้สึกว่าไม่สามารถทำได้สำเร็จก็เช่นกัน ศูนย์วิทยาศาสตร์ จึงควรจัดนิทรรศการซึ่งตอบสนองความสนใจและความสามารถของบุคคลในระดับต่าง ๆ กัน นิทรรศการแต่ละชิ้นไม่จำเปน็ ตอ้ งเป็นทสี่ นใจของทกุ คน หลักการข้อที่สองคือการเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสที่หลากหลาย นิทรรศการที่ดีใน ศนู ย์วทิ ยาศาสตรค์ วรเปดิ โอกาสให้ไดใ้ ช้ความสามารถหลายรปู แบบ ตัวนทิ รรศการควรสะดุดตามองดู น่าสนใจ มีรูปร่างสวยงาม ในขณะเดียวกันอาจเคล่ือนไหวได้ เช่น ใช้มือหมุน มีเสียงแสดงการทำงาน หรอื เสียงประกอบทต่ี ่ืนเต้นเร้าใจ ตัวอยา่ งเชน่ การจดั นิทรรศการเรอื่ งสนามแม่เหล็ก ซึ่งอาจเปน็ เรอ่ื งที่ บางคนคิดว่ายาก ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับวชิ าฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ การเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพียงใหผ้ ูช้ มถือแทง่ แมเ่ หล็ก 2 แท่ง ในระยะใกล้ ๆ กัน คั่นกลางดว้ ยวัสดุ ชนิดตา่ ง ๆ เชน่ กล่องทราย ผ้า อากาศ เพื่อให้รู้สึกถึงความแรงของสนามแม่เหล็กที่แตกต่างกันอันทำให้เกิดความเข้าใจ เรื่องอำนาจแมเ่ หล็กได้ หลักการข้อสามคือลักษณะของการจัดนิทรรศการหรือกิจกรรมที่เป็นการเล่น (Playing) และการสำรวจค้นคว้า (Exploring) ซึ่งกระบวนการนี้มักจะถูกมองข้ามไป หลายคน ยังมีความคิดว่า การเล่นเป็นกิจกรรมสำหรับเด็กหรือบุคคลที่ไม่ค่อยมีสาระ ศูนย์วิทยาศาสตร์ที่มีบรรยากาศใน การเรียนรู้ที่สนับสนุนวิธีการนี้จึงมักทำให้ถูกเข้าใจผิดว่าเป็นสถานที่สำหรับเด็ก ๆ อย่างไรก็ตาม ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ถอื ว่าการเลน่ มบี ทบาทสำคัญทีท่ ำให้บุคคลได้พัฒนาทักษะในการสังเกต ทดลองและ ทดสอบความคิดสร้างสรรคต์ ่าง ๆ ทำให้เกิดการคน้ พบใหม่ ๆ
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพืน้ ที่บรกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 14 จากการศึกษาพฤติกรรมของผู้ชมนิทรรศการ ได้ขอ้ สนับสนุนว่าการเล่นสามารถพัฒนาสมอง ใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรค์และทักษะการแก้ปัญหาผ่านกจิ กรรมต่าง ๆ เช่น การประดษิ ฐ์วัสดุ การวาดรูป ฯลฯ ศูนย์วิทยาศาสตร์จึงมักจัดสวนวิทยาศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยของเล่นทางวิทยาศาสตร์มากมาย ที่แสดงปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติและเทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อช่วยพัฒนาประสบการณ์ใน การเรียนรูว้ ิทยาศาสตรอ์ ันเป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้ต่อไปในอนาคต หลักประการสุดท้ายเป็นเรื่องของมุมมองทางวิทยาศาสตร์ของบุคคล ผู้ที่เข้ามาชม ศูนย์วิทยาศาสตร์ต่างก็มีอายุและภูมิหลังที่แตกต่างกัน มีทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมและพื้นฐานความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกัน มีทั้งเด็กอายุ 6 ขวบจนถึงนักวิทยาศาสตร์ระดับปริญญาเอก หรอื ในแต่ละครอบครวั ท่เี ข้ามาชมอาจมบี คุ คลทง้ั 2 แบบอยูด่ ้วยกันก็ได้ เมอื่ วยั เดก็ บคุ คลมกั จะเข้าใจ สิ่งรอบ ๆ ตัวตามที่เขาเห็น ซึ่งมักผิดไปจากความจรงิ ทางวทิ ยาศาสตร์ ความเข้าใจผิดเช่นนี้อาจยังคง มีอยู่แม้จะได้รับการศึกษาในโรงเรียนแล้วเป็นเวลาหลายปี ศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่สามารถตอบสนองผู้คนที่มีพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกันเหล่านี้ โดยการสร้างนิทรรศการที่มีเนื้อหา และรปู แบบการเรยี นรู้ที่หลากหลาย ตวั นิทรรศการไดร้ ับการออกแบบให้ผชู้ มทุกระดับได้รับความรู้เพ่ิมขึ้น ซ่งึ เปน็ การพฒั นาใหม้ องสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวให้เปน็ วทิ ยาศาสตรไ์ ด้มากขนึ้ 2. ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา 2.1 ความเปน็ มา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา เดิมมีเพียงแห่งเดียวซึ่งอยู่ในกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2537 คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ขยายเครือข่าย ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาไปส่สู ่วนภูมิภาค โดยการจัดตั้งศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา แห่งชาติ แห่งที่ 3 ที่ รังสิต และจัดสร้างศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จังหวัดละ 1 แห่ง แต่ขอให้สร้าง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาให้ครบทุกเขตการศึกษา 12 เขตก่อน ภายในวงเงิน 470,500,000 บาท เม่อื ดำเนนิ การครบทุกเขตการศึกษา และเมื่อมีความพร้อมท่ีจะดำเนินการในจังหวดั อื่นก็ให้ดำเนินการได้ กรมการศึกษานอกโรงเรียน จึงได้มอบหมายให้ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาดำเนินการจัดสร้าง ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาแห่งชาติ แหง่ ที่ 3 ทร่ี งั สติ (แหง่ ที่ 2 อยูท่ หี่ วา้ กอ จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์) และจัดสร้างศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาในเขตการศึกษาให้ครบทุกเขตก่อน กรมการศึกษา นอกโรงเรียน จึงได้จัดสรรงบประมาณให้สร้างศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาตรัง นครศรีธรรมราช นครราชสีมา นครสวรรค์ ยะลา กาญจนบุรี สมุทรสาคร ลำปาง พระนครศรีอยุธยา อุบลราชธานี ขอนแกน่ และสระแกว้ จึงกลา่ วไดว้ ่าในขณะนีม้ ีศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาครบทุกเขตการศึกษาแล้ว ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) กระทรวงศึกษาธิการ (กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี นเดิม) ตงั้ อยทู่ ่ี เลขท่ี 115 หมทู่ ี่ 6 ถนนโรจนะ ตำบลไผ่ลิง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2538 ทำพิธีเปิด ให้บริการอย่างเปน็ ทางการเมือ่ วันศกุ รท์ ี่ 21 พฤษภาคม 2542
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสสู่ ถานศึกษาในเขตพนื้ ที่บรกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 15 2.2 อำนาจและหนา้ ที่ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ข้อ 6 ประกาศ ณ วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2551 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 60 ลงวันท่ี 25 มีนาคม 2551 กำหนดใหศ้ ูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา เรียกโดยย่อว่า ศว.พระนครศรอี ยธุ ยา มีอำนาจและหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปน้ี 1) จัดและบริการการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม แก่นักเรียน นักศึกษาทั้งในและนอกระบบโรงเรยี นและประชาชนในพนื้ ที่ ท่รี บั ผดิ ชอบ 2) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนารูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อ และกระบวนการเรียนรู้ ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม อาทิ ธรรมชาตวิ ทิ ยา เทคโนโลยที ่เี หมาะสม ดาราศาสตร์ 3) เผยแพร่และบริการรูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อ และกระบวนการจัดกิจกรรม การเรยี นรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม 4) พัฒนาครู อาจารย์ วิทยากร และบุคลากรทางการศึกษา ผู้รับผิดชอบ การจัดกิจกรรม การเรยี นรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสงิ่ แวดลอ้ ม 5) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานรว่ มกับภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ้ ม 6) ปฏบิ ัตงิ านอื่น ๆ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบพื้นที่บริการ จำนวน 6 จังหวัด คอื สงิ หบ์ รุ ี ชยั นาท ลพบุรี สระบุรี อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา 2.3 จำนวนประชากรและสถานศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา มีประชากร สถานศึกษาสังกัดต่าง ๆ ในเขตพ้ืนทบ่ี รกิ ารทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบการให้บรกิ ารกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้ ตารางที่ 2-1 จำนวนประชากรและสถานศึกษา ในเขตพื้นที่บริการของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา จำแนกรายจังหวัด จังหวัด ประชากร จำนวนสถานศกึ ษา (โรง) พระนครศรอี ยุธยา (คน) ร.ร. ประถม ร.ร. มธั ยม ร.ร. เอกชน สังกัดอื่น รวม อ่างทอง 490 ลพบรุ ี 816,981 410 29 30 21 190 สระบรุ ี 467 สงิ หบ์ ุรี 276,177 165 14 4 7 348 ชยั นาท 180 741,522 387 27 40 13 238 รวม 637,406 292 21 26 9 1,913 205,602 141 12 17 10 322,133 211 15 7 5 2,999,821 1,606 118 124 65 ทมี่ า ข้อมลู จากสำนักงานสถิตจิ ังหวัดพระนครศรีอยุธยา อา่ งทอง ลพบุรี สระบุรี สิงห์บรุ ี และชยั นาท
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสูส่ ถานศึกษาในเขตพื้นที่บรกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 16 ตารางท่ี 2-2 จำนวนอำเภอและประชากร ในเขตพื้นที่บริการของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพือ่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา จำแนกรายจังหวัด จังหวัด จำนวนอำเภอ ชาย ประชากร (คน) รวม 392,431 หญิง 816,981 พระนครศรอี ยุธยา 16 132,190 424,550 276,177 อ่างทอง 7 370,368 143,987 741,522 ลพบรุ ี 11 313,125 371,155 637,406 สระบุรี 13 97,734 324,281 205,602 สงิ ห์บรุ ี 6 154,831 107,868 322,133 ชยั นาท 8 167,302 2,999,821 61 1,460,679 1,539,143 รวม ท่มี า ขอ้ มูลจากสำนกั งานสถิตจิ งั หวัดพระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สระบรุ ี สงิ ห์บรุ ี และชัยนาท 3. โครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรสูส่ ถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทีบ่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน งบจัดกจิ กรรม ผลผลิตที่ 5 ผรู้ ับบรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั 1) ชอ่ื โครงการ วทิ ยาศาสตร์สญั จรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพ้นื ท่ีบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา 2) สอดคลอ้ งกับนโยบาย จดุ เน้นการดำเนนิ งาน กศน. และมาตรฐาน ศว. 2.1 ยทุ ธศาสตรส์ ำนกั งาน กศน. นโยบายท่ี 3 ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ขอ้ ท่ี 3.2 สง่ เสริมการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทีต่ อบสนองกบั การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 ข้อที่ 3.9 การส่งเสริมวิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษา 1) จดั กจิ กรรมวิทยาศาสตร์เชิงรกุ ท้ังในสถานศึกษา และในชมุ ชน 2) ให้ความรู้วทิ ยาศาสตร์อยา่ งง่าย วิทยาศาสตรใ์ นวิถชี วี ติ วทิ ยาศาสตร์ในชีวติ ประจำวนั 3) รว่ มมอื กับหน่วยงานวิทยศาสตรอ์ ื่น ในการพฒั นาสอื่ และรปู แบบการจัดกิจกรรม ขอ้ ที่ 8 พัฒนาหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โดยใช้กระบวนการ “สะเต็มศกึ ษา” (STEM Education) นโยบายท่ี 4 ยุทธศาสตรด์ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ขอ้ ที่ 4.1 เพม่ิ โอกาสทางการศึกษาให้กับประชากรวยั เรยี นทอ่ี ยนู่ อกระบบการศึกษา ข้อ 5 พลิกโฉม กศน. ตำบล สู่ “กศน.ตำบล 4 G” ข้อ 5.3 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตำบล : Good Activities ให้มีความหลากหลาย น่าสนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนา ศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งเปิดโอกาส ให้ชุมชนเข้ามาจัดกิจกรรมเพื่อ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนในชุมชน
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่บี ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 17 2.2 มาตรฐานศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียน/ผรู้ ับบริการ ตวั บง่ ชี้ 1.1 ผเู้ รยี นมีความใฝร่ ้แู ละเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง ตวั บ่งชี้ 1.2 ผู้เรยี น คิดเป็น/ทำเป็น (ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร)์ ตัวบ่งชี้ 1.5 ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษา (ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอ้ ม) มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพจดั การศกึ ษา/การใหบ้ รกิ าร ตัวบ่งช้ี 2.2 คณุ ภาพของครู/ผสู้ อน/วิทยากร ตัวบง่ ชี้ 2.4 คณุ ภาพผสู้ อน/วทิ ยากรสอนการศกึ ษาต่อเนื่อง ตวั บ่งชี้ 2.5 คุณภาพสือ่ ท่ีเอือ้ ต่อการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น/ผู้รบั บริการ ตวั บง่ ชี้ 2.6 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ตัวบ่งช้ี 2.7 การสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 3) หลักการและเหตผุ ล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ.2553 หมวด 4 มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เน้นความสำคัญทั้งความรู้ กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ระดับการศึกษา ความรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในการใหค้ วามรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปบูรณาการท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตให้แก่กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่บริการ 6 จังหวัด คือ พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี สระบุรี ลพบุรี และชัยนาท ในลักษณะของการจัดกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เคลื่อนที่ไปยังจุดต่าง ๆ ในเขตพื้นที่บริการ เพื่อบริการการเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ เป็นการขยายแหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้หลากหลาย เปิดโอกาสและชอ่ งทางการเรยี นรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และอำนวยความสะดวกให้แก่ผ้รู บั บรกิ าร ดังนั้น ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา ได้เล็งเห็นความสำคัญใน การจัดการเรียนวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการให้การตอบรับ ความสนใจ และความพอใจดีมาก ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา จึงได้จัดโครงการ วทิ ยาศาสตรส์ ัญจรส่สู ถานศึกษาในเขตพ้นื ทบ่ี รกิ ารอย่างต่อเน่ือง 4) วตั ถุประสงค์ 4.1 เพอื่ สรา้ งโอกาสให้กลมุ่ เป้าหมายได้เขา้ ถงึ และใช้ประโยชนจ์ ากแหล่งเรยี นรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ 4.2 เพือ่ ให้กลุม่ เป้าหมายมคี วามรู้ความเข้าใจ และเกิดทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการรู้จักและมีความต้องการเข้ารับบริการจาก ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยาเพ่ิมขนึ้
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรส่สู ถานศึกษาในเขตพน้ื ที่บรกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 18 5) เปา้ หมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ 5.1.1 จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการจำนวน 30 ครั้ง ครอบคลุม พืน้ ทบ่ี รกิ าร 5.1.2 ผรู้ บั บรกิ าร จำนวน 25,000 คน จำแนกเป็น 1) นักศึกษา กศน./นกั เรยี นในระบบ 20,000 คน 2) ครู กศน./ครูในระบบ 300 คน 3) ประชาชน 4,700 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 นักเรียน นักศึกษา ครู และประชาชนในชุมชน ที่ได้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความ เข้าใจและเกิดทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5.2.2 นกั เรยี น นักศึกษา ครู และประชาชนในชุมชน ท่ไี ด้เขา้ ร่วมโครงการมคี วามพงึ พอใจใน การร่วมกิจกรรมวทิ ยาศาสตรส์ ญั จร 5.2.3 นักเรียน นักศึกษา ครู และประชาชนในชุมชน ที่ได้เข้าร่วมโครงการมีความต้องการ เขา้ ร่วมกิจกรรมกับศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาพระนครศรีอยุธยาอกี 6) วธิ ีดำเนนิ การ กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้า พนื้ ที่ ระยะ งบ เปา้ หมาย หมาย ดำเนนิ การ เวลา ประมาณ 1. พัฒนารูปแบบการจัด เพ่อื พฒั นารูปแบบและ กจิ กรรมการเรียนรู้ :จัดทำ เนอ้ื หาของกจิ กรรมให้ บคุ ลากร 10 เลม่ ศว.พระนคร พ.ย.63- 45,250 เอกสารและนทิ รรศการ หลากหลายและสอดคล้อง ของ ศว. ศรีอยธุ ยา ม.ค.64 กบั ความตอ้ งการของ พระนครศรี 30 ครง้ั 135,750 2. จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กลุม่ เป้าหมาย อยุธยา 25,000 เขตพืน้ ที่บรกิ าร พ.ย.63- วิทยาศาสตรส์ ัญจร : 2.1 เพื่อเปิดโอกาสและ คน ส.ค.64 - ให้บริการแก่กลุม่ เปา้ หมาย ช่องทางการเรยี นรสู้ ู่ นกั เรียน เขตพน้ื ท่บี ริการ กล่มุ เปา้ หมายให้เรยี นรู้ นกั ศกึ ษา สรปุ 10 เขตพื้นทีบ่ ริการ พ.ย.63- กระบวนการทาง ครูและ เล่ม และศว.พระ ก.ย.64 3. ตดิ ตาม และประเมิน วิทยาศาสตร์ ประชาชน นคร โครงการ 2.2 ประชาสัมพันธใ์ ห้ ในชมุ ชน ศรีอยุธยา กล่มุ เปา้ หมาย และ หน่วยงานในเขตพนื้ ท่ีเข้ารับ งาน บรกิ ารจาก ศว. ประเมินผล พระนครศรีอยธุ ยา 3.1 เพอ่ื เป็นข้อมูลในการ ตดั สินใจปรับปรุงโครงการ ในปงี บประมาณต่อไป 3.2 รายงานการประเมิน โครงการใหผ้ ู้ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ทราบ
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพืน้ ทีบ่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 19 7) วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ งบดำเนินงาน 250,000 บาท (สองแสนหา้ หมื่นบาทถว้ น) 7.1 พฒั นารปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ : จำนวนเงิน 45,250 บาท 7.2 กิจกรรมวทิ ยาศาสตรส์ ัญจร จำนวนเงนิ 135,750 บาท 1) คา่ เบีย้ เล้ียงเจ้าหน้าท่ี (5 คน x 240 บาท x 2 วัน x 30 คร้ัง) = 72,000 บาท 2) คา่ ท่ีพักเจา้ หน้าที่ (4 คน x 500 บาท x 1 คืน x 30 คร้งั ) = 36,000 บาท 3) ค่าที่พักหัวหน้าวิทยากรนำชม (1 คน x 800 บาท x 1 คืน x 30 คร้งั ) = 30,000 บาท 4) คา่ น้ำมันเช้ือเพลิง = 43,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสน้ิ 181,000 บาท (หนงึ่ แสนแปดหม่ืนหนงึ่ พนั บาทถ้วน) หมายเหตุ ทกุ รายการถัวเฉล่ียตามทจี่ า่ ยจรงิ ตามระเบียบกระทรวงการคลงั 8) แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 8.1 พัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรม (ต.ค.-ธ.ค. พ.ศ. 61) (ม.ค.-ม.ี ค. พ.ศ. 62) (เม.ย.-มิ.ย. พ.ศ. 62) (ก.ค.-ก.ย. พ.ศ. 62) 8.2 จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์สญั จร - - 25,000 25,000 8.3 นเิ ทศ สรุปประเมินโครงการ 41,500 36,500 26,500 26,500 รวมทง้ั สิน้ - - - - 41,500 36,500 51,500 51,500 9) ผรู้ ับผิดชอบโครงการ แก้วเขียว ตำแหน่ง พนักงานนำชม ระดบั ส.2/หวั หน้า 9.1 นายสมชาย ดิษฐจ์ าด ตำแหนง่ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน 9.2 นายอานนท์ 10) เครือข่าย 10.1 สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาและสถานศึกษาในสงั กัด ในเขตพน้ื ที่บรกิ าร 10.2 ชุมชน และองค์กรตา่ ง ๆ ในเขตพน้ื ทบ่ี รกิ าร 11) โครงการท่เี ก่ียวขอ้ ง 11.1 โครงการส่งเสรมิ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาชมุ ชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา 11.2 โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา 11.3 โครงการจัดกิจกรรมการเรยี นรูบ้ ทปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพนื้ ที่บรกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 20 12) ผลลพั ธ์ (Outcome) 12.1 กลุ่มเป้าหมาย ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมมีประสบการณ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 12.2 กลมุ่ เป้าหมาย นำความร้ทู ี่ได้รบั ไปใช้ประโยชน์ และมคี วามพึงพอใจในระดบั ดมี าก 13) ดชั นชี ว้ี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชวี้ ัดผลผลิต (Output) 13.1.1 รอ้ ยละของในการจัดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์สัญจรในเขตพืน้ ทบี่ ริการ (กำหนดไว้ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 85) 13.1.2 รอ้ ยละของกลุ่มเปา้ หมายในเขตพ้นื ที่บริการ (กำหนดไว้ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 85) 13.2 ตวั ชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ในระดับมากและมากที่สุด (กำหนดไวไ้ มน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 85) 13.2.2 รอ้ ยละของกลุม่ เปา้ หมาย นำความร้ทู ี่ได้รบั ไปใช้ประโยชน์ และมคี วามพึงพอใจใน ระดับมากและมากที่สดุ (กำหนดไวไ้ ม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 85) 14) การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถาม 14.2 แบบสัมภาษณ์ 14.3 การสงั เกต 4. กระบวนการจัด “โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปี งบประมาณ 2564” ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยาเป็นหน่วยงานในสังกัด สำนักงาน กศน. กระทรวงศึกษาธกิ าร มีบทบาทหน้าท่ีภาระสำคัญในการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ธรรมชาติวิทยา และสิ่งแวดล้อม โดยจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจในรูป ของกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การจัดนิทรรศการถาวร นิทรรศการชั่วคราว การฉายดาว การจัดค่ายวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม การสัมมนา การแสดงการประกวด และแข่งขัน ทางวิทยาศาสตร์ และการจัดหน่วยนิทรรศการเคลื่อนที่ เพื่อบริการกลุ่มเป้าหมายในเขตจังหวัด สิงห์บุรี ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา โดยประสานความร่วมมือหนว่ ยงาน ทัง้ ภาครฐั และเอกชน เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนในระบบโรงเรียน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา จึงได้จัด “โครงการวิทยาศาสตร์สัญจร สู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ” โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์สัญจร ให้กับโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการ จำนวน 6 จังหวัด คือ สิงห์บุรี ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อใหน้ ักเรยี นในสถานศึกษาในเขตพืน้ ที่ บริการ มีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการเรียนรู้จากกิจกรรม ที่หลากหลายรูปแบบ
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพ้นื ทบ่ี ริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 21 4.1 ขนั้ ตอนการจดั กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์สญั จร ในการดำเนินงานโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 มีข้ันตอนการจดั กจิ กรรม ดงั นี้ 4.1.1 ข้นั พฒั นารปู แบบและเตรียมการ 1) ดำเนินการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร จำนวน 4 เรื่อง โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือสร้างพัฒนารูปแบบและเนื้อหาของกิจกรรมวิทยาศาสตรส์ ญั จร ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 2) จัดทำเอกสารและนิทรรศการวิทยาศาสตร์สัญจรทั้ง 6 เรื่องให้หลากหลายและ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 3) คัดเลือกสถานศึกษาเข้าร่วมโครงการ โดยเลือกจากสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานในเขตพ้นื ทีบ่ ริการ ดว้ ยวิธคี ดั เลือกจากจังหวัด ในเขตพื้นที่บริการ ทัง้ 6 จงั หวดั 30 อำเภอ สถานศึกษาท่เี ปน็ จดุ ทตี่ ้งั ใหบ้ ริการ 30 แห่ง 4) ประสานงานกับสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา และสถานศกึ ษาที่เข้าร่วมโครงการ 4.1.2 ขนั้ ดำเนินการจดั กิจกรรมวทิ ยาศาสตรส์ ัญจร 1) ก่อนออกจดั กิจกรรมสญั จรทุกคร้งั นางอัญชรา หวังวรี ะ ครู รกั ษาการในตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการ เรียกประชมุ คณะทำงานเพ่ือมอบนโยบายและให้ขอ้ เสนอแนะ 2) กจิ กรรมวิทยาศาสตรส์ ญั จร ประกอบด้วย กจิ กรรมการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ดงั นี้ - รถนทิ รรศการเคล่อื นที่ “วิทยาศาสตร์มหศั จรรย์” - วิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน - โลกใตเ้ ลนส์ - เลนสน์ ำ้ (พลังงานแสงอาทิตย์) - Solar Cell (เซลลแ์ สงอาทติ ย)์ - ดาราศาสตร์ (โดมท้องฟา้ จำลองเคล่ือนท)ี่ - ประดษิ ฐจ์ รวดขวด (แรงและการเคลอ่ื นท่ี) - ดาราศาสตร์ การบรรยาย และฝกึ ปฏบิ ตั ดิ ูดาวจากกลอ้ งดดู าว 3) ออกให้บริการสถานศึกษาด้วยรถนิทรรศการเคลื่อนที่ “วิทยาศาสตร์มหัศจรรย์” โดยเริม่ กจิ กรรมภาคกลางวัน ตง้ั แต่ เวลา 10.00 –15.30 น. และเรม่ิ กจิ กรรม ภาคกลางคืน การดูดาว เวลา 18.00 น. – 20.00 น. 4.1.3 ขั้นติดตาม ประเมนิ และรายงานผล 1) ระหว่างโครงการ นางเสาวนีย์ เสระพล ครู เป็นหัวหน้าคณะนิเทศ พร้อมด้วย นาย สมชาย แก้วเขียว พนักงานนำชม ระดับ ส2/หัวหน้า ออกติดตาม ดูแล และให้คำปรึกษา กบั คณะทำงานอยา่ งสมำ่ เสมอ 2) หลังการจัดกิจกรรมสัญจรทุกครั้ง นางอัญชรา หวังวีระ ครู รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ เรียกประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผล รับทราบปัญหา และข้อเสนอแนะ เพื่อนำไป ปรับปรุงการจดั กจิ กรรมในครัง้ ตอ่ ไป 3) ประเมินโครงการเมื่อสนิ้ สดุ โครงการ
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพ้นื ท่บี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 22 4.2 กลยุทธก์ ารดำเนินงาน การดำเนินงานโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปี งบประมาณ 2564 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา มกี ลยุทธ์ในการดำเนนิ งาน ดงั นี้ 4.2.1 การจัดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์สัญจร ครั้งนี้ เป็นการให้บริการแก่สถานศึกษา โดยไม่คิด ค่าบริการ 4.2.2 ประสานงานกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในโครงการ ทั้งแบบ เป็นทางการและแบบไม่เป็นทางการ โดยนายสมชาย แก้วเขียว พนักงานนำชม ระดับ ส2/หัวหน้า นายอานนท์ ดิษฐ์จาด นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน 4.2.3 การจัดบุคลากรในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร ได้มอบหมายให้ นายสมชาย แก้วเขียว ตำแหน่ง พนักงานนำชมระดับ ส2/หัวหน้า ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นหัวหน้าชุด และจัดให้นักวิชาการศึกษา ทั้ง 3 คน ประกอบด้วย นายอนุกูล เมฆสุทัศน์ นายณัฐวุฒิ รอตเกษม แนายฐาปนิก ผาสุกะกุล และ นายวัฒนา สุริยะ สำหรับพนักงานขับรถได้คัดเลือกผู้ที่มีความรู้และ ความสามารถในการจดั กิจกรรมวทิ ยาศาสตรด์ ้วย คอื นายชนนิ ทร์ ศรีพิทกั ษ์ 4.3 ผลการดำเนนิ งาน ดา้ นปรมิ าณ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นท่ีบริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 มี สถานศกึ ษาทเ่ี ข้าร่วมโครงการ ดงั น้ี
ตารางท่ี 2-3 รายชอ่ื สถานศกึ ษา/งานทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการรวมทุกกจิ กรรม ครงั้ ที่ วนั ที่ สถานศกึ ษา/งาน อำเภอ 1 4 พ.ย. 63 ร.ร.อนบุ าลวัดอ่างทอง เมอื งอา่ งทอง อ่าง 2 20 พ.ย. 63 ร.ร.วัดช่องลม อทู่ อง สุพ 3 4 ธ.ค. 63 ร.ร.อนบุ าลชัยนาท เมอื ง ชยั 4 9 ธ.ค. 63 ร.ร.วทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัย โคกสำโรง ลพ 5 16 ธ.ค.63 ร.ร.เทศบาล2 วดั แกว้ จนั ทราราม โคกสำโรง ลพ 6 18 ธ.ค.63 ร.ร.เทศบาล1เขาสามยอด เมอื ง ลพ 7 22 ธ.ค.63 ร.ร.บา้ นครวั (ซเี มนตไ์ ทยสงเคราะห์) บ้านหมอ สระ 8 23 ธ.ค.63 ร.ร.บา้ นแก่งเสอื เต้น พัฒนานคิ ม ลพ 9 17 ก.พ.64 ร.ร.วดั คีม บางระจัน สงิ ห 10 18 ก.พ.64 ร.ร.บา้ นหนองลี ค่ายบางระจนั สิงห 11 24 ก.พ.64 ร.ร.บา้ นหนองประดู่ ท่าหลวง ลพ 12 9 มี.ค.64 ร.ร.วัดถำ้ เตา่ แก่งคอย สระ 13 10 ม.ี ค.64 ร.ร.บ้านหลังเขา มวกเหล็ก สระ 14 17 ม.ี ค.64 ร.ร.วดั ขอนชะโงก หนองแค สระ 15 18 ม.ี ค.64 ร.ร.วัดป๊อกแปก๊ เมอื ง สระ 16 23 ม.ี ค.64 ร.ร.ชัยบาดาลวิทยา ชัยบาดาล ลพ 17 24 ม.ี ค.64 ร.ร.บ้านเขาตะแคง ชยั บาดาล ลพ 18 25 มี.ค.64 ร.ร.บา้ นหนองโกวทิ ชยั บาดาล ลพ รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพื้นทบ่ี ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
จังหวดั จำนวนครู จำนวนนักเรยี น ประชาชน รวม นร.ในระบบ นร.นอกระบบ งทอง 200 55 2,955 พรรณบุรี 15 2,700 - 150 230 ยนาท 97 65 - 45 พบุรี 80 - 2,451 พบุรี 52 2,309 - - 800 พบรุ ี 56 720 - 150 861 ะบรุ ี 58 809 - 105 พบรุ ี 11 870 - - 1,076 ห์บรุ ี 29 25 1,182 ห์บุรี 18 1,019 - 62 พบุรี 20 221 - 46 232 ะบรุ ี 16 216 - - 270 ะบรุ ี 15 210 - - 290 ะบรุ ี 24 231 - - 297 ะบรุ ี 11 294 - - 310 พบรุ ี 122 137 - 35 152 พบรุ ี 8 381 - 30 405 พบรุ ี 25 260 - - 271 2,757 2,600 - 120 82 - 365 340 - หน้า | 23
ตารางที่ 2-3 (ต่อ) รายช่ือสถานศกึ ษา/งานทเี่ ข้าร่วมโครงการรวมทกุ กจิ กรร ครั้งท่ี วันที่ สถานศกึ ษา/งาน อำเภอ 19 30 ม.ี ค.64 ร.ร.บา้ นเขาราบ โคกเจรญิ ลพ 20 31 มี.ค.64 ร.ร.บ้านลำโปงเพชร โคกเจรญิ ลพ 21 5 เม.ย.64 ร.ร.อนบุ าลลำนารายณ์ ชยั บาดาล ลพ รวมท้ังสน้ิ รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตรส์ ญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพน้ื ที่บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รม จำนวนครู จำนวนนักเรยี น ประชาชน รวม จงั หวัด 13 นร.ในระบบ นร.นอกระบบ 80 223 8 45 151 พบุรี 52 130 - - 1,098 พบุรี 930 828 16,496 พบรุ ี 98 - 1,046 - 14,738 - หนา้ | 24
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพ้นื ท่บี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 25 ตารางท่ี 2-4 จำนวนสถานศึกษา/งานที่เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามเขตจังหวัดและพื้นท่ี ใหบ้ ริการ จงั หวดั อำเภอจำนวน ในเขตพ้ืนที่บริการ (กิจกรรม วทิ ยส์ ัญจร) แผน ผล สิงหบ์ ุรี 30 21 ชัยนาท 52 ลพบุรี 51 สระบุรี 5 11 อ่างทอง 55 พระนครศรีอยุธยา 51 5- นอกเขตพื้นทีบ่ รกิ าร (กจิ กรรม วทิ ยส์ ัญจร) -1 สพุ รรณบรุ ี -1 รวม 30 21 ตารางที่ 2-5 แผนการใชง้ บประมาณและงบประมาณท่ใี ชจ้ ริง จำแนกตามกิจกรรม ที่ กจิ กรรมหลกั จำนวนเงนิ (บาท) แผนการใช้ ใช้จริง 1. พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรม จัดทำเอกสาร 45,250 45,250 และนทิ รรศการวทิ ยาศาสตรส์ ัญจร 2. จัดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรส์ ัญจร 135,750 135,750 รวม 181,000 181,000
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสูส่ ถานศกึ ษาในเขตพื้นที่บรกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 26 5. แนวคิดเก่ียวกับการประเมิน แนวคิดและรูปแบบการประเมิน มีอยู่อย่างหลากหลายรูปแบบตามแนวความคิด ของผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินแต่ละบุคคลที่ได้นำเสนอแนวคิดโดยการเชื่อมโยงความคิด กับประสบการณ์ของตนเอง การประเมินสิ่งใดสิ่งหนึ่งผู้ประเมินจะต้องกำหนดสิ่งที่ต้องการประเมิน คือ จุดประสงค์ของการประเมิน และตัวชี้วัดการประเมินให้ชัดเจน เนื่องจากจุดประสงค์ ของการประเมินจะบ่งบอกเป้าหมายและสิ่งที่ต้องการประเมิน ตัวชี้วัดการประเมินจะระบุถึงเกณฑ์ ในการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่ต้องการประเมินตามจุดประสงค์ที่กำหนด สิ่งที่ต้องการประเมินสามารถ กำหนดได้หลากหลายตามรูปแบบของการประเมิน เมื่อกำหนดสิ่งที่ต้องการวัดชัดเจนก็ เข้าสู่กระบวนการวัดซึ่งมีกระบวนการสำคัญ 2 ประการ คือ การสร้างเครื่องมือ และการออกแบบ การเกบ็ ขอ้ มูล เครือ่ งมือทจ่ี ะสรา้ งจะต้องสอดคล้องและเหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวดั วัดไดต้ รงกบั สิ่งท่ี ต้องการวัดในการวัดข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพย่อมใช้เครื่องมือ และวิธีการที่แตกต่างกัน วิธีการวัดโดยท่วั ไปมี 2 ลกั ษณะ คอื 1) วิธีปรนัย (Objective) เป็นวิธีวัดที่สามารถวัดสิ่งที่ต้องการวัดได้แน่นอน ไม่ว่าใคร กำหนดก็ได้ผลเหมือนกัน เช่น การวัดพฤติกรรมภายนอกโดยวิธีปรนัย ได้แก่ การนับความถี่ ของพฤตกิ รรม การวดั เวลาทใี่ ช้ การวดั น้ำหนกั การวัดระยะทาง การวัดรายได้ การวัดวฒุ ิการศกึ ษา เป็นตน้ 2) วิธีอัตนัย (Subjective) เป็นวิธีวัดที่ต้องอาศัย “ความรู้สึก” เป็นเกณฑ์ในการวัดสิ่งที่ ต้องการวัด เช่น การวัดพฤติกรรมภายในต่าง ๆ ได้แก่ เจตคติ ความคิดเห็น ความมีน้ำใจ ความซอื่ สตั ย์ เปน็ ตน้ ข้อมลู ทไี่ ด้จากกระบวนการวัดจะเปน็ ข้อมูลในกระบวนการตัดสนิ ใจต่อไป ดว้ ยการนำข้อมูล จากการวัด ไปวิเคราะห์เพื่อให้เป็นสารสนเทศ ซึ่งจะทำให้ข้อมูลมีความหมายมากขึ้นในการช่วยใน การตดั สินใจ ดว้ ยการพิจารณาตดั สินคุณคา่ ของสิง่ ทตี่ ้องการประเมินเปรยี บเทยี บผลทวี่ ัดได้กับเกณฑ์ หรือตัวช้ีวัดตามจดุ ประสงคท์ ี่กำหนดไว้ ในการตัดสินใจจะต้องสอดคล้องกับส่งิ ต้องการประเมนิ การประเมินโครงการมกั จะมีการประเมินเพ่ือตัดสินใจใน 3 ลกั ษณะ คือ 1) การประเมินเพื่อจะริเริ่มดำเนินการโครงการการตัดสินใจริเริ่มดำเนินโครงการจะเป็น ผลจากการประเมนิ สภาวะแวดล้อมว่าโครงการนั้นมีความต้องการจำเปน็ ท่ตี ้องดำเนนิ การเพียงใดและ ผลจากการประเมินปัจจัยเบ้ืองตน้ เป็นข้อมลู เพ่อื พิจารณาวา่ สิ่งจำเปน็ ท่ีจะต้องใช้ดำเนนิ การโครงการ มเี พียงพอ จะทำใหโ้ ครงการดำเนนิ การไปสำเรจ็ ลุลว่ งหรือไม่ ถา้ ปัจจัยนำเขา้ ท่จี ำเป็น ยังไม่มีเพียงพอ อาจจะตอ้ งชะลอโครงการไวก้ อ่ น 2) การประเมินกระบวนการดำเนินการเป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไข เพอื่ ให้โครงการสามารถดำเนินการตามเปา้ หมายที่กำหนดไว้ 3) การประเมินผลสรุปของโครงการเป็นการประเมินเพื่อลงข้อสรุปว่าโครงการ ท่ปี ระเมนิ ผลควรดำเนินการตอ่ ไปหรอื ควรยตุ โิ ครงการ
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทีบ่ ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 27 5.1 ความหมายของการประเมิน คำที่ใช้ในความหมายของการประเมินอย่างแพร่หลาย คือ“ Assessment” กับ “Evaluation” โดยนยั ของคำ 2 คำ มคี วามหมายแตกตา่ งกัน คือ “Assessment” เป็นกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลเพื่อใชเ้ ปน็ ฐานในการ ตดั สนิ ใจส่วน “Evaluation” เป็นกระบวนการตดั สินใจโดยใชข้ ้อมูลจาก “Assessment” เป็นหลกั กลา่ วอกี นัยหน่ึง ก็คือ “Assessment” เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นก่อนส่วน “Evaluation” เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น ตามมาภายหลังด้วยเหตุน้ี “Assessment” จึงแยกจาก “Evaluation” โดยเด็ดขาดไม่ได้ (เยาวดี รางชัยกลุ วิบูลยศ์ รี, 2544) ในความหมายของการประเมนิ โดยทั่วไปจึงมักมุง่ ไปที่“Evaluation”ทีอ่ ธิบายครอบคลมุ ถงึ “Assessment” ซ่งึ มีผู้ใหค้ วามหมายของการประเมนิ ไวห้ ลายท่านโดยสรปุ ได้ดงั น้ี 5.1.1 ความหมายในเชิงการตัดสนิ คณุ ค่าจากความคิดเหน็ การประเมิน หมายถึง การบรรยายคุณลกั ษณะสิ่งใดสิง่ หน่ึงท่ีไดค้ ัดเลือกมาสำหรับใช้ ศึกษาแลว้ พิจารณาคุณลกั ษณะน้ันในด้านความเหมาะสม และระดับของการยอมรับ (Andersons, 1975) การอธิบายและการตัดสินคุณสมบัติบางอย่างของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลรวมทั้ง กระบวนการ และโครงการตา่ ง ๆ (เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศ์ รี, 2544) ความหมายของการประเมินในเชิงการตัดสินคุณค่าจากความคิดเห็น เป็นความหมาย ท่เี นน้ การตัดสนิ คณุ ค่าของสิ่งต่าง ๆ โดยนำความคดิ ความรสู้ ึกของผปู้ ระเมนิ เป็นผู้ตดั สนิ ถ้าผู้ประเมิน มลี กั ษณะความรู้และประสบการณ์ที่ตา่ งกนั อาจตดั สินคณุ ค่าของสงิ่ เดียวกันตา่ งกนั ได้ 5.1.2 ความหมายในเชิงตัดสนิ คณุ ค่าจากเกณฑท์ ่กี ำหนด การประเมิน หมายถึง การค้นหาหรือตัดสินคุณค่า หรือจำนวนของ บางสิ่งบางอย่าง โดยใช้มาตรฐานของการประเมินรวมทัง้ การตัดสินใจโดยอาศยั เกณฑ์ภายในและ/หรือเกณฑ์ภายนอก (Good, 1973 : 220) การตัดสนิ ความสอดคลอ้ งระหว่างปฏบิ ตั ิกับจุดประสงค์ (Mehrens and Lehman, 1984) ความหมายในเชิงตัดสินคุณค่าจากเกณฑ์ที่กำหนดจะทำให้การประเมิน มีความถูก ต้องมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการตัดสินคุณค่าจะไม่ขึ้นกับความคิด ความรู้สึก ความรู้ และประสบการณ์ เป็นหลักแต่ขึ้นกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า ถ้าเกณฑ์มีความชัดเจนครอบคลุม มากเพียงใด การตัดสินย่อมมีความถกู ตอ้ งมากยง่ิ ขึ้น 5.1.3 ความหมายในเชงิ กระบวนการรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศ การประเมิน หมายถึง กระบวนการรวบรวม และเตรียมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ซึ่งจะช่วย ในการตัดสินใจทด่ี ี สำหรับทางเลอื กท่ีเปน็ ไปได้หลายๆ ทาง (Stufflebeam, 1971) กระบวนการที่ก่อให้เกิดสารสนเทศเชิงคุณค่า เพื่อช่วยให้ผู้มีอำนาจ ตัดสินใจได้ตัดสินใจ เลอื กทางเลือกอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ (สมหวงั พธิ ยิ านุวัฒน์, 2544) จากความหมายการประเมินในเชิงกระบวนการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ การประเมิน จะเน้นความสำคัญของกระบวนการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ในการตัดสินใจ กระบวนการได้มา ของข้อมูลสารสนเทศ ก็คือการวัดผลนั่นเอง แต่ในการวัดผลจะต้องพิจารณาให้ครอบคลุมตัวแปร
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสูส่ ถานศึกษาในเขตพืน้ ทบ่ี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 28 เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพราะถ้าการประเมินยังยึดมั่นอยู่กับการตีความหมายของคะแนนที่ได้ จากเครื่องมือวัดผล จะทำให้ละเลยการพิจารณาตัวแปรสำคัญที่มีคุณค่าต่อผลการประเมิน โดยเฉพาะตัวแปรท่ีไม่สามารถวดั ไดใ้ นเชิงปรมิ าณ โดยนยั แห่งความหมายของการประเมิน การประเมินจึงเปน็ กระบวนการออกแบบ รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู เพือ่ การตัดสนิ ใจด้วยการใช้ระเบยี บวธิ ีวจิ ัยมาใช้ ความเหมือน ความแตกต่าง ของการวิจัย และการประเมินแสดง ดงั ตารางท่ี 2-6 (ศิรชิ ัย กาญจนวาสี, 2537) ตารางที่ 2-6 จุดเหมอื นและจุดต่างระหวา่ งการวิจัยและการประเมนิ ประเดน็ การวจิ ัย การประเมิน จดุ เหมอื น 1. วธิ กี าร วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ศลิ ปศาสตร์และปรชั ญา 2. การดำเนนิ กิจกรรม การสบื สวนสอบสวน ทางวิชาการอย่าง การสืบสวนสอบสวน อย่างรอบคอบ เปน็ ระบบ โดยอาศยั ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ โดยอาศยั ขอ้ มลู ทเ่ี ชอื่ ถือได้ จุดต่าง 1. สง่ิ ทศี่ กึ ษา Truth Value or Social Utility 2. การกำหนดประเด็นปญั หา ความอยากรู้อยากเห็น ของผู้วิจยั ความต้องการสารสนเทศ ของผู้ ตดั สินใจ 3. จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา Conclusion – oriented Decision or Action–oriented 3.1จุดมุ่งหมายท่วั ไป Generalizable knowledge Worth of a thing Cause-effect relationship Means-end relationship 3.2จุดหมายปลายทาง Parsimoneous Theory Making choice among Universal Laws alternatives 4. วธิ กี ารศึกษา Reasonable decisions 5. ประเภท Empirical and Historical Empirical and Philosophical Pure – Applied Formative – Summative 6. เกณฑ์ตดั สนิ คณุ ภาพ Experimental-Nonexperimental Input – Process – Output Internal validity Credibility 7. ขอ้ ค้นพบ External validity Utility Scientific knowledge Information Replicable Unique Context – independent Context – dependent Generalizable conclusion Specific decision
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสูส่ ถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทีบ่ รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 29 5.2 บทบาทของการประเมิน ความต้องการสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร เป็นตัวกำหนดบทบาท ของการประเมิน ซึ่งสามารถจำแนกเป็นบทบาทที่สำคัญได้ 2 บทบาท คือ การเสนอสารสนเทศ ระหวา่ งการดำเนินงาน (Formative) และหลงั สนิ้ สุดการดำเนนิ งาน (Summative) ในระหว่างการดำเนินงาน การประเมินความก้าวหน้าหรือกระบวนการ (Formative Evaluation) จะมีบทบาทของการตัดสินคุณค่าของกระบวนการ เพื่อเสนอสารสนเทศเกี่ยวกับ ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน และเพื่อเป็นแนวทางสู่การปรับเปลี่ยนการดำเนินงานให้มี ความเหมาะสม แต่เมื่อโครงการได้สิ้นสุดการดำเนินงานแล้ว การประเมินผลสรุ ปรวม (Summative Evaluation) จะมีบทบาทของการตัดสินคุณค่าของผลที่ได้รับ เพื่อเสนอสารสนเทศ เกี่ยวกับคุณค่าของโครงการ และเพื่อเป็นแนวทางสู่การตัดสินใจ ยุติ หรือปรับเปลี่ยน หรือพัฒนา โครงการให้มีความเหมาะสม ต่อไป บทบาทของการประเมนิ แสดงดงั แผนภาพ 2-1 สิง่ ทต่ี อ้ งการประเมนิ สารสนเทศท่ตี อ้ งการ ความตอ้ งการ สารสนเทศเพือ่ การตดั สินใจ สารสนเทศเพือ่ พัฒนาคณุ ค่า การตัดสินคณุ ค่าของ Formative ระหวา่ งการดาเนินงาน สิ่งที่ต้องการประเมนิ Evaluation (รายงานความก้าวหนา้ ) กระบวนการ ผลสรุปรวม Summative สิน้ สดุ การดาเนินงาน Evaluation (รายงานผลลัพธ)์ แผนภาพท่ี 2-1 บทบาทของการประเมิน
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพื้นท่บี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 30 5.3 รปู แบบการประเมนิ การเลือกรูปแบบการประเมิน เพื่อนำไปใช้ควรจะได้มีการพิจารณาความเหมาะสม หรือความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และจุดประสงค์ของโครงการที่จะประเมิน จากการศึกษา เอกสารที่เกีย่ วขอ้ งพบว่า ผู้เชีย่ วชาญด้านการประเมิน ได้จำแนกรูปแบบการประเมินตามจุดประสงค์ ของการนำไปใช้ เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 5.3.1 รูปแบบการประเมินท่เี นน้ จุดมุ่งหมาย (Objective Base Evaluation Model) เป็นรูปแบบการประเมิน ที่เน้นการตรวจสอบผลที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้น หรือไม่ โดยตรวจสอบผลที่ระบุไว้ในจุดมุ่งหมาย กับผลที่เกิดจากการปฏิบัติงานโครงการว่าบรรลจุ ุดมุง่ หมาย ที่กำหนดไว้หรือไม่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินที่นำเสนอแนวคิดรปู แบบนี้ได้แก่ ไทเลอร์ ครอนบาค และ เคริกแพตทรคิ เป็นต้น 5.3.2 รปู แบบการประเมินเพ่อื การตัดสินใจ (Decision Oriented Evaluation Model) เป็นรูปแบบการประเมิน ที่มีหลักการของการประเมินที่เป็นระบบ โดยมีการกำหนด ขนั้ ตอนในการดำเนนิ การทจ่ี ะทำให้ได้สารสนเทศ เพอื่ ทีจ่ ะนำไปใชป้ ระกอบการพิจารณาการตัดสินใจ ที่เหมาะสม ซึ่งผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมิน ที่นำเสนอแนวคิดในรูปแบบนี้ ได้แก่ สตัฟเฟิลบีม อัลคิน เป็นตน้ 5.3.3 รูปแบบการประเมนิ เพ่ือการตัดสินคุณค่า (Value - Oriented Evaluation Model) เป็นรูปแบบการประเมินที่มีหลักการว่าการประเมินเป็นการกำหนด คุณค่า หรือตีราคาของสิ่งที่ได้รับการประเมิน รวมทั้งการให้ความสำคัญกับผลผลิตทั้งหมดของโครงการ โดยใช้กระบวนการประเมินที่เป็นระบบผสานกับวิธีการแบบธรรมชาติ (Naturalistic Approach) ซึ่งผูเ้ ชย่ี วชาญด้านการประเมิน ทีน่ ำเสนอแนวคิดในรปู แบบนี้ ได้แก่ สคริพเวน สเตก้ โพรวัส เป็นต้น 6. แบบจำลองการประเมนิ ผลของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) R.W. Tyler เป็นนักประเมินรุ่นแรก ๆ ในปี ค.ศ. 1930 และเป็นผู้ที่เริ่มต้นบุกเบิก แนวความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินโครงการ เขามีความเห็นว่าการประเมินคือการเปรียบเทียบ พฤติกรรมเฉพาะอย่าง (performance) กับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมที่วางไว้ โดยมีความเชื่อว่า จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้อย่างชัดเจน รัดกุมและจำเพาะเจาะจงแล้ว จะเป็นแนวทางช่วยในการประเมินได้ เป็นอย่างดีในภายหลัง จากคำจำกัดความของการประเมินดังกล่าวแล้วนี้จะเหน็ ได้ว่า มีแนวความคิด เห็นว่า โครงการจะประสบผลสำเร็จหรือไม่ ดไู ด้จากผลผลิตของโครงการว่าตรงตามจดุ มงุ่ หมายที่ตั้งไว้ แต่แรกหรือไม่เท่านั้น แนวความคิดในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของ จดุ มงุ่ หมายเปน็ หลกั (Goal Attainment Model or Objective) เรยี กว่า Tyler’s Goal Attainment Model ซึ่งต่อมาปี 1950 ได้มีรูปแบบ มาใช้เป็นกระบวนการตัดสินการบรรลุวัตถุประสงค์ของ สงิ่ ทท่ี ำการประเมิน (R.W. Tyler, 1950) เรยี กวา่ Triple P’s Model ดังนี้ P-Philosophy & Purpose - ปรชั ญา/จุดมุ่งหมาย P-Process - กระบวนการ P-Product - ผลผลติ
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสูส่ ถานศึกษาในเขตพืน้ ทบ่ี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 31 ในการประยุกต์ใช้ในการประเมินโครงการทางการศึกษาได้โดยการประเมินความสัมพันธ์ ของทั้ง 3 ว่า ปรัชญา/จุดมุ่งหมายของโครงการมีความสัมพันธ์กับกระบวนการและผลผลิตหรือไม่ ถ้าประเมินเป็นส่วน ๆ ก็จะประเมินในด้านประสิทธิภาพของปรัชญา/จุดมุ่งหมายและกระบวน การประเมินประสิทธิผลของผลผลิตว่าตรงกับปรัชญา/จุดมุ่งหมายหรือไม่ มีประสิทธภิ าพเพียงใด เป็นต้น เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศรี (2544 : 4) ได้กลาวถึง แนวคิดและโมเดลในการประเมินของ ไทเลอร (Tyler’s Rationale and Model of Evaluation) ว่าไทเลอร์ ได้เสนอโมเดลการประเมิน เรียกว่า “Tyler’s Goal Attainment Model or Objective-Based Model ” ซึ่งเปนโมเดลที่ยึด จุดมุ่งหมายเป็นหลักในการประเมินความสำเร็จของโครงการ โดยการตรวจสอบผลผลิตของโครงการ ว่าเปนไปตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไวหรือไม่ จุดมุ่งหมายการประเมินตามแนวคิดของไทเลอร์ท่ีสำคัญ มี 2 ประการ คือ 1. เพื่อตรวจสอบดูว่า จุดมุ่งหมายของโครงการซึ่งได้กำหนดไว้ในรูปของจุดมุ่งหมาย เชิงพฤตกิ รรมนั้นไดบ้ รรลุผลสำเรจ็ มากนอ้ ยเพยี งใด 2. เพื่อการหาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการปรับปรุงการดำเนินโครงการ ขั้นตอนของ การประเมนิ โครงการตามแนวคิดของไทเลอร์ มีข้ันตอนในการดำเนนิ งาน ดงั นี้ 2.1 กำหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมให้ชัดเจน ว่าเมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วผู้เข้าร่วม โครงการจะต้องเกิดพฤติกรรมอะไรบ้างอาจจะเปน็ พฤติกรรมรายบคุ คลหรือรายกลุ่มก็ได้ 2.2 กำหนดและเลือกเนื้อหาสำคัญที่จะทำให้ผู้เขา้ ร่วมโครงการได้เกิดการเรียนรู้แล้วมี การเปล่ียนแปลงไปตามจุดม่งุ หมายเชงิ พฤตกิ รรมทก่ี ำหนดไว้ 2.3 กำหนดประสบการณ์การเรียนการสอน สถานการณ์และวิธีการต่าง ๆที่จะทำให้ ผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้ และดำเนินกิจกรรม ดังกล่าว 2.4 เลือกและสร้างเครื่องมือที่จะใช้ในการวัดพฤติกรรมตามที่ได้ระบุไว้ในจุดมุ่งหมาย เพอื่ ใหไ้ ดข้ ้อมลู ทรี่ ะบุวา่ ได้มีการบรรลจุ ุดมงุ่ หมายเพียงใด 2.5 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับและใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับเปรียบเทียบกับจุดมุ่งห มายท่ี กำหนดเพอื่ การพจิ ารณาจดุ เดน่ และจดุ ด้อยของโครงการ
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพื้นทบ่ี ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 32 ขนั้ ตอนการประเมินโดยใชร้ ูปแบบการประเมินของไทเลอรส์ รปุ ได้ ดังแผนภาพท่ี 2-2 กาหนดจดุ มงุ่ หมายเชิงพฤติกรรม กาหนดเน้ือหา เลือกประสบการณก์ ารเรยี นร/ู้ เปรียบเทยี บ การดาเนนิ กิจกรรม เกบ็ รวบรวมข้อมูล เลือกและสรา้ งเคร่อื งมอื วดั วเิ คราะห์ขอ้ มลู และทาการเปรียบเทียบผล กบั จดุ มุ่งหมายทกี่ าหนดไว้ แผนภาพท่ี 2-2 ขนั้ ตอนการประเมินโดยรูปแบบการประเมินของไทเลอร์ จากการศึกษาทฤษฎี แนวคิดที่เกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้นแล้ว และเพื่อให้ได้ข้อมูล เชิงสรปุ รวมผลการดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการ และเพอื่ แสวงหาคำตอบวา่ 1) กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสได้เข้าถึง และใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ หรอื ไม่ เพียงใด 2) กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรอื ไม่ เพยี งใด 3) กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการรู้จักและมีความต้องการเข้ารับบริการ จาก ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยาเพิม่ ขึน้ หรอื ไม่ เพียงใด ผู้ประเมินจึงได้ออกแบบและดำเนินการประเมินผลการจัดกิจกรรมครั้งนี้ โดยใช้รูปแบบ การประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) ที่เรียกว่า “แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของ จุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) ในการประเมินผลโครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพ้ืนที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2562 ซงึ่ จะชว่ ยให้การดำเนนิ งานโครงการมีประสิทธภิ าพ และประสิทธิผลยิ่งขนึ้ ต่อไป
บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินการประเมนิ การประเมินครั้งนี้ เป็นการประเมินเชิงรวมสรุปผลโครงการวิทยาศาสตร์สัญจร สู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ผู้ประเมินได้นำรูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler)ที่ เรียกว่า “แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกตใ์ ชใ้ นการประเมินโครงการครงั้ น้ี ทั้งน้ไี ด้กำหนด รูปแบบการประเมิน ขอบเขตการประเมิน กรอบแนวคิด การประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และวิธีการประเมิน ดังต่อไปน้ี 1. รูปแบบการประเมินผล การประเมินครั้งนี้เป็นการประเมินเชิงรวมสรุปผล “โครงการวิทยาศาสตร์สัญจร สู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 ” เพื่อประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการรูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler)ที่เรียกว่า “แบบจำลองที่ยึด ความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ในการประเมินโครงการครั้งนี้ ซึ่งเป็นการประเมินผลการดำเนินงาน (ผลผลิต/ผลลพั ธ์) โครงการโดยเทยี บกับวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการเป็นหลกั 2. ขอบเขตการประเมินผล การประเมินคร้ังนี้กำหนดขอบเขตของการประเมินผลการดำเนินงาน “โครงการ วทิ ยาศาสตรส์ ญั จรส่สู ถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทีบ่ ริการ” ประจำปีงบประมาณ 2564 ทสี่ ำคญั ไว้ ดงั น้ี 1. หน่วยการวิเคราะห์ คือ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปงี บประมาณ 2564 2. รูปแบบการประเมิน ใช้รูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) ที่เรียกวา่ “แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ โดยประเมินจากตัวชี้วัดความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ ด้านผลผลิตและผลลพั ธ์ของโครงการ ตามท่ีกำหนดไว้ ดงั นี้ วัตถุประสงค์ ข้อ 1 : เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงและใช้ประโยชน์ จากแหล่งเรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์ ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ 1.1 จำนวนคร้งั ทีจ่ ัดกิจกรรม (กำหนดไวไ้ ม่ต่ำกว่า 30 ครง้ั ) 1.2 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม (กำหนดไวไ้ ม่น้อยกว่า 25,000 คน)
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพน้ื ทบ่ี ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 34 วัตถุประสงค์ ข้อ 2 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ตัวชี้วดั ความสำเร็จ 2.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (กำหนดไวไ้ ม่น้อยกว่า ร้อยละ 85) 2.2 รอ้ ยละของกลุ่มเป้าหมายทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมมคี วามพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม (กำหนดไวไ้ ม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 85) วตั ถปุ ระสงค์ ข้อ 3 : เพ่อื ใหก้ ลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเขตพ้นื ท่ีบริการรจู้ กั และมีความต้องการ เข้ารับบริการจากศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเพมิ่ ขึ้น ตัวชี้วัดความสำเร็จ 3.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความต้องการเข้ารับบริการจาก ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยาอีก (กำหนดไวไ้ มน่ ้อยกว่า ร้อยละ 85) 3. แหล่งข้อมูลและกลุ่มตัวอย่าง การประเมินครงั้ นก้ี ำหนดแหลง่ ข้อมูล และกลุ่มตวั อย่าง ดงั น้ี 3.1 แหลง่ ขอ้ มูล 3.1.1 แหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร ได้แก่ เอกสารนโยบาย เอกสารโครงการ เอกสารทฤษฎีที่เกยี่ วขอ้ ง 3.1.2 แหล่งขอ้ มลู ประเภทบคุ คล ไดแ้ ก่ 1) เจา้ หนา้ ทโ่ี ครงการ 2) กลุ่มเปา้ หมายผู้รับบรกิ าร 3.2 กลุ่มตัวอยา่ งและการกำหนดขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งผใู้ ห้ขอ้ มูล กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้รับบริการกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สัญจร จากสถานศึกษาทเ่ี ข้ารว่ มโครงการทง้ั หมด จำนวน 21 ครง้ั ประกอบด้วย 1) ครูหัวหนา้ หมวดวทิ ยาศาสตร์จากสถานศึกษา ท่ีเป็นจดุ ท่ีตัง้ ให้บริการทุกแห่ง จำนวน 21 คน 2) นักเรยี นทมี่ ารับบรกิ าร จำนวน 320 คน กลุ่มครู : ผู้ประเมินดำเนินการเก็บข้อมูลโดยวิธีเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เลือกครูหัวหน้าหมวดวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนที่เป็นจุดที่ตั้งให้บริการ จำนวน 21 จุด ไดก้ ลมุ่ ตวั อย่าง จำนวน 21 คน กลุ่มนักเรียน : ผู้ประเมินดำเนินการเก็บข้อมูลจากนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมวิทยาศาสตร์ สัญจรทุกคร้งั ที่จดั กจิ กรรม โดยกำหนดขนาดกลมุ่ ตวั อย่าง จำนวน 320 คน ณ ค่าความเช่ือม่ันที่ 95% หรือ α = 0.05 (Yamane,1967 : อา้ งถึงใน ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ, 2540) จากประชากร นักเรียนทั้งหมด 16,496 คน แล้วสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ใช้จุดที่ต้ัง ให้บริการเป็นชั้น โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างนักเรียนแยกตามจุดที่ตั้งให้บริการ และทำการสุ่มอย่างง่าย
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นท่ีบริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 35 (Simple Random Sampling) จากจำนวนนักเรียนแต่ละจุดที่ตั้งให้บริการตามสัดส่วนของจำนวน สมาชิกประชากรย่อยในแต่ละจดุ ทตี่ ้ังให้บริการ โดยใช้สูตรดังน้ี จำนวนกลมุ่ ตัวอยา่ งในแต่ละจดุ ที่ต้ังให้บริการ = จำนวนกลุม่ ตัวอย่างทง้ั หมด × จำนวนกล่มุ ประชากรในแตล่ ะจดุ ที่ตั้งให้บริการ จำนวนประชากรทั้งหมด เมื่อคำนวณจำนวนกลุ่มตัวอยา่ งในแต่ละจดุ ให้บริการแลว้ เม่ือมีเศษต้งั แต่ 0.5 ข้ึนไปปัดเศษ เป็นหนึ่งแตเ่ มื่อมเี ศษนอ้ ยกวา่ 0.5 ลงมาปัดเศษทงิ้ 3. เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมนิ ใชก้ ารเก็บข้อมลู 2 วธิ ี คอื 1) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ใช้แบบบันทึกข้อมูลจำนวนสถานศึกษาและ กลุ่มเป้าหมายทร่ี ว่ มกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร 2) การรวบรวบขอ้ มูลดว้ ยเคร่ืองมือเครือ่ งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ ครัง้ นี้ เป็นแบบสอบถามมี ทั้งปลายเปิด ปลายปิด มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) ที่ผู้ประเมิน ได้สร้างขึ้นและ ตรวจสอบความตรงเชงิ เนื้อหาและการสื่อความหมายโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ทา่ น แบ่งเป็น 3 ตอน คอื ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลเบือ้ งต้นของผตู้ อบแบบประเมนิ ตอนท่ี 2 การประเมนิ ผลการดำเนินการและการจดั กจิ กรรม 5 ระดบั คอื ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรุง และตอ้ งปรับปรุงเร่งด่วน ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะเป็นคำถามปลายเปดิ 4. วธิ เี ก็บรวบรวมข้อมลู วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใชแ้ บบประเมนิ เชิงผลสรุปการจัดกิจกรรม เกบ็ ขอ้ มลู ในระหว่าง ที่จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร 13 พฤศจิกายน 2563 - 11 กันยายน 2564 จัดส่งแบบประเมิน ให้กลุ่มเป้าหมายครหู ัวหน้าหมวดวิทยาศาสตร์ จำนวน 20 ฉบับ นักเรียนที่รว่ มกิจกรรม จำนวน 320 ฉบับ รวม 341 ฉบับได้รับแบบประเมินกลับคืน จำนวน 341 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100.00 รายละเอียด ดังตารางท่ี 3-1
Search