Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มคอ.3_2560

มคอ.3_2560

Published by siriluk4143, 2018-02-26 09:47:58

Description: มคอ.3_2560

Search

Read the Text Version

รายละเอยี ดของรายวชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยา Course Specification of Anesthesiologyชอื่ สถาบนั อดุ มศึกษา วทิ ยาลยั แพทยศาสตรพระมงกุฎเกลาภาควชิ า วิสญั ญีวทิ ยา๑. รหสั และช่ือรายวชิ า หมวดท่ี ๑ ขอมูลทว่ั ไป ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ วพมศศ ๕๐๒ วิชาวิสัญญวี ทิ ยา PCMSU 502 ANESTHESIOLOGY๒. จํานวนหนวยกติ ๒ หนวยกติ (๑-๓-๓) บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง (๑๓–๔๑) ชว่ั โมง/สัปดาห๓. หลักสตู รและประเภทของรายวิชา๓.๑ หลักสูตร แพทยศาสตรบณั ฑติ๓.๒ ประเภทของรายวิชา วิสญั ญีวทิ ยา๔. อาจารยผรู ับผดิ ชอบรายวชิ า และอาจารยผ ูส อน๔.๑ อาจารยผ ูรับผิดชอบรายวิชา พ.อ.หญิงศริ ลิ กั ษณ ชํานาญเวช๔.๒ อาจารยผ ูสอน๑. พ.อ.นพดล ชืน่ ศริ ิเกษม๒. พ.อ.ธีรวัฒน ภจู ญิ ญาณ๓. พ.อ.ณรงคศกั ด์ิ เจษฎาภัทรกุล๔. พ.ท.หญิงนวลวรรณ ภูวโชติโรจนโภคิน๕. พ.ท.ณฐั ธพงษ ภูวโชติโรจนโภคิน๖. พ.ท.สทิ ธาพันธ มัน่ ชูพงศ๗. พ.ต.กฤษณะ นองเนอื ง๔.๓ อาจารยพ เิ ศษ๑. พญ.สพรกั ษ พง่ึ พา๒. พญ.กลอยใจ กาญจนารายน๓. นพ.ยุทธฉัตร เจริญอทิ ธิกลุ๔. พญ.กชภา ดสุ ิตานนท๕. นพ.ปกรณ ธญั วงษ๕. ภาคการศึกษา / ชัน้ ปทเ่ี รียน๕.๑ ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ภาคการศึกษาที่ ๒ / ชน้ั ปท ่ี ๕๕.๒ จาํ นวนผเู รียนท่รี ับได ประมาณ ๑๐๐ นาย ( ๘ กลมุ )การจัดทาํ มาตรฐานคุณวุฒิระดับปรญิ ญาตรีแพทยศาสตรบัณฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑

๖. รายวชิ าทต่ี อ งเรียนมากอ น วพมกศ ๔๐๒ หลักการเรียนรทู างคลินกิ (Pre-requisite) (Principles of clinical learning)๗. รายวชิ าทตี่ องเรยี นพรอมกัน ไมม ี (Co-requisites)๘. สถานทีเ่ รยี น - การบรรยาย กลุม การเรียนรูโดยใชป ญ หาเปนฐาน ณ ภาควชิ าวิสญั ญี ชัน้ ๙ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบ พระชนมพรรษา รพ.พระมงกฎุ เกลา - การปฏบิ ตั งิ านในหอ งผาตัด ชั้น ๘ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษาและหองผาตดั อบุ ัตเิ หตุ ชัน้ ๓ อาคารทา นผูหญิงประภาศรี กําลังเอก รพ.พระมงกุฎเกลา - การฝกปฏิบตั ิใสทอชว ยหายใจกับหนุ จําลอง (หองผา ตดั ๑๕) ชั้น ๘ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ๖ รอบพระ ชนมพรรษา รพ.พระมงกฎุ เกลา๙. วันท่จี ดั ทาํ หรอื ปรบั ปรงุ วันท่ี ๑๒ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐การจดั ทํามาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั ปรญิ ญาตรีแพทยศาสตรบัณฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๒

หมวดท่ี ๒ จุดมงุ หมายและวตั ถปุ ระสงค๑. จดุ มงุ หมายของรายวชิ า วตั ถปุ ระสงคท ั่วไป เพ่อื ใหนกั เรียนแพทยท หารและนกั ศึกษาแพทย ๑. มีความรูและเชยี่ วชาญในการใหการระงับความรูส กึ แบบทัว่ ไปในผปู วยทไ่ี มซ ับซอน ๒. มคี วามรูใ นการทํา Spinal anesthesia ๓. มีความรูในหลกั การใหก ารระงับปวดในผูปว ยผาตัด ๔. มคี วามรใู นหลกั การใหก ารระงบั ความรสู กึ ในศลั ยกรรมสนามเคล่อื นท่ี วัตถุประสงคเฉพาะ เม่อื สน้ิ สุดการศึกษาแลว นกั เรียนแพทยท หารและนักศกึ ษาแพทย ตอ งมคี วามรคู วามสามารถดงั ตอไปนี้ ดานปญ ญาพิสัย (Cognitive) ๑. สามารถประเมินสภาพและเตรยี มผูป วยกอนไดร ับการระงับความรสู กึ ระหวางผาตัด และหลังการระงบั ความรสู กึไดอ ยางเหมาะสมถกู ตอง โดยคํานงึ ถึงความปลอดภัยของผปู ว ยเปน สาํ คัญ ๒. สามารถใหก ารวินจิ ฉัย ปอ งกัน และรกั ษาภาวะแทรกซอ นทางวิสญั ญีท่ีพบบอยหรอื รายแรงตอ ชวี ิต ๓. รแู ละเขาใจกลไกการปวด หลักการใหการระงบั ปวดในผูปว ยผา ตดั ๔. รูในหลกั การใหการระงบั ความรสู กึ ในศลั ยกรรมสนามเคลอื่ นที่ ดานทกั ษะพสิ ัย (Skill) ๑. สามารถซักประวัติ ตรวจรางกาย และประเมนิ ภาวะผปู วย กอ นการไดรบั การระงบั ความรสู กึ ไดถูกตองเหมาะสม ๒. ใหการดแู ลเบื้องตนแกผ ูปวยกอ น ระหวาง และหลังการไดรับการระงบั ความรสู ึกไดเหมาะสม ๓. ใหการดูแลเบอ้ื งตน แกผปู ว ยภาวะฉกุ เฉนิ ทางวิสญั ญีไดเหมาะสม ๔. สามาถบอกขอ บง ชขี้ องการทาํ เขาใจวิธกี ารทาํ รูภ าวะแทรกซอ นท่ีอาจจะเกิดขนึ้ รวมถงึ แนวทางการแกไ ขและ ทาํหตั ถการพนื้ ฐานทางคลนิ ิกตอ ไปน้ไี ดด วยตนเอง ๔.๑ การดูแลทางเดินหายใจ (Airway management) ๔.๒ การเฝาติดตามสัญญาณชีพแบบ Non-invasive monitoring ๔.๓ การใหสารนํ้า เลอื ด และผลิตภัณฑข องเลอื ดไดอยา งถกู ตอง ๔.๔ การบาํ บัดดวยออกซิเจน (Oxygen therapy) ๕. แสดงการสื่อสารไดเหมาะสมและถกู ตองตามหลักการ ๕.๑ อธบิ ายวิธีการระงับความรสู ึก ความเส่ยี งในการเกดิ ภาวะแทรกซอน การปอ งกัน และการรกั ษาได ๕.๒ แนะนําการปฏิบตั ิตนแกผ ูปว ยกอน และหลงั การไดร บั การระงับความรูสกึ ได ๕.๓ ปฏิบตั ิตามมาตรการขององคการอนามยั โลกเรือ่ งการตรวจสอบ ความปลอดภยั จากการผาตัด (WHOsurgical safety checklist) ๖. นําเสนอและเขยี นรายงานผูปวยไดเหมาะสม ดานเจตคตพิ สิ ัย (Attitude) ๑. มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทเี่ หมาะสมสาํ หรับวชิ าชีพในการปฏบิ ัตติ อผูปว ยที่เขา รบั การระงับความรสู กึ ๒. ตระหนกั ถึงความสําคญั ของสาเหตุ ปจ จยั ท่สี ง เสริมใหเ กดิ ภาวะแทรกซอ นทางวิสัญญี ๓. ตระหนกั ถงึ ระบบคุณภาพ และความปลอดภยั ของผปู วยการจัดทาํ มาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั ปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบ ัณฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๓

๔. ตระหนักถงึ สทิ ธิผูปวย และปฏบิ ตั ติ อผูป ว ยอยางสมศกั ดศ์ิ รคี วามเปนมนษุ ย ๕. ตระหนักถึงความสําคัญของเกณฑม าตรฐานผปู ระกอบวชิ าชีพเวชกรรมของแพทยสภา พ.ศ.๒๕๕๕๒. วตั ถปุ ระสงคในการพฒั นา/ปรบั ปรงุ รายวชิ า ๑. การพฒั นาหลักสูตร ปรบั ปรุงเน้ือหาเพมิ่ เติม เพือ่ ใหสอดคลอ งกบั ๑. กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๕๘ ๒. เกณฑมาตรฐานผปู ระกอบวชิ าชีพเวชกรรมของแพทยสภา พ.ศ.๒๕๕๕ ๓. หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑิต วทิ ยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๘) ๒. พันธกิจของสถาบนั ตอบสนองพนั ธกจิ ของวทิ ยาลยั แพทยศาสตรพระมงกฎุ เกลา (วพม.) เพอ่ื ผลติ บัณฑิตทม่ี ีคุณลักษณะตามอัตลักษณบณั ฑติ ของ วพม. คอื อัตลักษณท างวิชาชีพ อัตลกั ษณทางวชิ าการ และอตั ลักษณท างทหารการจัดทํามาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบ ณั ฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๔

หมวดท่ี ๓ ลกั ษณะและการดําเนินการ๑. คําอธิบายรายวิชา หลกั การและแนวปฏิบัติ พนื้ ฐานทางวสิ ญั ญีวิทยา วทิ ยาศาสตรพ ้ืนฐานทเี่ กี่ยวขอ งกับ แนวปฏิบตั ิ ดา นวิสญั ญี เชนสรีรวิทยา เภสัชวทิ ยา (ยาทางวิสัญญี ยาชา ) การประเมินและเตรยี มผูปวยกอนการระงับความรสู กึ วธิ กี ารใหก ารระงบัความรูส กึ แบบท่ัวรา งกาย และเฉพาะ สวน การวินิจฉัยและใหการรักษา ภาวะแทรกซอน ทเ่ี กิดจากก ารไดรบั การ ระงบัความรสู ึก การใหสารน้าํ การใหเ ลอื ดและสวนประกอบของเลือด การดแู ลผปู ว ยหลงั การระงับความรูส ึก การจัดการทางเดินหายใจ การบาํ บัดดว ยออกซิเจน การระงับปวด การฝก ปฏบิ ตั ทิ กั ษะตางๆ ดา นวสิ ญั ญีวทิ ยา สิทธิผปู ว ยและคํานงึ ถึงความปลอดภัยของผปู วย ตลอดจนหลกั การใหก ารระงบั ความรสู กึ ในศัลยกรรมสนามเคล่ือนที่ Principles and practice of anesthesiology, Basic science that are relevant to anesthesia practice;physiology & pharmacology (anesthetic drugs, local anesthetics), Preoperative evaluation andpreparation, General and regional anesthesia, Diagnosis and Treatment of complications from anesthesia,Fluid therapy, Blood and blood component therapy, Postoperative care, Airway management, Oxygentherapy, Pain management, Clinical implications for the practice of anesthesia, Patients’ right and safety,Principles of anesthesia in battlefield.๒. จาํ นวนช่ัวโมงที่ใชตอภาคการศึกษาบรรยาย Preop Round การฝกปฏิบตั ิ(ช่วั โมง) ปฏิบัติ(ชัว่ โมง) ๑ PBL SDL ๔๑ ๓- ๑๓๓. จํานวนชัว่ โมงตอสัปดาหท ่อี าจารยใ หค าํ ปรกึ ษาและแนะนําทางวิชาการแกนกั ศกึ ษาเปน รายบุคคล ๓.๑ อาจารยป ระจาํ วชิ าใหค าํ ปรกึ ษาในชว งเวลา Conference ทุกวันจันทรถงึ วันศกุ ร เวลา ๐๘๐๐ - ๐๙๐๐ น. ๓.๒ อาจารยประจาํ หองผา ตัดใหคําแนะนาํ ระหวา งฝกปฏบิ ัติกับผปู ว ย ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห๔. จํานวนช่ัวโมงตอสัปดาหท่ีตอ งอยเู วรนอกเวลา ๓.๑ นพท./นศพ. จํานวน ๒-๓ คน ตอ งอยเู วรนอกเวลา ทุกวันจันทรถงึ วันศกุ ร เวลา ๑๖๐๐ – ๒๐๐๐ น. เพื่อฝกปฏิบัติกบั ผูปวยและผปู วยฉกุ เฉนิ ทางวสิ ญั ญี ประมาณ ๔ ชัว่ โมง/สัปดาห จํานวน ๒ สัปดาหการจดั ทํามาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั ปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบ ณั ฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๕

หมวดท่ี ๔ การพัฒนาผลการเรยี นรูของนักศึกษา รายวชิ าวิสญั ญวี ทิ ยา กาํ หนดใหน กั เรยี นแพทยท หารและนกั ศกึ ษาแพทยมผี ลการเรียนรเู มอ่ื สิน้ สดุ การเรยี นการสอน โดยมวี ิธกี ารสอนและวธิ ีการประเมินผลดังน้ี(นาํ เสนอผลการเรียนรูข องรายวชิ าเทียบเคยี งกับผลการเรยี นรูท่กี ําหนดไวใน มคอ. ๒ รายละเอียดของหลกั สูตร และใชสัญลักษณทีม่ ีความหมายดงั นี้ ● รับผิดชอบหลกั ο รับผิดชอบรอง วิธีการสอนและวธิ กี ารประเมินผลทเ่ี ลอื กใช) ๑. คุณธรรม จริยธรรม : คุณธรรม จริยธรรม ที่ตองพัฒนา  ๑.๑ แสดงออกถงึ คุณธรรมจริยธรรมเหมาะสมตอ วิชาชีพแพทย  ๑.๒ มีความซอื่ สตั ยส ุจรติ ตอ ตนเอง และวชิ าชพี เปนที่ไวว างใจของผปู ว ยและสงั คม  ๑.๓ แสดงออกถงึ บุคลิกภาพของแพทยอ ันเปนทน่ี า เชอื่ ถอื มคี วามอดทน อดกล้ัน และความม่ันคงทาง อารมณ  ๑.๔ มคี วามตรงตอ เวลา มีวินยั มคี วามรบั ผิดชอบตอ ผูป ว ย และงานทีไ่ ดร ับมอบหมาย ๑.๕ มคี วามตระหนักในการดูแลผูปว ยแบบองคร วม โดยคาํ นึงถึงปจ จัยหลายๆดาน ทัง้ ดา นกาย จติ  ครอบครวั สังคม และส่ิงแวดลอ ม โดยไมแบง แยกในบรบิ ทของเช้ือชาติ ศาสนา วฒั นธรรม เพศ อายุ และเศรษฐานะ  ๑.๖ เคารพในสิทธิของผูปวย โดยการใหความจริง รักษาความลับ และคาํ นงึ ประโยชน และความ ปลอดภัยของผูปวยเปน สาํ คญั  ๑.๗ มคี วามเขา ใจและสามารถใหก ารบริบาลสุขภาพโดยมงุ เนน คนเปน ศนู ยก ลาง  ๑.๘ มจี ติ อาสา พรอมจะเสยี สละชว ยเหลอื ผอู ืน่ โดยคาํ นงึ ถึงประโยชนส วนรวม วิธกี ารสอน  ๑. บรรยาย (แบบปฏสิ มั พนั ธ : ใหตอบคาํ ถามสน้ั ๆ, ระดมความคดิ , buzz group)  ๒. การเรียนการสอนกลุมยอย (small group discuss) ๓. มอบหมายงานรายบุคคล (ตอบคําถาม / แบบทดสอบ / คนควา / นําเสนอ)  ๔. มอบหมายงานกลมุ (วเิ คราะหป ญหา กรณีศกึ ษา / ทาํ โครงงาน / ทํารายงาน / นาํ เสนอ) ๕. สาธิต Discussion ใหฝกปฏบิ ตั ิการแสดงออกซง่ึ พฤติกรรม (role play) ๖. ใหฝ ก ปฏิบัตใิ นหอ งปฏิบัตกิ าร (lab)  ๗. ฝก หตั ถการกบั หุนหรอื ผปู วยสมมตุ ิ  ๘. ฝกปฏบิ ัติงานกับผปู ว ยจรงิ ๙. ศกึ ษาดงู านนอกสถานที่ / ในชมุ ชน  ๑๐. ศกึ ษาดว ยตนเอง ๑๑. อนื่ ๆ วิธกี ารประเมนิ  ๑. ประเมนิ จากการเขา เรยี นและการมสี วนรว มในการเรียนการสอน  ๒. ประเมนิ จากการสง งานตามเวลาท่กี าํ หนด  ๓. ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน)การจดั ทาํ มาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบัณฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๖

 ๔. ประเมนิ จากผลงานกลุม (เอกสาร / รายงาน)  ๕. ประเมนิ จากการนําเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร)  ๖. ประเมนิ ความกา วหนาในการเรยี น (formative evaluation)  ๗. ประเมินจากการสอบขอเขียน (MCQ) ๘. ประเมินจากการสอบปากเปลา (oral examination) ๙. ประเมินจากการสอบภาคปฏบิ ัติ เชน OSCE  ๑๐. ประเมินจากการสังเกตการปฏิบตั งิ านในสถานการณจ ริง (360 องศา)๒. ความรู : ความรู ท่ตี อ งพัฒนา ๐ ๒.๑. วทิ ยาศาสตรการแพทยระดับพ้นื ฐาน (ตามเกณฑมาตรฐานผปู ระกอบวชิ าชพี เวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ๒๕๕๕ ภาคผนวก ก ) หมวดท่ี ๑ หลักการทวั่ ไป B1.7.2 Fluid, electrolyte, and acid-base balance and disorders หมวดท่ี ๒ การจําแนกตามระบบอวัยวะ B2.3.1 Whole blood and blood products ● ๒.๒. วิชาชพี และทกั ษะทางคลนิ กิ (ตามเกณฑม าตรฐานผปู ระกอบวิชาชพี เวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ๒๕๕๕ ภาคผนวก ข ) หมวดท่ี ๓ ทกั ษะการตรวจ การตรวจทางหอ งปฏบิ ัติการ และหัตถการทจ่ี าํ เปน ระดับหตั ถการท่ี ๑ ไดแก - ลาํ ดับท่ี 8 Blood and blood component transfusion - ลําดบั ที่ 13 Endotracheal intubation - ลาํ ดับที่ 24 Intravenous fluid infusion - ลาํ ดับท่ี 25 Lumbar puncture - ลาํ ดบั ท่ี 29 Nasogastric intubation - ลาํ ดับท่ี 31 Oxygen therapy - ลําดับท่ี 74 General anesthesia for uncomplicated patient for simple surgery ระดับหัตถการที่ ๔ ไดแ ก - ลาํ ดบั ที่ 94 Spinal anesthesia ο ๒.๓. การสรางเสรมิ สขุ ภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ (ตามเกณฑม าตรฐานผปู ระกอบวชิ าชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ๒๕๕๕ ภาคผนวก ค ) ขอ 3 การใหส ขุ ศกึ ษา ขอ 4 ระบบบริบาลสุขภาพของประเทศไทยและ ขอ 10 บทบาทของสหวชิ าชีพ และสหสาขาในการสรา งเสริมสขุ ภาพ ο ๒.๔. เวชจรยิ ศาสตร (ตามเกณฑม าตรฐานผูประกอบวิชาชพี เวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ๒๕๕๕ ภาคผนวก ง ) ขอ 3 ความสัมพันธระหวางแพทยก ับผปู ว ย และขอ 5 สิทธผิ ปู วย ο ๒.๕. กฎหมายท่ีเก่ียวขอ งกับการประกอบวิชาชพี เวชกรรม (ตามเกณฑมาตรฐานผูประกอบวชิ าชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ๒๕๕๕ ภาคผนวก จ )การจดั ทํามาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั ปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบณั ฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๗

● ๒.๖. การใชยา ผลติ ภัณฑ และเทคโนโลยดี า นสขุ ภาพอยางเหมาะสม โดยคาํ นงึ ถึงความคุม คา ใน เศรษฐศาสตรค ลินกิ ๒.๗. หลักการดา นวทิ ยาการระบาดเชงิ คลนิ ิก ชวี สถติ ิ เวชสารสนเทศ และเวชศาสตรเชิงประจกั ษ ๒.๘. หลกั การดานสงั คมศาสตร มานษุ ยวิทยา จิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร ทจ่ี าํ เปนสาํ หรบั สรางเสรมิ เจตคติ และสรางความเขา ใจตอ เพือ่ นมนษุ ย และสังคมο ๒.๙. หลักการดานบริหารงานขั้นพืน้ ฐานทางสาธารณสขุ และการแพทยท หาร● ๒.๑๐. หลักการ พน้ื ฐานดา นระบบคุณภาพ และความปลอดภยั ของผูปวย วธิ ีการสอน ๑. บรรยาย (แบบปฏิสัมพันธ) : ใหต อบคําถามส้ันๆ , ระดมความคิด, buzz group) ๒. การเรียนการสอนกลุมยอย (small group discuss) ๓. มอบหมายงานรายบุคคล (ตอบคําถาม / แบบทดสอบ / คนควา / นําเสนอ) ๔. มอบหมายงานกลมุ (วิเคราะหปญหา กรณีศึกษา / ทาํ โครงงาน / ทาํ รายงาน / นําเสนอ) ๕. สาธิต Discussion ใหฝ กปฏบิ ัติการแสดงออกซึง่ พฤติกรรม (role play) ๖. ใหฝ ก ปฏบิ ัติในหอ งปฏิบัตกิ าร (lab) ๗. ฝก หัตถการกับหนุ หรอื ผูป ว ยสมมุติ ๘. ฝกปฏิบตั ิงานกับผูปว ยจรงิ ๙. ศกึ ษาดูงานนอกสถานที่ / ในชมุ ชน ๑๐. ศกึ ษาดวยตนเอง ๑๑. อนื่ ๆ วธิ กี ารประเมนิ ๑. ประเมินจากการเขา เรียนและการมสี ว นรวมในการเรียนการสอน ๒. ประเมินจากการสงงานตามเวลาทก่ี าํ หนด ๓. ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน) ๔. ประเมนิ จากผลงานกลุม (เอกสาร / รายงาน) ๕. ประเมนิ จากการนําเสนอ (วาจาและส่อื / โปสเตอร) ๖. ประเมนิ ความกา วหนาในการเรยี น (formative evaluation) ๗. ประเมินจากการสอบขอเขียน (MCQ) ๘. ประเมินจากการสอบปากเปลา (oral examination) ๙. ประเมินจากการสอบภาคปฏบิ ตั ิ เชน OSCE ๑๐. ประเมนิ จากการสังเกตการปฏบิ ัตงิ านในสถานการณจรงิ (360 องศา) ๓. ทกั ษะทางปญ ญา : ทักษะทางปญ ญาทต่ี องพัฒนา ๓.๑. ตระหนกั รแู ละเขา ใจในศักยภาพและขอ ควรพัฒนาของตน สามารถกําหนดความตอ งการในการ เรียนรูและพัฒนาของตนเอง ไดอยา งครอบคลมุ● ๓.๒. สามารถวางแผนและแสวงหาวธิ ีการสรา งและพฒั นาความรู ทักษะ เจตคติ และพฤตกิ รรมเหมาะสมการจดั ทํามาตรฐานคุณวุฒริ ะดับปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบ ณั ฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๘

● ๓.๓. คิดวิเคราะหอ ยา งเปนระบบ โดยใชอ งคความรูทางวิชาชีพและดานอื่นๆ ทเี่ กย่ี วของο ๓.๔. สามารถนาํ ขอ มลู และหลักฐานท้งั ดานวทิ ยาศาสตรการแพทยพ ื้นฐานและทางคลินกิ ไปใชในการ อา งองิ และแกไขปญ หาไดอ ยา งมีวิจารณญาณο ๓.๕. สามารถแสวงหาและแลกเปลีย่ นความรู ฝก ทกั ษะทางการแพทยแ ละเวชศาสตรท หาร รวมทั้ง พัฒนาตนเองอยางตอ เนอื่ งและสม่ําเสมอ ๓.๖. เลอื กใชว ิธกี ารแกไขปญ หาไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ สอดคลอ งกบั สถานการณแ ละความตอ งการของ กองทพั และบรบิ ททางสขุ ภาพท่ีเปลี่ยนไปο ๓.๗. เลือกใชว ธิ ีการตรวจโดยเครือ่ งมือพืน้ ฐาน เครื่องมอื พเิ ศษ และการตรวจทางหอ งปฏบิ ัตกิ าร โดย คํานงึ ถึงความคุม คา และเหมาะสม ๓.๘. เขาใจบทบาท คุณประโยชน และแนวทางการบูรณาการการแพทยแผนไทยและการแพทย ทางเลอื กเขากับระบบสุขภาพของประเทศ เพ่อื เลือกใชแนวทาง หรอื สง ตอผูปว ยไดอยางเหมาะสม ๓.๙. เขา ใจความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพงาน ทง้ั สามารถปฏบิ ัตไิ ดอยา งสมาํ่ เสมอและตอเนอ่ื ง สามารถสรา งองคความรจู ากการปฏิบัติงานประจาํ วัน และเขา ใจในระบบบรหิ ารจดั การความรู ๓.๑๐. สามารถประยุกตใชความรูด า นสุนทรยี ศาสตร ชีวติ และความตาย วฒั นธรรม สังคม กฎหมาย เศรษฐศาสตร และสงิ่ แวดลอ มของชมุ ชน เพือ่ เชอื่ มโยงกบั การบริบาลสุขภาพอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล วิธกี ารสอน ๑. บรรยาย (แบบปฏิสัมพันธ) : ใหตอบคาํ ถามสนั้ ๆ , ระดมความคิด, buzz group) ๒. การเรียนการสอนกลุมยอย (small group discuss) ๓. มอบหมายงานรายบุคคล (ตอบคาํ ถาม / แบบทดสอบ / คนควา / นําเสนอ) ๔. มอบหมายงานกลมุ (วิเคราะหป ญ หา กรณีศึกษา / ทาํ โครงงาน / ทาํ รายงาน / นําเสนอ) ๕. สาธิต Discussion ใหฝก ปฏิบัติการแสดงออกซึง่ พฤติกรรม (role play) ๖. ใหฝ กปฏิบัตใิ นหอ งปฏิบตั ิการ (lab) ๗. ฝกหัตถการกบั หนุ หรอื ผปู วยสมมุติ ๘. ฝกปฏบิ ตั งิ านกับผปู ว ยจรงิ ๙. ศกึ ษาดงู านนอกสถานที่ / ในชมุ ชน ๑๐. ศึกษาดว ยตนเอง ๑๑. อ่ืนๆ วิธีการประเมิน ๑. ประเมนิ จากการเขา เรียนและการมีสว นรว มในการเรยี นการสอน ๒. ประเมินจากการสงงานตามเวลาที่กําหนด ๓. ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน) ๔. ประเมนิ จากผลงานกลุม (เอกสาร / รายงาน) ๕. ประเมินจากการนาํ เสนอ (วาจาและส่ือ / โปสเตอร) ๖. ประเมนิ ความกาวหนา ในการเรียน (formative evaluation)การจดั ทํามาตรฐานคณุ วุฒิระดับปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบ ัณฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๙

 ๗. ประเมินจากการสอบขอเขียน (MCQ) ๘. ประเมินจากการสอบปากเปลา (oral examination) ๙. ประเมินจากการสอบภาคปฏบิ ตั ิ เชน OSCE  ๑๐. ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัตงิ านในสถานการณจ ริง (360 องศา) ๔. ทกั ษะความสมั พนั ธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ : ทกั ษะความสมั พันธร ะหวางบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบที่ตอ งพฒั นา ● ๔.๑. สามารถปรบั ตวั เชงิ วชิ าชพี แพทย และมีปฏสิ มั พนั ธอ ยางสรา งสรรคกับผูอ น่ื ● ๔.๒. สามารถทาํ งานเปนทีมในบทบาทผูนาํ และสมาชกิ ในทมี ดแู ลรักษา ทมี สขุ ภาพ และทมี ในชมุ ชนของ ระบบบริการสาธารณสุข หรือคายทหาร ในบรบิ ทหรอื สถานการณที่แตกตาง ο ๔.๓ มคี วามรับผิดชอบตอหนา ที่ ตอ สงั คม และรับผิดชอบในการพัฒนาวชิ าชีพแพทย องคกร และสงั คม ๔.๔. สามารถสงเสรมิ การมีสว นรว มของกาํ ลงั พล/ประชาชน/ชมุ ชนใหมีบทบาทในการดแู ลสรา งเสริม สุขภาพและตอบสนองตอความตองการของชมุ ชน/คายทหารอยา งเหมาะสม วธิ กี ารสอน  ๑. บรรยาย (แบบปฏิสัมพันธ) : ใหต อบคําถามส้นั ๆ , ระดมความคดิ , buzz group)  ๒. การเรียนการสอนกลุมยอย (small group discuss)  ๓. มอบหมายงานรายบุคคล (ตอบคาํ ถาม / แบบทดสอบ / คนควา / นําเสนอ) ๔. มอบหมายงานกลมุ (วิเคราะหป ญ หา กรณศี กึ ษา / ทาํ โครงงาน / ทํารายงาน / นาํ เสนอ) ๕. สาธิต Discussion ใหฝก ปฏิบัติการแสดงออกซ่งึ พฤติกรรม (role play) ๖. ใหฝ ก ปฏบิ ัตใิ นหองปฏิบตั กิ าร (lab)  ๗. ฝกหตั ถการกับหุนหรือผูปว ยสมมุติ  ๘. ฝก ปฏบิ ัติงานกับผปู วยจรงิ ๙. ศึกษาดงู านนอกสถานที่ / ในชมุ ชน ๑๐. ศึกษาดวยตนเอง ๑๑. อน่ื ๆ วธิ กี ารประเมิน  ๑. ประเมนิ จากการเขา เรยี นและการมสี ว นรว มในการเรียนการสอน ๒. ประเมนิ จากการสง งานตามเวลาท่ีกําหนด ๓. ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน)  ๔. ประเมนิ จากผลงานกลมุ (เอกสาร / รายงาน) ๕. ประเมนิ จากการนาํ เสนอ (วาจาและส่อื / โปสเตอร) ๖. ประเมนิ ความกาวหนา ในการเรียน (formative evaluation) ๗. ประเมินจากการสอบขอเขียน (MCQ) ๘. ประเมินจากการสอบปากเปลา (oral examination) ๙. ประเมนิ จากการสอบภาคปฏิบัติ เชน OSCEการจัดทํามาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปรญิ ญาตรีแพทยศาสตรบัณฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑๐

๑๐. ประเมนิ จากการสังเกตการปฏบิ ตั ิงานในสถานการณจรงิ (360 องศา) ๕. ทกั ษะการวิเคราะหเ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ : ทักษะการวเิ คราะหเชิงตัวเลขการสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศทต่ี อ งพัฒนา ๕.๑. สามารถประยกุ ตใ ชหลักตรรกะ คณติ ศาสตร และสถิตทิ างการแพทยไ ดอยา งเหมาะสม ο ๕.๒. สามารถส่อื สารไดอยา งมีประสิทธภิ าพทั้งการพูด การฟง การอาน การเขยี น การนําเสนอและอวัจน ภาษาหรอื ภาษาทา ทาง (non-verbal communication) รวมทง้ั สามารถอานตําราและวารสาร ภาษาอังกฤษไดอยางเขาใจ ο ๕.๓. สามารถขอความยินยอมในการรกั ษาพยาบาลจากผปู ว ย รวมท้งั สรา งความมน่ั ใจเรื่องการรกั ษา ความลบั ของผปู ว ย ο ๕.๔. มที กั ษะการสอ่ื สารในสถานการณเ ฉพาะ ไดแ ก การแจงขาวราย การจัดการเมอ่ื เกดิ ขอ ผิดพลาด โนมนาว ไกลเ กลยี่ และเจรจาตอรอง ● ๕.๕. มที กั ษะในการรับฟงปญ หา เขาใจถึงความรสู กึ และความวติ กกังวลของผปู วยและญาติ อกี ทั้ง สามารถตอบคาํ ถาม อธบิ าย ใหคาํ ปรึกษา และคาํ แนะนาํ โดยเปด โอกาสใหมสี วนรวมอยา งเหมาะสม ο ๕.๖. สามารถคน ควา หาขอมูลจากแหลง ตางๆ โดยใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมทัง้ มีวิจารณญาณในการ ประเมินขอมลู ดวยหลกั การของวทิ ยาการระบาดคลนิ ิก เวชศาสตรเชงิ ประจักษแ ละเวชศาสตรท หาร ο ๕.๗. มีทกั ษะในการรบั ขอมลู อยา งมีวจิ ารณญาณ และแปลงขอมูลใหเ ปนสารสนเทศทม่ี ีคุณภาพ รวมทง้ั สามารถอาน วิเคราะห และถา ยทอดขอ มลู ขาวสารแกผอู ่ืนไดอ ยา งเขา ใจ ο ๕.๘. สามารถเลอื กและใชรปู แบบการนาํ เสนอสารสนเทศ ตลอดจนใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สือ่ สารไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกบั สถานการณ ο ๕.๙. สามารถบนั ทกึ เอกสารทางการแพทยอ ยางเปนระบบ ถกู ตอ ง และตอ เนอื่ ง โดยอาศัยแนวทาง มาตรฐานสากล ο ๕.๑๐. สามารถถายทอดความรู ทักษะ และประสบการณ แกผเู กยี่ วของไดอยางเขาใจ วิธีการสอน  ๑. บรรยาย (แบบปฏิสัมพันธ) : ใหต อบคาํ ถามสัน้ ๆ , ระดมความคดิ , buzz group) ๒. การเรียนการสอนกลุมยอย (small group discuss)  ๓. มอบหมายงานรายบุคคล (ตอบคาํ ถาม / แบบทดสอบ / คน ควา / นําเสนอ) ๔. มอบหมายงานกลมุ (วเิ คราะหปญหา กรณศี กึ ษา / ทาํ โครงงาน / ทาํ รายงาน / นําเสนอ) ๕. สาธติ Discussion ใหฝ กปฏบิ ัตกิ ารแสดงออกซึง่ พฤติกรรม (role play) ๖. ใหฝกปฏิบตั ิในหองปฏิบตั กิ าร (lab) ๗. ฝก หัตถการกบั หนุ หรือผูปวยสมมตุ ิ  ๘. ฝกปฏิบัตงิ านกบั ผูป วยจริง ๙. ศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี / ในชมุ ชน ๑๐. ศึกษาดว ยตนเอง ๑๑. อืน่ ๆการจดั ทํามาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบัณฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑๑

วธิ ีการประเมนิ ๑. ประเมินจากการเขาเรยี นและการมสี ว นรวมในการเรยี นการสอน ๒. ประเมินจากการสงงานตามเวลาทีก่ าํ หนด ๓. ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน) ๔. ประเมินจากผลงานกลุม (เอกสาร / รายงาน) ๕. ประเมนิ จากการนําเสนอ (วาจาและส่อื / โปสเตอร) ๖. ประเมนิ ความกา วหนา ในการเรียน (formative evaluation) ๗. ประเมินจากการสอบขอเขียน (MCQ) ๘. ประเมินจากการสอบปากเปลา (oral examination) ๙. ประเมินจากการสอบภาคปฏิบตั ิ เชน OSCE ๑๐. ประเมินจากการสงั เกตการปฏิบัติงานในสถานการณจ ริง (360 องศา) ๖. ทักษะพิสยั : ทกั ษะพสิ ยั ทีต่ อ งพัฒนาο ๖.๑. มคี วามสามารถในการสงั เกตอากปั กรยิ า ทาทขี องผูป ว ยและญาติ รวมท้ังสามารถตอบสนองไดอยา ง เหมาะสม● ๖.๒. มีความสามารถในการซักประวัติและตรวจรางกายผูปวยไดอ ยา งครอบคลมุ และเหมาะสม และ สามารถประมวลขอมูลเพ่ือใชใ นการวินิจฉัยรักษาผปู ว ยไดอยางถูกตอ ง● ๖.๓. มีความสามารถในการตรวจและแปลผลโดยเคร่ืองมอื พ้นื ฐาน และเลือกใชการตรวจทาง หอ งปฏบิ ัตกิ ารท่จี าํ เปนได โดยคาํ นึงถงึ ความคมุ คา และเหมาะสมมคี วามสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเครื่องมือพืน้ ฐาน และการตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ ารที่จําเปนได โดยคํานงึ ถงึ ความคุมคาและเหมาะสม● ๖.๔. มีวิจารณญาณในการตดั สนิ ใจ ตรวจวนิ จิ ฉัย และบําบดั รักษาผูปวยไดอยางถูกตองเหมาะสม ทนั ทว งที โดยใหก ารบรกิ ารสุขภาพผูป วยแบบองครวม (Holistic Approach) โดยอาศัยเวชศาสตร เชิงประจกั ษ (Evidence base medicine)● ๖.๕ มีทักษะในการใหก ารดูแลรกั ษา และทาํ หัตถการทจี่ ําเปน (ตามรางเกณฑมาตรฐานผูป ระกอบวิชาชพี เวชกรรมแพทยสภา พ.ศ.๒๕๕๕) ระดบั หัตถการที่ ๑ ไดแก - ลาํ ดับที่ 8 Blood and blood component transfusion - ลาํ ดับท่ี 13 Endotracheal intubation - ลําดับที่ 24 Intravenous fluid infusion - ลําดบั ท่ี 25 Lumbar puncture - ลาํ ดับท่ี 29 Nasogastric intubation - ลําดับท่ี 31 Oxygen therapy - ลาํ ดบั ท่ี 74 General anesthesia for uncomplicated patient for simple surgery ระดับหตั ถการที่ ๔ ไดแก ลาํ ดบั ที่ 94 Spinal anesthesiaการจดั ทาํ มาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั ปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบัณฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑๒

วธิ กี ารสอน ๑. บรรยาย(แบบปฏิสัมพันธ: ใหต อบคาํ ถามสั้นๆ, ระดมความคิด,buzz group) ๒. การเรยี นการสอนกลุม ยอ ย(small group discuss) ๓. มอบหมายงานรายบุคคล(ตอบคาํ ถาม/ แบบทดสอบ/ คน ควา / นําเสนอ ๔. มอบหมายงานกลุม (วเิ คราะหปญหา กรณศี ึกษา/ ทาํ โครงงาน/ ทาํ รายงาน/ นําเสนอ ๕. สาธติ Discussion ใหฝกปฏบิ ัตกิ ารแสดงออกซงึ่ พฤติกรรม(role play)  ๖. ใหฝก ปฏิบตั ิในหอ งผา ตดั  ๗. ฝก หตั ถการกับหุนหรือผูป วยสมมตุ ิ  ๘. ฝก ปฏิบตั ิงานกบั ผูป ว ยจริง ๙. ศึกษาดูงานนอกสถานที่/ ในชมุ ชน ๑๐. ศกึ ษาดว ยตนเอง ๑๑. อืน่ ๆ วธิ ีการประเมิน ๑. ประเมินจากการเขาเรยี นและการมีสวนรวมในการเรียนการสอน ๒. ประเมินจากการสงงานตามเวลาทกี่ ําหนด  ๓. ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน)  ๔. ประเมนิ จากผลงานกลมุ (เอกสาร / รายงาน) ๕. ประเมนิ จากการนําเสนอ (วาจาและสอ่ื / โปสเตอร) ๖. ประเมนิ ความกา วหนาในการเรียน (formative evaluation) ๗. ประเมินจากการสอบขอเขียน (MCQ) ๘. ประเมินจากการสอบปากเปลา (oral examination) ๙. ประเมนิ จากการสอบภาคปฏิบัติ เชน OSCE  ๑๐. ประเมินจากการสงั เกตการปฏิบัติงานในสถานการณจ รงิ (360 องศา) ๗. ทกั ษะดา นการทหาร และความมน่ั คงของประเทศ : ทักษะดา นการทหาร และความมั่นคงของประเทศท่ตี องพฒั นา ๗.๑. แสดงออกถงึ ความจงรกั ภักดตี อสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  และยึดมนั่ ในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ο ๗.๒. มคี ณุ ลกั ษณะผูนาํ ทางทหารทดี่ ี มวี ินยั กลา หาญ ปฏบิ ัตติ ามแบบธรรมเนียมทหาร มีความสามัคคี ในหมคู ณะ ๗.๓. มคี วามรคู วามสามารถในวชิ าชีพทหาร เขาใจบทบาทและหนา ทข่ี องการรกั ษาความม่ันคงและการ ปองกันประเทศ ๗.๔. ความรคู วามสามารถในดานเวชศาสตรทหาร และสามารถใหก ารบริการทางการแพทยสนบั สนุน การปฏิบัตงิ านทางทหาร วิธกี ารสอน  ๑. บรรยาย(แบบปฏิสัมพันธ: ใหต อบคําถามสั้นๆ, ระดมความคดิ ,buzz group)การจดั ทาํ มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั ปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบ ณั ฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑๓

๒. การเรียนการสอนกลมุ ยอ ย(small group discuss) ๓. มอบหมายงานรายบุคคล(ตอบคําถาม/ แบบทดสอบ/ คน ควา / นําเสนอ ๔. มอบหมายงานกลุม(วิเคราะหปญ หา กรณศี กึ ษา/ ทาํ โครงงาน/ ทํารายงาน/ นาํ เสนอ ๕. สาธิตDiscussion ใหฝ ก ปฏบิ ัตกิ ารแสดงออกซง่ึ พฤตกิ รรม(role play) ๖. ใหฝ กปฏิบัตใิ นหอ งผาตดั ๗. ฝก หัตถการกับหุนหรอื ผปู ว ยสมมตุ ิ ๘. ฝกปฏบิ ัติงานกบั ผปู ว ยจรงิ ๙. ศกึ ษาดูงานนอกสถานที่/ ในชมุ ชน ๑๐. ศกึ ษาดว ยตนเอง ๑๑. อน่ื ๆ วิธีการประเมนิ ๑. ประเมนิ จากการเขา เรียนและการมสี วนรวมในการเรยี นการสอน ๒. ประเมินจากการสง งานตามเวลาท่ีกาํ หนด ๓. ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน) ๔. ประเมินจากผลงานกลมุ (เอกสาร / รายงาน) ๕. ประเมินจากการนาํ เสนอ (วาจาและส่ือ / โปสเตอร) ๖. ประเมินความกา วหนา ในการเรียน (formative evaluation) ๗. ประเมินจากการสอบขอเขียน (MCQ) ๘. ประเมินจากการสอบปากเปลา (oral examination) ๙. ประเมนิ จากการสอบภาคปฏิบตั ิ เชน OSCE ๑๐. ประเมนิ จากการสังเกตการปฏิบตั ิงานในสถานการณจ ริง (360 องศา)การจดั ทํามาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบณั ฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑๔

การจัดทาํ มาตรฐานคณุ วุฒิระดบั ปรญิ ญาตรีแพทยศาสตรบ ัณฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) วพมศศ รายวชิ า ดานคุณธรรม จริยธรรม 502 ป 5 ο ο ο ο ο ο ο แสดงออกถงึ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมเหมาะสมตอ วชิ าชพี แพทย ดา นความรู  ความรบั ผิดชอบหลกั ο ความรบั ๓. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผ ซ่อื สตั ยสจุ รติ ตอตนเอง และวชิ าชพี หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยแพทย ο ο ο ο ο  นา เชอ่ื ถอื อดทน อดกล้ัน ทกั ษะทางปญ ญา ตรงตอ เวลา รบั ผดิ ชอบ ดแู ลผูป วยแบบองคร วม เคารพในสิทธขิ องผูป วย บรบิ าลสุขภาพโดยมงุ เนนคนเปนศูนยก ลาง มจี ติ อาสา วิทยาศาสตรก ารแพทยพืน้ ฐาน วิชาชพี และทักษะทางคลินกิ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ เวชจรยิ ศาสตร กฎหมายวิชาชพี เวชกรรม การใชย าเทคโนโลยดี า นสขุ ภาพอยา งเหมาะสม หลกั การระบาดเชิงคลนิ กิ หลักการสังคมศาสตร จิตวิทยา หลักการบรหิ ารงานขนั้ พนื้ ฐาน หลักการระบบคณุ ภาพ ตระหนกั ในศกั ยภาพและขอ ควรพฒั นาของตน วางแผนแสวงหาวธิ กี ารสรา ง พฒั นาความรู คดิ วิเคราะหอ ยา งเปนระบบ นําขอ มูล อา งองิ อยางมวี ิจารณญาณ แสวงหา ฝก ทกั ษะทางการแพทย เวชศาสตร เลือกใชว ิธีการแกไขปญหาไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ เลือกใชวิธีการตรวจคมุ คาและเหมาะสม

ο ο ο ο ο ο ο ο ο ο ο ο  ο  ο บรู ณาการการแพทยแผนไทยและการแพทย ผิดชอบรอง ผลการเรยี นรูจากหลักสูตรรายวชิ า (Curriculum Mapping) เขา ใจพฒั นาคณุ ภาพ เขา ใจในระบบบรหิ าร ยศาสตรพระมงกฎุ เกลา หลกั สูตรปรับปรุง ๒๕๕๘หนา้ ๑๕ ประยกุ ตใชค วามรดู า นสนุ ทรียศาสตร ทักษะ ปรบั ตวั ปฏิสัมพนั ธอ ยางสรางสรรคก ับผอู ื่น ความสัมพันธ ทํางานเปน ทมี ระหวางบุคคล รบั ผิดชอบตอหนาที่ สังคม สงเสริมการมีสว นรว มของประชาชน ทกั ษะการวิเคราะหเ ชงิ ตวั เลขการสอ่ื สาร ประยกุ ตใ ชห ลกั ตรรกะ คณติ ศาสตร และการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ สอื่ สารอยางมปี ระสิทธภิ าพ ขอความยินยอม รักษาความลบั ของผูปวย ทกั ษะพสิ ยั ทักษะการสอ่ื สารในสถานการณเ ฉพาะ ทักษะในการรับฟง ปญหา ดา นการทหาร คน ควาหาขอ มูลจากแหลง ตางๆ และความมั่นคง ทกั ษะในการรับขอมูลอยา งมีวจิ ารณญาณ ของประเทศ เลอื กและใชรูปแบบการนาํ เสนอสารสนเทศ บันทึกเอกสารทางการแพทยอยา งเปน ระบบ ทกั ษะในการถายทอดความรู สามารถสงั เกตอากปั กริยาทาทขี องผปู ว ย ความสามารถในการซกั ประวัติ ตรวจรา งกาย ความสามารถในการตรวจและแปลผล วจิ ารณญาณในการตดั สนิ ใจตรวจวนิ จิ ฉยั ทกั ษะในการใหก ารดูแลรกั ษา หตั ถการที่ ความจงรักภักดี ลกั ษณะผูนําทางทหารทด่ี ี ความรคู วามสามารถในวชิ าชพี ทหาร เขา ใจ หนา ท่ขี องการรักษาความมั่นคง ความรดู า นเวชศาสตรท หาร

หมวดท่ี ๕ แผนการสอนและการประเมนิ ผล๑. แผนการสอนสัปดาหที่ หวั ขอ /รายละเอยี ด บรรยาย ปฏิบัติ กจิ กรรมการเรยี น ผสู อน/ คาบ การประเมนิ และเตรยี มผปู ว ยกอ นการ / PBL การสอน/ส่อื ท่ใี ช อ.นพดล๑/๑ ระงับความรูสกึ (Preoperative evaluation & ๑ บรรยาย ซักถาม อภปิ ราย ชื่นศิรเิ กษม๑/๒ Preparation) การระงับความรสู กึ แบบทั่วรา งกาย เสนอความคิดเหน็ อาจารยให๑/๓ (General Anesthesia) ขอ มูลยอนกลับ๑/๔ ยาชาและการระงบั ความรูสกึ เฉพาะ สว น / สไลด Power Point๑/๕ (Local Anesthesia & Spinal Anesthesia) ๑ บรรยาย ซกั ถาม อภิปราย อ.นพดล ชื่นศริ เิ กษม๑/๖ ยาสลบท่ีใหทางหลอดเลือดดํา เสนอความคดิ เหน็ อาจารยใ ห (Intravenous Anesthesia) ขอ มูลยอนกลบั๑/๗ / สไลด Power Point ยาหยอนกลามเน้อื๑/๘ (Muscle Relaxant Drugs) ๑ บรรยาย ซกั ถาม อภปิ ราย อ.ณรงคศักด์ิ เจษฎาภัทรกลุ เสนอความคิดเหน็ อาจารยใ ห การใหส ารน้าํ เลอื ดและสว นประกอบ ขอมูลยอ นกลบั ของเลอื ด / สไลด Power Point (IV Fluid ,Blood and Blood Component Transfusion) ๑ บรรยาย ซกั ถาม อภปิ ราย อ.ณรงคศักดิ์ เจษฎาภทั รกลุ การจัดการทางเดนิ หายใจ เสนอความคิดเหน็ อาจารยใ ห (Airway Management) ขอ มูลยอ นกลับ / สไลด Power Point ยาแกป วดกลุมโอปอ อยส (Opioids) ๑ บรรยาย ซักถาม อภปิ ราย อ.ณฐั ธพงษ ภูวโชติโรจนโภคิน เสนอความคิดเห็น อาจารยใ ห ขอมูลยอนกลบั / สไลด Power Point ๑ บรรยาย ซกั ถาม อภปิ ราย อ.ธรี วฒั น ภจู ิญญาณ เสนอความคดิ เหน็ อาจารยใ ห ขอมลู ยอนกลับ / สไลด Power Point ๑ ๒ - บรรยาย ซกั ถาม อภิปราย อ.ศิริลักษณ ชํานาญเวช เสนอความคิดเห็น อาจารยให ขอ มลู ยอ นกลับ / สไลด Power Point - ฝกใสทอชวยหายใจกับหุน ๑ บรรยาย ซกั ถาม อภิปราย อ.สทิ ธาพนั ธ ม่นั ชพู งศ เสนอความคดิ เห็น อาจารยให ขอ มลู ยอ นกลับการจดั ทํามาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั ปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบัณฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑๕

/ สไลด Power Point๑ / ๙ การดแู ลความปวดหลังการระงับ ๑ บรรยาย ซักถาม อภปิ ราย อ.สทิ ธาพนั ธ ม่นั ชูพงศ ความรูสกึ เสนอความคดิ เห็น อาจารยใ ห (Post Op Pain Management ) ขอ มลู ยอนกลบั / สไลด Power Point๑ /๑๐ การดแู ลผปู ว ยหลงั การไดร ับการระงับ ๑ บรรยาย ซกั ถาม อภปิ ราย อ.ณฐั ธพงษ ภูวโชติโรจนโภคิน ความรูสกึ เสนอความคิดเห็น อาจารยใ ห (Post Operative Management ) ขอ มูลยอนกลับ / สไลด Power Point๑ /๑๑ การบาํ บัดดว ยออกซิเจน ๑ บรรยาย ซกั ถาม อภิปราย อ.ณฐั ธพงษ ภูวโชติโรจนโภคิน (Oxygen Therapy) เสนอความคิดเหน็ อาจารยให ขอมูลยอ นกลบั / สไลด Power Point๑ /๑๒ การระงับความรสู กึ ในศัลยกรรมสนาม ๑ บรรยาย ซกั ถาม อภปิ ราย อ.ศริ ลิ ักษณ ชาํ นาญเวช๑ /๑๓ เคลอื่ นท่ี เสนอความคดิ เหน็ อาจารยใ ห๑ / ๑๔ (Principles of anesthesia in ขอ มูลยอนกลับ battlefield) / สไลด Power Point การสอนซักประวัติ ตรวจรา งกายผปู ว ย ๑ การซกั ประวัติ ตรวจรางกาย อาจารยท ร่ี บั ผดิ ชอบในแตละกลมุ จรงิ กอ นผา ตัด ผปู ว ยจรงิ ซักถามอภปิ ราย (Preop Round) อาจารยใ หข อมูลยอนกลับ การเรียนรโู ดยใชป ญ หาเปนฐาน ๑ ซกั ถาม อภปิ ราย เสนอความ อาจารยท่ีรับผดิ ชอบในแตล ะกลมุ (PBL I) คดิ เหน็ ในกลุมยอ ย อาจารยใ ห ขอ มูลยอนกลับ๑ และ ๒ การฝกปฏิบัติงานระงบั ความรูส กึ ใน ๓๙ - ฝก ปฏบิ ัตใิ นหอ งปฏบิ ตั กิ าร อ.นพดล ชืน่ ศิริเกษม หอ งผาตดั (Anesthesia Practice) (หองผาตัด) ฝก ปฏบิ ตั ิงานกับ อ.ศริ ลิ กั ษณ ชาํ นาญเวช ผปู ว ยจริง อ.ณรงคศักดิ์ เจษฎาภัทรกุล - การเรยี นการสอน กลุม ยอย อ.ธรี วฒั น ภูจิญญาณ มอบหมายงานกลุมเร่อื งการ อ.นวลวรรณ ภูวโชติโรจนโภคิน ระงับความรสู ึก และนําเสนอ อ.ณฐั ธพงษ ภูวโชติโรจนโภคิน ดวยสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส อ.สทิ ธาพนั ธ ม่ันชพู งศ - นาํ เสนอรายงานรายบคุ คล อ.กฤษณะ นองเนอื ง - อาจารยใ หขอมูลยอ นกลับ๒ / ๑๕ สรปุ ผลการเรียนรูโ ดยใชปญหาเปน ฐาน ๒ ซกั ถาม อภปิ ราย เสนอความ อาจารยท รี่ บั ผดิ ชอบในแตล ะกลุม (ภาษาองั กฤษ) คิดเหน็ ในกลมุ ยอย อาจารยใ ห (PBL II : English Class) ขอมลู ยอนกลับกจิ กรรมการเรยี นการสอน หนา้ ๑๖การจดั ทํามาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปรญิ ญาตรีแพทยศาสตรบัณฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓)

๑) Case discussion การเรียนการสอนโดยใช case ผปู วยเปน หลกั นพท./นศพ.จะไดร ับมอบหมาย case ตวั อยางผูปว ยท่ีตองใหยาระงบั ความรสู ึกแบบทงั้ ตัว ใหไปศึกษาคน ควาอาจเปนรายบุคคล คนละ case หรือ ๑ case ตอกลมุ ยอ ยของนพท./นศพ. (๒-๓ คน) และนาํ มาอภิปรายซักถามกบั อาจารยป ระจําหอ งผา ตดั นนั้๒) Clinical reasoning tutorial การเรียนการสอนโดยใชป ญ หาเปน หลัก เปน การเรียน PBL ทางคลนิ กิ นพท./นศพ.จะเรียนเปน กลุม ยอย ๑ คร้งั และรวมกลุมใหญ ๑ ครัง้ครง้ั ท่ี ๑ นพท./นศพ.จะไดร ับ scenario ทลี ะตอน เรม่ิ จากทําความเขาใจ / อธิบายศัพทห รือคาํ ท่ไี มค ุนเคย, จับประเดน็ปญหา (significant fact หรือ cue), ต้ังสมมตุ ิฐาน และต้ังวัตถปุ ระสงคก ารเรยี นรเู พือ่ ไปศึกษาคนควาเพมิ่ เติมคร้ังที่ ๒ นพท./นศพ.นาํ ความรทู ไี่ ดค น ควา มาอภปิ รายรวมกัน เพือ่ ใหบ รรลวุ ตั ถุประสงคข องการเรยี นรูของ scenario และแตละกลุมไดเรียนรตู ามปญหาเหมอื นๆกัน (ภาษาอังกฤษ)๓) Department activity เปนกจิ กรรมการเรยี นการสอนทีภ่ าควชิ าฯ จดั ในหอ งประชมุ ใหญข องกองวสิ ญั ญรี ว มกบั แพทยประจําบา นและ นกั เรียนวสิ ญั ญพี ยาบาล ประกอบดวย- Morning report ทุกวันจันทร เวลา ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น.- Journal club ทุกวนั อังคาร เวลา ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น.- Interesting Case ทกุ วันพธุ เวลา ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น.- Collective Review ทกุ วันพฤหัสบดี เวลา ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น.- Hot Topic / Guest lecture ทุกวนั ศกุ ร เวลา ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น.๒. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู ผลการเรยี นรู วิธกี ารประเมนิ สปั ดาหท ่ี รอ ยละของสดั สว นของ การประเมนิ ผล๑. คุณธรรม จริยธรรม ของรายวชิ า ประเมนิ ๕๐%๒. ความรู ๑๐%๓. ทกั ษะทางปญ ญา การสอบภาคทฤษฎี (ขอเขยี น MCQ) ๒๒. ความรู ๑๐%๔. ทักษะความสมั พันธระหวา งบคุ คล ประเมนิ จากรายงานกลมุ และ ๒และความรับผดิ ชอบ นาํ เสนอ PBL หนา้ ๑๗๕. ทักษะการวิเคราะหเ ชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี ประเมินจากรายบุคคล และนําเสนอ ๒สารสนเทศ การสง งานตามเวลา๖. ทกั ษะพิสยั๑. คุณธรรม จริยธรรม๒. ความรู๓. ทกั ษะทางดานปญ ญา๔. ทกั ษะความสัมพันธระหวางบคุ คลและความรับผดิ ชอบการจดั ทํามาตรฐานคณุ วุฒิระดับปรญิ ญาตรีแพทยศาสตรบณั ฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓)

๕. ทักษะการวิเคราะหเชิงตวั เลข การ การประเมนิ จากการเขา ปฏบิ ัตงิ าน ทกุ คาบ ๑๐%สื่อสาร และการใชเ ทคโนโลยี และการมีสวนรวมในการศกึ ษา ทกุ คาบ ๑๐%สารสนเทศ ๒ ๑๐%๖. ทกั ษะพิสยั ประเมินจากการสงั เกตการ ปฏิบัติงานในสถานการณจรงิ (360๑. คุณธรรม จริยธรรม องศา)๒. ความรู ใบสรปุ หตั ถการ๓. ทักษะทางดา นปญ ญา การประเมินจากทักษะความสัมพันธ๔. ทกั ษะความสมั พันธระหวา งบุคคล ระหวา งบุคคล และความรับผดิ ชอบและความรบั ผิดชอบ ความกา วหนาในการเรียน๑. คุณธรรม จริยธรรม๒. ความรู๓. ทักษะทางดา นปญ ญา๖. ทกั ษะพสิ ัย๑. คุณธรรม จริยธรรมเกณฑการผา นและการตดั สินผล ๑. เกณฑการผาน- เวลาเรียน > ๘๐% ของทกุ เวลาเรยี น- เกณฑผ านสาํ หรบั ความรูและทกั ษะการปฏบิ ัติงาน ไมน อยกวา รอยละ ๖๐ และคะแนนสอบลงกองตองไมนอ ยกวา รอ ยละ๖๐- ตองผา นการประเมินเจตคติ มฉิ ะน้นั จะไมพ จิ ารณาผลสอบและถอื วา”ไมผ า น” ๒. การตดั สินผล- การตดั เกรด เปน แบบ อิงเกณฑ และ องิ กลมุ โดย คะแนนรวม เกรดMPL + 1 SD AMPL + 0.5 SD B+ B MPL C+MPL – 0.5 SD CMPL – 1 SDการจัดทํามาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั ปรญิ ญาตรีแพทยศาสตรบ ณั ฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑๘

หมวดท่ี ๖ ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน๑. ตําราและเอกสารหลัก - อังกาบ ปราการรตั น และ วรภา สวุ รรณจนิ ดา ป ๒๕๔๘ ตําราวิสญั ญีวทิ ยา. คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหดิ ล - Miller RD, Miller’s Anesthesia. ป ๒๕๕๘ 8th ed. Philadelphia. Churchill Livingstone, Elsevier - Paul G. Barash, Clinical Anesthesia ป ๒๕๕๖ 7th ed. Philadelphia. Walters Kluwer, LWW - Morgan, Clinical Anesthesiology ป ๒๕๔๙ 4th ed. New York. Lange medical books/McGraw – Hill - วิสญั ญีวิทยาเบื้องตน โดย พ.อ.นพดล ชน่ื ศิรเิ กษม ป ๒๕๕๔ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา และวทิ ยาลยั แพทยศาสตรพ ระมงกุฎเกลา หจก.เพนตากอน แอดเวอรไ ทซ่ิง จํากัด : กรงุ เทพฯ๒. เอกสารและขอ มลู สาํ คัญ - เกณฑม าตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา ป ๒๕๕๕ - ฐานขอ มูลและระบบสืบคนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เชน Up to date, The Cochrane Library, Pub Medicine - เอกสารรายวชิ าประกอบการบรรยายวชิ าวิสญั ญีวิทยา๓. เอกสารและขอ มลู แนะนํา - แนวทางพัฒนาการระงบั ปวดเฉียบพลนั หลงั ผาตดั ฉบับท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔ จดั ทําโดยราชวิทยาลัยวิสญั ญี แพทยแ หงประเทศไทยรวมกับสมาคมการศกึ ษาเร่ืองความปวดแหง ประเทศไทยการจัดทาํ มาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั ปรญิ ญาตรีแพทยศาสตรบ ณั ฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๑๙

หมวดท่ี ๗ การประเมนิ และปรบั ปรุงการดาํ เนนิ การของรายวชิ า หนา้ ๒๐๑. กลยทุ ธการประเมินประสิทธผิ ลของรายวิชาโดย นพท. ๑.๑ ให นพท./นศพ.วพม. ประเมนิ อาจารยผูส อนในประเด็นตอไปนี้ - การสนทนากลมุ ระหวางผูสอนและผูเ รียน - แบบประเมินผูสอนและแบบประเมินผูเรียน - ความตรงตอเวลา - การแตงกาย บุคลิกภาพ เหมาะสม - การเปนแบบอยา งทีด่ ี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหวางการสอน - ความสามารถในการถา ยทอดเนอื้ หาใหเ ขา ใจและกระตนุ การเรียนรู - แจงและสรปุ วตั ถุประสงคก ารศึกษาหวั ขอ ท่ีสอน - จัดการเรยี นการสอนใหเ กดิ การเรียนรูต รงกับทรี่ ะบุไวใ นวัตถุประสงคการศึกษา - การเปด โอกาสใหผ ูเรยี นไดซ ักถาม และความคิดเห็นระหวา งการเรียนการสอน ๑.๒ ให นพท./นศพ.วพม. ประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเดน็ ตอไปน้ี - ความรคู วามสามารถโดยรวม และประโยชนทไี่ ดร บั จากการเรียนรายวชิ าน้ี - ความพึงพอใจตอการเรยี นรายวิชาน้ี - ขอเสนอแนะอน่ื ๆ๒. กลยุทธการประเมินการสอน ๒.๑ ให นพท./นศพ.วพม. ประเมินอาจารยผสู อนและภาพรวมของรายวชิ าตามขอ ๑ ๒.๒ ประเมนิ การจัดการเรยี นการสอนโดยการสมุ สงั เกตการณส อน ในประเด็นตอไปนี้ - ความตรงตอ เวลา - การแตง กาย บคุ ลิกภาพ เหมาะสม - คาํ พดู และวาจาสภุ าพ เหมาะสม - การเปนแบบอยางท่ีดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหวางการสอน - ความรคู วามสามารถทางวิชาการในหัวขอทีส่ อน - ความสามารถในการถา ยทอดเนื้อหาใหเ ขาใจและกระตุนการเรียนรู - แจงและสรุปวัตถปุ ระสงคก ารศกึ ษาหัวขอท่สี อน - จัดการเรียนการสอนใหเ กิดการเรยี นรตู รงกับท่รี ะบุไวใ นวัตถปุ ระสงคก ารศึกษา - การเปดโอกาสใหผ ูเรียนไดซักถาม แสดงความคดิ เห็นระหวางการเรยี นการสอน ๒.๓ ใหอ าจารยผูสอนประเมนิ ตนเองในประเด็นตอไปน้ี - ความเหมาะสมของเวลาทใ่ี ชในการเตรียมสอน - ความพงึ พอใจของผสู อนตอ ผลการสอน - ขอ ท่ีควรปรบั ปรงุ แกไ ขหรือพัฒนาตนเองในการสอนคร้งั ตอ ไป๓. การปรับปรุงการสอนการจดั ทาํ มาตรฐานคณุ วุฒิระดบั ปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบัณฑติ วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓)

ภาควชิ าวสิ ญั ญีวทิ ยา มกี ลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้ ๓.๑ ใหอาจารยผสู อนแตล ะหัวขอ บันทกึ เหตุการณร ะหวางการสอนท่สี มควรนาํ เสนอใหพ ิจารณารวมทัง้ ส่ิงท่ีควรปรับปรุงแกไขในแตละคาบการสอน ๓.๒ ประชุม / สัมมนาอาจารยผ ูสอนเพ่ือพิจารณาปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนสาํ หรบั การศกึ ษาตอไปน้ีโดยอาศยัขอ มลู ดังตอ ไปน้ี - ผลการศกึ ษาของ นพท./นศพ.วพม. - ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดย นพท./นศพ.วพม. - ผลการประเมินการสอน - บนั ทึกของกลมุ อาจารยผ ูสอน - ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนรายวชิ า “วิสญั ญวี ทิ ยา”๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิของ นพท. ในรายวิชา ภาควชิ าวิสัญญวี ทิ ยา มกี ระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิของ นพท./นศพ.วพม. ในรายวชิ าโดยประเมินประเดน็ตอไปน้ี - เปาหมายที่กําหนดมีความชดั เจนและเปน ไปได - ประสบการณการเรยี นรเู หมาะสมกับเปาหมาย - ประสบการณการเรียนรูกระตนุ ใหน ักศกึ ษาคนควาและฝก ทักษะการเรยี นรดู วยตนเอง - การวดั ผลประเมินผลเหมาะสมกับเปาหมายและการจดั ประสบการณก ารเรียนรู - นาํ ทฤษฎที างการศกึ ษา / ขอมูลจากการประเมินในครั้งกอนมาวางแผนปรับปรุง - มคี ณะกรรมการออกขอ สอบโดยใชกลุมขอ สอบชุดเดียวกันท้งั รนุ๕. การดาํ เนินการทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสิทธผิ ลของรายวิชา เม่อื สิ้นสดุ ทกุ ปการศกึ ษา อาจารยผ รู บั ผิดชอบรายวชิ าจะจดั ประชมุ / ตดิ ตอขอความคิดเหน็ จากอาจารยท ร่ี ว มสอนรวมท้ังพิจารณาสรุปผลการประเมนิ การสอน ผลสมั ฤทธิข์ อง นพท ./นศพ.วพม. เพอื่ กาํ หนดประเดน็ ทเ่ี หน็ สมควรจดั ใหม ีการปรบั ปรงุ ในการศึกษาตอไป ทัง้ เนอื้ หา ลําดับการสอน วธิ กี ารสอนและการประเมนิ ผลดั้งน้ี ๕.๑ ปรบั ปรงุ อุปกรณและสอ่ื การสอนใหท นั สมยั ๕.๒ ปรบั ปรุงเนือ้ หาในรายวิชาทส่ี อนของคณาจารย ๕.๓ หมุนเวียนอาจารยและแพทยประจําบานในการสอนปฏบิ ัติในหองผา ตัด ๕.๔ มกี ารพัฒนาแผนการสอน PBL เพอ่ื ให นพท./นศพ.วพม. ไดศึกษาดา นทฤษฎแี ละปฏิบัติดวยตนเอง ดา นการสมั ภาษณ และ เตรยี มผปู วยกอนการผา ตัด ๕.๕ พัฒนาระบบประเมินผลแบบออนไลนและจดั ทําเวบ็ ไซดข องภาควิชา ๕.๖ ปรบั ปรงุ ขอ สอบท่ีใชใ นการประเมนิ ผลใหเ ปน ภาษาองั กฤษทั้งหมดและจดั ทาํ คลงั ขอสอบ ๕.๗ ขออนุมัต/ิ จัดหาหองฝก ปฏบิ ัติกับหุน เพ่ือชวยฝกการใสท อ ชวยหายใจ ๕.๘ ปรับปรงุ และจัดหาหนังสือและสอื่ การสอนในหอ งสมุดเพื่อการเรยี นรู SDL ๕.๙ ทาํ โครงการตาํ รา “วสิ ญั ญวี ทิ ยาโดยใชป ญหาเปน ฐาน” ***********************การจัดทาํ มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับปรญิ ญาตรแี พทยศาสตรบ ณั ฑิต วพม. ๒๕๖๐ (มคอ.๓) หนา้ ๒๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook