Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Actionplan_OPS

Actionplan_OPS

Published by Sarunphorn Sukhonphanich, 2021-07-30 04:09:11

Description: เล่มแผนปฏิบัติการคมนาคมดิจิทัล

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

แผนปฏิบัตกิ ารคมนาคมดจิ ิทัล สานักงานปลัดกระทรวงคมนาม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนา 1. ท่ีมาและความสาคญั 1-1 2. วตั ถุประสงค์ 1-2 3. เป้าหมาย 1-2 4. ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั 1-2 5. รายละเอียดของแผนปฏิบัติการคมนาคมดิจิทลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม 1 - 2 บทท่ี 2 ความสอดคล้องเชื่อมโยงกบั นโยบายและแผนท่เี กย่ี วขอ้ ง 1. แผนยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ 2-1 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 2-2 3. นโยบายและแผนระดับชาติวา่ ดว้ ยการพัฒนาดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม 2-6 4. แผนพฒั นารฐั บาลดิจทิ ลั ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ 2-9 5. แผนยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนปฏิบัตกิ ารด้านคมนาคมระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) 2 - 10 6. แผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล ๒ - 13 บทท่ี 3 การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ขององคก์ ร 1. โครงสร้างและอานาจหนา้ ทก่ี ระทรวงคมนาคม 3-1 2. โครงสรา้ งและอานาจหน้าทส่ี านกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม 3-2 3. สถานภาพปจั จุบันด้านไอซีทขี องสานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม 3-3 4. สรปุ ผลการดาเนนิ งานท่ีสาคญั ดา้ นไอซีทขี องสานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม 3 - 4 บทท่ี 4 สาระสาคญั ของแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นคมนาคมดิจทิ ลั สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ 1. แผนปฏบิ ัติการกระทรวงคมนาคม 4-1 และแผนปฏิบตั ิการสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม 2. แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ัลของกระทรวงคมนาคม 4-3 3. แผนปฏิบัติการท่สี นับสนนุ การดาเนนิ งานด้านดิจิทัลของกระทรวงคมนาคม 4-6 4. แผนปฏบิ ตั กิ ารคมนาคมดิจทิ ัลของสานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม 4-8 5. ความเช่อื มโยงแผนพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ัลประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ 4 - 28 บทท่ี 5 การบริหารจดั การและการประเมนิ ผล 1. แผนการพัฒนาคมนาคมดิจิทลั (Digital Transformation Roadmap 5-1 for Thailand Transportation) 2. กลไกการขับเคล่อื นการดาเนินงานตามแผน 5-2 3. การติดตามและการประเมินผล 5-3 สารบัญ - 1

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ บทท่ี ๑ บทนำ ▪ ทม่ี าและความสาคัญ ▪ วตั ถปุ ระสงค์ ▪ เป้าหมาย ▪ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ ▪ รายละเอียดของแผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ๑. ทีม่ ำและควำมสำคญั ด้วยนโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล ซ่ึงมุ่งเน้นการนาเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใช้ในการขับเคล่อื น ประเทศไทยให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง โดยนา เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ กับทุกภาคส่วนของระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย มุ่งหมายให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่ระดับฐาน ราก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในระดับกระบวนทัศน์ทางความคิดไปจนถึงการเปล่ียนแปลงระดับกระบวนการทางาน และกระบวนการสร้างคุณค่า เพ่ือใหส้ ามารถเพ่ิมคุณคา่ ทางเศรษฐกิจ และเพิม่ ขดี ความสามารถทางการแข่งขัน ควบคู่กับยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารราชการภาครัฐ ไปสคู่ วามม่ันคง มงั่ คงั่ และย่ังยืนของประเทศไทยได้ ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายท้ังในระดับกระทรวงและระดับประเทศ กระทรวงคมนาคม ได้ตระหนักถึงโอกาสและความท้าทายจากบริบทการเปล่ียนแปลงของโลก ที่ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลอย่างก้าวกระโดด จึงได้ให้ความสาคัญพร้อมกับร่วมขับเคลื่อนและสนับสนุนการปฏิรูปประเทศไทย สู่ Digital Thailand โดยได้จัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ของกระทรวงคมนาคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) (แผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล 2021) ท่ีจะเป็นกรอบช้ีนาการนาเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีแนวโน้มจะเข้ามามีอิทธิพล (Digital Technology Trends) ต่อการคมนาคมขนส่งของประเทศไทยในอนาคต เพ่ือมุ่งยกระดับในการ เพ่ิมคุณค่างานด้านคมนาคมขนส่งด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างก้าวกระโดด ( Disruptive Innovation) เพื่อขับเคล่ือน (Enabler) ระบบคมนาคมขนส่งให้บรรลุเป้าประสงค์ ทั้งในด้านคมนาคมขนส่งที่ปลอดภัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ( Green and Safe Transport) มีประสิทธิภาพ ( Transport Efficiency) สามารถเข้าถึงได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียม (Inclusivity) ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงความก้าวหน้าทางด้านโทรคมนาคมที่กาลังจะก้าวเข้าสู่ยุค 5G และเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) ก่อให้เกิดข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ซ่ึงถูกผลิตขึ้นตลอดเวลาในปริมาณที่มากขึน้ (Volume) มีการเปล่ียนแปลง บทที่ 1 - 1

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดิจิทัล สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ๒. วัตถุประสงค์ 2.1 เพ่ือพัฒนาและเตรียมความพร้อมบุคลากรภาครัฐ ให้มีความรู้และทักษะท่ีเหมาะสม ตอ่ การดาเนนิ ชวี ติ และสามารถใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละสร้างสรรค์ 2.2 เพื่อบูรณาการการทางานและการใหบ้ รกิ ารของสานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม ดว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทลั และการใช้ประโยชน์จากข้อมูล เพือ่ เพม่ิ ความโปรง่ ใส ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล 2.3 เพื่อจัดทาแผนงาน/โครงการ พัฒนา ปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการใหบ้ ริการทั้งกบั หนว่ ยงานในสังกดั และกับผูร้ บั บริการของสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ๓. เปำ้ หมำย 3.1 สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมมีกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล และสร้างความสาเรจ็ ให้กบั เป้าหมายท่กี าหนดไว้ 3.2 เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านดิจิทัลของสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม และเป็นกรอบ ในการจัดทาคาของบประมาณรายจา่ ยประจาปี รวมถงึ การตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านราชการ ๔. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะไดร้ ับ ๔.๑ สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม มีแผนปฏิบั ติการในการขับเคล่ือนการดาเนินงาน และการบรหิ ารงานด้วยการนาเทคโนโลยดี ิจิทลั มาประยุกตใ์ ช้ ๔.๒ การพัฒนางานด้านดิจิทัลของกระทรวงคมนาคมเป็นไปในทิศทางเดียวกับการพัฒนาประเทศ ตามนโยบาย Thailand 4.0 ๕. รำยละเอยี ดของแผนปฏบิ ตั ิกำรคมนำคมดจิ ทิ ัล สำนักงำนปลดั กระทรวงคมนำคม 5.1 บทนำ 5.2 ควำมสอดคล้องควำมเช่ือมโยงกับนโยบำยและแผนท่ีเก่ียวข้อง 5.3 กำรวิเครำะห์สถำนกำรณ์ขององค์กร 5.4 สำระสำคัญของแผนปฏิบัติกำรด้ำนคมนำคมดิจิทัลของสำนักงำนปลัดกระทรวงคมนำคม (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) 5.5 กำรบริหำรจัดกำรและกำรประเมินผล บทท่ี 1 - 2

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ บทท่ี ๒ ความสอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายและแผนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ▪ แผนยุทธศาสตร์ชาติและแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ▪ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ▪ นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ด้วยการพัฒนาดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคม ▪ แผนพัฒนารฐั บาลดิจิทลั ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ▪ แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏบิ ัตกิ ารด้านคมนาคมระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) ▪ แผนพฒั นาคมนาคมดิจทิ ลั ๑. ยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 1.1 ยทุ ธศาสตรช์ าติ วสิ ัยทศั น์ ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อให้ประเทศมีขีดความสามารถ การแข่งขันมีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดี กินดีสังคม มีความม่ันคง เสมอภาค และเปน็ ธรรม ยุทธศาสตรช์ าติท่ีใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ ๒๐ ปี ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ▪ ยุทธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง ▪ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ▪ ยุทธศาสตร์การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคน ▪ ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทียมกันทางสังคม ▪ ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตที่เปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดลอ้ ม ▪ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั 1.2 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาตปิ ระเด็นท่ี (7) โครงสรา้ งพ้นื ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส์ และดิจทิ ัล การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถือเป็นปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญในการขับเคลื่อนและสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ โดยจะช่วยให้เกิดการพัฒนาต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในพื้นที่ ซ่ึงจะกระตุ้นให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจในส่วนภูมิภาค ยกระดับผลิตภาพของภาคการผลิต และบริการ ลดต้นทุนการผลิตและบริการ สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงกับอนุภูมิภาคและภูมิภาค อย่างเป็นระบบ รวมถึงช่วยสร้างบรรยากาศทางเศรษฐกิจของประเทศที่เหมาะแก่การค้า การลงทุน ตลอดจน รองรบั การเกิดภยั พิบตั ิทางธรรมชาติและปรับตัวได้ทนั ต่อความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในอนาคต สาหรับกระทรวงคมนาคม ในฐานะหน่วยงานที่กากับดูแลการดาเนินงานด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านคมนาคมขนส่งของประเทศไทย ซ่ึงจะเป็นส่วนหน่ึงในการขับเคล่ือนการดาเนินงานภายใต้แผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นที่ 7 โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล ในส่วนของการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวและการเชื่อมโยงไปยังภูมิภาคต่าง ๆ สนับสนุนให้เกิดระบบโลจิสติกส์ บทท่ี ๒ - 1

แผนปฏิบัติการคมนาคมดจิ ิทลั สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ที่มีศักยภาพ โดยการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลประโยชน์ท้ังภาครัฐ เอกชน และประชาชน ซง่ึ เป็นไปตามเป้าหมายของแผนแมบ่ ทฯ ประเด็นท่ี 7 ขา้ งต้น ๒. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ๒.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) สาระสาคญั 1) วตั ถุประสงค์ 1.1) เพ่ือวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะ ความรู้ความสามารถและพฒั นาตนเองได้ตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต 1.2) เพื่อให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการ เข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้ง ชุมชน มคี วามเขม้ แขง็ พึ่งพาตนเองได้ 1.3) เพ่ือให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความย่ังยืน สร้างความเข้มแข็ง ของฐานการผลิตและบริการเดิม และขยายฐานการผลิตและบริการใหม่ โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากข้ึน สรา้ งความเขม้ แข็งของเศรษฐกจิ ฐานราก และสร้างความม่ันคงทางพลังงาน อาหาร และน้า 1.4) เพ่ือรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อม ให้สามารถสนับสนุน การเติบโตท่ีเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อมและการมีคุณภาพชีวติ ทด่ี ีของประชาชน 1.5) เพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมีการทางาน เชงิ บรู ณาการของภาคีการพัฒนา 1.6) เพ่ือให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมือง เพื่อรองรับการ พัฒนายกระดับฐานการผลติ และบริการเดิม และขยายฐานการผลิตและบริการใหม่ 1.7) เพ่ือผลักดันให้ประเทศไทยมีความเช่ือมโยง (Connectivity) กับประเทศต่าง ๆ ทั้งในระดับ อนุภูมิภาค ภูมิภาคและนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมท้ังให้ประเทศไทยมีบทบาท นา และสร้างสรรค์ด้านการค้า การบริการและการลงทุน ภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ ท้ังในระดับอนุภูมิภาค ภูมภิ าค และระดับโลก 2) ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนุษย์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในสังคม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแขง่ ขันได้อย่างยง่ั ยืน ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การเตบิ โตท่เี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาอยา่ งย่ังยนื ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสรา้ งความม่นั คงแหง่ ชาตเิ พื่อการพฒั นาประเทศสูค่ วามม่งั คั่งและยั่งยนื ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การบริหารจดั การในภาครัฐ การปอ้ งกนั การทุจริตประพฤตมิ ิชอบและธรรมาภิบาล ในสงั คมไทย ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและระบบโลจสิ ติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม ยุทธศาสตร์ท่ี 9 การพฒั นาภาค เมือง และพน้ื ท่เี ศรษฐกิจ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 10 ความรว่ มมือระหวา่ งประเทศเพื่อการพฒั นา บทที่ ๒ - 2

แผนปฏิบัติการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ กระทรวงคมนาคม ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) โดยร่วมขับเคล่ือนท้ังการดาเนินงาน ในฐานะหน่วยงานหลัก ตลอดจนร่วมเป็นหน่วยงานสนับสนุนในยุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ๒.2 กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 ปัจจุบันสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ สศช. อยู่ระหว่างดาเนินการ จัดทา (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๓ (พ.ศ. 2566 – 2570) ซ่ึงจะเป็นการ พลิกโฉมประเทศไทยมุ่งสู่เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจดังกล่าว จะเป็นกลไกหลักในการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ ร่วมกับแผนระดับ 2 ฉบับอ่ืน และมีบทบาท ในการกาหนดทิศทางการพัฒนาที่ประเทศควรมุ่งเน้น ในระยะ ๕ ปี โดยมีเป้าหมายและประเด็นการพัฒนา ที่ชัดเจนและจาเพาะเจาะจง ผ่าน ๔ มติ ิ 13 เป้าหมาย ดงั นี้ ภาพที่ ๒ - ๑ กรอบเป้าหมายของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ทมี่ า : https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=plan13 มิตทิ ี่ ๑ เศรษฐกิจมลู คา่ สูงทีเ่ ปน็ มิตรตอ่ ส่ิงแวดล้อม “ปรับทิศทางของภาคการผลิตเดิม ส่งเสริมโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่” ประกอบด้วย ๖ ประเด็นเป้าหมาย ๑. ไทยเปน็ ประเทศช้ันนา ด้านสนิ ค้าเกษตร และเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง ๒. ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเท่ยี วทีเ่ น้นคุณคา่ และความยั่งยืน ๓. ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าของอาเซียน ๔. ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทยแ์ ละสุขภาพมูลค่าสูง ๕. ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและจุดยทุ ธศาสตร์ทางโลจสิ ติกสท์ ่ีสาคัญของภูมิภาค ๖. ไทยเปน็ ฐานการผลิตอิเล็กทรอนิกสอ์ ัจฉริยะและบริการดิจทิ ัลของอาเซียน บทที่ ๒ - 3

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ิทลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ภาพที่ ๒ - ๒ กรอบเปา้ หมายตามมิติที่ ๑ เศรษฐกจิ มูลค่าสูงทเ่ี ป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ทม่ี า : https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=plan13 มิตทิ ี่ ๒ สงั คมแหง่ โอกาสและความเสมอภาค “ใช้เทคโนโลยี ข้อมูล และดิจิทลั แพลทฟอร์มเป็นเครื่องมือ” ประกอบดว้ ย ๓ ประเด็นเปา้ หมาย ๑. ไทยมี SMEs ท่ีเข้มแขง็ มศี ักยภาพสูง และสามารถแข่งขนั ได้ ๒. ไทยมพี นื้ ทแ่ี ละเมืองหลักของภมู ภิ าคท่ีมีความเจริญทางเศรษฐกิจ ทันสมยั และน่าอยู่ ๓. ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และคนไทยทุกคน มีความคุ้มครองทางสังคม ท่ีเพียงพอ เหมาะสม ภาพท่ี ๒ - 3 กรอบเปา้ หมายตามมติ ิที่ ๒ สงั คมแห่งโอกาสและความเสมอภาค ทม่ี า : https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=plan13 บทที่ ๒ - 4

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ มติ ทิ ่ี ๓ วิถีชีวิตที่ยงั่ ยืน \"ใชร้ ะบบการจดั การท่ีมีประสิทธภิ าพและเทคโนโลยเี พือ่ จัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อม พัฒนาความสามารถในการรับมือกับภยั ธรรมชาติและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ\" ประกอบดว้ ย ๒ ประเด็นเป้าหมาย ๑. ไทยมีเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นและสังคมคาร์บอนต่า ๒. ไทยสามารถลดความเสีย่ ง และผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ภาพท่ี ๒ - ๔ กรอบเปา้ หมายตามมติ ทิ ่ี ๓ วถิ ชี ีวิตทย่ี ั่งยืน ที่มา : https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=plan13 มติ ิที่ ๔ ปัจจยั สนับสนนุ การพลิกโฉมประเทศ \"กลไกการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์มีประสิทธิภาพ กลไกการบรหิ ารจัดการภาครัฐมคี วามทันสมยั \" ประกอบด้วย ๒ ประเดน็ เปา้ หมาย ๑. ไทยมีกาลังคนสมรรถนะสงู มุ่งเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่อง ตอบโจทยก์ ารพัฒนาแหง่ อนาคต ๒. ไทยมภี าครฐั ทีม่ สี มรรถนะสูง ภาพท่ี ๒ - ๕ กรอบเปา้ หมายตามมิตทิ ่ี ๔ ปัจจัยสนับสนุนการผลิกโฉมประเทศ ที่มา : https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=plan13 บทท่ี ๒ - 5

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดิจทิ ลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ๓. นโยบายและแผนระดับชาตวิ า่ ด้วยการพัฒนาดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 3.1 วิสยั ทศั น์นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม “ปฏริ ูปประเทศไทยสดู่ จิ ิทัลไทยแลนด์” “ดิจิทัลไทยแลนด์ (Digital Thailand) หมายถึง ยุคท่ีประเทศไทยสามารถสร้างสรรค์ และใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีดิจิทลั อย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน นวตั กรรม ขอ้ มลู ทนุ มนษุ ย์และทรัพยากร อื่นใด เพ่อื ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไปสู่ความม่ันคง มง่ั ค่งั และยงั่ ยืน” 3.2 เปา้ หมายและตัวชี้วัดความสาเรจ็ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมกาหนดเป้าหมายการพัฒนา ในระยะ ๑๐ ปี ดังน้ี เป้าหมายที่ ๑ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ก้าวทันเวทีโลก ด้วยการใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีดิจิทลั เปน็ เคร่ืองมอื หลกั ในการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมการผลิต การบรกิ าร เป้าหมาย ตวั ช้ีวดั ▪ ประเทศไทยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล พัฒนา ▪ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นวตั กรรม และสร้างสรรค์ธรุ กิจแนวใหม่ให้สามารถแข่งขัน ใน World Competitiveness Scoreboard อยใู่ นกลมุ่ ได้ในเวทโี ลก ประเทศท่ีมีการพัฒนาสูงสดุ ๑๕ อนั ดบั แรก ▪ อุตสาหกรรมดิจิทัลมีบทบาทและความสาคัญต่อระบบ ▪ อุตสาหกรรมดิจิทัลมีส่วนสาคัญในการขับเคล่ือน เศรษฐกจิ และสังคมเพ่มิ ข้นึ ตลอดจนเป็นท่ีรู้จักและยอมรับ ประเทศไทยสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูง ในประชาคมโลก โดยสัดส่วนมูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัลต่อ GDP ▪ เศรษฐกิจไทยมีความเข้มแข็งจากภายใน โดยธุรกิจ เพม่ิ ข้นึ เป็นรอ้ ยละ ๒๕ ฐานราก และ SMEs ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้าง ศักยภาพในการทาธุรกิจ และสร้างโอกาสในการเข้าสู่ ตลาดโลก เป้าหมายที่ ๒ สรา้ งโอกาสทางสังคมอยา่ งเท่าเทียม ด้วยข้อมลู ขา่ วสารและบริการผ่านส่ือดิจิทัล เพ่อื ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน เป้าหมาย ตวั ชี้วดั ▪ ประชาชนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ▪ ประชาชนทุกคนต้องสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ทางสังคม สามารถเขา้ ถึงเทคโนโลยดี ิจิทัลและสื่อดิจิทัล ความเร็วสูงเสมือนเป็นสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน อยา่ งเท่าเทียม ประเภทหนง่ึ ▪ คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น จากการเข้าถึง ▪ อันดับการพัฒนาตามดัชนี ICT Development ทรัพยากรสารสนเทศและบริการสาธารณะโดยเฉพาะ Index (IDI) อยู่ในประเทศท่ีมีการพัฒนาสูงสุด บริการพน้ื ฐานท่จี าเป็นตอ่ การดารงชวี ิต ผา่ นเทคโนโลยี ๔๐ อันดับแรก ดจิ ิทลั บทที่ ๒ - 6

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดิจทิ ัล สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ เป้าหมายท่ี ๓ พัฒนาทุนมนุษย์สู่ยุคดิจิทัล ด้วยการเตรียมความพร้อมให้บุคลากรทุกกลุ่ม มคี วามรแู้ ละทักษะท่ีเหมาะสมต่อการดาเนนิ ชีวติ และการประกอบอาชีพในยุคดจิ ทิ ัล เปา้ หมาย ตัวช้ีวัด ▪ประชาชนมีความสามารถในการพัฒนาและใช้สารสนเทศ ▪ ประชาชนทุกคนมีความตระหนัก มีความรู้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ มคี วามตระหนัก ความรู้ความเขา้ ใจ ความเข้าใจ ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ ให้เกิดประโยชนแ์ ละสร้างสรรค์ และสรา้ งสรรค์ (Digital Literacy) ▪ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ก า ลั ง ค น ด้ า น ดิ จิ ทั ล ที่ มี ค ว า ม รู้ ความสามารถ และความเช่ียวชาญระดับมาตรฐานสากล และกาลังคนในประเทศมีความรอบรู้และสามารถ ใช้ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ลเป็ นเครื่ องมื อในการปฏิ บั ติ และ สร้างสรรคผ์ ลงาน เปา้ หมายที่ ๔ ปฏริ ูปกระบวนทศั นก์ ารทางานและการให้บรกิ ารของภาครัฐ ด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและการ ใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูล เพื่อใหก้ ารปฏิบัตงิ านโปรง่ ใส มปี ระสิทธภิ าพ และประสิทธิผล เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ▪ กระบวนทัศน์การปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ ▪ อันดับการพฒั นาด้านรัฐบาลดจิ ทิ ัล ในการจัดลาดับ และการให้บริการของทางภาครัฐเปล่ียนแปลงด้วย ของ UN e-Government Rankings อยู่ในกลุ่มประเทศ เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือให้บริการประชาชน ธุรกิจ ทมี่ กี ารพัฒนาสูงสุด ๕๐ อันดับแรก และทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ มีความมั่นคง ปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล 3.3 ภูมิทศั นด์ จิ ทิ ัลของประเทศไทย (Thailand Digital Landscape) การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศไทย มุ่งเน้นการพัฒนาระยะยาวอย่างย่ังยืน สอดคล้องกับการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แต่เนื่องจากเทคโนโลยีดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังน้ัน ในการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จึงกาหนดภูมิทัศน์ดิจิทัลหรือทิศทางการพัฒนา และเปา้ หมายออกเป็น ๔ ระยะ ดังน้ี ระยะท่ี 1 (1 ปี 6 เดือน): Digital Foundation ประเทศไทยลงทุนและสร้างฐานรากในการพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมดจิ ิทลั ระยะท่ี 2 (5 ปี): Digital Thailand Inclusion ทุกภาคส่วนของประเทศไทยมีส่วนร่วมในการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมดิจทิ ัลตามแนวประชารัฐ ระยะที่ 3 (10 ปี): Full Transformation ประเทศไทยก้าวสู่การเป็น Digital Thailand ที่ขับเคลื่อน และใชป้ ระโยชน์จากนวัตกรรมดจิ ิทัลได้อย่างเตม็ ศักยภาพ ระยะท่ี 4 (10 - 20 ปี): Global Digital Leadership ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว สามารถใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สรา้ งมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ และคณุ คา่ ทางสงั คมอยา่ งยั่งยนื บทท่ี ๒ - 7

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดิจทิ ลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ภาพท่ี ๒ – ๖ แผนภาพภมู ิทัศนด์ ิจิทลั ของประเทศไทย ทม่ี า : นโยบายและแผนระดับชาติวา่ ดว้ ยการพัฒนาดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม 3.4 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนาดิจิทัลของประเทศไทยตามวิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนาตามภูมิทัศน์ดิจิทัล ของประเทศไทย ๔ ระยะ จึงได้กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ ๖ ยุทธศาสตร์ ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มีการกาหนดเป้าหมาย เพื่อให้สามารถติดตามและประเมินความก้าวหน้าได้อย่างชัดเจน และมีแผนงาน เพื่อดาเนนิ การตามยุทธศาสตร์ ดังนี้ ภาพท่ี ๒ – ๗ แผนภาพยทุ ธศาสตร์ตามนโยบายและแผนระดบั ชาติ วา่ ดว้ ยการพฒั นาดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทีม่ า : นโยบายและแผนระดับชาตวิ า่ ดว้ ยการพัฒนาดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม บทที่ ๒ - 8

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ิทลั สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ๔. แผนพฒั นารัฐบาลดิจิทลั ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ๔.๑ วสิ ัยทศั น์ แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2563 – 2565 มีวิสัยทัศน์ คือ “ รัฐบาลดิจิทัล เปิดเผย เชื่อมโยงและร่วมกันสร้างบริการท่ีมีคุณค่าให้ประชาชน” ซึ่งได้กาหนดยุทธศาสตร์สาหรับ การพัฒนารัฐบาลดจิ ิทลั ๔.๒ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ภายใต้แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2563 – 2565 มี 4 ยุทธศาสตร์ โดยมุ่งเน้นความสาคัญใน 6 ประเด็น ได้แก่ 1) การศึกษา 2) สุขภาพและการแพทย์ 3) การเกษตร ๔) ความเหล่ือมล้าทางสิทธิสวัสดิการประชาชน 5) การมีส่วนร่วม โปร่งใสและตรวจสอบได้ของประชาชน และ 6) การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) โดยที่ทั้ง ๔ ยุทธศาสตร์ ได้มุ่งหวังให้นาไปสู่ เป้าหมายของประเทศในด้าน “การลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงบริการและสวัสดิการของประชาชน การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย การสร้างให้เกิดความโปร่งใสในการท้างานของภาครัฐท่ีประชาชนสามารถตรวจสอบได้ และการสร้าง การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการขับเคล่ือนนโยบายส้าคัญของประเทศ” ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยกระดบั คุณภาพการให้บรกิ ารแก่ประชาชนด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทัล โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบริการดิจิทัลท่ีมีคุณภาพสาหรับประชาชน โดยการส่งเสริมและสนับสนุน ให้หน่วยงานรัฐมีทัศนคติด้านดิจิทัล (Digital Mindset) มีความพร้อมและศักยภาพในการพัฒนาบริการดิจิทัล ที่มีประสิทธิภาพ การจัดต้ังศูนย์แลกเปล่ียนข้อมูลกลางในการแลกเปล่ียนข้อมูลดิจิทัลและทะเบียนดิจิทัล ระหว่างหน่วยงานของรัฐ เปา้ หมาย - ประชาชนไดร้ บั ความสะดวกรวดเรว็ ในการใช้บริการของหนว่ ยงานภาครัฐ - เกิดศูนย์แลกเปล่ียนข้อมูลกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลและทะเบียนดิจิทัลระหว่าง หน่วยงานของรฐั - บริการภาครัฐท่ีสาคัญได้รับการปรับเปล่ียนเป็นบริการในรูปแบบดิจิทัล แบบเบ็ดเสร็จ (End-to-End Digital Services) ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 อานวยความสะดวกภาคธรุ กิจไทยด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทลั ให้ความสาคัญกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่ออานวยความสะดวกภาคธุรกิจไทย ซึ่งถือเป็นหนึ่ง ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือให้ภาคธุรกิจสามารถลดต้นทุนและลดระยะเวลา ในการประกอบธรุ กิจ เพือ่ เพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางธรุ กิจ โดยการนาเทคโนโลยีดิจทิ ัล เข้ามาชว่ ยตลอด กระบวนการธุรกิจ ต้ังแต่การรับคาขออนุญาตผ่านระบบดิจิทัลเพ่ือลดระยะเวลาและเอกสารที่ภาคธุรกิจ ตอ้ งจดั เตรียม การพัฒนาระบบเอกสารและใบอนุญาตอิเล็กทรอนิกส์ เปา้ หมาย - ภาคธุรกจิ ไดร้ บั ความสะดวกในการทาธุรกจิ (Ease of Doing Business) - เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการส่งเสริมและพัฒนาผูป้ ระกอบการให้สามารถแข่งขันได้ บทที่ ๒ - 9

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ผลักดนั ให้เกดิ ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ในทกุ กระบวนการทางานของรฐั ให้ความสาคัญกับการปรับปรุงกระบวนการทางานของภาครัฐ เพื่อให้สามารถพัฒนาบริการประชาชน หรือบริหารจัดการภายในภาครัฐด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มศักยภาพ โดยเป็นการส่งเสริมและผลักดัน ต้ังแต่ต้นกระบวนการ คือ การจัดทาข้อมูลภาครัฐให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อรองรับการแลกเปล่ียนเช่ือมโยง ในการให้บริการประชาชน การปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมายเพื่อให้สามารถเปิดเผย แลกเปลี่ยนข้อมูล ได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ จนถึงกระบวนการการส่งเสริมให้ภาครัฐ เปิดเผยข้อมูลผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐเพ่ือให้ประชาชนสามารถตรวจสอบการทางาน โดยเฉพาะ ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในทุกขั้นตอน เป้าหมาย - ภาครัฐมีกลไก การเปิดเผย แลกเปลี่ยน และบริหารจัดการข้อมูลดิจิทัล ( Digitization) ตามกรอบธรรมาภิบาลขอ้ มูลภาครัฐ - เกิดการเชื่อมโยงระบบบริการจัดการงบประมาณการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐท่ปี ระชาชนสามารถเข้าถึง และตรวจสอบได้ - เกดิ ศูนย์กลางข้อมลู เปิดภาครฐั สาหรับเปิดเผยข้อมูลของหน่วยงานในรูปแบบและช่องทางดิจิทัล ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นากลไกการมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น รว่ มขบั เคล่อื นรัฐบาลดิจทิ ัล โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนรัฐบาลดิจิทัล ผ่านการแสดง ความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางหรือนโยบายการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลผ่านช่องทางดิจิทัลท่ีประชาชนสามารถ เข้าถงึ ได้ โดยครอบคลุมการเสนอความคิดเห็นและการตดิ ตามผลในด้านตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง เป้าหมาย - ลดปัญหา อปุ สรรคในการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วนต่อการขับเคล่ือนรัฐบาลดจิ ิทัล - ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงนโยบายและให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ประเทศผ่านระบบดิจิทัล ๕. แผนยทุ ธศาสตร์และแผนปฏบิ ัติการด้านคมนาคมระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ กระทรวงคมนาคม ได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ เพ่อื เป็นกรอบในการพัฒนางานด้านคมนาคมขนส่งประเทศไทย โดยมุ่งเนน้ การพัฒนาระบบ การขนส่งท่ีบูรณาการของหน่วยงานในสังกัดและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เพ่ือการยกระดับการให้บริการ โดยใหค้ วามสาคญั ทัง้ ภาคประชาชน ผู้ใชง้ านบรกิ าร ผ้ปู ระกอบการและผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสีย ท้ังนี้ ตามนยั มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2562 ให้หนว่ ยงานของรฐั ปรับปรุง แผนระดับ 3 ในความรับผิดชอบตามนัยมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 4 ธันวาคม 2560 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของ แผนระดับที่ 1 และแผนระดับที่ 2 ให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ กระทรวงคมนาคม จึงได้ ปรับปรุงรายละเอียดของแผนยุทธศาสตร์ และเปลี่ยนชื่อเป็น แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้านคมนาคมระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) สอดคล้องกบั มติคณะรัฐมนตรขี ้างต้นแลว้ บทท่ี ๒ - 10

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ิทลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ๔.๑ วัตถปุ ระสงค์ แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมระยะที่ 1 (พ.ศ. 2563 - 2565) มีวัตถุประสงค์เพ่ือกาหนดเป้าหมาย และกรอบวิธีการดาเนินงานเพื่อให้บรรลผุ ลตามเป้าหมาย และมีกระบวนการวเิ คราะห์ ทบทวน และคาดการณ์ การเปล่ยี นแปลงของสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานและพฒั นางานของกระทรวงคมนาคม ให้สามารถมุ่งเน้นบูรณาการการปฏิบัติราชการของส่วนงานต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกกระทรวงฯ ให้เป็นไปอย่างสอดคล้องเช่ือมโยง สามารถประสานการปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เพื่อสนอง ความตอ้ งการของภาครัฐและประชาชน ๔.๒ วิสยั ทศั น์ พฒั นาระบบขนส่งอย่างบรู ณาการ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกภาคสว่ น และขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน ๔.๓ พนั ธกิจของกระทรวงคมนาคม 1) บรหิ ารนโยบายและขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์อย่างบูรณาการให้สอดคล้องกบั ทิศทางการพฒั นาประเทศ 2) ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และระบบการจัดการจราจรให้เพียงพอกับความต้องการท้ัง ปัจจุบนั และอนาคต 3) กากบั ดแู ลอยา่ งมีธรรมาภบิ าล ปรบั ปรุงพฒั นาระบบกฎหมายและมาตรฐานให้ทันต่อความเปลีย่ นแปลง 4) ปรบั ปรงุ และพฒั นาการให้บรกิ ารขนส่งให้มีคณุ ภาพอยา่ งต่อเนือ่ ง 5) สง่ เสริม สนบั สนนุ เพอ่ื สรา้ งค่านยิ มที่เหมาะสมของผใู้ ช้ระบบขนส่ง และพฒั นาขดี ความสามารถ ในการประกอบการ 6) บริหารและพัฒนาองค์กรอยา่ งตอ่ เน่ืองสู่ความเปน็ เลิศ ๔.๔ ค่านยิ มของกระทรวงคมนาคม ค่านิยมร่วม: “i-GETT” โดยมีความหมาย ดังน้ี Inclusive = บรกิ ารทวั่ ถงึ Green = ใส่ใจสง่ิ แวดลอ้ ม Efficient = มีประสทิ ธิภาพ Technology = รู้จกั ใช้เทคโนโลยี Transparent = มคี วามโปร่งใส ๔.๕ ตวั ช้วี ดั ความสาเร็จของวิสัยทศั น์ 1) โครงสรา้ งพน้ื ฐานการขนสง่ โดยรวมของประเทศไทย ในดัชนีความสามารถ 2) ในการแข่งขัน ซง่ึ จดั ทาโดย World Economic Forum 3) สดั ส่วนการใชบ้ ริการระบบขนส่งสาธารณะในประเทศไทย โดยแบ่งเป็น 2 ตวั ช้ีวดั ย่อย ได้แก่ 3.1) สดั ส่วนการใช้บริการระบบขนสง่ สาธารณะในเขต กทม. และปริมณฑล 3.2) สัดสว่ นการใชบ้ ริการระบบขนส่งสาธารณะในการเดินทางระหว่างเมือง ๔) อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (จานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนน ในความรับผดิ ชอบของกระทรวงคมนาคมต่อประชากรหน่ึงแสนคน) ๕) สัดส่วนตน้ ทุนค่าขนส่งตอ่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ บทที่ ๒ - 11

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ๔.๖ ยุทธศาสตร์ภายใต้แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้านคมนาคมระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 “ท่ัวถึงและเปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อม” - การพัฒนาระบบขนส่งขั้นพื้นฐานใหเ้ ช่อื มโยง ทวั่ ถึง และเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม กลยทุ ธ์ 1.1 ปรับปรุงและบารุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งให้มีคุณภาพและเป็นไป ตามมาตรฐาน กลยุทธ์ 1.2 พฒั นาบริการขนสง่ สาธารณะข้ันพื้นฐานทมี่ ีความครอบคลุมและเข้าถงึ ได้ กลยทุ ธ์ 1.3 เพ่มิ ความคล่องตวั และการเชื่อมตอ่ ระหว่างรปู แบบการขนส่ง กลยุทธ์ 1.4 พฒั นาระบบขนส่งเพอื่ รองรบั ผ้สู ูงอายุ ผูพ้ กิ าร และบรกิ ารเชงิ สังคม กลยุทธ์ 1.5 ส่งเสริมและพัฒนาระบบขนส่งที่ลดการใช้พลังงาน พึ่งพิงพลังงานท่ีสะอาด และเปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 “ปลอดภัยและม่นั คง” - การยกระดับความปลอดภยั และความม่นั คงของระบบขนสง่ กลยทุ ธ์ 2.1 ปรับปรงุ และพัฒนาระบบมาตรฐานและกากับดูแลด้านความปลอดภัย ของการขนส่ง กลยทุ ธ์ 2.2 สง่ เสรมิ วัฒนธรรมด้านความปลอดภยั ของผู้ใช้ระบบขนสง่ กลยุทธ์ 2.3 ปรบั ปรงุ ด้านความปลอดภัยของโครงสร้างพนื้ ฐานการขนส่ง กลยทุ ธ์ 2.4 ปรับปรงุ และพัฒนาระบบมาตรฐานและกากับดูแลด้านความมั่นคงของการขนส่ง ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 “ประสทิ ธิภาพและขดี ความสามารถ - การพฒั นาระบบขนส่งเพื่อเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขันและขับเคลอื่ นการพัฒนา เศรษฐกจิ ของประเทศ กลยุทธ์ 3.1 พัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานการขนสง่ สนบั สนนุ การพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ กลยุทธ์ 3.2 พัฒนาการเช่อื มโยงระหว่างประเทศและภมู ิภาคด้วยระบบขนส่งและโลจิสติกส์ กลยทุ ธ์ 3.3 ปรับปรงุ และพฒั นาระบบกากับและดูแลด้านเศรษฐกจิ ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 “ปจั จัยขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์” - การพฒั นาปัจจัยสนับสนนุ การขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์สู่ความสาเร็จ กลยทุ ธ์ 4.1 ปรับปรุงและพัฒนาระบบกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับให้สอดคล้อง กบั บรบิ ทท่ีเปล่ยี นไป กลยทุ ธ์ 4.2 ปรบั ปรงุ และพัฒนาการบรหิ ารองค์กรภาครัฐอยา่ งตอ่ เนื่อง กลยุทธ์ 4.3 พฒั นาระบบการบริหารนโยบายและขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรอ์ ย่างบรู ณาการ กลยทุ ธ์ 4.4 พฒั นาเทคโนโลยดี ิจิทัลด้านการขนสง่ กลยทุ ธ์ 4.5 พัฒนาทรพั ยากรบคุ คล งานวจิ ยั และนวตั กรรมด้านการขนสง่ กลยทุ ธ์ 4.6 ส่งเสรมิ และพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและความโปร่งใส โดยมีแผนภมู แิ สดงแผนทย่ี ทุ ธศาสตร์ของกระทรวงคมนาคมดังภาพที่ 2 - ๘ บทที่ ๒ - 12

แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดิจิทัล สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ภาพท่ี 2 – ๘ แผนภูมิแสดงยทุ ธศาสตร์และการขบั เคลอ่ื นของกระทรวงคมนาคม ที่มา : แผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2560 – 2564 ๖. แผนพัฒนาคมนาคมดจิ ทิ ัล 6.1 วัตถุประสงค์ 1) เพ่อื เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ใหพ้ ร้อมเป็นส่วนหน่ึง ของห่วงโซ่มูลค่าของโลก (Global Value Chain) และเป็นศูนยก์ ลางการขนส่งคมนาคมของภูมิภาค รองรับเศรษฐกิจ ประชาคมอาเซียนโดยนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาสร้างนวัตกรรมขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงคมนาคม ทง้ั ในดา้ นโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม ระบบขนส่ง รวมทง้ั สรา้ งดิจิทลั แพลตฟอร์มสาหรับอตุ สาหกรรมคมนาคม ขนสง่ ที่จัดเป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกจิ เพ่ืออนาคต 2) เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน สร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ทางสังคม เตรียมความพร้อมรองรับการเปล่ียนแปลงสู่ความเป็นเมืองและสังคมยุคดิจิทัล โดยสร้างนวัตกรรม ทางดิจิทัลที่ช่วยเพ่ิมความสะดวกในการเดินทาง ความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการ ความปลอดภัยทางด้าน คมนาคมรวมทง้ั การขนส่งท่ปี ระหยดั พลังงานและเป็นมติ รต่อสิ่งแวดลอ้ ม 3) เพ่ือพัฒนาทุนมนุษย์สู่ยุคดิจิทัลและสังคมอัจฉริยะ ด้วยการเตรียมความพร้อมบุคลากร ผู้ประกอบการ ให้มีความรู้และทักษะท่ีเหมาะสมตอ่ การดาเนินชีวติ การประกอบอาชีพและการประกอบธุรกจิ สามารถใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั ให้เกดิ ประโยชน์และสรา้ งสรรค์ 4) เพ่ือปฏิรูปกระบวนทัศน์ บูรณาการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบการทางานและการให้บริการ ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูล เพอื่ เพม่ิ ความโปรง่ ใส ประสทิ ธภิ าพประสทิ ธผิ ล ใหเ้ ทา่ ทันบริบทท่เี ปลี่ยนแปลงไปด้วยความรวดเร็ว บทท่ี ๒ - 13

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ 6.2 วสิ ยั ทัศน์ 1) “ยกระดบั คมนาคมไทย สู่ยคุ คมนาคมดิจิทลั ” มุง่ สรา้ งสรรค์ พฒั นานวัตกรรมบนพื้นฐานดจิ ิทัล เพื่อยกระดับภารกิจด้านคมนาคม ใหส้ ามารถสรา้ งคุณค่าเพ่ิม อย่างกา้ วกระโดด ท้ังในด้านการเพม่ิ ขีดความสามารถ ทางการแขง่ ขนั ของประเทศ การยกระดบั คุณภาพชีวิตของประชาชน สง่ เสริมการเตมิ โตแบบมีส่วนรว่ ม และเพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การทดี่ ี ของภาครัฐอยา่ งย่งั ยืน 6.3 เป้าประสงคห์ ลัก ซง่ึ หมายถงึ ผลลพั ธท์ ภี่ าคสว่ นตา่ ง ๆ จะไดร้ ับจากการพัฒนาคมนาคมดิจิทลั ประกอบด้วย 2) พัฒนาเศรษฐกิจ คมนาคมดิจทิ ัล สนบั สนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ให้พรอ้ มเปน็ ส่วนหน่ึงของหว่ งโซ่มลู ค่าของโลก (Global Value Chain) และเป็นศนู ย์กลาง การขนส่งคมนาคมภูมิภาค รองรบั เศรษฐกจิ ประชาคมอาเซียน โดยนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาสร้างนวตั กรรมขับเคล่ือนภารกจิ ของกระทรวงคมนาคม ทงั้ ด้านโครงสร้างพืน้ ฐานคมนาคม ระบบขนสง่ รวมทัง้ สร้างดจิ ิทัลแพลตฟอร์มสาหรบั อตุ สาหกรรมคมนาคม ที่จดั เปน็ กลไกขบั เคลื่อนเศรษฐกิจเพอ่ื อนาคต 3) พัฒนาสังคม คมนาคมดิจิทัลยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชาชน พร้อมรองรับสูก่ ารเปลย่ี นแปลง เปน็ เมืองนวตั กรรมดิจทิ ัลท่ีชว่ ยเพ่มิ ความสะดวกในการเดนิ ทาง ความเท่าเทยี ม ในการเข้าถึงบริการและยกระดับความปลอดภัย โดยบุคลากร ผูป้ ระกอบการ มีความรู้และทักษะที่เหมาะสมตอ่ การดาเนินชีวิตและการประกอบธุรกจิ ในยุคดิจทิ ลั สามารถใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั สร้างมลู คา่ ทางเศรษฐกิจและคุ้มคา่ ทางสังคม ดว้ ยการเติมโตแบบมีส่วนรว่ ม 4) พัฒนาอย่างม่ังคง ยั่งยืน คมนาคมดิจทิ ัลช่วยลดผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อมและการประหยดั พลังงาน พฒั นาการบริการและบรหิ ารภาครฐั มปี ระสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล โปรง่ ใส บรู ณาการ สามารถนาข้อมูลและเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาปฏริ ปู กระบวนทัศนก์ ารทางานและการใหบ้ ริการ บทที่ ๒ - 14

แผนปฏิบัติการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ 6.4 ยุทธศาสตร์คมนาคมดจิ ทิ ัล แผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล ได้กาหนดยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคล่ือนไว้ 5 ยุทธศาสตร์ 29 กลยุทธ์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ พัฒนา Digital Logistics มุ่งสู่การเป็น Smart Corridor ของภูมิภาค และสนบั สนนุ เศรษฐกิจระดบั ชุมชน ประกอบด้วย ๙ กลยทุ ธ์ ได้แก่ กลยุทธท์ ี่ ๑ พัฒนา Digital Logistics บนเส้นทาง Smart Route เพ่ือสนับสนุนสินค้าหลัก ทางเศรษฐกิจของประเทศและสนับสนุนเศรษฐกิจระดบั ชุมชน กลยุทธท์ ่ี ๒ พัฒนา Smart Goods และ Smart Logistics Service กลยุทธท์ ่ี ๓ พัฒนา Smart Vehicle และ Smart Driver สาหรับการขนส่ง กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนา Smart Gateway เพ่ือรองรั บการขนส่ งแบบ Digital Logistics และเพิ่มประสิทธภิ าพการเปลีย่ นภาคการขนส่ง กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนา Smart Infrastructure เพ่ือรองรับการขนส่งแบบ Digital Logistics กลยุทธท์ ี่ ๖ พฒั นา Intelligent Traffic Management เพ่ือเพิ่มความคล่องตัวในการขนสง่ กลยุทธท์ ี่ ๗ พัฒนา Digital Transport เพ่ืออานวยความปลอดภัยและความมั่นคง ในการขนสง่ กลยุทธท์ ี่ ๘ พฒั นาระบบวเิ คราะห์ข้อมลู (Data Analytics) เพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพการขนส่ง กลยุทธท์ ่ี ๙ พฒั นาปัจจยั สนับสนุนท่ีจาเปน็ (Soft Infrastructure) สาหรบั Digital Logistics ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ พฒั นา Smart Mobility มุ่งสกู่ ารเป็นตน้ แบบ Smart City ควบคกู่ ับ การสนบั สนุน Inclusive Transport ประกอบด้วย ๙ กลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนา Smart Mobility ในพื้นที่ Smart Area ควบคู่กบั Smart Mobility ทีส่ นับสนุน Inclusive Transport กลยุทธ์ท่ี ๒ พัฒนา Smart Journey และ Smart Mass Transport Service กลยุทธท์ ่ี ๓ พฒั นา Smart Vehicle และ Smart Driver สาหรบั สนบั สนนุ การเดินทาง กลยุทธท์ ี่ ๔ พัฒนา Smart Station เพื่อรองรบั การเดินทางแบบ Smart Mobility กลยุทธท์ ่ี ๕ พัฒนา Smart Infrastructure เพ่ือรองรบั การเดินทางแบบ Smart Mobility กลยุทธท์ ่ี ๖ พัฒนา Intelligent Traffic Management เพอ่ื เพ่ิมความคล่องตัวในการเดินทาง กลยุทธท์ ี่ ๗ พัฒนา Digital Transport เพ่ืออานวยความปลอดภัยและความม่ันคง ในการเดินทาง กลยุทธท์ ่ี ๘ พฒั นาระบบวิเคราะห์ข้อมลู (Data Analytics) เพ่อื เพ่ิมประสิทธิภาพการเดนิ ทาง กลยุทธ์ท่ี ๙ พฒั นาปจั จัยสนับสนุนทีจ่ าเป็น (Soft Infrastructure) สาหรบั Smart Mobility ยุทธศาสตร์ที่ ๓ สร้าง Digital Transport Ecosystem เพ่ือพัฒนาประชาชนและ ผูป้ ระกอบการด้านคมนาคม ประกอบด้วย ๔ กลยุทธ์ ไดแ้ ก่ กลยุทธท์ ี่ ๑ พัฒนา Digital Lifelong Learning Platform ดา้ นคมนาคมขนสง่ กลยทุ ธท์ ่ี ๒ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D) Digital Transport Technology เพ่ือขับเคล่ือน ประเทศสกู่ ารเปน็ Digital Maker กลยุทธ์ท่ี ๓ สง่ เสริม Transport Tech Startup เพ่ือต่อยอดงานวิจยั และพัฒนา กลยทุ ธ์ที่ ๔ พัฒนา Digital Marketplace สาหรับอุตสาหกรรมคมนาคมขนส่ง พร้อมจัด ช่องทางการบริการครบวงจรสาหรบั กลุ่มเป้าหมายในลักษณะ Biz Portal บทที่ ๒ - 15

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดจิ ิทลั สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ ยกระดับ Digital Transport Data เพื่อบูรณาการและเพิ่มคุณค่าข้อมูล คมนาคม ประกอบดว้ ย 4 กลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ กลยุทธ์ที่ ๑ กาหนดทิศทางและแผนแม่บท เพื่อสร้างคุณค่าจากข้อมูลคมนาคม (Digital Transport Data Roadmap) กลยุทธ์ที่ ๒ แลกเปลี่ยนและเผยแพร่ข้อมูล (Open Data) ตามแผนแม่บทฯ เพื่อตอบสนอง ความต้องการของภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในการนาข้อมลู ไปใชป้ ระโยชน์ กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนามาตรฐาน (Standard) และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (Cyber Security) ตามแผนแมบ่ ทฯ กลยุทธท์ ่ี ๔ เพิ่มศักยภาพ NMTIC และสร้าง Big Data Analytics จากข้อมูลคมนาคมขนส่ง ตามแผนแม่บทฯ ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ สร้าง Digital Government Platform เพ่ือยกระดับการบริหารจัดการ งานบริการ และบคุ ลากร ประกอบดว้ ย ๓ กลยทุ ธ์ ได้แก่ กลยทุ ธท์ ี่ ๑ สร้าง Public Participation & Engagement ด้วย Data Analytics และ Social Network กลยุทธ์ที่ ๒ เพิม่ ศักยภาพ D-Service และ Back Office สู่ Government Service Platform กลยทุ ธท์ ี่ ๓ พัฒนา Digital Learning Platform สาหรับผู้บริหาร ข้าราชการ และบุคลากร ของกระทรวงคมนาคม ภาพท่ี ๒ - ๙ แสดงกลยุทธ์ตามแผนพัฒนาคมนาคมดจิ ทิ ัล บทที่ ๒ - 16

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดิจทิ ลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ บทท่ี ๓ การวเิ คราะห์สถานการณ์ขององคก์ ร ▪ โครงสรา้ งและอานาจหน้าท่ีกระทรวงคมนาคม ▪ โครงสรา้ งและอานาจหน้าท่ีสานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม ▪ สถานภาพปจั จุบนั ดา้ นไอซีทขี องสานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม ▪ สรปุ ผลการดาเนนิ งานที่สาคัญด้านไอซีทีของสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ๑. โครงสรา้ งและอานาจหนา้ ท่ีกระทรวงคมนาคม พระราชบัญญตั ิปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 กาหนดให้กระทรวงคมนาคม มีอานาจหน้าที่ เกี่ยวกับการขนส่ง ธุรกิจการขนส่ง การวางแผนจราจร และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคม และราชการอ่ืนตามท่ีมีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของกระทรวงคมนาคม หรือส่วนราชการที่สังกัด กระทรวงคมนาคม โดยปจั จบุ นั มหี นว่ ยงานในสังกดั รวม ๒๐ หน่วยงาน ดังตอ่ ไปนี้ 1.1 หนว่ ยงานราชการ จานวน 9 หนว่ ยงาน ได้แก่ 1) สานกั งานรัฐมนตรี (สรค.) 2) สานกั งานปลดั กระทรวง (สปค.) 3) กรมเจ้าท่า (จท.) 4) กรมการขนส่งทางบก (ขบ.) 5) กรมท่าอากาศยาน (ทย.) 6) กรมทางหลวง (ทล.) 7) กรมทางหลวงชนบท (ทช.) 8) สานกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร (สนข.) 9) กรมการขนสง่ ทางราง (ขร.) 1.2 หน่วยงานรัฐวสิ าหกจิ จานวน 10 หนว่ ยงาน ได้แก่ 1) การรถไฟแหง่ ประเทศไทย (รฟท.) 2) การรถไฟฟ้าขนสง่ มวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) 3) การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) 4) การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (กทพ.) 5) องค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ (ขสมก.) 6) สถาบันการบนิ พลเรอื น (สบพ.) 7) บริษัท ขนส่ง จากดั (บขส.) 8) บริษัท วทิ ยุการบินแห่งประเทศไทย จากดั (บวท.) 9) บรษิ ัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) (ทอท.) 10) บรษิ ทั รถไฟฟา้ ร.ฟ.ท. จากัด (รฟฟท.) 1.3 องค์กรอิสระตามกฎหมาย จานวน ๑ หน่วยงาน ไดแ้ ก่ สานักงานการบินพลเรอื นแห่งประเทศไทย (กพท.) บทท่ี 3 - 1

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดจิ ิทลั สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ๒. โครงสรา้ งและอานาจหน้าท่ีสานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ปี พ.ศ. 2552 ส่วนราชการในสังกดั สานักงานปลัดกระทรวงมี 13 หน่วยงาน และกระทรวงคมนาคมไดม้ กี ารออกกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556 เพิ่มศูนย์ปฏิบัติการ ต่อต้านการทุจริต เป็นหน่วยงานในสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ต่อมาในปี พ.ศ. 2558 ได้มีพระราชกาหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2555 ทาให้กลุ่มค้นหา และช่วยเหลืออากาศยานและเรือท่ีประสบภัย และกลุ่มงานนิรภัยการบินและสอบสวนทางอากาศยาน ประสบอุบัติเหตุเป็นหน่วยงานใหม่ของสานักงานปลัดกระทรวง ดังน้ัน สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม จงึ มี 15 หน่วยงาน ดังแสดงแผนภมู ิโครงสร้างและอตั รากาลงั ตามภาพท่ี 3 - 1 ภาพท่ี 3 - 1 กรอบอตั รากาลังบุคลาการสานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม บทที่ 3 - 2

แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดิจิทลั สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ๓. สถานภาพปัจจุบนั ดา้ นไอซีทีของสานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม 3.1 บคุ ลากรด้านไอซีที ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม มีบุคลากร ทั้งข้าราชการและพนักงานราชการ จานวน 35 อตั รา ตามภาพที่ 3 - 2 ภาพท่ี 3 - 2 กรอบอตั รากาลังบุคลาการด้านไอซที ี สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม 3.2 สถานภาพด้านโครงสรา้ งพ้นื ฐานไอซีที สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ได้จัดหาอุปกรณ์ด้านไอซีที เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ ประกอบด้วย เคร่ืองคอมพิวเตอร์ประมวลผล จานวน 436 เคร่ือง เคร่ืองคอมพิวเตอร์ แบบ All in One จานวน ๑๔๐ เคร่ือง เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก จานวน ๑๐๖ เครื่อง นอกจากน้ี ยังไดจ้ ดั หาเครื่องคอมพวิ เตอร์แทป็ เล็ตสาหรับผ้บู รหิ าร จานวน ๘๐ เคร่ือง สาหรับโครงสร้างพ้ืนฐานด้านไอซีที สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม มีห้อง Data Center ท่ีมรี ะบบไฟฟ้า ระบบทาความเย็น และระบบดับเพลงิ ตดิ ต้งั ภายในหอ้ งดงั กล่าว ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานสากล และห้องดังกล่าวได้ติดต้ังเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) จานวน 37 เครื่อง รองรับระบบสารสนเทศ ของกระทรวงคมนาคม และติดต้ังระบบเพ่ือเช่ือมโยงข้อมูลและระบบ CCTV กับหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ กรมเจ้าท่า (ท่าเรือแม่น้าเจ้าพระยา และท่าเรือคลองแสนแสบ) กรมทางหลวง (ทางหลวงพิเศษระหว่าง เมืองหมายเลข 7 และหมายเลข 9) กรมทางหลวงชนบท (สะพานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล) การรถไฟแห่งประเทศไทย (สถานีรถไฟกรุงเทพ) บริษัท ขนส่ง จากัด (สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ) บทที่ 3 - 3

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดิจิทัล สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ และบริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง) เพ่ืออานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการเดินทางของประชาชน ทั้งทางบก ทางน้า ทางราง และทางอากาศ นอกจากนี้ สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมยังได้มีการจัดหาระบบประชุมทางไกล ผ่านจอภาพ (Video Conference) ท่ีเป็นศูนย์กลางการประชุมทางไกลสาหรับหน่วยงานในสังกัดกระทรวง คมนาคมท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รวมถึงการเชื่อมโยงการประชุมทางไกลผ่านจอภาพร่วมกับหน่วยงาน ภายนอกท้ังในประเทศและต่างประเทศ อีกท้ังมีระบบประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ตลอดจน ให้จัดให้มีบริการระบบเครือข่ายภายในท้ังแบบใช้สาย (LAN) และแบบไร้สาย (Wireless LAN) ที่ครอบคลุมพ้ืนท่ี ภายในสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โดยหน่วยงานภายนอกท่ีประสงค์ใช้งานบริการเครือข่าย สามารถแจ้งความประสงค์ได้ที่ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น ๒ อาคารสโมสรและหอประชุม เพ่อื กาหนดรหสั ผใู้ ช้งานและรหัสผ่านเพื่อใชง้ านภายในพนื้ ที่ของสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ๔. สรปุ ผลการดาเนนิ งานท่สี าคญั ด้านไอซีทขี องสานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ได้ดาเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในเชิงบูรณาการ ทั้งระหว่างกระทรวงคมนาคมกับกระทรวงอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องและกับหน่วยงานในสังกัด กระทรวงคมนาคมในเรือ่ งทสี่ าคญั ดังน้ี ๔.1 การดาเนินการตามนโยบายการพัฒนารฐั บาลดิจิทัล ตามนโยบายรัฐบาล ในการผลกั ดันให้เกิดการพัฒนางานท้ังด้านการบริหารและการให้บริการ ของภาครัฐ เพ่ือปรับเปล่ียนไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ที่บูรณาการการทางานและข้อมูลระหว่างหน่วยงาน โดยการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงาน และยกระดับการให้บริการโดยยึดความต้องการของประชาชน เป็นศูนย์กลาง ท้ังนี้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในฐานะหน่วยงานกลางในการบูรณาการด้านไอซีที ทัง้ ในระดบั กระทรวง และระดับกรม จงึ ได้นานโยบายท่ีเก่ยี วข้องถา่ ยทอดสู่หนว่ ยงานในสงั กัด พรอ้ มทง้ั จัดทา/ ปรับปรุง แผนการปฏิบัติงาน/แผนการดาเนินงานให้ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งในด้านการบูรณาการงานบริการ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี และการใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านคมนาคมขนส่ง ตลอดจนการพัฒนา บุคลากรของคมนาคมให้มีความรู้และนาไปปรับใช้ในการพัฒนางาน ให้เกิดการพัฒนางานแบบใหม่ ให้เกิดความรวดเร็วลดข้ันตอน และลดการใช้เอกสารต่าง ๆ เช่น แผนปฏิบัติงานด้านภูมิสารสนเทศ แผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) แนวทางการพัฒนา Digital Logistics และ Smart Mobility ภายใต้แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ของกระทรวงคมนาคม เปน็ ตน้ ๔.2 การพฒั นาระบบวเิ คราะห์ข้อมูลขนาดใหญด่ า้ นคมนาคม ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ได้ดาเนินโครงการพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านคมนาคม ( MOT Big Data Analytics) เพ่ือพัฒนาสถาปัตยกรรมการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ และพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ ด้านคมนาคมโดยการบูรณาการข้อมูลจากท้ังภายในและภายนอกองค์กร (ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง) สาหรับสนับสนุน การตัดสินใจและตอบสนองต่อปัญหาด้านคมนาคมให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้นตามหลักการของวิทยาการ ข้อมูล (Data Science) รวมถึงพัฒนาบุคลากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บทท่ี 3 - 4

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ิทลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ/ประสบการณ์ในการวิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อให้สามารถดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงคมนาคม และสนับสนุนการขับเคล่ือนการใช้ประโยชน์จากข้อมูลขนาดใหญ่ ตามน โ ย บ า ย ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ ไ ด้ อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง โ ด ย ปั จ จุ บั น ไ ด้ ท า ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ด้ า น ค ม น า ค ม เพื่อหาความสัมพันธ์ สะท้อนสถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และคาดการณ์แนวโน้มท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต ตามหลักการของวิทยาการข้อมูล (Data Science) ใน 3 ประเดน็ หลัก ดงั นี้ (๑) การวเิ คราะห์ข้อมูลเพื่อหาแนวทางบรหิ ารจัดการการเว้นระยะหา่ งทางสังคมของรถไฟฟ้า MRT (๒) การวเิ คราะห์ข้อมลู เพอ่ื หาแนวทางแก้ไขปัญหาการเกดิ อุบตั ิเหตุทางถนนในพ้นื ทน่ี าร่อง (๓) การวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่ือหาแนวทางการแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดหน้าด่านของการทางพิเศษ แห่งประเทศไทยในพื้นท่ีนารอ่ ง ๔.3 การพัฒนามาตรฐานข้อมูลถนนของประเทศพร้อมระบบรายงานผลข้อมูลถนน ในเขตกรุงเทพมหานคร ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ใ น ฐ า น ะ ฝ่ า ย เ ล ข า นุ ก า ร ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล ท า ง ห ล ว ง ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร และคณะทางานจัดทาข้อมูลบัญชีสายทาง ตามคาสั่งกระทรวงคมนาคมท่ี 367/2559 แต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาระบบฐานข้อมูลทางหลวงในเขตกรุงเทพมหานคร และตามคาส่ังคณะกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูล ทางหลวงในเขตกรุงเทพมหานครที่ 1/2560 แต่งตั้งคณะทางานจัดทาข้อมูลบัญชสี ายทาง ได้ดาเนินโครงการ พัฒนามาตรฐานข้อมูลถนนของประเทศ พร้อมระบบรายงานผลข้อมูลถนนในเขตกรุงเทพมหานคร (The Roadway Inventory System Database) เพ่ือพัฒนามาตรฐานข้อมูลถนนของประเทศท่ีครอบคลุม ท้ังข้อมูลในรูปแบบสถิติสารสนเทศ (Statistical Information System) และภูมิสารสนเทศ (Geographic Information System) พร้อมท้ังจัดทาระบบฐานข้อมูลและระบบการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูล ที่สอดคล้อง กับมาตรฐานข้อมูลถนนท่ีพัฒนาขึ้น รวมท้ังพัฒนาต้นแบบการนาเสนอข้อมูลสายทางในเขตกรุงเทพฯ เชิงพ้ืนท่ี (Spatial and Statistics Visualization) ที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน และสนับสนุนภารกิจ ของทุกภาคสว่ นที่เก่ียวข้องได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยปัจจบุ นั ได้จดั ทาแนวทางการพฒั นามาตรฐานข้อมูลสาย ทางที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย และสอดคล้องกับ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทคโนโลยีในปัจจุบัน พร้อมทง้ั ได้เสนอปญั หาอุปสรรค และความต้องการใชข้ ้อมลู เพือ่ นาแนวทางดังกล่าวไปดาเนนิ การจัดทามาตรฐาน ข้อมูลบัญชีสายทางจัดทาทะเบียนข้อมูลสายทาง/ฐานข้อมูล และกาหนดสายทางตามลักษณะกลุ่มผู้ใช้งาน (Road Hierarchy) ให้ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น และเป็นปัจจบุ นั ตอ่ ไป ๔.4 การพฒั นาศูนยบ์ ูรณาการการขนสง่ ต่อเนื่องหลายรปู แบบแห่งชาติ เป็นการพัฒนาศูนย์การขนส่งต่อเน่ืองแห่งชาติหลายรูปแบบ (National Multimodal Transport Integration Center : NMTIC) ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๒๘ ธ.ค. ๒๕๕๓ ที่ได้กาหนด ให้กระทรวงคมนาคม เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาการขนส่งต่อเน่ืองหลายรูปแบบ ซ่ึงภายใต้ศูนย์ดังกล่าว จะต้องมีการผลักดันการพฒั นาศนู ย์ยอ่ ย เพอ่ื เชอ่ื มโยงเข้าสู่ NMTIC ประกอบด้วย (1) ศนู ย์ควบคมุ และบริหารจดั การจราจร (Traffic Control and Management) (2) ศูนยก์ ารบริหารการขนส่งและโลจิสติกส์ (Transport & Logistics Management) (3) ศนู ยก์ ารเชือ่ มโยงแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ดา้ นการขนส่งและจราจร (Transport & Traffic Data Exchange) บทท่ี 3 - 5

แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดจิ ิทลั สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้ดาเนินโครงการพัฒนาศูนย์ NMTIC โดยปรับปรุง และพัฒนาโครงสร้างระบบสารสนเทศของศูนย์ NMTIC ให้รองรับโครงสร้างการทางานสาหรับฐานข้อมูล ขนาดใหญ่(Big Data) และพัฒนามาตรฐานการแลกเปล่ียนข้อมูล Sensor และมาตรฐานการรักษา ความปลอดภัยของข้อมูล (Cyber Security) ของศูนย์ NMTIC รวมทั้งเชื่อมโยงและแลกเปล่ียนข้อมูล กบั หนว่ ยงานคมนาคมท่เี กยี่ วขอ้ งทมี่ คี วามพร้อม โดยสรปุ สาระสาคัญของศูนย์ NMTIC ได้ ดงั นี้ (1) หน้าที่ของศูนย์ NMTIC ทาหน้าที่บริหารจัดการข้อมูลดิจิทัล รวมท้ังเผยแพร่ข้อมูล สู่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อใช้ในกระบวนการควบคุมและบริหารจัดการระบบขนส่งต่อเน่ืองหลายรูปแบบ เพ่ิมประสิทธิภาพ การขนสง่ และโลจสิ ติกส์ และยกระดับคุณภาพความปลอดภัย โดยเชอ่ื มโยงข้อมูลจากทุกภาคการขนสง่ (2) การเชื่อมโยงข้อมูล ปัจจุบันได้จัดทามาตรฐานการแลกเปล่ียนข้อมูล Sensor รวมท้ัง ได้ทาการเชื่อมโยงข้อมลู จากหนว่ ยงานในสังกดั เข้าสศู่ ูนย์ NMTIC แล้ว ประกอบดว้ ย - ข้อมลู GPS จากศนู ยบ์ รหิ ารจัดการเดินรถ ของกรมการขนส่งทางบก - ข้อมลู สภาพจราจร จากศูนย์บริหารจัดการจราจรและอบุ ตั ิเหตุ ของกรมทางหลวง - ข้อมลู การบรรทุกน้าหนกั เกิน จากดา่ นชั่งน้าหนกั (WIM) ของกรมทางหลวง - ขอ้ มูลอุบัติการณ์จากระบบ Decision Support System ของกรมทางหลวง - ขอ้ มลู สภาพจราจร ของ การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย - ขอ้ มูลจานวนผโู้ ดยสารบนรถเมล์จากระบบ Sensor ของ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ - ขอ้ มูลการขายบตั รโดยสารรายวัน และการบรหิ ารเที่ยวรถ ของ บริษทั ขนสง่ จากดั (3) การสร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่ข้อมูล โดยได้ร่วมกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม พิจารณาการใช้ประโยชน์จากการวเิ คราะหข์ ้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อตอบสนองเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์กระทรวง คมนาคม (พ.ศ. 2560 - 256๕) ในส่วน Green and Safe และ Efficiency ๔.5 การพัฒนาศักยภาพการใช้ดิจิทัลของบุคลากรกระทรวงคมนาคม เพื่อสร้างวัฒนธรรม การใชด้ ิจิทลั ในองคก์ ร (Digital Transformation) ต า ม ท่ี ก ร ะ ท ร ว ง ค ม น า ค ม ไ ด้ จั ด ท า แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ค ม น า ค ม ดิ จิ ทั ล ของกระทรวงคมนาคม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564) เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาบุคลากร ของกระทรวงคมนาคมให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะด้านดิ จิทัลรองรับการเข้าสู่ การเป็นคมนาคมดิจิทัล สอดคล้องกับนโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล โดยกาหนดวิสัยทัศน์ให้บุคลากร ในองค์กรให้มีความพร้อมในการขับเคลื่อนคมนาคมดิจิทัล ด้วยการยกระดับศักยภาพบุคลากรให้มีความพร้อม ในการก้าวสู่การเป็นคมนาคมดิจิทัล พัฒนาและบริหารจัดการบุคลากรคมนาคมดิจิทัลเพื่อสร้างและใช้ดิจิทัล ให้เกิดนวัตกรรมอย่างมีคุณค่าปลูกฝังวัฒนธรรมดิจิทัลและจริยธรรมการใช้ดิจิทัลในองค์กร และประเมินผล ศกั ยภาพบุคลากรในการสรา้ งคมนาคมดจิ ิทลั ในการน้ี เพ่ือให้กระทรวงคมนาคมดาเนินงานเป็นไปตามแนวทางดังกล่าวข้างต้น อย่างมีรูปธรรมรวมถึงสอดคล้องกับการดาเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2560 ซ่ึงเห็นชอบแนวทางการพัฒนาทักษะดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพ่ือปรับเปล่ียนเป็นรัฐบาลดิจิทัล ของสานักงาน ก.พ. สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมจึงได้จัดทาหลักสูตรการฝึกอบรมทักษะด้านดิจิทัล สาหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ซึ่งครอบคลุมการพัฒนาทักษะดิจิทัลของบุคลากรในกลุ่มผู้บริหารระดับสูง ผู้อานวยการกอง ผู้ทางานด้านนโยบายและงานวิชาการ ผู้ทางานด้านบริการ ผู้ทางานเฉพาะด้านเทคโนโลยี และผู้ปฏิบัติงานด้านอื่น ๆ ของกระทรวงคมนาคม โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้พัฒนาทักษะดิจิทัล ให้กับกลุ่มบุคลากรซึ่งเป็นผู้แทนจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม ในหลักสูตรนักวิทยาศาสตร์ ข้อมูล บทท่ี 3 - 6

แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดิจทิ ัล สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ และการบริหารจัดการแนวคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม และจัดทาช่องทาง การเรียนรู้ทักษะดิจิทัลออนไลน์เพ่ือให้บุคลากรของกระทรวงคมนาคมได้ศึกษาเรียนรู้รวมถึงจัดทาแนวทาง การพัฒนาทักษะดิจิทัลสาหรับข้าราชการและบุคลากรของกระทรวงคมนาคมส่งให้หน่วยงานในสังกัด สาหรบั เปน็ มาตรฐานการพัฒนาทกั ษะดิจิทัลใหก้ บั บุคลากรในหน่วยงานต่อไป ๔.6 การดาเนินงานให้บริการประชาชนในรูปแบบ One Stop Service ของกระทรวงคมนาคม ศูนย์บริการร่วมคมนาคมตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางการให้บริการข้อมูล ข่าวสาร รับเร่ืองส่งต่อ รวมถึงให้บริการงานท่ีเก่ียวข้องกับกระทรวงคมนาคม ปัจจุบันการใหบ้ รกิ ารของศูนย์บริการ ร่วมกระทรวงคมนาคม มลี กั ษณะการให้บริการ 3 ลักษณะ ประกอบด้วย (๑) การให้บริการข้อมูลข่าวสาร มี 39 บริการ อาทิ บริการข้อมูลด้านการเดินทาง แก่ประชาชน บริการข้อมูลข้ันตอน แบบฟอร์ม การขออนุญาตจากหน่วยงานในสังกัด กระทรวงคมนาคมการให้บริการข้อมูลแผนที่ เป็นตน้ (๒) การรบั เรอื่ งส่งต่อ จะเป็นการรับข้อเสนอแนะและเรื่องร้องเรยี นร้องทุกข์ จากประชาชน แลว้ ส่งต่อใหห้ นว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง (๓) การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ มี 3 บริการหลัก ได้แก่ การรับชาระภาษีรถยนต์ การประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 และการเปล่ียนใบอนญุ าตขับรถแบบใหม่ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ศูนย์บริการร่วมคมนาคมได้ดาเนินการเพ่ิมประสิทธิภาพ การใหบ้ รกิ าร ประกอบดว้ ย (1) ปรับปรุงอาคารศูนย์บริการร่วมคมนาคม เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวก ในการใช้บริการ โดยปัจจุบันได้ดาเนินการแล้วเสร็จและเปิดให้บริการแล้ว เมอื่ วันที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ (2) ดาเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อฯ เพ่ือให้ประชาชน ไดร้ บั ความปลอดภัย และเกดิ ความพงึ พอใจสงู สุด (3) สารวจความต้องการ/ความคาดหวัง จากกลุ่มผู้รับบริการในการพัฒนา/ปรับปรุงงาน บริการของศูนย์บริการร่วมคมนาคม (4) ประสานหน่วยงานภาครัฐ ในการนาตู้บริการอเนกประสงค์ภาครัฐ (Government Smart Kiosk) มาใหบ้ ริการประชาชนในศูนย์บริการรว่ มคมนาคม ๔.7 การเพิ่มศักยภาพการเชื่อมต่อระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบบูรณาการ ของกระทรวงคมนาคม ดาเนินการบูรณาการการเช่ือมโยงระบบ CCTV สาหรับการอานวยความสะดวก และความปลอดภัยในการเดนิ ทางของประชาชน ทงั้ ทางบก ทางนา้ ทางราง และทางอากาศ ของหน่วยงานในสังกัด ไดแ้ ก่ กรมเจา้ ทา่ (ทา่ เรอื แมน่ ้าเจ้าพระยา และท่าเรือคลองแสนแสบ) กรมทางหลวง (ทางหลวงพเิ ศษระหว่างเมือง หมายเลข 7 และหมายเลข 9) กรมทางหลวงชนบท (สะพานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล) การรถไฟแห่งประเทศไทย (สถานีรถไฟกรุงเทพ) บริษัท ขนส่ง จากัด (สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ) และบริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง) รวม 215 กล้อง โดยการนาเสนอผ่านเว็บไซต์ และ Mobile Application ซึ่งเป็นประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ประกอบดว้ ย บทที่ 3 - 7

แผนปฏิบัติการคมนาคมดจิ ทิ ลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ 1) ด้านการบัญชาการ ส่ังการ และติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยงานในสังกัด สาหรบั ผู้บรหิ ารระดบั สงู ของกระทรวงคมนาคม 2) ดา้ นการบรหิ ารจัดการ รวมถงึ การให้ข้อมลู เพ่ืออานวยความสะดวกและความปลอดภัย ในการเดนิ ทางของประชาชน สาหรับหน่วยงานดา้ นความปลอดภยั ของกระทรวงคมนาคม 3) ด้านการให้บริการข้อมูลภาพระบบ CCTV ที่เป็นประโยชน์ในการวางแผนการเดินทาง สาหรบั ประชาชน 4) ด้านการบูรณาการระบบ CCTV ในระดับประเทศ โดยสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นศูนย์กลางการเช่ือมโยงระบบ CCTV ในภาพรวมของกระทรวงคมนาคม เพื่อเตรียมความพร้อมในการเชื่อมโยงระบบ CCTV ในระดับประเทศตามเป้าหมาย รัฐบาล ท่ีมีวัตถุประสงค์ในการเช่ือมโยงระบบ CCTV ของหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ การป้องปรามและเฝา้ ระวัง การสบื สวนและสอบสวน และการจราจร ๔.8 การขยายระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พร้อมจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ตามพระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอรก์ ระทรวงคมนาคม ดาเนินการออกแบบระบบเครือข่ายสาหรับการให้บริการระบบอินเทอร์เน็ตแก่หน่วยงาน ในสังกัดส่วนภูมิภาค เพื่อการเชื่อมต่อให้บริการระบบอินเทอร์เน็ตท่ีมีประสิทธิภาพทั้งในด้านความเร็ว และปริมาณ รวมถึง มีการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งาน ท่ีเป็นไปตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 โดยติดต้ังอุปกรณ์เก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ และวงจรระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านโครงข่าย Fiber Optic (Fttx) แบบองค์กร ด้วยความเร็ว 30 Mbps / 10 Mbps (Download / Upload) ที่หน่วยงาน ในสังกัดส่วนภูมิภาคท่ัวประเทศซึ่งสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมสามารถตรวจสอบปริมาณการใช้งาน และจัดเกบ็ ขอ้ มูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ใชง้ านแบบรวมศูนย์ได้ นอกจากน้ี ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตดังกล่าว ยังสามารถใช้ประโยชน์เพ่ือเป็นวงจรสารอง (Backup Link) ในกรณีระบบเครือข่ายสารสนเทศคมนาคม (MOTNET) เกิดปัญหาขัดข้องไม่สามารถใช้งานได้ โดยใช้เทคโนโลยี SSL-VPN ทาให้หน่วยงานในสังกัดส่วนภูมิภาคสามารถใช้งานรับส่งข้อมูลสารสนเทศ กบั หนว่ ยงานในสงั กดั ส่วนกลางและสานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคมได้อยา่ งต่อเนื่อง ๔.9 การขับเคลอ่ื นนโยบายองค์กรไร้กระดาษของสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ได้พัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (MOT Drive) เพื่อขับเคล่ือนนโยบายองค์กรไร้กระดาษ สนบั สนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหนว่ ยงานภายในสานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม เพ่ือมุ่งสรู่ ะบบราชการ 4.0 และองค์กรไร้กระดาษ (Paperless Organization) อย่างเป็นรูปธรรม อานวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจนผู้บริหารของกระทรวงคมนาคม ให้สามารถใช้งาน จัดเก็บ แลกเปล่ียน และเข้าถึงเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ได้ตลอดเวลารวมถึงสามารถจัดทา QR Code แทนการสาเนา/พิมพ์เอกสารต่าง ๆ เพ่ือลดการใช้กระดาษ และลดค่าใช้จ่ายจากการทาสาเนาหรือพิมพ์เอกสาร รวมท้ังลดสารเคมีจากผงหมึก และรังสีจากการใช้เครื่องถ่ายเอกสาร/เคร่ืองพิมพ์ ที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของเจ้าหน้าท่ี ผู้ปฏิบัติงาน โดยในปีงบประมาณ 2563 ได้ดาเนินโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพระบบจัดเก็บเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ (MOT Drive) เพื่อขับเคล่ือนนโยบายองค์กรไร้กระดาษของสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โดยการจัดหาอุปกรณ์เพ่ือเพ่ิมพ้ืนท่ี (Storage) จัดเก็บข้อมูล และเพิ่มจานวนลิขสิทธิ์ผู้ใช้งาน (License User) บทที่ 3 - 8

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ และเพิ่มคุณสมบัติเฉพาะ (Features) ในการใช้งาน อาทิ การแก้ไขเอกสาร (Word, Excel, PowerPoint) ผา่ นหนา้ เว็บ เปน็ ตน้ ๔.10 การพัฒนาระบบสารสนเทศที่ใช้ในการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน (MOT Public Hearing) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ได้นาเทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาช่วยในการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงคมนาคม โดยได้พัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรับฟังความคิดจากประชาชน (MOT Public Hearing) ซึ่งเป็นการบูรณาการการทางานร่วมกัน ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม โดยระบบฯ ได้เปิดช่องทางให้หน่วยงานสามารถนาเข้าข้อมูลนโยบาย ทม่ี ีความสาคัญและเร่งดว่ นได้ ตลอดจนการดาเนินการโครงการต่าง ๆ ทคี่ าดหมายว่าจะมีผลกระทบสงู ตอ่ การพัฒนา ประเทศและความเป็นอยู่ของประชาชนในวงกว้าง เพ่ือเป็นช่องทางให้ประชาชนรับทราบและสร้างการมีส่วนร่วม กับประชาชนในการดาเนินการ โดยประชาชนสามารถร่วมแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ผ่านระบบดังกล่าว สะท้อนความคิดเห็นของประชาชนต่อการดาเนินการของกระทรวงคมนาคม เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการกาหนดนโยบาย ตลอดจนการดาเนินการต่าง ๆ ให้ตอบสนองความต้องการความคาดหวัง ของประชาชนอย่างแท้จริง โดยประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและระบบดังกล่าว ได้ท่ีเว็บท่าคมนาคม (www.mot.go.th) ภายใตห้ ัวข้อ “MOT Public Hearing คมนาคมห่วงใยใส่ใจทกุ ความคดิ เห็นของประชาชน” ๔.11 การพัฒนาระบบงานดิจิทัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสานักงาน ปลัดกระทรวงคมนาคม สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ได้นาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน และสนับสนุนการดาเนินงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ โดยภาครัฐมีการดาเนินการท่ีมีประสิทธิภาพด้วยการนาเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ โดยดัชนรี ัฐบาลดิจทิ ัลขององค์กรสหประชาชาติซ่ึงจัดทาทุก 2 ปี สาหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ได้พัฒนาระบบงานดิจทิ ัลและเปดิ ใช้งานเพิ่มเติมแล้ว ได้แก่ ระบบจองห้องประชุม และระบบงานยานพาหนะ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีแผนในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพ ในการปฏิบัตงิ าน บทที่ 3 - 9

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดิจิทัล สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ บทท่ี ๔ สาระสาคัญของแผนปฏบิ ัติการด้านคมนาคมดจิ ิทัล สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ▪ แผนปฏบิ ตั กิ ารกระทรวงคมนาคมและแผนปฏิบตั ิการสานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม ▪ แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดจิ ิทลั ของกระทรวงคมนาคม ▪ แผนปฏบิ ัติการที่สนบั สนนุ การดาเนนิ งานด้านดจิ ิทัลของกระทรวงคมนาคม ▪ แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดิจิทัล สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ▪ ความเช่ือมโยงแผนพัฒนารฐั บาลดจิ ิทัลประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ๑. แผนปฏิบตั กิ ารกระทรวงคมนาคมและแผนปฏบิ ตั ิการสานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม จากบทที่ ๒ ได้กล่าวถึงรายละเอียดของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม และกลยุทธ์ ในการขับเคล่ือนการดาเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ และเป็นไปตามวิสัยทัศน์ ท่ีกาหนด โดยได้กาหนดกลยุทธ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง โดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัล มาประยุกต์ใชใ้ หเ้ กิดประโยชนท์ งั้ ในระยะสั้นและในระยะยาว ตามประเดน็ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 4 “ปจั จยั ขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์” การพัฒนาปจั จัยสนบั สนุนการขับเคลอื่ นยุทธศาสตรส์ ู่ความสาเร็จ กลยทุ ธ์ 4.4 พฒั นาเทคโนโลยีดิจทิ ลั ดา้ นการขนสง่ ทั้งนี้ได้มีการถ่ายทอดตัวช้ีวัดจากแผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคมลงสู่แผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม เพ่ือรวมเป็นแรงผลักดันในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน ในภาพของกระทรวงคมนาคม ส่งต่อไปยังการพัฒนาของประเทศโดยมุ่งเน้นการนาเทคโนโลยีดิจิทัล มาประยุกต์ใช้ โดยได้กาหนดยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ท่ีเก่ียวข้องกับการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาพัฒนา ปรับปรุง และต่อยอดการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งให้มีประสิทธิภาพและเกิดการบูรณาการ ท้ังด้านกระบวนการทางานและด้านข้อมูลคมนาคมขนส่งท่ีมีความหลากหลาย ให้สามารถเช่ือมโยง และใชป้ ระโยชนข์ ้อมลู ไดอ้ ย่างเต็มประสทิ ธภิ าพ โดยมยี ุทธศาสตรแ์ ละกลยุทธ์ท่เี กี่ยวขอ้ ง ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาระบบบรหิ ารนโยบายและยทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง กลยทุ ธ์ 1.1 พัฒนาระบบบริหารนโยบายและยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ 1.2 พฒั นาระบบบรหิ ารแผนบรู ณาการตามยุทธศาสตรก์ ระทรวงคมนาคม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาปัจจัยสนบั สนนุ การขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์สู่ความสาเร็จ กลยุทธ์ 2.1 ผลักดันบทบาทนาของไทยในการสง่ เสริมความเช่ือมโยงด้านคมนาคมขนส่ง ทั้งภายในภมู ิภาคและระหวา่ งภูมิภาค กลยทุ ธ์ 2.2 พัฒนาการจดั การการอุทธรณ์ กลยทุ ธ์ 2.3 พฒั นาการสือ่ สารและการประชาสมั พนั ธ์แบบบูรณาการ กลยทุ ธ์ 2.4 พฒั นาการจดั การความปลอดภยั คมนาคม บทที่ ๔ - 1

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดิจิทลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ กลยุทธ์ 2.5 ปรับปรงุ และพัฒนากฎหมายของกระทรวงคมนาคมให้สอดคลอ้ งกบั สภาวการณ์ กลยทุ ธ์ 2.6 ยกระดบั สู่ Digital Transport 2020 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 พฒั นาสมรรถนะองคก์ รอยา่ งบูรณาการ กลยุทธ์ 3.1 พฒั นาการจดั การความรใู้ หเ้ ป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ (KM) กลยทุ ธ์ 3.2 พัฒนากระบวนงานให้คล่องตวั รวดเรว็ ทันสมัย เรยี บง่ายอยา่ งต่อเนื่อง กลยุทธ์ 3.3 พัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การปรับปรงุ กระบวนงาน กลยทุ ธ์ 3.4 บริหารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤต กลยุทธ์ 3.5 สรา้ งความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร กลยุทธ์ 3.6 บรหิ ารทรัพยากรบคุ คลเพอ่ื ใหบ้ รรลุผลตามแผนยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 3.7 ส่งเสรมิ คา่ นยิ มองค์กร i-MOT และความผกู พันในองค์กร ยุทธศาสตร์ที่ 4 สง่ เสรมิ คุณธรรมและความโปร่งใส กลยทุ ธ์ 4.1 พฒั นาจัดการเร่ืองรอ้ งทุกข์ กลยทุ ธ์ 4.2 ยกระดบั คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานเพื่อสร้างความเช่ือม่ัน โดยมีความเชอ่ื มโยงกบั ยทุ ธศาสตร์ของกระทรวงคมนาคมดังภาพที่ ๔ - ๑ ภาพท่ี ๔ - ๑ แสดงความเช่ือมโยงของยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคมและสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม บทที่ ๔ - 2

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดิจทิ ัล สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ๒. แผนปฏิบัตกิ ารคมนาคมดิจทิ ลั ของกระทรวงคมนาคม จากแผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล ได้มีการกาหนดแผนงาน/โครงการ ในเชิงบูรณาการ การทางานของหน่วยงาน จาแนกตามยุทธศาสตรไ์ ดด้ งั น้ี ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนา Digital Logistics มุ่งสู่การเป็น Smart Corridor ของภูมิภาค และ สนับสนุนเศรษฐกิจระดับชุมชน โดยมุ่งเน้นแผนงานหลักในการพัฒนา Digital Logistics ต้นแบบ (เส้นทาง ลาดกระบงั -แหลมฉบัง) ประกอบดว้ ยโครงการสาคัญ ๑๖ โครงการ ดังนี้ ขอ้ เสนอโครงการเชิงบูรณาการสาคัญที่ควรดาเนินงาน Smart Goods โครงการส่งเสริมผู้ประกอบการบนเส้นทาง เพื่อให้ใช้ RFID ในการ & Smart Logistics ติดตามและบันทึกข้อมูลสินค้า (สินค้าสาคัญทางเศรษฐกิจ และสินค้า Service ส่งเสริมเศรษฐกจิ ชมุ ชน) โครงการส่งเสริมผู้ประกอบการบนเส้นทาง เพื่อให้ใชร้ ะบบ Truck Freight Sharing โครงการพฒั นาระบบจองระวางรถไฟและติดตามสถานะ Smart Vehicle โครงการส่งเสริม กากับการติดต้ังและใชง้ าน GPS & Smart Driver โครงการพฒั นาระบบบันทึกข้อมลู การขับข่ีของผู้ขบั ขี่ เพอื่ เชื่อมโยง กับการกากับวินัยจราจร การต่ออายุใบอนุญาต และการจัด Personalized e-Learning ใหผ้ ขู้ ับข่ี Smart Gateway โครงการพฒั นาระบบ Sea PCS โครงการพัฒนา Automated Port โครงการพัฒนาระบบเผยแพร่ข้อมูลและสภาพจราจร และ Queue จาก ICD และท่าเรือฯ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการวางแผนขนสง่ Smart Infrastructure โครงการพัฒนาระบบต๋วั ร่วม/ระบบ e-Payment โครงการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานทางดิจทิ ัลใหเ้ พยี งพอรองรับการส่ือสาร V2V, V2I โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารสัญญาณไฟจราจรในลักษณะ โครงข่าย (บน Motorway ทางหลวงหมายเลข ๓ และทางหลวงชนบท สาคัญที่เชื่อมต่อ โดยนาข้อมูลจราจรแบบ Real-Time จาก NMTIC ท่าเรอื ฯ และ ICD มาสนับสนนุ การจดั การจราจร) Smart Transport โครงการพฒั นาระบบอ่านป้ายทะเบยี นจาก CCTV For Safety & Security โครงการยกระดับการอานวยความปลอดภัยเชิงบูรณาการ ด้วยข้อมูล จากคมนาคมดจิ ิทลั Data Analytics โครงการเพ่ิมศักยภาพ Command Room (โดยนาข้อมลู จาก CCTV และ GPS ใน NMTIC รวมทั้งข้อมูลจากแหล่งอ่ืน ๆ มาตรวจสอบเปรยี บเทียบ เพ่ือยนื ยันรถบรรทุกบนเสน้ ทาง) บทที่ ๔ - 3

แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ลั สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ข้อเสนอโครงการเชิงบรู ณาการสาคญั ที่ควรดาเนินงาน Soft Infrastructure โครงการพฒั นามาตรฐานการแลกเปลยี่ นขอ้ มูล โครงการทบทวนกฎหมาย Truck Freight Sharing ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ พฒั นา Smart Mobility ม่งุ สกู่ ารเป็นตน้ แบบ Smart City ควบคกู่ บั การ สนับสนุน Inclusive Transport โดยมุ่งเน้นแผนงานหลักในการพัฒนา Smart Area ต้นแบบ (บริเวณสถานีกลาง บางซ่อื ) ประกอบดว้ ยโครงการสาคัญ จานวน ๑๗ แผนงาน/โครงการ ดงั นี้ ข้อเสนอโครงการเชิงบรู ณาการสาคัญท่ีควรดาเนินงาน Smart Journey โครงการส่งเสริม กากับการให้บริการ Car Sharing & Smart Mass Transport โครงการทบทวนเส้นทาง/เที่ยวรถบริการขนส่งมวลชน Service โครงการพัฒนา Mobile Application ท่ีสนับสนนุ การวางแผนการ เดนิ ทาง/แนะนาเส้นทาง/สภาพจราจรและสนับสนนุ การเข้าถึงระบบ ขนสง่ มวลชนแบบบรู ณาการ โครงการพัฒนาระบบตั๋วร่วม/ระบบ e-Payment Smart Vehicle โครงการทดลอง Connected Vehicles /Electric Vehicles & Smart Driver โครงการพัฒนาระบบบันทึกข้อมูลการขับขี่ของผู้ขับขี่ เพื่อเช่ือมโยง กับการกากับวนิ ัยจราจร การต่ออายใุ บอนุญาต และการจัด Personalized e-Learning ให้ผขู้ ับขี่ Smart Station โครงการพัฒนา Smart Station โครงการพฒั นา Automated Port โครงการพัฒนาระบบเผยแพร่ข้อมูลและสภาพจราจรและ Queue จาก ICD และท่าเรอื ฯ เพื่อให้ผู้ประกอบการวางแผนขนสง่ Smart Infrastructure โครงการพัฒนาระบบตั๋วร่วม/ระบบ e-Payment โครงการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางดิจิทัลให้เพียงพอรองรับการ สื่อสาร V2V, V2I โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารสัญญาณไฟจราจรในลักษณะ โครงข่าย (บน Motorway ทางหลวงหมายเลข 3 และทางหลวงชนบท สาคัญท่ีเช่ือมต่อ โดยนาข้อมูลจราจรแบบ Real-Timeจาก NMTIC ท่าเรอื ฯ และ ICD มาสนับสนุนการจัดการจราจร) Smart Transport โครงการพฒั นาระบบอ่านป้ายทะเบยี นจาก CCTV For Safety & Security โครงการยกระดับการอานวยความปลอดภยั เชิงบูรณาการ ด้วยข้อมูล จากคมนาคมดจิ ิทลั บทที่ ๔ - 4

แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดิจทิ ลั สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ข้อเสนอโครงการเชิงบูรณาการสาคญั ท่ีควรดาเนนิ งาน Data Analytics โครงการเพิ่มศักยภาพ Command Room (โดยนาข้อมลู จาก CCTV และ GPS ใน NMTIC รวมท้ังข้อมูลจากแหลง่ อื่น ๆ มาตรวจสอบ เปรียบเทียบ เพ่ือยืนยันรถบรรทกุ บนเสน้ ทาง) Soft Infrastructure โครงการพฒั นามาตรฐานการแลกเปล่ียนข้อมูล โครงการทบทวนกฎหมาย Truck Freight Sharing ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ สรา้ ง Digital Transport Ecosystem เพือ่ พัฒนาประชาชนและผ้ปู ระกอบการ ดา้ นคมนาคม โดยกาหนดแผนงานโครงการที่สาคัญ จานวน ๕ แผนงาน/โครงการ ดงั นี้ ข้อเสนอโครงการเชิงบูรณาการสาคัญท่ีควรดาเนนิ งาน Digital Lifelong Learning โครงการพัฒนา Digital Learning Platform ดา้ นคมนาคมขนส่ง Platform โครงการพัฒนา Digital Content เพื่อการพัฒนาประชาชน ดา้ นคมนาคมขนสง่ และผปู้ ระกอบการด้านคมนาคม งานวจิ ัยและพฒั นา (R&D) โครงการสง่ เสริมการวิจยั และพัฒนา Digital Transport Technology ด้าน Digital Transport Technology Transport Tech Startup โครงการพัฒนา Transport Tech Startup Digital Marketplace โครงการพฒั นา Digital Marketplace สาหรบั อตุ สาหกรรมคมนาคม อตุ สาหกรรมคมนาคมขนสง่ ขนส่ง ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยกระดับ Digital Transport Data เพ่ือบูรณาการและเพิ่มคุณค่าข้อมูลคมนาคม ประกอบดว้ ยแผนงาน/โครงการที่สาคัญ จานวน ๔ แผนงาน/โครงการ ดงั น้ี ข้อเสนอโครงการเชิงบูรณาการสาคัญที่ควรดาเนินงาน Open Data โครงการจดั ทาแผนแม่บท เพื่อการสรา้ งคุณค่าจากข้อมลู คมนาคม (Digital Transport Data Roadmap) โครงการพฒั นาระบบการเปิดเผยแพรข่ ้อมูล (Open Data) ตามแผนแม่บทฯ Standard & Cyber Security โครงการพฒั นามาตรฐาน และยกระดับระบบรักษาความปลอดภัยของ ข้อมลู ตามแผนแม่บทฯ NMTIC & Big Data Analytics โครงการเพ่ิมศักยภาพ NMTIC และพัฒนา Big Data Analytics จาก ขอ้ มลู คมนาคมขนสง่ ตามแผนแม่บทฯ บทที่ ๔ - 5

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดจิ ทิ ัล สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ สรา้ ง Digital Government Platform เพอื่ ยกระดับงานบริการ บุคลากร และการ บรหิ ารจดั การ ประกอบดว้ ยแผนงาน/โครงการที่สาคัญ จานวน ๕ แผนงาน/โครงการ ดังน้ี ข้อเสนอโครงการเชิงบรู ณาการสาคัญที่ควรดาเนินงาน Social Analytics โครงการพฒั นาระบบส่งเสริม Public Participation & Engagement for Public Participation ด้วย Social Analytics Government Service Platform โครงการเพ่ิมศักยภาพ D-Service สู่ Government Service Platform โครงการเพิ่มศักยภาพ D-Back Office และ Digital Infrastructure ของหนว่ ยงาน Digital Learning Platform โครงการพัฒนา Digital Learning Platform สาหรับผบู้ รหิ าร และ for Executive & Staff บุคลากร กระทรวงคมนาคม โครงการพัฒนา Digital Content เพ่ือการพัฒนาผบู้ ริหาร ข้าราชการ และบุคลากรของกระทรวงคมนาคม ๓. แผนปฏิบัตกิ ารทสี่ นับสนุนการดาเนนิ งานดา้ นดิจิทลั ของกระทรวงคมนาคม โดยกระทรวงคมนาคม โดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารกระทรวงคมนาคม ในปัจจุบันเป็น คณะกรรมการเทคโนโลยีดิจิทัลของกระทรวงคมนาคม ได้มีการแต่งต้ังคณะทางาน เพ่ือขับเคล่ือนการดาเนินงานในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ พร้อมทั้งได้จัดทาแผนปฏิบัติการ /แนวทาง การดาเนนิ งานในสว่ นท่สี าคัญในเชงิ การบูรณาการ สรุปดังนี้ 3.1 แผนพัฒนาการภมู ิสารสนเทศ ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔) กระทรวงคมนาคมได้จัดทาแผนพัฒนาภูมิสารสนเทศคมนาคม ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔) จัดทาขึ้นเพ่ือรองรับการดาเนินงานของกระทรวงคมนาคม ภายใต้แผนแม่บทภูมิสารสนเทศแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2564) และเพอ่ื ใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาระบบภมู ิสารสนเทศของแต่ละหนว่ ยงาน เพื่อให้การพัฒนาด้านภูมิสารสนเทศและการประยุกต์ใช้สาหรับการบริหารราชการ และการให้บริการ ด้านคมนาคมขนส่งแก่ประชาชนดาเนินการไปอย่างต่อเน่ือง เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และสอดคล้อง กบั การเปลยี่ นแปลงของบรบิ ทขององค์กรและเทคโนโลยีทเี่ ก่ยี วข้อง 3.2 แผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ของกระทรวงคมนาคม (พ.ศ. 2563 – 2565) สาหรับใช้เป็นกรอบการดาเนินงานในการขับเคล่ือนการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ของกระทรวงคมนาคม ตลอดจนเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อสนับสนุน และขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ของประเทศไทย ในการนาผลลัพธ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analytics) มาใช้สาหรับการตัดสินใจ การวางแผน การกาหนด นโยบาย หรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งในระดับกระทรวงและระดับประเทศ โดยบูรณาการการปฏิบัติงาน ของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงคมนาคมให้เป็นไปอย่างสอดคล้องและเชอ่ื มโยงกนั บทท่ี ๔ - 6

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดิจทิ ัล สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ 3.3 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ ของกระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2562 – 2566 ด้วยรัฐบาลไทยได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการดูแลป้องกันและการเตรียมพร้อม ในการรับมือแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดข้ึนกับระบบเครือข่ายสื่อสารและโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีสาคัญของประเทศ จึงได้บรรจุประเด็นความม่ันคงไว้ในยุทธศาตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) เพ่ือเป็นแนวทางให้ประเทศ มีแผนการดาเนินงานในการป้องกันปัญหาท่ีจะเกิดข้ึนกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และข้อมูลที่ได้จากอุปกรณ์ และเครอื่ งจกั รต่าง ๆ พรอ้ มกาหนดให้ทุกหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้องในการป้องกันดังกล่าวดาเนินการจัดทาแผนการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงทางไซเบอร์ ซึ่งเป็นโครงการเร่งด่วน (Flagship) ที่จะต้องดาเนินการ ในระยะ 5 ปีแรก (พ.ศ. 2561 - 2565) โดยมอบหมายให้กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ร่วมกับสภาความม่ันคงแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลักในการดาเนินการ ซึ่งกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ได้ขอให้ทุกหน่วยงานเร่งจัดทาแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ และเพอ่ื ให้เปน็ ไปตามยุทธศาสตร์ชาติ อีกทั้งในขณะน้ัน อยู่ระหว่างดาเนินการจัดทาร่าง พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ....” เพื่อป้องกัน รับมือ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ มิให้เกิดผลกระทบต่อความม่ันคงในด้านต่าง ๆ โดยในร่างดังกล่าว ได้มีการกาหนดหน่วยงานและบริการ โครงสร้างพื้นฐานสาคัญทางสารสนเทศ (Critical Information Infrastructure: CII) ดังนน้ั ศนู ยเ์ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม จึงได้จัดประชุมหน่วยงานในสังกัด และดาเนินการจัดทาแ ผ น ป ฏิบัติก า รด้านก ารป้อ งกันและ แ ก้ไ ขปัญหาค ว า ม มั่น ค ง ป ล อ ด ภัย ท า ง ไ ซ เ บอร์ เพื่อเป็นกรอบในการดาเนินงานของหน่วยงานในสังกัด และแสดงถึงความพร้อม ของหน่วยงาน ในการตอบสนองต่อการป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ในส่วนของโครงสร้างพ้ืนฐานสาคัญทางสารสนเทศ ด้านขนส่งและโลจสิ ติกส์ของประเทศ 3.4 แนวทางการพัฒนา Digital Logistics ภายใต้แผนพัฒนาดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม ของกระทรวงคมนาคม (พ.ศ. 2560 - 2564) กระทรวงคมนาคมได้ดาเนินงานเพ่ือรองรับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ระดับประเทศดังกล่าว ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 -2570) และแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ของกระทรวงคมนาคม (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) (แผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล ๒๐๒๑) ซึ่งในส่วนของแผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล ๒๐๒๑ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ การดาเนินงาน ๕ ด้าน โดยยุทธศาสตร์ท่ี 1 เป็นการพัฒนา Digital Logistics มุ่งสู่การเป็น Smart Corridor ของภูมิภาคและสนับสนุนเศรษฐกิจระดับชุมชน ในการขับคลื่อนและผลักดันการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ท่ี 1 ภายใต้แผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล ๒๐๒๑ ข้างต้น คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ของกระทรวงคมนาคมได้มีคาส่ังท่ี คค ๑/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ แต่งต้ังคณะทางานพัฒนา และขับเคล่ือน Digital Logistics ของกระทรวงคมนาคม มีผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม เปน็ ประธาน ผู้แทนหนว่ ยงานในสังกัดทเ่ี กีย่ วข้อง เปน็ ผ้ทู างาน โดยมีอานาจหน้าที่ในการกาหนดแนวทางและส่งเสริมการพัฒนา Digital Logistics ภายใต้แผนพัฒนาคมนาคม ดิจิทัล 2021 เพื่อให้การดาเนินงานของกระทรวงคมนาคมบรรลุเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ รวมท้ังขับเคล่ือน และบูรณาการการพัฒนา Digital Logistics ของหน่วยงานในสังกัดท่ีเกี่ยวข้อง และประสานความร่วมมือ ในการส่งเสริมการพฒั นา Digital Logistics กบั หน่วยงานภายนอกท่ีเก่ียวขอ้ ง (Digital Transport Ecosystem) บทท่ี ๔ - 7

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดิจทิ ัล สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ซึ่งคณะทางานฯ ได้ดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ และจัดทาแนวทาง การพัฒนา Digital Logistics ของกระทรวง คมนาคมข้ึนตามกลยุทธ์ที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล ๒๐๒๑ โดยมุ่งเน้นให้ได้กรอบแนวทาง การพัฒนาที่เหมาะสมสาหรับการดาเนินงานของทุกหน่วยงานในสังกัด ในการพัฒนา Digital Logistics ให้เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกันและเกิดประโยชน์ในภาพรวมได้อย่างแทจ้ รงิ ๔. แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดิจิทัล สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแผนพัฒนาคมนาคมดิจิทัล ท่ีสอดคล้องกับภูมิทัศน์ ของการพัฒนาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของประเทศไทย โดยครอบคลุมทั้ง 4 ยุทธศาสตร์ จานวนทั้งสิ้น 37 โครงการ จากนัน้ จงึ จดั ลาดบั ประกอบดว้ ย ▪ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 จานวน 2 แผนงาน/โครงการ ▪ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 จานวน 2 แผนงาน/โครงการ ▪ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 จานวน 10 แผนงาน/โครงการ ▪ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 จานวน 18 แผนงาน/โครงการ ▪ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 จานวน 15 แผนงาน/โครงการ โดยมีรายละเอยี ดแผนงานโครงการแตล่ ะยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ บทท่ี ๔ - 8

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ พัฒนา Digital Logistics มุ่งสู่การเปน็ Smart Corridor ของภูมภิ า แผนงาน / โครงการ เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด ผ 1. แผนงานประเมนิ และสร้าง ภายในปี 2565 มผี ลการ ร้อยละความสาเร็จ ความพร้อมของทุกภาคการ ขนสง่ ในการพัฒนา Smart ประเมินความพร้อม ในการประเมิน Logistics ของทุกภาคการขนส่ง ความพร้อมของ 2.แนวทางการพัฒนา Digital Logistics ของกระทรวง ของประเทศ เพื่อใช้เป็น ทุกองคป์ ระกอบ คมนาคม แนวทางการพัฒนา ของแต่ละภาคการขนส่ง Smart Logistics เพื่อ รองรับการเป็น Smart Logistics กระทรวงคมนาคมมีแนว หน่วยงานในสงั กดั ดาเน ทางการพฒั นา Digital ดาเนนิ การตามกรอบ ทางก Logistics เพื่อเป็น แนวทางการพัฒนา Logis แนวทางในการ Digital Logistics คมน ดาเนนิ งานในปี 2563- ของกระทรวงคมนาคม หน่วย 2565 บรรลผุ ลไม่ต่ากวา่ ร้อย ในชว่ ละ 70 ตามแ กาหน

แผนปฏิบัติการคมนาคมดิจทิ ลั สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ าค และสนับสนุนเศรษฐกจิ ระดับชมุ ชน ผลการดาเนนิ งาน แผนการดาเนินงาน งบประมาณ 2563 2564 2565 (ลา้ นบาท) Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 - 0.5 นนิ การจัดทาแนว การพฒั นา Digital istics ของกระทรวง นาคม แล้วเสร็จ และ วยงานในสงั กัดอยู่ วงของการดาเนินการ แนวทางท่ีรว่ มกนั นดขึ้น บทท่ี ๔ - 9

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พฒั นา Smart Mobility มุ่งสูก่ ารเปน็ ต้นแบบ Smart City ควบคู่ก แผนงาน / โครงการ เป้าหมาย ตัวชี้วัด 1. แผนงานเช่ือมโยงข้อมลู เขา้ ระบบเชื่อมโยงข้อมลู ร้อยละความสาเรจ็ ใน ดาเ การดาเนนิ งานตาม โดย สู่ศนู ยบ์ รู ณาการการขนส่ง สาหรบั ใช้ประโยชน์ตาม แผนงานเชื่อมโยงข้อมูล - แ เขา้ สศู่ ูนย์ NMTIC ขอ ต่อเน่ืองหลายรูปแบบแหง่ ชาติ ภารกิจของศนู ย์บูรณาการ แก (NMTIC) การขนส่งต่อเนื่องหลาย ไทย - เช รปู แบบแห่งชาติ อน ขอ อนั Ser พิเศ - เช นา ผา่ น กบั ปร

แผนปฏิบตั ิการคมนาคมดิจิทลั สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ กบั การสนบั สนุน Inclusive Transport ผลการดาเนนิ งาน แผนการดาเนินงาน Q4 งบประมาณ 2563 2564 2565 (ลา้ นบาท) Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 เนนิ การแลว้ เสร็จ ไม่ใช้ ยได้ งบประมาณ แลกเปลี่ยนข้อมูล องศูนย์ NMTIC ก่ธนาคารแห่งประเทศ ย ช่อื มโยงข้อมูลการขอ นุญาตว่ิงบนทางพเิ ศษ องรถบรรทุกวตั ถุ นตราย ผา่ น Web rvices กับการทาง ศษแห่งประเทศไทย ชื่อมโยงข้อมูลการ าเข้าสนิ ค้าอันตราย น Web Services บการทา่ เรอื แห่ง ระเทศไทย บทท่ี ๔ - 10

แผนงาน / โครงการ เปา้ หมาย ตวั ช้ีวดั 2. โครงการจัดทาแผนสง่ เสริม - แผนสง่ เสริมการใช้ ดาเนินการโครงการได้ การใช้ประโยชน์เทคโนโลยี 5G ประโยชนเ์ ทคโนโลยี 5G ตรงตามข้อกาหนดแลว้ เพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพและ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและ เสร็จตามแผนการ คุณภาพความปลอดภัยของ คณุ ภาพความปลอดภัยของ ดาเนนิ งานทก่ี าหนด ระบบคมนาคมขนสง่ ระบบคมนาคมขนส่ง - ข้อเสนอแนะแนวทาง ในการปรับปรงุ กฎ/ ระเบยี บ และข้อเสนอแนะ แนวทาง การใชง้ านคลืน่ ความถ่ี/ ชอ่ งสญั ญาณ/ การเข้ารหัส ทีเ่ หมาะสม สาหรับการขนส่ง ตลอดจนมาตรการต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง

แผนปฏบิ ัติการคมนาคมดิจทิ ลั สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ผลการดาเนินงาน แผนการดาเนนิ งาน งบประมาณ 2563 2564 2565 (ล้านบาท) Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 - 6.200 บทท่ี ๔ - 11

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ สร้าง Digital Transport Ecosystem เพื่อพัฒนาประชาชนและผู้ป แผนงาน / โครงการ เปา้ หมาย ตัวชี้วดั 1. เพ่ิมศักยภาพการจัดการ บคุ ลากรของ สานักงาน ระดับความสาเร็จใน เผย ความรู้ของ สานักงาน ปลดั กระทรวงคมนาคมและ การเข้าถึงองคค์ วามรู้ ให้ก ปลดั กระทรวงคมนาคม/สรค. สานกั งานและรฐั มนตรี ดา้ นคมนาคมขนส่ง สป สามารถเขา้ ถึงและใช้งาน 2. แผนการพฒั นา/เพิ่ม เทคโนโลยีดิจิทลั ได้อย่าง ระดับความสาเร็จใน มีก ศกั ยภาพระบบการปฏบิ ัติงาน รวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพ การดาเนนิ งานตาม สาร ของ สานักงานปลดั กระทรวง สานกั งานปลัดกระทรวง แผนพัฒนา Digital การ คมนาคม/สรค. เพ่ือมงุ่ สู่การ คมนาคม มีแผนการ Government บุค เป็น Digital Government ดาเนินงานในการพัฒนา ปล เป็น Digital Government ระดับความสาเร็จ แล 3. การฝกึ อบรมความรดู้ ้าน ในการเข้ารบั การอบรม ดิจทิ ลั บุคลากรของกระทรวง ของบุคลากรกระทรวง คมนาคมมีทักษะและ คมนาคม ประสิทธิภาพการเขา้ ถึง เทคโนโลยีของบุคลากร

แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดจิ ิทลั สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ประกอบการด้านคมนาคม ผลการดาเนินงาน แผนการดาเนนิ งาน งบประมาณ 2563 2564 2565 (บาท) Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 ยแพร่องค์ความรู้ ไม่ใชง้ าน กับบุคลากรของ ประมาณ ปค. ในเวบ็ ไซต์ (ดาเนินการ ตอ่ เน่ืองทุกปี) การปรับปรุงระบบ ไม่ใชง้ าน รสนเทศที่สนบั สนุน ประมาณ รปฏบิ ตั ิงานของ (ดาเนนิ การ คลากรของ สานักงาน ตอ่ เนื่องทุกปี) ลัดกระทรวงคมนาคม ละสานักงานรฐั มนตรี N/A ไม่ได้รับจดั สรร งบประมาณ บทที่ ๔ - 12

แผนงาน / โครงการ เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด 4. โครงการพัฒนา Digital กระทรวงคมนาคม จานวนประชาชน กร Learning Platform มี Platform สาหรับการ ผขู้ ับขี่ และบุคลากรใน Pl ดา้ นคมนาคมขนสง่ เรียนรู้เกี่ยวกับการ ระบบคมนาคม ข ดาเนินงาน/การติดตอ่ ขนสง่ ท่ไี ดร้ บั การ 5. โครงการพัฒนา Digital ราชการของหนว่ ยงานใน พัฒนา จาก Digital อ Content เพ่ือการพัฒนา สงั กดั Learning Platform แน ประชาชนและผู้ประกอบการ เพื่อใหส้ ามารถขับข่ีและ ดา้ นคมนาคม กระทรวงคมนาคม มี ใชง้ านระบบคมนาคม อ หลักสูตรท่เี ป็น Digital ขนส่งได้อย่างปลอดภัย แน 6. โครงการส่งเสริมการวิจัย Learning Content ประชาชนสามารถ และพัฒนา Digital เกี่ยวกับความปลอดภัยของ เข้าถึงข้อมลู ผ่าน Transport Technology การคมนาคมขนส่งให้กับ Digital Learning ประชาชน Content ของกระทรวง กระบวนงานรูปแบบใหม่ คมนาคม โดยอาจจะเป็นการนา เทคโนโลยีท่มี ีอยู่ กระทรวงคมนาคม มาประยกุ ตใ์ ช้ หรือสร้าง มีกระบวนงานใหม่ เทคโนโลยีใหม่ใหป้ ระเทศ ท่ตี อบสนองต่อ ยทุ ธศาสตร์ด้านการ พัฒนานวัตกรรม

แผนปฏบิ ตั ิการคมนาคมดิจทิ ัล สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ผลการดาเนินงาน แผนการดาเนนิ งาน งบประมาณ 2563 2564 2565 (บาท) Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 N/A รมการขนสง่ ทางบกได้ ดาเนินการพัฒนา Digital Learning latform สาหรบั การ ขอใบอนุญาตขบั รถ ตามแผนพัฒนา คมนาคมดิจิทลั อย่รู ะหว่างพจิ ารณา N/A นวทางการดาเนินงาน เพ่ิมเติม อย่รู ะหว่างพจิ ารณา N/A นวทางการดาเนินงาน บทที่ ๔ - 13

แผนงาน / โครงการ เป้าหมาย ตวั ชี้วดั ไทยมีนวตั กรรมทางดจิ ิทัล ของตนเอง เพ่ือตอบสนอง เปา้ ประสงค์การวจิ ัยเชงิ บูรณาการข้างต้น 7. โครงการพัฒนา เพ่ือสรา้ งให้เกิดการพัฒนา จานวน Transport อ Transport Tech Startup แน Transport Tech Startups Tech Startup 8. โครงการพฒั นา Digital อ Marketplace สาหรับ ทีม่ ศี ักยภาพ เพอ่ื เพิ่มขดี ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ แน อตุ สาหกรรมคมนาคมขนสง่ ความสามารถในการแข่งขนั และมีการเติบโตตาม ของธุรกจิ อุตสาหกรรม และ เปา้ หมาย บริการดา้ นเทคโนโลยแี ละ นวัตกรรม มาตรฐานการเชอ่ื มโยง - จานวน ข้อมูลระหว่างระบบงาน ผูป้ ระกอบการทเี่ ขา้ เพื่อใหส้ ามารถแลกเปลย่ี น ร่วมเปน็ สมาชิก ขอ้ มลู ระหว่างกัน Digital Marketplace ตามเป้าหมาย - มูลคา่ ทางเศรษฐกิจ ของธรุ กรรมบน Digital Marketplace

แผนปฏิบัติการคมนาคมดิจิทัล สานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ผลการดาเนนิ งาน แผนการดาเนนิ งาน งบประมาณ 2563 2564 2565 (บาท) Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 อยรู่ ะหว่างพิจารณา N/A นวทางการดาเนินงาน อย่รู ะหว่างพิจารณา N/A นวทางการดาเนินงาน บทที่ ๔ - 14

แผนงาน / โครงการ เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั 9. การประสานความร่วมมือ กระทรวงคมนาคมมีความ ระดับความสาเรจ็ ในการดาเนนิ งาน ในการพฒั นา Digital ร่วมมือในหน่วยงาน ตามแผน พ พ Transport ให้กับ ผปู้ ระกอบการ ประชาชน ระดับความสาเร็จ ในการดาเนินงานตาม ผู้ประกอบการขนส่ง ในการพัฒนา Digital แผน หน่วยงาน ประชาชน Transport Ecosystem (ตามแผนปฏบิ ัติการภายใต้ แผนภมู ิสารสนเทศคมนาคม (พ.ศ. 2562 - 2564) 10. แผนงานสนบั สนุนใหเ้ กิด กระทรวงคมนาคมมี การสรา้ งนวตั กรรมด้าน แผนงาน/กจิ กรรมท่ี คมนาคมขนสง่ โดยการ สนับสนุนใหเ้ กิดการสรา้ ง ประยุกต์ใชแ้ ผนดจิ ิทัล นวัตกรรมด้านคมนาคม (ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารภายใต้ ขนส่ง โดยการประยุกต์ใช้ แผนภูมสิ ารสนเทศคมนาคม แผนท่ีดิจทิ ัล (พ.ศ. 2562 - 2564)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook