Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ พระไตรปิฎก

ใบความรู้ พระไตรปิฎก

Published by Pimnipa Jittrakom, 2021-07-31 07:36:03

Description: ใบความรู้ เรื่อง พระไตรปิฎก

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เรื่อง พระไตรปิฎก ความหมายและความสาคัญของพระไตรปฎิ ก พระไตรปิฎก แปลวา่ “คัมภรี ์ 3” เพราะ ไตร แปลว่า สาม และ ปฎิ ก แปลว่า คมั ภรี ์ พระไตรปฎิ ก คือ คมั ภีร์ทีบ่ ันทึกหลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนาท้ังหมดไว้เปน็ หมวดหมู่ แบง่ เป็น 3 ส่วน ไดแ้ ก่ พระวนิ ยั ปฎิ ก พระสุตตันตปฎิ ก และพระอภิธรรมปิฎก พระไตรปิฎก คือ คัมภรี ท์ ่สี าคัญของพระพุทธศาสนา ถือเป็นแมบ่ ทหรอื แม่แบบในการพิจาณา ตีความหรืออธบิ ายธรรมะหรือข้อความอ่นื ๆ ทางพระพุทธศาสนา ธรรมหรือข้อความใด ๆ ท่ีขดั แยง้ จาก ข้อความในพระไตรปิฎกกจ็ ะถอื ว่าธรรมะหรือข้อความนนั้ ใช้ไม่ได้ การท่พี ระไตรปิฎกเป็นคัมภรี ท์ ีร่ วมและบันทึกคาสั่งสอนของพระพทุ ธศาสนาไว้ทงั้ หมดทาให้ ชาวพุทธทกุ คนในศาสนาอนื่ ๆ ไดศ้ ึกษาความเป็นมาของพระพทุ ธศาสนาได้อยา่ งกวา้ งขวางและเข้าใจดยี ง่ิ ข้ึน ภาพที่ 1 พระไตรปฎิ ก ทม่ี า : http://www.trilakbooks.com/product/2004404.html

โครงสร้างและสาระสงั เขปของพระไตรปิฎก พระไตรปฎิ กได้รวบรวมและบันทกึ คาสอนของพระพทุ ธศาสนาไว้ 84,000 พระธรรมขนั ธ์ (หวั ขอ้ ) มจี านวน 45 เล่ม ตามจานวนปีทพี่ ระพุทธเจ้าเทศนาสงั่ สอนประชาชน โดยจัดแยกเป็น 3 หมวดหมู่ ตามลักษณะเน้ือหา ได้แก่ พระวนิ ยั ปฎิ ก พระสุตตันตปิฎก และพระอภธิ รรมปฎิ ก ดังน้ี พระไตรปฎิ ก พระวนิ ัยปฎิ ก ช่ือยอ่ : พระวนิ ยั พระสุตตันตปิฎก กล่าวถงึ กฎระเบยี บและขอ้ บังคับต่างๆ พระอภิธรรมปิฎก ของภิกษแุ ละภิกษณุ ี มี 21,000 พระธรรมขันธ์ ชอื่ ย่อ : พระสูตร กลา่ วถงึ พระธรรมเทศนาทท่ี รงแสดงไว้ ในที่ต่างๆ มี 21,000 พระธรรมขันธ์ ชอื่ ย่อ : พระอภธิ รรมปฎิ ก กลา่ วถึงหลักคาสอนทีเ่ ป็นหลักวชิ า มี 42,000 พระธรรมขันธ์ พระวินัยปฎิ ก พระวนิ ัยปฎิ ก หรอื พระวินยั หมายถงึ คัมภีรท์ ี่เก็บรวบรวมเก่ียวกับข้อปฏิบัติ และข้อห้ามของพระภิกษุและภิกษุณี เพ่อื ใหพ้ ระภกิ ษุและภกิ ษุณีอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสงบสขุ มงุ่ ม่ันใน การปฏิบตั ธิ รรม และยงั รวบรวมคาสง่ั สอนท่ีเป็นระเบียบปฏบิ ตั ิต่างๆ ไวดว้ ย เชน่ ระเบยี บหน้าทปี่ ฏบิ ัตติ ่อกัน คุณสมบัติของพระภิกษผุ รู้ ับหน้าที่ตา่ ง ๆ กริ ิยามารยาทท่ตี ้องรกั ษา พิธีกรรมการบวช กฐนิ เปน็ ต้น

พระวินยั ปิฎก ได้แก่ พระไตรปิฎกเลม่ ที่ 1 ถงึ เล่มท่ี 8 มเี น้ือหาแบ่งเปน็ 5 หมวด ดังแผนภูมิแตล่ ะ หมวดมสี าระสงั เขป ดังนี้ พระวินยั ปฎิ ก มหาวิภังค์/ภกิ ขวุ ิภังค์ ว่าด้วยข้อความหรือวินัยที่เป็นหลักปฏิบัติ ภกิ ขุนวี ิภังค์ ของภิกษสุ งฆห์ รือศลี 227 ข้อ มหาวรรค ว่าดว้ ยข้อความหรือวินยั ที่เป็นหลักปฏิบตั ิ จุลวรรค ของภกิ ษุณีหรือศลี 311 ข้อ ปริวาร วา่ ด้วยพทุ ธประวตั ิและพิธีกรรมทางพระวนิ ัย ว่าด้วยพธิ ีกรรมทางพระวินัยและความ เป็นมาของภกิ ษุณี ภกิ ษสุ งฆ์และประวตั กิ าร สงั คายนาพระธรรมวินัย วา่ ดว้ ยขอ้ เบด็ เตลด็ ทางพระวินัย เพ่อื ใหง้ ่ายต่อการทาความเข้าใจภาพรวมเก่ยี วกบั พระวนิ ยั ปิฎก จงึ แบง่ เนอื้ หาพระวินยั ปฎิ กออกเป็น กลุม่ ๆ ได้ 3 กลุ่ม ดังนี้  กลมุ่ ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งศลี หรอื ขอ้ ปฏิบัติของพระภิกษุหรือภิกษุณี พร้อมทัง้ บทลงโทษหนักเบา บา้ งตามความผิด การศึกษาเนื้อหาในกลุ่มนี้จะชว่ ยใหท้ ราบว่าสงิ่ ใดพระภิกษุทาได้ หรือทาส่ิงใดไมไ่ ด้ เพื่อให้ เราปฏิบัติตอ่ ท่านได้อย่างถูกต้อง  กลมุ่ ท่ี 2 ว่าด้วยพธิ ีกรรม และระเบียนปฏิบัติของพระภิกษุในพิธกี รรมนนั้ บางสว่ นจะคาบ เกี่ยวกันกบั กล่มุ ที่ 1 เช่น การอปุ สมบท อุโบสถ การจาพรรษา ระเบียบพิธเี หลา่ นีจ้ ะสง่ ผลเป็นขอ้ ปฏบิ ตั ิใน ศาสนพธิ ีทง้ั หมด เชน่ การถวายผา้ กฐนิ การถวายผ้าจาพรรษา เป็นต้น การศึกษาเนื้อหาในกลมุ่ น้จี ะทาให้เรา ทราบถงึ ระเบยี นพิธีและสามารถปฏบิ ตั ิตามไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง  กลุ่มท่ี 3 เปน็ เรื่องท่ัวไปไม่เก่ียวกับพระวนิ ัยหรือศาสนพิธใี ด เชน่ ประวัตขิ อง พระพทุ ธศาสนา การสังคายนาครง้ั ท่ี 1 และครัง้ ท่ี 2 พทุ ธประวตั ิบางตอน การศกึ ษาเน้อื หาในกลุม่ นจี้ ะทาให้ เรารแู้ ละเข้าใจเรื่องราวตา่ งๆ เกย่ี วกบั พระพุทธเจ้าและประวัตขิ องพระพทุ ธศาสนามากยิ่งขนึ้

พระสตุ ตนั ตปฎิ ก พระสุตตนั ตปฎิ ก เรยี กสนั้ ๆ วา่ พระสตู ร เปน็ คมั ภรี ท์ ีว่ า่ ด้วยพระธรรมเทศนาของ พระพทุ ธเจา้ และของพระพุทธสาวกบางส่วน ท่ที รงแสดงแก่บุคคลตา่ ง ๆ ในวาระโอกาสตา่ ง ๆ ในรปู แบบของ คาสนทนา โต้ตอบ คาบรรยาย หรอื คาประพนั ธ์ จากพระไตรปิฎก 45 เล่ม คือ เล่มท่ี 9-33 เป็นส่วนท่ีมีเน้ือหายาวกว่าปฎิ กอื่น ๆ แบ่งเป็น 5 นิกาย ดังแผนภูมิ แต่ละนกิ ายมสี าระสังเขป ดงั นี้ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ว่าดว้ ยคาสง่ั สอนทเ่ี ปน็ พระสูตรหรือพระธรรมเทศนาท่มี เี น้ือหา มัชฌมิ นิกาย สาระยาว สงั ยตุ ตนิกาย องั คตุ ตรนิกาย ว่าดว้ ยคาส่งั สอนท่ีเปน็ พระสูตรหรือพระธรรมเทศนาท่มี ีขนาดปาน ขฑุ ทกนกิ าย กลาง เรียกวา่ ปณั ณาสก์ วา่ ดว้ ยคาสั่งสอนทเี่ ป็นพระสูตรหรอื พระธรรมเทศนาที่จดั เนือ้ หา รวมเข้าเปน็ กล่มุ ๆ ตามเรือ่ งท่เี ก่ยี วข้องกนั เรียกวา่ สังยตุ ต์ ว่าดว้ ยคาสั่งสอนท่ีเป็นพระสูตรหรือพระธรรมเทศนาจากน้อยไปหา มากท่ีจดั กลมุ่ ตามจานวนข้อธรรม เรียกวา่ นบิ าต รวม 11 นิบาต หรือ 11 หมวดธรรม ว่าด้วยคาสงั่ สอนท่ีเปน็ พระสูตรหรอื พระธรรมเทศนาเบด็ เตล็ดท่ีจัด เขา้ ใน 4 นิกายแรกไมไ่ ด้ เชน่ ภาษิตต่างๆ ประวตั ิของสาวก ชาดก

พระอภิธรรมปฎิ ก พระอภธิ รรมปฎิ ก เรยี กสนั้ ๆ วา่ พระอภิธรรม คือ คัมภรี ์ที่ว่าด้วยการอธบิ ายหลกั ธรรมใน รปู วิชาการไม่เกี่ยวด้วยบุคคลและเหตกุ ารณ์ หรือสถานการณ์ใดๆ แตจ่ ะกล่าวถึงสภาวะล้วนๆ ของตัวธรรม การศึกษาพระอภิธรรมปิฎกจาเปน็ ตอ้ งใช้ปญั ญาเปน็ อย่างมากเพราะเป็นเรื่องที่มีความ สลับซบั ซอ้ น ยากต่อการเขา้ ใจและไม่มกี ารอ้างอิงบุคคล เหตกุ ารณ์ หรือสถานท่ใี ดๆ พระอภธิ รรมปิฎกมที งั้ หมด 12 เล่ม คอื ตั้งแต่เล่มท่ี 34-45 โดยแบง่ เปน็ 7 คมั ภรี ์ ดงั แผนภมู แิ ต่ ละคมั ภีรม์ สี าระสงั เขป ดังนี้ พระอภธิ รรมปิฎก ธัมมสงั คณี วา่ ด้วยการรวบรวมหวั ข้อธรรมที่กระจดั กระจายเข้าไว้เปน็ หมวดหมแู่ ล้วอธบิ าย วิภังค์ ทีละกลุ่ม ทลี ะหมวดหมู่ ธาตุกถา ว่าดว้ ยการแยกแยะหวั ขอ้ ธรรมท่ีสาคัญในสังคมณี เช่น ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อริยสจั ออกเปน็ ข้อๆ แล้วอธิบายอย่างละเอยี ด ว่าด้วยการจัดหวั ข้อธรรมท่ีมีความสมั พันธ์กนั เขา้ ไวด้ ้วยกนั โดยยึด ขันธ์ อายตนะ และธาตุ 4 เป็นหลกั ปคุ คลบัญญัติ วา่ ด้วยการบญั ญตั ิเรยี กบุคคลประเภทต่างๆ ตามคุณธรรมที่มีอยใู่ นบุคคลน้นั กถาวัตถุ เชน่ โสดาบนั ได้แก่ บุคคลผ้ลู ะสังโยชน์ 3 วา่ ดว้ ยคาถาม คาตอบเกี่ยวกบั หลกั ธรรมหรือการที่อธบิ ายทรรศนะที่ขดั แยง้ กันเพอื่ แก้ ความเหน็ ผดิ ของนิกายตา่ งๆ โดยมุ่งชีใ้ ห้เห็นว่า ความเห็นที่ถกู ตอ้ งนนั้ เปน็ อยา่ งไร ยมก ว่าดว้ ยการยกหัวขอ้ ธรรมขน้ึ มาอธบิ ายใหเ้ หน็ ความหมายของขอบเขตอย่างชัดเจน ด้วยวิธีถามและตอบ ปัฏฐาน ว่าด้วยการอธบิ ายปัจจยั หรือเงอื่ นไขทางธรรม 24 ประการ วา่ ด้วยธรรมข้อใดเปน็ ปจั จยั ของกนั และกัน คมั ภรี ์น้ีมเี นื้อหามาก หรอื เรยี กว่า มหาปกรณ์ แปลว่า ตารา ใหญ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook