Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KM Plan Manual by กพร.

KM Plan Manual by กพร.

Published by jnong34, 2020-09-28 04:19:05

Description: KM Plan Manual by กพร.

Search

Read the Text Version

คมู่ ือการจดั ทำแผนการจัดการความรู้ โครงการพฒั นาส่วนราชการ ใหเ้ ปน็ องคก์ รแหง่ การเรียนรู้ และการจดั การความรู้ในส่วนราชการ โดย สำนกั งาน ก.พ.ร. และสถาบนั เพมิ่ ผลผลติ แหง่ ชาติ

ค่มู อื การจดั การความรู้ : จากทฤษฎีส่กู ารปฏบิ ตั ิ หนา้ 1

คู่มือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี ่กู ารปฏบิ ตั ิ หนา้ 2 คำนำ ค่มู อื การจัดทำแผนการจัดการความรู้ ฉบับนี้ จัดทำข้ึนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและให้ แนวทางในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ท่ีชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากข้ึน หลังจากท่ีได้รับความเข้าใจในหลักการของการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ตามท่ีได้เข้า ร่วมประชุมเชิงปฏิบติการซ่ึงจัดโดยสำนักงาน ก.พ.ร. โดยมีวิทยากรจากสถาบันเพ่ิมผลผลิตแห่งชาติ เมอ่ื เดอื นกรกฎาคม – กนั ยายน พ.ศ. 2548 สำนักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพ่ิมผลผลิตแห่งชาติ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อส่วนราชการ และจังหวัด ในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) เพื่อ นำไปสู่สัมฤทธผิ ลในการดำเนินงานของหนว่ ยงานใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ สำนกั งาน ก.พ.ร.และ สถาบันเพ่มิ ผลผลิตแหง่ ชาติ ธนั วาคม 2548

คมู่ ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีส่กู ารปฏบิ ัติ หนา้ 3 บทนำ สืบเน่ืองจากพระราชพระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารบริหารกิจการบา้ นเมอื งท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 11 กำหนดไว้ว่า ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพ่ือนำมา ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสรมิ และพัฒนา ความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มี ประสทิ ธิภาพและมกี ารเรยี นรูร้ ่วมกนั สำนักงาน ก.พ.ร. รว่ มกับสถาบันเพิ่มผลผลติ แห่งชาติ จัดการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเร่อื งการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ในช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ.2548 เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจในหลักการ ของการจัดการความรู้ และได้ขยายผลจากการประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าว จัดทำเป็นคู่มือการจัดทำแผนการ จัดการความรู้ (KM Action Plan Template) เพื่อให้ง่ายและสะดวก รวมทั้งเพ่ือเป็นมาตรฐานเดียวกัน ในการ จดั ทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) ตอ่ ไป คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ฉบับนปี้ ระกอบด้วย บทที่ 1 การจัดการความรเู้ บอ้ื งต้น บทที่ 2 การกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) บทท่ี 3 การกำหนดเป้าหมาย KM (Desired State) บทท่ี 4 การจดั ทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) บทท่ี 5 การกำหนดโครงสรา้ งทมี งาน KM ภาคผนวก ก กำหนดการและเอกสารที่ตอ้ งส่งมอบให้สำนกั งาน กพร. ภาคผนวก ข แบบฟอรม์ ภาคผนวก ค ตวั อย่าง หากมีข้อสงสัยเก่ียวกับการจัดทำแผนการจัดการความรู้ตามเนื้อหาในคู่มือฉบับนี้ สอบถามได้ท่ี สถาบัน เพ่ิมผลผลติ แหง่ ชาติ โทรศพั ท์ 0-2619-5500 ต่อ 576 เอกสารท่ีต้องส่งตามรายละเอียดท่ีกำหนดในภาคผนวก ก. ให้ส่งเป็นเอกสาร 2 ชุด และ save ข้อมูลลง แผน่ ซีดี 1 แผน่ สง่ ไปท่ี สำนกั งาน ก.พ.ร. ภายในวนั ที่ 31 มกราคม 2549

ค่มู อื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ หนา้ 4 สารบญั หน้า คำนำ 4 บทนำ 9 บทที่ 1 : การจัดการความรู้เบือ้ งต้น 12 บทที่ 2 : การกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) 15 บทที่ 3 : การกำหนดเป้าหมาย KM (Desired State) 23 บทท่ี 4 : การจัดทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) 25 บทที่ 5 : การกำหนดโครงสรา้ งทมี งาน KM 27 ภาคผนวก ก กำหนดการและเอกสารทต่ี อ้ งส่งมอบให้สำนักงาน กพร. 38 ภาคผนวก ข แบบฟอรม์ ภาคผนวก ค ตวั อยา่ ง

ค่มู ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี กู่ ารปฏิบัติ หนา้ 5 บทท่ี 1 : การจดั การความรู้เบ้ืองตน้ 1.1 การจดั การความรูใ้ นองคก์ ร หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซงึ่ กระจัดกระจายอยู่ในตัว บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพ่ือให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็น ผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ ความรู้มี 2 ประเภท คือ - ความรู้ทฝ่ี ังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์ พรสวรรคห์ รือสัญชาตญาณ ของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในส่ิงต่างๆ เป็นความรู้ท่ีไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลาย ลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางคร้ัง จึงเรียกว่าเป็น ความรแู้ บบนามธรรม - ความรทู้ ชี่ ัดแจง้ (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีสามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผา่ นวิธตี ่างๆ เช่น การบันทกึ เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร ทฤษฎี ค่มู อื ต่างๆ และบางครัง้ เรียกวา่ เปน็ ความรแู้ บบรูปธรรม 1.2 แนวคิดการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Action Plan) ตามคู่มือฉบับนี้ ได้ นำแนวคิดเร่ืองกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) และกระบวนการบริหาร จัดการการเปล่ียนแปลง (Change Management Process) มาประยุกต์ใช้ในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 1.2.1 กระบวนการจดั การความรู้ (Knowledge Management Process) เราต้องมีความรู้เร่อื งอะไร 1. การบง่ ชคี้ วามรู้ เรามคี วามรู้เรือ่ งนนั้ หรอื ยัง (Knowledge Identification) ความรู้อยทู่ ใี่ คร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเกบ็ รวมกนั ได้อยา่ งไร 2. การสรา้ งและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร 3. การจดั ความรใู้ ห้เป็ นระบบ (Knowledge Organization) จะทาให้เข้าใจงา่ ยและสมบูรณ์อยา่ งไร 4. การประมวลและกล่นั กรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เรานาความรู้มาใช้งานได้งา่ ยหรือไม่ 5. การเขา้ ถึงความรู้ (Knowledge Access) มกี ารแบ่งปันความรู้ให้กันหรอื ไม่ 6. การแบง่ ปันแลกเปลีย่ นความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้นัน้ ทาให้เกิดประโยชน์กับองคก์ รหรอื ไม่ ทาให้องค์กรดีขนึ้ หรอื ไม่ 7. การเรยี นรู้ (Learning)

คมู่ อื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี ูก่ ารปฏิบตั ิ หนา้ 6 กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เป็นกระบวนการแบบหน่ึงท่ีจะช่วยให้ องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทำให้เกดิ กระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ทจ่ี ะเกิดขึน้ ภายในองค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดงั นี้ 1) การบ่งช้คี วามรู้ – เชน่ พิจารณาวา่ วิสัยทัศน์/ พันธกิจ/ เป้าหมาย คืออะไร และเพ่ือให้บรรลุเปา้ หมาย เราจำเป็นต้องรอู้ ะไร , ขณะน้ีเรามีความรู้อะไรบา้ ง, อยูใ่ นรปู แบบใด, อยู่ท่ีใคร 2) การสร้างและแสวงหาความรู้ – เช่นการสร้างความรู้ใหม่, แสวงหาความร้จู ากภายนอก, รักษาความรู้ เกา่ , กำจดั ความรู้ทใ่ี ชไ้ ม่ได้แล้ว 3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ - เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้ อยา่ งเปน็ ระบบในอนาคต 4) การประมวลและกล่ันกรองความรู้ – เชน่ ปรบั ปรงุ รูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน, ใชภ้ าษาเดียวกัน, ปรับปรงุ เนอื้ หาใหส้ มบูรณ์ 5) การเข้าถึงความรู้ – เป็นการทำให้ผใู้ ช้ความรู้น้นั เข้าถึงความร้ทู ่ีต้องการได้งา่ ยและสะดวก เชน่ ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT), Web board ,บอร์ดประชาสมั พนั ธ์ เปน็ ตน้ 6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ – ทำได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทำ เป็น เอกสาร, ฐานความรู้, เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge อาจจัดทำเป็น ระบบ ทีมข้ามสายงาน, กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม, ชุมชนแห่งการเรียนรู้, ระบบพ่ีเลี้ยง, การสบั เปลี่ยนงาน, การยืมตวั , เวทีแลกเปลีย่ นความรู้ เปน็ ต้น 7) การเรียนรู้ – ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึงของงาน เช่นเกิดระบบการเรียนรู้จาก สร้างองค์ ความรู้>นำความรู้ไปใช้>เกดิ การเรยี นรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวยี นตอ่ ไปอย่างต่อเน่อื ง 1.2.2 กระบวนการบริหารจัดการการเปลย่ี นแปลง (Change Management Process) การเรียนรู้ การวัดผล การยกยอ่ งชมเชย (Learning) (Measurements) และการให้รางวัล (Recognition and Reward) กระบวนการ การสื่อสาร เป้าหมาย (Desired State) และเครือ่ งมอื (Communication) (Process & Tools) การเตรียมการและ ปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม (Transition and Behavior Robert Osterhoff

คู่มอื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี ่กู ารปฏบิ ัติ หนา้ 7 กระบวนการบรหิ ารจัดการการเปล่ียนแปลง (Change Management Process) เป็นกรอบความคิดแบบหนึ่ง เพื่อให้องค์กรท่ีต้องการจัดการความรู้ภายในองค์กร ได้มุ่งเน้นถึงปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ท่ีจะมีผลกระทบ ต่อการจัดการความรู้ ประกอบดว้ ย 6 องค์ประกอบ ดงั น้ี 1) การเตรยี มการและปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม - เชน่ กจิ กรรมการมสี ว่ นร่วมและสนบั สนนุ จากผูบ้ ริหาร (ท่ีทุก คนมองเห็น), โครงสร้างพ้ืนฐานขององค์กร, ทีม/ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ, มีระบบการติดตามและ ประเมนิ ผล , กำหนดปจั จัยแหง่ ความสำเร็จชดั เจน 2) การส่ือสาร – เช่น กิจกรรมท่ีทำให้ทุกคนเข้าใจถึงส่ิงท่ีองค์กรจะทำ, ประโยชน์ที่จะเกิดขนึ้ กับทุกคน, แต่ ละคนจะมสี ว่ นร่วมได้อย่างไร 3) กระบวนการและเคร่ืองมอื - ช่วยให้การค้นหา เขา้ ถงึ ถา่ ยทอด และแลกเปลยี่ นความรู้สะดวกรวดเรว็ ข้ึน โดยการเลอื กใชก้ ระบวนการและเคร่ืองมือ ขึน้ กับชนิดของความรู้, ลักษณะขององค์กร (ขนาด, สถาน ท่ตี ง้ั ฯลฯ), ลกั ษณะการทำงาน, วัฒนธรรมองค์กร, ทรพั ยากร 4) การเรียนรู้ - เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและหลักการของการจัดการความรู้ โดย การเรยี นรตู้ ้องพจิ ารณาถึง เนอื้ หา, กลุม่ เปา้ หมาย, วิธกี าร, การประเมินผลและปรับปรุง 5) การวัดผล - เพื่อให้ทราบว่าการดำเนินการได้บรรลุเป้าหมายท่ีต้ังไว้หรือไม่, มีการนำผลของการวัดมาใช้ ในการปรับปรุงแผนและการดำเนินการให้ดีขึ้น, มีการนำผลการวัดมาใช้ในการส่ือสารกับบุคลากรในทุก ระดับให้เห็นประโยชน์ของการจัดการความรู้ และการวัดผลต้องพิจารณาด้วยว่าจะวัดผลที่ข้ันตอนไหน ได้แก่ วัดระบบ (System), วดั ทีผ่ ลลพั ธ์ (Out put) หรือวดั ทีป่ ระโยชน์ที่จะไดร้ ับ (Out come) 6) การยกย่องชมเชยและให้รางวัล - เป็นการสรา้ งแรงจูงใจให้เกิดการปรับเปล่ียนพฤติกรรมและการมีส่วน รว่ มของบุคลากรในทุกระดับ โดยข้อควรพจิ ารณาได้แก่ คน้ หาความต้องการของบุคลากร, แรงจูงใจระยะ สนั้ และระยะยาว, บรู ณาการกับระบบท่มี อี ยู่, ปรับเปล่ยี นใหเ้ ขา้ กบั กิจกรรมทีท่ ำในแต่ละชว่ งเวลา 1.3 องค์กรจะตอ้ งมองภาพรวมของปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ท่ีจะสง่ ผลกระทบต่อกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ขององค์กร โดยการนำกระบวนการบรหิ ารจัดการการเปลี่ยนแปลงมาเช่ือมโยง เพื่อจะผลักดนั ให้ เกิดการเปล่ียนแปลงเสริมสร้างสภาพแวดล้อม ที่จะทำให้กระบวนการจัดการความรู้มีชีวิตหมุนต่อไปได้อย่าง ต่อเนอื่ ง และทำให้การจัดการความรขู้ ององคก์ รมีประสิทธผิ ลโดยจัดทำเป็นแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) และนำไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ ห้เกิดข้นึ จริงๆ 1.4 ตามแนวคิดนี้ องค์กรต้องมีการกำหนด ขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) ทอี่ งค์กรต้องการเลือกทำ เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตรต์ ามแผนบริหารราชการแผ่นดิน ตามเน้ือหาใน บทท่ี 2 และบทที่ 3 ตามลำดับ

คมู่ ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ู่การปฏบิ ัติ หนา้ 8 1.5 การกำหนดขอบเขต KM และเป้าหมาย KM เพอื่ ต้องการจัดการความร้ทู ่ีจำเป็นต้องมีในกระบวนงาน (Work Process) เพ่อื สนบั สนุนประเด็นยทุ ธศาสตร์ตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน ท่ีองค์กรได้จัดทำข้ึนไว้ในข้อเสนอ การเปล่ยี นแปลง (Blueprint for Change) งบประมาณประจำปี 2548 1.6 องค์กรต้องมีการประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้ (KM Assessment Tool : KMAT) หรือวิธกี าร ประเมินองค์กรตนเองแบบใดก็ได้ที่นอกเหนือจาก KMAT เพื่อทราบถึงจุดอ่อน-จุดแข็ง / โอกาส-อุปสรรค ที่จะ เปน็ ปจั จัยสำคัญตอ้ งปรับปรงุ -รักษาไว้ / พฒั นาใหก้ ารจัดการความรู้บรรลุผลตามเป้าหมาย KM ตามเนอ้ื หาในบท ที่ 4 1.7 องค์กรต้องนำผลลพั ธ์ของการประเมินตนเอง จากข้อ 1.6 เพ่ือจะนำมากำหนดหาวิธกี ารสู่ความสำเรจ็ ไว้ใน แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) โดยอาจจะเป็นแผนการจัดการความรู้ระยะสั้นภายในปีงบประมาณ 2549 หรือเป็นแผนระยะยาว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเป้าหมาย KM ที่องค์กรเลือกทำ รวมถึงความพร้อมจากผลการ ประเมินตนเองจากขอ้ 1.6 1.8 องค์กรต้องมีการกำหนดโครงสร้างทีมงาน KM เพ่ือมาดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ ให้การจัดการ ความรู้บรรลุผลตามเปา้ หมาย KM ตามเนื้อหาในบทที่ 5 1.9 เมื่อองค์กรได้ดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ เพื่อสนบั สนุนประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนปี 2549 แล้ว ผู้บริหารทุกระดับจะต้องร่วมผลักดันให้เกิดการบูรณาการ กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ให้ยึดถือ ปฏิบัติอยู่ในกระบวนงาน (Work Process) ของข้าราชการ รวมถึงบูรณาการกระบวนการบริหารจัดการการ เปล่ียนแปลง (Change Management Process) ให้เกิดข้ึน ในการปฏิบัติราชการขององค์กรในขอบเขต KM และเป้าหมาย KM ในเรื่องอื่นๆ ต่อไป ท้ังนี้เพ่ือให้ส่วนราชการและจังหวดั มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ อยา่ งสม่ำเสมอ

คมู่ อื การจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ่กู ารปฏิบตั ิ หนา้ 9 บทที่ 2 : การกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Areas) 2.1 ขอบเขต KM (KM Focus Areas) เป็นหัวเรื่องกว้างๆ ของความรู้ท่ีจำเป็นและสอดคล้องกับประเด็น ยทุ ธศาสตร์ตามแผนบริหารราชการแผ่นดินซึง่ ตอ้ งการจะนำมาใชก้ ำหนดเป้าหมาย KM (Desired State) 2.2 ในการกำหนดขอบเขต KM ควรกำหนดกรอบตามองค์ความรูท้ ี่จำเป็นต่อกระบวนงาน (Work Process) ใน ขอ้ เสนอการเปล่ยี นแปลง (Blueprint for Change) ท่ีได้นำเสนอสำนักงาน กพร. ไว้ในปี 2548 ก่อนเป็นลำดับ แรก หรือ อาจกำหนดขอบเขต KM ตามองค์ความรู้ที่จำเป็นต้องมีในองค์กร เพ่ือปฏิบัติงานให้บรรลุตามประเด็น ยุทธศาสตรอ์ ืน่ ๆ ขององคก์ ร 2.3 แนวทางการกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Areas) และเปา้ หมาย KM (Desired State) 1 พันธกจิ /วสิ ัยทัศน์ 2 3 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ความรู้ทสี่ าคญั ต่อองคก์ ร ปัญหา กลยทุ ธ์ • ความรู้เกย่ี วกบั ลูกค้า (Work process) กระบวนงาน • ความสมั พนั ธก์ ับผ้มู สี ว่ นได้เสยี ต่างๆ • ประสบการณค์ วามรู้ท่อี งคก์ รส่ังสม (ขอบเขต KM) KM Focus Areas • ความรู้เกีย่ วกับกระบวนการ • ความรู้เก่ยี วกบั ผลติ ภัณฑแ์ ละ บรกิ าร (เป้าหมาย KM) Desired State of KM••Fคฯoวลcามuฯรsูท้ ม่ีAีอrยeใู่ aนsบุคลากร KM Action Plans การเรยี นรู้ การวัดผล การยกยอ่ งชมเชย เป้าหมาย ( 6-step model) (Learning) (Measurements) และการใหร้ างวัล (Desired State) (Recognition and Reward) (แผนการจดั การความรู้) World-Class KM กระบวนการ การส่อื สาร Environment และเคร่อื งมอื (Communication) ปรกับารเปเตลร่ยี ยี นมพกฤาตรแกิ ลรระม (Process Tools) (Transition and Behavior Management) องค์กรสามารถใช้แนวทางการกำหนดขอบเขตและเป้าหมาย KM เพ่ือจะช่วยรวบรวมขอบเขต KM และนำไป กำหนดเป้าหมาย KM และแผนการจัดการความรู้ ดังนี้ - แนวทางที่ 1 เป็นความรู้ที่จำเป็นสนับสนุนพันธกิจ/ วิสัยทัศน์/ ประเด็นยุทธศาสตร์ ในระดับของ หน่วยงานตนเอง - หรือแนวทางท่ี 2 เป็น ความรู้ทีส่ ำคัญตอ่ องคก์ ร - หรือแนวทางท่ี 3 เปน็ ปญั หาที่ประสบอยู่ และสามารถนำ KM มาชว่ ยได้ - หรอื เป็นแนวทางอืน่ นอกเหนอื จากแนวทางท่ี 1,2,3 กไ็ ด้ ที่หนว่ ยงานเหน็ วา่ เหมาะสม

คู่มอื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี ูก่ ารปฏิบัติ หนา้ 10 2.4 ให้รวบรวมแนวคิดการกำหนดขอบเขต KM จากข้อ 2.3 แล้วกรอกขอบเขต KM ที่สามารถรวบรวมได้ ทั้งหมดลงในแบบฟอรม์ 1 โดยทกุ ขอบเขต KM ที่กำหนดต้องสนบั สนุนกับประเด็นยุทธศาสตรข์ องระดบั หนว่ ยงาน ตนเอง และประเด็นยุทธศาสตร์นนั้ ควรจะตอ้ งไดด้ ำเนนิ การมาระดับหน่งึ แล้ว (ถ้ามี) แบบฟอรม์ 1 ขอบเขต KM (KM Focus Areas) ของหน่วยงาน ……………….................... ประโยชน์ท่ีจะได้รบั จากขอบเขต KM ทม่ี ีต่อ ขอบเขต KM ที่ ประชาชนไทย / ข้าราชการ ของ กระทรวง กรม กอง รฐั บาล Outsource (KM Focus Areas) ชาวต่างชาติ/ หนว่ ยงานตนเอง ของหน่วยงานอ่ืน ของ ชุมชน หนว่ ยงาน 1.…………. 1. ………………………………… 1. ……… 1……………… 1.……………... 1.…………. 2.1…….. 2. ………………………………… 2.1 ………….. 2.1 …...……… 2.1 .………… 2.1…….. 2.2 ………….. 2.2 ……. 3.1…….. 3. ………………………………… 3.1………….. 3.1 ………..… 3.1 .………… 3.1…….. 4.1…….. 3.2 ………… 5.1 ……. 4. ………………………………… 4.1 …..……… 4.1 ……..…… 4.1 .………… 4.1…….. 5.2 ……. 4.2 …………. n. ……... 5. ………………………………… 5.1 …..……… 5.1 ……..…… 5.1 …………… 5.1 ……. n. ………………………………… n. …………… n. …….……… n. ….………… n. ……... ผทู้ บทวน / ผู้อนุมตั ิ : ………………………………………………. ( CKO / ผู้บรหิ ารระดับสงู สุด ) เมื่อกรอกแบบฟอร์มที่ 1 ครบถ้วนแล้ว ให้ทำการคัดเลือกขอบเขต KM ตามแบบฟอร์ม 2 เพ่ือนำไปกำหนด เปา้ หมาย KM ตอ่ ไป 2.5. แนวทางการตัดสินใจเลือกขอบเขต KM -ให้องค์กรพิจารณาเกณฑ์การคัดเลือกขอบเขต KM ตามท่ีให้ไว้ เป็นแนวทาง เพอ่ื ใช้กรอกลงในแบบฟอร์ม 2 พร้อมใหค้ ะแนนตามเกณฑท์ อี่ งค์กรต้องการ คือ - สอดคลอ้ งกับทศิ ทางและประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ในระดบั ของหน่วยงานตนเอง - ทำให้เกิดการปรับปรงุ ทีเ่ หน็ ได้ชัดเจน (เปน็ รูปธรรม) - มีโอกาสทำได้สำเร็จสูง (โดยพิจารณาจากความพร้อมด้านคน งบประมาณ เทคโนโลยี วัฒนธรรมองค์กร ระยะเวลาดำเนนิ งาน ฯลฯ ) - เปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งทำ คนสว่ นใหญใ่ นองคก์ รต้องการ - ผบู้ รหิ ารให้การสนับสนุน - เปน็ ความรูท้ ่ตี อ้ งจัดการอยา่ งเร่งด่วน - อ่นื ๆ สามารถเพ่มิ เติมได้ตามความเหมาะสมขององคก์ ร

คู่มือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีส่กู ารปฏบิ ตั ิ หนา้ 11 แบบฟอรม์ 2 การตดั สนิ ใจเลือกขอบเขต KM ของหนว่ ยงาน ………………………….. เกณฑก์ ารกำหนดขอบเขต KM ขอบเขต KM ขอบเขต KM …....... ขอบเขต KM ท่ี …. ที่ ... ท่ี ... 1.สอดคล้องกบั ทิศทางและยุทธศาสตร์ 2.ปรับปรงุ แลว้ เหน็ ได้ชัดเจน (เป็นรูปธรรม) 3.มโี อกาสทำไดส้ ำเร็จสงู 4.ต้องทำ คนส่วนใหญ่ในองค์กรต้องการ 5.ผู้บริหารใหก้ ารสนับสนนุ 6.เปน็ ความรทู้ ี่ต้องจัดการอย่างเรง่ ดว่ น 7…………………………… 8.<อน่ื ๆ เพมิ่ เติมได้ ตามความเหมาะสม> รวมคะแนน หมายเหตุ : เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คือ มาก = 6, ปานกลาง = 3, นอ้ ย = 1 <เกณฑ์คะแนนสามารถปรบั เปลี่ยนตามความเหมาะสมได้> ผู้ทบทวน / ผูอ้ นมุ ัติ : ………………………………………………. ( CKO / ผู้บริหารระดบั สงู สดุ ) 2.6 ผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์กร จะต้องมีส่วนร่วมในการกำหนด ขอบเขต KM (KM Focus Area) และ เปา้ หมาย KM (Desired State) เพื่อมั่นใจว่าสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตรข์ ององคก์ รอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม รวมถึงความมุ่งม่ันที่จะบูรณาการการจัดการความรใู้ ห้เกิดข้ึนในการปฏิบัติราชการขององค์กร ด้วยการสนับสนุน ทรัพยากรทจ่ี ำเปน็ ในทุกด้าน 2.7 ให้กำหนดรายชื่อผ้มู สี ่วนรว่ มกับผู้บรหิ ารระดบั สงู ในการตัดสนิ ใจเลือกขอบเขต KM (KM Focus Area) ตาม แบบฟอร์ม 2 และเป้าหมาย KM (Desired State) ตามแบบฟอร์ม 3 โดยให้ระบุถึงช่ือ-นามสกุล, ตำแหน่งงาน และหน่วยงานทสี่ ังกัดอย่ตู ามผงั องคก์ รปจั จุบนั ของผู้มีส่วนรว่ มทกุ ท่าน

คมู่ อื การจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ู่การปฏบิ ตั ิ หนา้ 12 บทที่ 3 : การกำหนดเปา้ หมาย KM (Desired State) 3.1. เป้าหมาย KM (Desired State) เป็นหัวเร่ืองความรู้ท่ีจำเป็นและเกี่ยวข้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผน บริหารราชการแผ่นดิน โดยสอดคล้องกับขอบเขต KM (KM Focus Areas) ที่ได้เลอื กมาจดั ทำ และต้องสามารถ วดั ผลไดเ้ ป็นรูปธรรม 1 พนั ธกิจ/วสิ ยั ทศั น์ 2 3 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ความรูท้ ี่สาคญั ตอ่ องคก์ ร ปัญหา กลยทุ ธ์ • ความรู้เกี่ยวกับลกู ค้า (Work process) กระบวนงาน • ความสมั พนั ธก์ ับผูม้ ีสว่ นไดเ้ สียตา่ งๆ • ประสบการณค์ วามรูท้ ่ีองคก์ รส่งั สม • ความรูเ้ ก่ยี วกับกระบวนการ (ขอบเขต KM) KM Focus Areas • ความรู้เกีย่ วกบั ผลิตภัณฑแ์ ละ บรกิ าร (เป้าหมาย KM) Desired State of KM••Fฯคoวลcามuฯรsูท้ มี่Aีอrยeใู่ aนsบคุ ลากร KM Action Plans การเรยี นรู้ การวัดผล การยกยอ่ งชมเชย เป้าหมาย ( 6-step model) (Learning) (Measurements) และการใหร้ างวลั (Desired State) (Recognition and Reward) (แผนการจัดการความรู้) World-Class KM กระบวนการ การส่อื สาร Environment และเครอ่ื งมอื (Communication) การเตรียมการและ (Process Tools) ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) 3.2. จากขอบเขต KM (KM Focus Areas) ทก่ี ำหนดไว้ท้งั หมดใน แบบฟอร์ม 1 ใหน้ ำขอบเขต KM เดยี วกันท่ีได้ คะแนนสูงสุด ตามแบบฟอร์ม 2 มาใช้กำหนดเปา้ หมาย KM (Desired State) โดยกรอกตามแบบฟอรม์ 3 โดย พจิ ารณาดังนี้ - ระดบั สำนกั งานปลดั / กรม/ จงั หวัด ให้มีอย่างน้อย 3 เป้าหมาย KM โดยต้องมาจากขอบเขต KM เดียวกัน ท่ีได้คะแนนสูงสุด และจากนั้นให้เลือกมาเพียง 1 เป้าหมาย KM ที่องค์กรต้องการเลือกทำ มาจัดทำแผนการ จดั การความรู้ (KM Action Plan) - ในการส่งเอกสารให้สำนกั งาน กพร. ขอใหแ้ สดงอย่างน้อย 3 เป้าหมาย KM จาก ขอบเขต KM เดียวกนั ที่ได้ คะแนนสูงสุด และ 1 เป้าหมาย KM ท่ีองค์กรต้องการเลือกทำ เพ่ือสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผน บริหารราชการแผน่ ดนิ

ค่มู ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี กู่ ารปฏิบตั ิ หนา้ 13 แบบฟอรม์ 3 เปา้ หมาย KM (Desired State) ของหนว่ ยงาน ………………………….. ขอบเขต KM (KM Focus Area) คอื ………………………...………...…………………………….… เป้าหมาย KM (Desired State) หนว่ ยท่ีวดั ผลไดเ้ ปน็ รูปธรรม เป้าหมาย KM ท่ี ....…….………………………………..……. ………………………………… เปา้ หมาย KM ท่ี ….......….………..…………………………. ………………………………… ...…………………..……………………………………………. ………………………………… เป้ าหมาย KM ท่ีองค์กรต้องการทำคือ เป้าหมาย KM ท่ี xx ………………………………… ……….…………………………………………………………. ผูท้ บทวน / ผู้อนมุ ตั ิ : …………………………………… ( CKO / ผูบ้ ริหารระดบั สูงสุด ) เพ่ือให้หัวข้อขอบเขต KM (KM Focus Area) และ เป้าหมาย KM (Desired State) ที่เลือกทำ สอดคล้องกับ ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนบริหารราชการแผ่นดนิ จึงให้องค์กรทวนสอบความถกู ต้องและเหมาะสมของหัวข้อที่ เลือกทำ ด้วยแบบฟอร์ม 4 ดงั นี้

ค่มู ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ หนา้ 14 แบบฟอรม์ 4 Check List ทวนสอบการกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) ช่ือหน่วนงาน : ……………………………………………………………………………..…วันท่ี :……/………/……… เปา้ หมาย KM (Desired State) : ………………………………………………………………………………………… หนว่ ยทีว่ ัดผลได้เปน็ รปู ธรรมตามเปา้ หมาย KM : ………………………………………………………………………… ลำดบั รายการ Check List ระบุรายละเอยี ด 1. กระบวนงาน (Work Process) ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 1.1 กระบวนงานไหนบา้ ง เชอื่ มโยงกับเปา้ หมาย KM 1.2 ขนั้ ตอนไหนบา้ ง เช่ือมโยงกับเปา้ หมาย KM 1.3 กระบวนงานไหนบา้ ง เชือ่ มโยงกับเป้าหมาย KM และ สอดคลอ้ งกับประเด็น ยุทธศาสตร์ปี 2548 ด้วย 1.4 ขั้นตอนไหนบ้าง เชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM และสอด คล้องกับประเด็น ยทุ ธศาสตรป์ ี 2548 ดว้ ย 1.5 คดิ เปน็ จำนวน กระบวนงานและข้นั ตอน เท่าไร 1.6 อะไรคือตัวช้ีวัดของกระบวนงาน ที่เชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM และ สอดคลอ้ งกบั ประเดน็ ยทุ ธศาสตรป์ ี 2548 ดว้ ย 2. กลมุ่ ผู้เก่ยี วขอ้ งภายในองค์กร 2.1 หนว่ ยงานไหนขององคก์ ร ที่ต้องแบ่งปนั แลกเปล่ยี น / Sharing K. 2.2 ใครบา้ งในหนว่ ยงาน ที่ตอ้ งแบง่ ปันแลกเปลี่ยน / Sharing K. 2.3 คิดเปน็ จำนวนคน เท่าไร ทต่ี ้องแบ่งปนั แลกเปลีย่ น / Sharing K. 2.4 หนว่ ยงานไหนขององค์กร ทตี่ ้องเรยี นรู้ / Learning K. 2.5 ใครบ้างในหนว่ ยงาน ท่ีตอ้ งเรียนรู้ / Learning K. 2.6 คิดเป็นจำนวนคน เทา่ ไร ทีต่ อ้ งเรยี นรู้ / Learning K. 3. กลมุ่ ผู้เกี่ยวขอ้ งภายนอกองคก์ ร (ผใู้ ช้บรกิ าร / Outsource) 3.1 องคก์ รไหน ท่ตี อ้ งแบ่งปันแลกเปลี่ยน / Sharing K. 3.2 ใครบ้างในองคก์ ร ทต่ี ้องแบง่ ปันแลกเปลี่ยน / Sharing K. 3.3 คิดเปน็ จำนวนคน เท่าไร ทต่ี ้องแบง่ ปันแลกเปลย่ี น / Sharing K. 3.4 องคก์ รไหน ท่ีต้องเรยี นรู้ / Learning K. 3.5 ใครบา้ งในองคก์ ร ทตี่ อ้ งเรยี นรู้ / Learning K. 3.6 คดิ เปน็ จำนวนคน เท่าไร ท่ีตอ้ งเรยี นรู้ / Learning K. 4. ความรู้ทีจ่ ำเป็น (EK/ TK) ในกระบวนงาน (Work Process) 4.1 มีความรู้ EK อะไรบ้าง ท่ีต้องเข้ากระบวนการจัดการความรู้ เพื่อปรับให้ ทนั สมยั กบั กาลเวลา (ระบุมาทั้งหมดเทา่ ท่ีทำได)้ 4.2 มีความรู้ EK อะไรบ้าง ท่ีจัดการคร้ังเดียวแล้วไม่ต้องปรับอีกเลย (ระบุมา ทัง้ หมดเทา่ ที่ทำได้) 4.3 มีความรู้ TK อะไรบ้าง ท่ีต้องเข้ากระบวนการจัดการความรู้ เพ่ือปรับให้ ทนั สมยั กบั กาลเวลา และอย่กู บั ใครบ้าง (ระบมุ าท้งั หมดเท่าทท่ี ำได้) 4.4 มีความรู้ TK อะไรบ้าง ท่ีจัดการคร้ังเดียวแล้วไม่ต้องปรับอีกเลย และอยู่กับ ใครบ้าง (ระบมุ าท้งั หมดเท่าที่ทำได้) 4.5 จากข้อ 4.01, 4.02 ความรู้ EK อะไรบ้าง ท่เี รามี และ เรายงั ไม่มี 4.6 จากขอ้ 4.03, 4.04 ความรู้ TK อะไรบา้ ง ท่ีเรามี และ เรายงั ไมม่ ี ผทู้ บทวน / ผอู้ นุมัติ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บรหิ ารระดับสูงสดุ )

คูม่ อื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี กู่ ารปฏบิ ัติ หนา้ 15 บทที่ 4 : การจัดทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) 4.1 แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) เป็นแผนงานท่ีแสดงถึงรายละเอียดการดำเนินงานของกิจกรรม ต่างๆ เพอ่ื ให้องค์กรบรรลผุ ลตามเปา้ หมาย KM (Desired State) ทก่ี ำหนด 4.2 จากการทวนสอบความถูกต้องและเหมาะสมของขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) ตามแบบฟอรม์ 4 ใหอ้ งค์กรนำหัวข้อเปา้ หมาย KM ทีอ่ งค์กรต้องการทำคือ เป้าหมาย KM ท่ี xx จากแบบฟอร์ม 3 1 เป้าหมาย KM (Desired State) มาจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 โดยการจัดทำแผนจะข้ึนอยู่กับความพร้อมขององค์กรที่ทำให้เป้าหมาย KM บรรลุผลสำเรจ็ 4.3 การเร่ิมต้นจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) องค์กรควรจัดทำการประเมินองค์กรตนเอง เรือ่ งการจดั การความรู้ เพื่อให้ทราบถึงความพรอ้ ม (จุดอ่อน-จุดแขง็ /โอกาส-อุปสรรค) ในเร่ืองการจัดการความรู้ และนำผลของการประเมินน้ี ใช้เปน็ ข้อมูลส่วนหนึ่งในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ให้สอด รบั กับเป้าหมาย KM (Desired State) ท่เี ลือกไว้ โดยองคก์ รสามารถเลือกวิธกี ารประเมินองค์กรตนเองเร่อื งการจดั การความรูท้ เี่ หมาะสมกบั องค์กร ไดด้ ังน้ี 4.3.1 ใช้วิธีการประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ด้วย KMAT (The Knowledge Management Assessment Tool : KMAT) ตามแบบฟอร์ม 5-9 4.3.2 ใช้วิธีอื่นๆ ในการประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ เช่น แบบสอบถาม, รายงาน การวเิ คราะห์องคก์ ร เปน็ ตน้ แลว้ สรุปลงในแบบฟอร์ม 10 (ข้อ 4.3.2 น้ีใช้สำหรับบางองค์กรท่ีอาจมีการประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้มาแล้ว หรือมี วิธกี ารประเมนิ องคก์ รตนเองเร่อื งการจดั การความรู้เปน็ แบบอื่น โดยไมใ่ ชข้ ้อ 4.3.1) 4.3.1 KMAT (The Knowledge Management Assessment Tool : KMAT) เป็นเคร่ืองมือชนิดหน่ึงที่ใช้ ในการประเมินองค์กรตนเองในเร่ืองการจัดการความรู้ และให้ข้อมูลกับองค์กรว่ามีจุดอ่อน-จุดแข็ง /โอกาส- อุปสรรค ในการจดั การความรู้เรื่องใดบ้าง โดยเครอื่ งมอื นีแ้ บ่งเป็น 5 หมวด ตามแบบฟอรม์ ท่ี 5-9 ดงั น้ี หมวด 1. กระบวนการจัดการความรู้ (แบบฟอร์ม 5), หมวด 2. ภาวะผู้นำ (แบบฟอร์ม 6), หมวด 3. วัฒนธรรมในเร่ืองการจดั การความรู้ (แบบฟอรม์ 7), หมวด 4. เทคโนโลยกี ารจัดการความรู้ (แบบฟอร์ม 8), หมวด 5. การวดั ผลการจดั การความรู้ (แบบฟอรม์ 9) 4.3.2 การประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้โดยวิธีอ่ืนๆ เช่น แบบสอบถาม, รายงานการวิเคราะห์ องคก์ ร หรืออ่นื ๆ ตามความเหมาะสม

คู่มอื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี ่กู ารปฏิบตั ิ หนา้ 16 - การประเมนิ องคก์ รตนเองเรอ่ื งการจัดการความรู้นนั้ องคก์ รสามารถเลอื กวิธีใดๆ กไ็ ด้ทอี่ งค์กรมีความเขา้ ใจ หรือถ้าองค์กรได้มีการประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้มาบ้างแล้วก็สามารถใช้วิธีนั้นๆได้ (ซึ่งไม่ใช่ วิธกี ารในข้อ 4.3.1) และเมอ่ื ประเมินแลว้ ให้นำผลสรุปทีไ่ ด้บันทึกลงในแบบฟอร์ม 10 4.4 การประเมินองคก์ รตนเองดังกล่าว ให้เปน็ การระดมสมองกนั ภายในองคก์ รตนเอง โดยอย่างนอ้ ยจะต้องเป็น บคุ ลากรทเี่ ก่ยี วขอ้ งโดยตรงกบั ขอบเขต KMและเป้าหมาย KM (KM Focus Area และ Desired State) ท่ีเลือกไว้ 4.5 ผลลพั ธ์ ท่ีได้จากการประเมินองคก์ รตนเองเรื่องการจัดการความร้ตู ามแบบฟอร์ม 5-9 หรือ 10 จะต้องเป็น ข้อมูลท่ีเก่ยี วข้องอย่างชดั เจนกับขอบเขตและเป้าหมาย KM ที่เลือกขึน้ มาจัดทำ เพื่อท่ีจะสามารถจดั ทำแผนการ จัดการความรู้ (KM Action Plan) มาสอดรับกับผลลัพธ์ท่ีได้จากการประเมิน และส่งผลให้เป้าหมาย KM บรรลผุ ลสำเรจ็ ได้ตามแผน 4.6 ผู้รับผิดชอบในการประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ อยา่ งนอ้ ยจะต้องเป็นบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับ ขอบเขตและเป้าหมาย KM (KM Focus Area และ Desired State) ท่ีเลือกข้ึนมาจดั ทำ 4.7 ผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์กร จะต้องมีส่วนร่วมในการประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ เพ่อื ให้มน่ั ใจวา่ สอดคลอ้ งอยา่ งถูกต้องและเหมาะสมกบั ขอบเขตและเปา้ หมาย KM ท่เี ลอื กขึ้นมาจดั ทำ 4.8 ใหก้ ำหนดรายชื่อผ้มู ีส่วนรว่ มกับผบู้ ริหารระดับสูง ท่ีร่วมในการประเมินองคก์ รตนเองเรอ่ื งการจดั การความรู้ โดยให้ระบุถึง ชื่อ-นามสกุล, ตำแหน่งงาน และหน่วยงานที่สังกัดอยู่ตามผังองค์กรปัจจุบัน ของผู้มีส่วนร่วมทุก ท่าน การประเมนิ องคก์ รตนเองในเรอ่ื งการจัดการความรู้ ดว้ ย KMAT ใชแ้ บบฟอร์มท่ี 5-9 ดังนี้ แบบฟอรม์ 5 แบบประเมนิ องค์กรตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ หมวด 1 - กระบวนการจดั การความรู้ โปรดอ่านขอ้ ความดา้ นล่างและประเมนิ ว่าองคก์ รของท่านมกี ารดำเนินการในเร่ืองการจดั การความรอู้ ย่ใู นระดับใด 0 – ไมม่ เี ลย / มนี ้อยมาก 1 – มนี ้อย 2 - มรี ะดับปานกลาง 3 - มใี นระดับท่ีดี 4 – มีในระดบั ทด่ี มี าก หมวด 1 กระบวนการจัดการความรู้ สิ่งทีม่ อี ยู่ / ทำอยู่ 1.1.องคก์ รมีการวิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบ เพ่ือหาจดุ แข็งจุดอ่อนในเรื่องการจัดการความรู้ เพ่ือ ปรับปรงุ ในเร่อื งความรู้ เชน่ องคก์ รยงั ขาดความร้ทู ีจ่ ำเปน็ ต้องมี หรอื องคก์ รไม่ได้รวบรวมความรทู้ ี่ มอี ยู่ให้เป็นระบบ เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปใช้ ไมท่ ราบว่าคนไหนเก่งเรื่องอะไร ฯลฯ และมีวธิ ีการท่ี ชดั เจนในการแก้ไข ปรับปรุง 1.2.องค์กรมีการแสวงหาข้อมูล/ความรู้จากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากองค์กรท่ีมีการ ใหบ้ รกิ ารคล้ายคลึงกนั (ถา้ มี) อย่างเป็นระบบและมจี ริยธรรม 1.3 ทุกคนในองคก์ ร มีสว่ นรว่ มในการแสวงหาความคิดใหม่ ๆ ระดบั เทยี บเคยี ง (Benchmarks) และ Best Practices จากองค์กรอ่ืนๆ ท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกัน (บริการหรือดำเนินงานที่ คล้ายคลึงกัน ) และจากองค์กรอน่ื ๆ ทมี่ ลี ักษณะแตกตา่ งกันโดยส้นิ เชิง

คูม่ ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ่กู ารปฏิบัติ หนา้ 17 แบบฟอรม์ 5 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ หมวด 1 - กระบวนการจดั การความรู้ โปรดอ่านขอ้ ความดา้ นล่างและประเมนิ ว่าองคก์ รของทา่ นมีการดำเนนิ การในเร่อื งการจัดการความรอู้ ยใู่ นระดับใด 0 – ไม่มเี ลย / มนี ้อยมาก 1 – มนี ้อย 2 - มีระดบั ปานกลาง 3 - มีในระดับท่ีดี 4 – มีในระดบั ที่ดีมาก 1.4 องคก์ รมีการถ่ายทอด Best Practices อยา่ งเปน็ ระบบ ซงึ่ รวมถึงการเขยี น Best Practices ออกมาเปน็ เอกสาร และการจดั ทำขอ้ สรปุ บทเรยี นทไ่ี ด้รับ (Lessons Learned) 1.5 องค์กรเห็นคุณค่า “Tacit Knowledge” หรอื ความรูแ้ ละทักษะ ทอ่ี ยู่ในตวั บคุ ลากร ซงึ่ เกิด จากประสบการณ์และการเรยี นรู้ของแต่ละคน และให้มกี ารถา่ ยทอดความรแู้ ละทักษะน้นั ๆ ท่ัวท้ัง องคก์ ร ผูท้ บทวน / ผอู้ นุมตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผบู้ ริหารระดับสงู สดุ ) แบบฟอรม์ 6 แบบประเมนิ องคก์ รตนเองเรอ่ื งการจดั การความรู้ หมวด 2 - ภาวะผูน้ ำ โปรดอา่ นขอ้ ความด้านล่างและประเมินว่าองคก์ รของท่านมีการดำเนนิ การในเรื่องการจดั การความรูอ้ ย่ใู นระดับใด 0 – ไมม่ ีเลย / มนี อ้ ยมาก 1 – มนี อ้ ย 2 - มีระดับปานกลาง 3 - มีในระดับทด่ี ี 4 – มใี นระดับทีด่ ีมาก หมวด 2 ภาวะผ้นู ำ สง่ิ ทม่ี ีอยู่ / ทำอยู่ 2.1 ผู้บรหิ ารกำหนดให้การจัดการความรูเ้ ป็นกลยุทธท์ ีส่ ำคญั ในองค์กร 2.2 ผู้บริหารตระหนักว่า ความรู้เป็นสินทรัพย์ (Knowledge Asset) ที่สามารถนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์กับองค์กรได้ และมีการจัดทำกลยุทธ์ท่ีชัดเจน เพ่ือนำสินทรัพย์ความรู้ที่มีอยู่ไปใช้ ประโยชน์ (เช่น ทำงานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผลมากข้นึ ใหบ้ ริการไดร้ วดเร็วและตรงตาม ความต้องการ สร้างความพึงพอใจใหผ้ ้ใู ช้บริการ เป็นตน้ ) 2.3 องค์กรเน้นเรือ่ งการเรียนรู้ของบุคลากร เพื่อสง่ เสริม Core Competencies เดิมทม่ี ีอยู่ให้ แข็งแกร่งข้ึน และพัฒนา Core Competencies ใหม่ๆ (Core Competencies หมายถึง ความ เก่งหรือความสามารถเฉพาะทางขององค์กร) 2.4 การมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ขององค์กร เป็นส่วนหน่ึงของเกณฑ์ท่ีองค์กรใช้ ประกอบในการพิจารณาในการ ประเมนิ ผล และใหผ้ ลตอบแทนบุคลากร ผู้ทบทวน / ผูอ้ นมุ ตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บริหารระดับสงู สดุ ) แบบฟอร์ม 7 แบบประเมินองคก์ รตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ หมวด 3 - วฒั นธรรมในเรือ่ งการจดั การความรู้ โปรดอา่ นข้อความด้านลา่ งและประเมินว่าองคก์ รของท่านมีการดำเนนิ การในเรอื่ งการจัดการความรู้อยู่ในระดบั ใด 0 – ไมม่ ีเลย / มีน้อยมาก 1 – มนี ้อย 2 - มีระดบั ปานกลาง 3 - มีในระดบั ที่ดี 4 – มีในระดับทด่ี ีมาก หมวด 3 วฒั นธรรมในเรื่องการจัดการความรู้ ส่งิ ท่มี อี ยู่ / ทำอยู่ 3.1 องคก์ รสง่ เสรมิ และใหก้ ารสนับสนนุ การแลกเปลี่ยนเรียนรขู้ องบุคลากร 3.2 พนักงานในองคก์ รทำงาน โดยเปดิ เผยข้อมลู และมีความไวเ้ นอื้ เช่ือใจกันและกนั 3.3 องค์กรตระหนักว่า วัตถุประสงค์หลักของการจัดการความรู้ คือ การสร้าง หรือเพ่ิมพูน คณุ คา่ ให้แก่ผูใ้ ชบ้ รกิ ารและหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง 3.4 องค์กรสง่ เสริมใหบ้ ุคลากร เกิดการเรยี นรู้ โดยการให้อิสระในการคดิ และการทำงาน รวมท้ัง กระตุน้ ใหพ้ นกั งานสร้างสรรส่ิงใหม่ ๆ 3.5 ทุกคนในองค์กรถือวา่ การเรยี นรเู้ ปน็ หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของทุกคน ผูท้ บทวน / ผอู้ นมุ ตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บรหิ ารระดบั สงู สดุ )

คมู่ ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสูก่ ารปฏิบัติ หนา้ 18 แบบฟอรม์ 8 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ หมวด 4 - เทคโนโลยีการจัดการความรู้ โปรดอา่ นข้อความดา้ นล่างและประเมินว่าองคก์ รของทา่ นมกี ารดำเนนิ การในเรอ่ื งการจดั การความรู้อยู่ในระดับใด 0 – ไมม่ เี ลย / มนี ้อยมาก 1 – มีนอ้ ย 2 - มรี ะดับปานกลาง 3 - มีในระดบั ท่ดี ี 4 – มใี นระดบั ท่ดี ีมาก หมวด 4 – เทคโนโลยีการจัดการความรู้ ส่ิงทมี่ ีอยู่ / ทำอยู่ 4.1.เทคโนโลยีทใ่ี ชช้ ่วยให้ทุกคนในองค์กรสื่อสารและเชื่อมโยงกันได้อย่างท่ัวถึงท้ังภายในองค์กร และกบั องค์กรภายนอก 4.2.เทคโนโลยีท่ีใช้กอ่ ให้เกิดคลังความร้ขู ององค์กร ( An Institutional Memory ) ที่ทุกคนใน องคก์ รสามารถเขา้ ถึงได้ 4.3 เทคโนโลยีที่ใช้ทำให้บุคลากรในองค์กรเข้าใจและใกล้ชิดผู้มาใช้บริการมากขึ้น เช่น ความ ต้องการและความคาดหวัง พฤติกรรมและความคดิ เป็นต้น 4.4 องค์กรพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยเน้นความต้องการของผูใ้ ช้ 4.5 องค์กรกระตอื รอื ร้นที่จะนำเทคโนโลยีท่ีช่วยให้พนักงานส่ือสารเช่ือมโยงกันและประสานงาน กันได้ดีข้ึน มาใช้ในองคก์ ร 4.6 ระบบสารสนเทศขององค์กรชาญฉลาด (Smart) ให้ข้อมลู ได้ทนั ทีที่เกิดข้ึนจริง (Real Time) และข้อมูลสารสนเทศในระบบมีความเชื่อมโยงกัน ผทู้ บทวน / ผู้อนมุ ตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผบู้ ริหารระดับสูงสุด) แบบฟอร์ม 9 แบบประเมนิ องค์กรตนเองเรือ่ งการจดั การความรู้ หมวด 5 - การวดั ผลการจัดการความรู้ โปรดอ่านข้อความดา้ นลา่ งและประเมนิ ว่าองคก์ รของทา่ นมีการดำเนินการในเรื่องการจดั การความรอู้ ยใู่ นระดบั ใด 0 – ไม่มีเลย / มนี ้อยมาก 1 – มนี อ้ ย 2 - มรี ะดับปานกลาง 3 - มีในระดับที่ดี 4 – มใี นระดับท่ีดมี าก หมวด 5 การวดั ผลการจัดการความรู้ สิ่งทีม่ อี ยู่ / ทำอยู่ 5.1 องค์กรมีวธิ กี ารทสี่ ามารถเชื่อมโยง การจดั การความรู้กบั ผลการดำเนนิ การทสี่ ำคัญขององคก์ ร เช่น ผลลัพธใ์ นด้านผู้ใช้บริการ ดา้ นการพัฒนาองค์กร ฯลฯ 5.2 องคก์ รมกี ารกำหนดตัวชี้วดั ของการจัดการความรูโ้ ดยเฉพาะ 5.3 จากตวั ชี้วัดในข้อ 5.2 องค์กรสร้างความสมดุลยร์ ะหว่างตวั ช้วี ดั ทสี่ ามารถตีคา่ เป็นตัวเงินได้ ง่าย (เช่น ต้นทุนที่ลดได้ ฯลฯ) กบั ตวั ชว้ี ัดทตี่ ีค่าเป็นตัวเงนิ ไดย้ าก ( เชน่ ความพึงพอใจของผูม้ าใช้ บรกิ าร การตอบสนองผใู้ ชบ้ ริการได้เร็วข้ึน การพัฒนาบคุ ลากร ฯลฯ ) 5.4 องค์กรมีการจัดสรรทรัพยากรให้กับกิจกรรมต่างๆ ที่มีส่วนสำคัญท่ีทำให้ฐานความรู้ของ องคก์ รเพม่ิ พนู ข้ึน ผู้ทบทวน / ผอู้ นมุ ตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผ้บู ริหารระดบั สงู สดุ )

คมู่ อื การจดั การความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ หนา้ 19 ถา้ ใชว้ ิธีอนื่ ๆ ในการประเมินองค์กรตนเองเร่อื งการจัดการความรู้ (เป็นวธิ ีอ่ืนๆท่อี งคก์ รมีความเข้าใจ หรอื ได้มีการ จัดทำมาแล้ว) และเม่อื ประเมินแลว้ ให้ระบรุ ายละเอียดลงในแบบฟอรม์ 10 ดงั นี้ แบบฟอรม์ ท่ี 10 รายงานผลการประเมนิ องค์กรตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ (กรณีใช้วิธีอน่ื ๆ) ชือ่ หนว่ ยงาน………………………………………………………………………………………………….. วันท่ีประเมนิ ……………………………………………………………………………………………………หนา้ ท…ี่ /… หวั ขอ้ ท่ปี ระเมนิ องค์กรตนเองเร่อื งการจัดการความรู้ ผลการประเมิน (สิง่ ทมี่ ีอยู่/ทำอยู่) ผทู้ บทวน / ผู้อนมุ ัติ : ……………………………………………. (CKO / ผบู้ รหิ ารระดับสูงสดุ ) 4.9 จากแบบฟอร์ม 5-9 หรือ 10 ให้นำข้อมูลท่ีได้จากการประเมินองค์กรตนเอง มาใช้ในการกำหนดกิจกรรม และรายละเอยี ดต่างๆ ในแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)ในแบบฟอรม์ 11 และ 12 4.10 เพื่อให้การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) มีประสิทธิผลมากขึ้น ให้องค์กรประเมิน ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factor) สำหรับการวางระบบการจัดการความรู้ และการนำระบบไป ปฏิบัติ แล้วให้องค์กรระบุ มา 5 ปัจจัยหลัก เพ่ือใช้เป็นบรรทัดฐานการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ( KM Action Plan) ให้สามารถนำระบบไปปฏิบัตไิ ด้อยา่ งเป็นรปู ธรรมภายในหนว่ ยงาน 4.11 การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ควรจะพิจารณาการเช่ือมโยงกับข้อเสนอการ เปล่ียนแปลง (Blueprint for Change) ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ท่ีได้ปฏิบัติตามข้อเสนอไปแล้ว หรือท่ีอยู่ในช่วง กำลงั ปฏิบตั ิ ซึ่งองคก์ รได้คัดเลอื กไว้ในแผนปี งบประมาณ พ.ศ. 2548 เชน่ 4.11.1 KM Team ต้องประกอบด้วยใคร ตำแหน่งงานใด หน่วยงานใด เพื่อมาช่วยใน การทำตามเป้าหมาย KM ท่ีเลือกไว้ ก็ควรจะเช่ือมโยงกับหัวข้อเร่ือง การจัดแบ่งงานและหน้าที่ เพื่อให้เป็นหน่วยงานหนึ่งของ แผนผงั โดยรวมขององค์กร 4.11.2 ถ้าเร่ืองใดตอ้ งไดร้ ับความรจู้ ากการฝกึ อบรม กค็ วรจะเชอ่ื มโยงกับหวั ข้อ บุคลากร 4.11.3 ถา้ เรื่องใดตอ้ งการใชเ้ ทคโนโลยี เชน่ ดา้ น IT กค็ วรจะเชือ่ มโยงกับหัวข้อเทคโนโลยี

ค่มู ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ หนา้ 20 4.12 การจัดทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) ควรจะกำหนดวันเวลาเพิ่มเตมิ ในเร่อื งตอ่ ไปนีไ้ วด้ ้วย 4.12.1 วันเวลาท่ีผู้บริหารระดับสูงสุด, CKO และทีมงาน KM ประชุมทบทวนร่วมกันเป็นช่วงระยะเวลาตาม ความเหมาะสมภายในปงี บประมาณ พ.ศ. 2549 4.12.2 วนั เวลานัดทป่ี รกึ ษาเขา้ ตดิ ตามผลการดำเนินงานตาม KM Action Plan โดย ส่วนราชการและจังหวัด จะต้องจัดเตรียมเนื้อหาเพ่ือไว้นำเสนอท่ีปรึกษาถึงความคืบหน้าของ ผลงานเป็นระยะตามความเหมาะสมภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 แบบฟอรม์ สำหรับใชจ้ ดั ทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) ▪ จากแบบฟอร์ม 5-9 หรือ 10 ให้นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินองค์กรตนเอง และการกำหนดปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ (Key Success Factor) มาใช้ในการกำหนดกิจกรรมและรายละเอียดต่างๆ ในแผนการ จัดการความรู้ (KM Action Plan)ในแบบฟอร์ม 10 และ 11 ตามลำดบั ▪ แบบฟอร์ม 11 เป็นแผนการจัดการความรู้ ในส่วนของการกำหนดกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) เพอื่ ใหก้ ารจัดทำการจดั การความรู้ขององค์กรดำเนินไปอย่างมีระบบ ▪ แบบฟอร์ม 12 เปน็ แผนการจัดการความรู้ ในส่วนของการกำหนดปัจจัยแวดล้อมภายในองคก์ ร ที่จะทำให้ การจัดการความรู้เกดิ ข้ึนได้และมีความยงั่ ยนื โดยใช้กระบวนการบรหิ ารจัดการการเปล่ยี นแปลง (Change Management Process) เพอื่ ให้กระบวนการจดั การความรู้ มชี ีวิตหมุนต่อไปไดอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง แบบฟอร์ม 11 – แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจดั การความรู้ (KM Process) ชอ่ื หน่วนงาน : ……………………………………………………………………………………………………………. เป้าหมาย KM (Desired State) : ………………………………………………………………………………………… หน่วยทีว่ ดั ผลได้เป็นรปู ธรรม : …………………………………………………………………………………………… ลำดับ กิจกรรม วธิ ีการสู่ ระยะเวลา ตัวชีว้ ัด เปา้ หมาย เครือ่ งมอื / งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ สถานะ ความสำเรจ็ อปุ กรณ์ 1 การบ่งชคี้ วามรู้ 2 การสร้างและแสวงหาความรู้ 3 การจดั ความรู้ใหเ้ ปน็ ระบบ 4 การประมวลและกล่ันกรอง ความรู้ 5 การเขา้ ถงึ ความรู้ 6 การ แ บ่ ง ปั น แ ล ก เป ล่ี ย น ความรู้ 7 การเรียนรู้ ผทู้ บทวน/อนมุ ตั ิ : นายกรม นวตั กรรม (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสดุ )

ค่มู อื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี ู่การปฏิบตั ิ หนา้ 21 แบบฟอรม์ 12 – แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) ชอ่ื หน่วนงาน : ……………………………………………………………………………………………………………… เป้าหมาย KM (Desired State) : ………………………………………………………………………………………….. หน่วยท่วี ดั ผลได้เป็นรูปธรรม : …………………………………………………………………………………………….. ลำดบั กิจกรรม วิ ธี ก า ร สู่ ระยะเวลา ตัวช้ีวดั เป้าหมาย เครื่องมือ/ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ สถานะ ความสำเรจ็ อุปกรณ์ 1 การเตรียมการ และปรับเปล่ียน พฤติกรรม 2 การสื่อสาร 3 กระบวนการ และเคร่อื งมอื 4 การเรยี นรู้ 5 การวดั ผล 6 ก า ร ย ก ย่ อ ง ชมเชยและการ ให้รางวลั ผู้ทบทวน/อนมุ ัติ : นายกรม นวตั กรรม (CKO / ผ้บู ริหารระดับสูงสดุ ) เม่ือจัดทำแผนการจัดการความรู้ (Km Action Plan) ตามแบบฟอร์ม 11 -12 เรียบร้อยแล้ว ให้องค์กรจัดทำ แบบฟอรม์ 13 เพื่อสรปุ งบประมาณการดำเนนิ งานตามแผนการจัดการความรู้ ดังน้ี แบบฟอรม์ 13 สรุปงบประมาณการดำเนนิ งานตามแผนการจัดการความรู้ ช่ือหน่วนงาน……………………………………………………………………………………………………………… เปา้ หมาย KM (Desired State) :………………………………………………………………………………………… หนว่ ยทวี่ ดั ผลไดเ้ ปน็ รปู ธรรม : …………………………………………………………………………………………… ลำดับ กจิ กรรมตามแผนการจดั การความรู้ งบประมาณ ปี พ.ศ.2549 ปี พ.ศ. …… (บาท) ผู้ทบทวน / ผอู้ นุมัติ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสดุ )

คู่มอื การจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ่กู ารปฏิบัติ หนา้ 22 บทท่ี 5 : การกำหนดโครงสร้างทมี งาน KM โครงสรา้ งทีมงาน KM - ใหก้ ารสนบั สนุนในด้านต่างๆ เช่น ทรพั ยากร - ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาและร่วมประชุมเพื่อการตดั สนิ ใจแก่คณะทางาน ประธาน ทปี่ รึกษา - ใหค้ าปรกึ ษาเกี่ยวกบั การดาเนินการ (CKO) และอปุ สรรคต่างๆท่เี กิดขึน้ กับคณะทางาน หวั หน้า - จดั ทาแผนงานการจัดการความรูใ้ นองคก์ รเพื่อนาเสนอประธาน - รายงานผลการดาเนนิ งานและความคบื หน้าตอ่ ประธาน ทมี งาน - ผลักดัน ติดตามความก้าวหนา้ และประเมนิ ผลเพอ่ื ปรับปรุงแกไ้ ข - ประสานงานกับคณะทป่ี รึกษาและคณะทีมงาน เลขานุการ - นดั ประชุมคณะทางานและทารายงานการประชุม - รวบรวมรายงานความคบื หนา้ การดาเนนิ งาน - ประสานงานกบั คณะทมี งานและหวั หน้า - ดาเนนิ การตามแผนงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย - จดั ทารายงานความคืบหนา้ ของงานในสว่ นทร่ี ับผิดชอบ - เป็ น “แบบอยา่ งท่ีดี” ในเรื่องการจัดการความรู้ - เป็ น Master Trainer ดา้ นการจัดการความรู้ 1. การประกาศแตง่ ตงั้ โครงสร้างทีมงาน KM ขอให้ระบถุ ึง ช่อื -นามสกุล, ตำแหนง่ งาน และหนว่ ยงานที่สงั กัด อยตู่ ามผังองค์กรปัจจบุ ัน พรอ้ มด้วยรายละเอยี ดหน้าที่และความรบั ผดิ ชอบของทุกตำแหน่ง 2. ทีมงาน KM ที่ต้องดำเนินการตามเป้าหมาย KM ที่เลือกไว้ ควรจะเช่ือมโยงกับหัวข้อเร่ือง การจัดแบ่งงาน และหน้าที่ ใน Blueprint for Changeเพอ่ื ให้เปน็ หนว่ ยงานหนึ่งของแผนผงั โดยรวมขององคก์ ร 3. การพิจารณาโครงสร้างทีมงาน KM เพ่ือจะมีบุคลากรท่ีต้องเก่ียวข้องและ/หรือ มีส่วนท่ีต้องสนับสนุนต่อการ ดำเนินการตามเปา้ หมาย KM ทีเ่ ลอื กไว้ให้บรรลผุ ลสำเรจ็ ตามแผนน้นั มีกล่มุ บคุ ลากรท่ีควรพิจารณาดงั นีค้ อื 3.1. ผูบ้ ริหารระดับสงู สดุ จะต้องมสี ว่ นร่วมในการกำหนดโครงสรา้ งทมี งาน KM 3.2. หน่วยงานเจ้าของกระบวนงานตามเป้าหมาย KM (Work Process Owner) ควรประกอบด้วย ผู้บริหาร ระดบั สงู ของหน่วยงานนน้ั , ผู้รบั ผดิ ชอบกระบวนงานนั้น 3.3. หน่วยข้ามสายงาน (Cross Functional Unit) ที่ต้องเกี่ยวข้อง และ/หรือ มีส่วนที่ต้องสนับสนุนต่อการ ดำเนินการตามเป้าหมาย KM เช่น หน่วยงาน IT, ทรัพยากรบุคคล, สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์, หน่วยพิจารณา

คู่มือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎีสูก่ ารปฏบิ ัติ หนา้ 23 ภาพรวมค่าใช้จ่ายขององค์กร ฯลฯ ควรประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานนั้น, ตัวแทนผู้รับผิดชอบ หน่วยงาน 3.4. หนว่ ยงาน /บุคคลอนื่ ๆ ท่เี หมาะสม และผู้บริหารระดับสงู สดุ ต้องการมอบหมาย 4. กรณีที่การจัดการความรู้ขององค์กร มีความจำเป็นและสามารถจะจัดสรรงบประมาณได้ เพื่อจะนำเทคโนโลยี ดา้ น IT มาใช้ ควรจะมีหนว่ ยงาน IT เขา้ รว่ มทมี งาน KM ด้วย

คูม่ ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏบิ ัติ หนา้ 24 ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก : ( กำหนดการ และ เอกสารที่ตอ้ งส่งมอบใหส้ ำนกั งาน กพร. ) กำหนดการส่งมอบงาน การพัฒนาการจัดการความรเู้ พอื่ สนบั สนุนประเด็นยทุ ธศาสตร์ ของส่วนราชการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2549 1. ตามตวั ชีว้ ัดที่ 13.1 ระยะเวลาของการส่งมอบแผนการจดั การความรเู้ พื่อสนับสนุนประเด็นยทุ ธศาสตร์ + ต้องส่งมอบงาน ตามเกณฑ์การให้คะแนน ของกรอบการประเมินผล มติ ทิ ี่ 4 2. ตามตัวชี้วัดท่ี 13.2 ระดับคณุ ภาพของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ และกรณีท่ีต้อง ปรับหรอื แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะของทีป่ รกึ ษา + ต้องสง่ มอบงาน ภายในวันทตี่ ามกรอบการประเมินผล มติ ิที่ 4 3. ตามตัวชี้วัดท่ี 13.3 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้เพ่ือสนับสนุนประเด็น ยุทธศาสตร์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2549 + ตอ้ งสง่ มอบงาน ตามแผนการจัดการความรขู้ องส่วนราชการท่ีนำเสนอไว้ หมายเหตุ ใหอ้ ้างองิ ตามเอกสารกรอบการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ ประจำปงี บประมาณ 2549 กำหนดการส่งมอบงาน การพัฒนาการจัดการความรู้เพ่ือสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 1. ตามตวั ช้ีวัดที่ 11.1 ระยะเวลาของการส่งมอบแผนการจัดการความรเู้ พื่อสนับสนนุ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ + ต้องส่งมอบงาน ตามเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ของกรอบการประเมินผล มิติท่ี 4 2. ตามตัวช้ีวัดท่ี 11.2 ระดับคุณภาพของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเดน็ ยุทธศาสตร์ และกรณีที่ต้อง ปรับหรือแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะของทปี่ รกึ ษา + ต้องสง่ มอบงาน ภายในวนั ที่ตามกรอบการประเมนิ ผล มิติท่ี 4 3. ตามตัวชี้วัดที่ 11.3 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็น ยทุ ธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2549 + ตอ้ งส่งมอบงาน ตามแผนการจัดการความรขู้ องจังหวดั ท่นี ำเสนอไว้ หมายเหตุ ใหอ้ ้างอิงตามเอกสารกรอบการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2549 รายการเอกสารทีต่ ้องส่งมอบใหส้ ำนกั งาน กพร. 1. ประกาศแต่งต้ังทีมงาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) พร้อมรายละเอียดหน้าท่ีและความ รบั ผดิ ชอบ 2. แบบฟอร์ม 1 ขอบเขต KM (KM Focus Area) 3. แบบฟอรม์ 2 การตัดสินใจเลอื กขอบเขต KM (KM Focus Area) 4. แบบฟอร์ม 3 เป้าหมาย KM (Desired State)

ค่มู ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ หนา้ 25 5. แบบฟอรม์ 4 Check List ทวนสอบการกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) 6. แบบฟอร์ม 5 – 9 แบบประเมนิ ตนเองเรือ่ งการจัดการความรู้ หมวด 1 – หมวด 5 7. แบบฟอร์ม 10 : รายงานผลการประเมินองคก์ รตนเองเรอื่ งการจดั การความรู้ (กรณวี ิธอี ่นื ๆ) 8. แบบฟอร์ม 11-12 : แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 9. แบบฟอรม์ 13 : สรปุ งบประมาณการดำเนนิ งานตามแผนการจัดการความรู้ 10. รายชื่อผู้มีส่วนร่วมตัดสินใจเลือกขอบเขต KM เป้าหมาย KM และการประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการ ความรู้ 11.ข้อเสนอการเปล่ียนแปลง (Blueprint for Change) ตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ีองค์กรได้คัดเลือกไว้ในแผนปี 2548 เฉพาะส่วนท่ีได้นำมาจัดการความรู้เพ่ือใช้ประกอบการพิจารณา (กรณีที่เลือกทำ KM จาก Blueprint ปี 2548) หมายเหตุ เอกสารตามข้อ 1 ถึง 9 ต้องมีผู้บริหารระดับสูงสุด และ CKO ลงนามรับรองโดยต้องส่งตรงตาม กำหนดการสง่ มอบงาน และได้กรอกรายละเอียดของเอกสารทั้งหมดครบถ้วน สามารถนำไปปฏิบัติได้จรงิ ก่อน จดั สง่ ให้สำนกั งาน กพร.

ค่มู ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ่กู ารปฏบิ ัติ หนา้ 26 ภาคผนวก ข - แบบฟอร์ม คำรับรอง กำรปฏิบัตริ ำชกำร ประจำปี งบประมำณ พ.ศ. ........... ด้ำนกำรพัฒนำกำรจัดกำรควำมรู้ในองค์กร ตำมยทุ ธศำสตร์ …………………………. จดั ทำโดย กรม/ จงั หวดั ………………. วนั ท่ี …. / ….. / …… สารบัญ หนา้ 1. บทสรปุ ผู้บรหิ าร ….. ….. …. - ประกาศแต่งตั้งทีมงาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) …. พร้อมรายละเอียดหน้าท่แี ละความรับผิดชอบ …. 2. ขอบเขต KM (KM Focus Area) …. …. …. 3. เปา้ หมาย KM (Desired State) …. 4. การประเมนิ ตนเองเรอ่ื งการจดั การความรู้ และสรุปผลการประเมนิ ตนเอง 5. ปจั จยั แหง่ ความสำเรจ็ (Key Success Factor) 6. แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 7. งบประมาณการดำเนนิ งานการจดั การความรู้ ภาคผนวก : ขอ้ เสนอการเปลย่ี นแปลง (Blueprint for Change) ตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ ที่องค์กรไดค้ ัดเลอื กไวใ้ นแผนป..............

คู่มือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี กู่ ารปฏบิ ตั ิ หนา้ 27 1. บทสรปุ ผบู้ ริหาร …………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… 1.1 ประกาศแต่งตง้ั ทีมงาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) พร้อมรายละเอียดหนา้ ทแี่ ละความ รบั ผิดชอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 ขอบเขต KM (KM Focus Area) ▪ ขอบเขต KM (KM Focus Area) ทสี่ นบั สนุนประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ้งั หมดประกอบด้วย 1. ………………………………………………………………………….. 2. ………………………………………………………………………….. ▪ ขอบเขต KM (KM Focus Area) ที่จะเลือกดำเนนิ การให้แล้วเสร็จภายในงบประมาณประจำปี พ.ศ. ……. (ไดค้ ะแนนสูงสดุ ) คือ ……………………………………………………………………………………………………………………

ค่มู ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบตั ิ หนา้ 28 1.3 เปา้ หมาย KM (Desired State) ▪ เป้าหมาย KM (Desired State) ทั้งหมด ท่ีสอดรับกับขอบเขต KM ที่จะเลือกดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2549 ประกอบดว้ ย 1. ………………………………………………………………………….. 2. ………………………………………………………………………….. 3………………………………………………………………………….. เปา้ หมาย KM (Desired State) เพียงเป้าหมายเดยี ว ที่ทมี งานจะเลอื กดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในงบประมาณ ประจำปี พ.ศ. ........... คอื ……………..…………………………………….…………………………………………………………………… 1.4 ปจั จัยแหง่ ความสำเร็จ (Key Success Factor) ปัจจัยแห่งความสำเรจ็ (Key Success Factor) เพอ่ื ใหด้ ำเนนิ การจัดการความรตู้ ามเป้าหมาย KM ท่ีเลอื กทำ สามารถนำไปปฏิบตั ไิ ด้อยา่ งเป็นรูปธรรมภายในองคก์ ร คอื 1. ………………………………………………………………………….. 2. ………………………………………………………………………….. 3………………………………………………………………………….. แบบฟอร์ม 1 ขอบเขต KM (KM Focus Areas) ของหน่วยงาน ……………….................... ประโยชนท์ จี่ ะได้รบั จากขอบเขต KM ทมี่ ตี ่อ ขอบเขต KM ท่ี ประชาชนไทย / ข้าราชการ ของ กระทรวง กรม กอง รฐั บาล Outsource (KM Focus Areas) ช า ว ต่ า ง ช า ติ / หน่วยงานตนเอง ของหน่วยงานอ่นื ของ ชุมชน หน่วยงาน 1.…………. 1. ………………………………… 1……………… 1……………… 1.……………... 1.…………. 2.1…….. 2. ………………………………… 2.1 ………….. 2.1 …...……… 2.1 .………… 2.1…….. 2.2 ………….. 2.2 ……. 3.1…….. 3. ………………………………… 3.1………….. 3.1 ………..… 3.1 .………… 3.1…….. 4.1…….. 3.2 ………… 5.1 ……. 4. ………………………………… 4.1 …..……… 4.1 ……..…… 4.1 .………… 4.1…….. 5.2 ……. 4.2 …………. n. ……... 5. ………………………………… 5.1 …..……… 5.1 ……..…… 5.1 …………… 5.1 ……. n. ………………………………… n. …………… n. …….……… n. ….………… n. ……... ผูท้ บทวน / ผ้อู นุมัติ : ………………………………………………. ( CKO / ผู้บรหิ ารระดับสงู สดุ )

คู่มอื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ หนา้ 29 แบบฟอรม์ 2 การตัดสินใจเลอื กขอบเขต KM ของหน่วยงาน ………………………….. ขอบเขต KM ที่ ... เกณฑ์การกำหนดขอบเขต KM ขอบเขต KM ขอบเขต KM …....... ที่ …. ท่ี ... 1.สอดคลอ้ งกบั ทิศทางและยุทธศาสตร์ 2.ปรบั ปรงุ แล้วเห็นไดช้ ัดเจน (เป็นรูปธรรม) 3.มีโอกาสทำได้สำเร็จสงู 4.ตอ้ งทำ คนส่วนใหญ่ในองค์กรต้องการ 5.ผ้บู ริหารให้การสนบั สนนุ 6.เปน็ ความรู้ท่ีต้องจัดการอยา่ งเร่งด่วน 7…………………………… 8.<อ่ืนๆ เพ่ิมเติมได้ ตามความเหมาะสม> รวมคะแนน หมายเหตุ : เกณฑ์การใหค้ ะแนน คือ มาก = 6, ปานกลาง = 3, นอ้ ย = 1 <เกณฑค์ ะแนนสามารถปรับเปล่ยี นตามความเหมาะสมได้> ผูท้ บทวน / ผู้อนุมตั ิ : ………………………………………………. ( CKO / ผู้บรหิ ารระดบั สูงสุด ) แบบฟอรม์ 3 เป้าหมาย KM (Desired State) ของหนว่ ยงาน ………………………….. ขอบเขต KM (KM Focus Area) คอื ………………………...………...…………………………….… เปา้ หมาย KM (Desired State) หนว่ ยทีว่ ัดผลได้เป็นรปู ธรรม เป้าหมาย KM ที่ ....…….………………………………..……. ………………………………… เปา้ หมาย KM ที่ ….......….………..…………………………. ………………………………… ...…………………..……………………………………………. ………………………………… เป้ าหมาย KM ท่ีองค์กรต้องการทำคือ เป้าหมาย KM ท่ี xx ………………………………… ……….…………………………………………………………. ผู้ทบทวน / ผอู้ นมุ ัติ : …………………………………… ( CKO / ผู้บรหิ ารระดบั สงู สุด )

คูม่ ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี กู่ ารปฏบิ ัติ หนา้ 30 แบบฟอร์ม 4 Check List ทวนสอบการกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเปา้ หมาย KM (Desired State) ชอ่ื หนว่ นงาน : ……………………………………………………………………………..…วันท่ี :……/………/……… เป้าหมาย KM (Desired State) : ………………………………………………………………………………………… หนว่ ยท่ีวดั ผลได้เป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย KM : ………………………………………………………………………… ลำดับ รายการ Check List ระบรุ ายละเอียด 1. กระบวนงาน (Work Process) ที่เก่ยี วขอ้ ง 1.1 กระบวนงานไหนบา้ ง เชอื่ มโยงกับเป้าหมาย KM 1.2 ขนั้ ตอนไหนบา้ ง เชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM 1.3 กระบวนงานไหนบ้าง เช่ือมโยงกับเป้าหมาย KM และ สอดคล้องกับประเด็น ยุทธศาสตร์ปี 2548 ดว้ ย 1.4 ข้ันตอนไหนบ้าง เชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM และสอด คล้องกับประเด็น ยุทธศาสตรป์ ี 2548 ดว้ ย 1.5 คดิ เป็นจำนวน กระบวนงานและขนั้ ตอน เท่าไร 1.6 อะไรคือตวั ช้ีวัดของกระบวนงาน ที่เชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM และ สอดคล้อง กบั ประเด็นยทุ ธศาสตรป์ ี 2548 ด้วย 2. กลมุ่ ผู้เก่ยี วข้องภายในองคก์ ร 2.1 หนว่ ยงานไหนขององค์กร ท่ีตอ้ งแบง่ ปนั แลกเปลีย่ น / Sharing K. 2.2 ใครบ้างในหนว่ ยงาน ที่ต้องแบ่งปันแลกเปล่ยี น / Sharing K. 2.3 คิดเป็นจำนวนคน เท่าไร ทต่ี ้องแบ่งปนั แลกเปล่ียน / Sharing K. 2.4 หนว่ ยงานไหนขององค์กร ท่ีตอ้ งเรียนรู้ / Learning K. 2.5 ใครบ้างในหนว่ ยงาน ที่ต้องเรยี นรู้ / Learning K. 2.6 คดิ เป็นจำนวนคน เท่าไร ท่ีตอ้ งเรยี นรู้ / Learning K. 3. กลุ่มผูเ้ ก่ียวข้องภายนอกองค์กร (ผ้ใู ชบ้ ริการ / Outsource) 3.1 องค์กรไหน ท่ตี ้องแบง่ ปนั แลกเปลย่ี น / Sharing K. 3.2 ใครบ้างในองคก์ ร ทต่ี ้องแบ่งปนั แลกเปลีย่ น / Sharing K. 3.3 คดิ เปน็ จำนวนคน เท่าไร ทต่ี ้องแบ่งปนั แลกเปลย่ี น / Sharing K. 3.4 องคก์ รไหน ทต่ี อ้ งเรียนรู้ / Learning K. 3.5 ใครบา้ งในองคก์ ร ท่ีต้องเรียนรู้ / Learning K. 3.6 คิดเป็นจำนวนคน เท่าไร ท่ตี ้องเรยี นรู้ / Learning K. 4. ความรู้ท่ีจำเป็น (EK/ TK) ในกระบวนงาน (Work Process) 4.1 มีความรู้ EK อะไรบ้าง ที่ต้องเข้ากระบวนการจัดการความรู้ เพอ่ื ปรบั ใหท้ ันสมัย กับกาลเวลา (ระบมุ าทั้งหมดเท่าทท่ี ำได้) 4.2 มคี วามรู้ EK อะไรบ้าง ที่จัดการคร้ังเดียวแล้วไม่ตอ้ งปรับอีกเลย (ระบุมาทั้งหมด เทา่ ท่ีทำได)้ 4.3 มีความรู้ TK อะไรบ้าง ทตี่ ้องเขา้ กระบวนการจัดการความรู้ เพื่อปรบั ให้ทนั สมัย กบั กาลเวลา และอย่กู ับใครบา้ ง (ระบุมาท้งั หมดเท่าทท่ี ำได)้ 4.4 มคี วามรู้ TK อะไรบ้าง ทจี่ ัดการครั้งเดียวแล้วไม่ตอ้ งปรับอกี เลย และอยู่กับใคร บา้ ง (ระบุมาทง้ั หมดเทา่ ท่ที ำได)้ 4.5 จากขอ้ 4.01, 4.02 ความรู้ EK อะไรบ้าง ทีเ่ รามี และ เรายงั ไมม่ ี 4.6 จากข้อ 4.03, 4.04 ความรู้ TK อะไรบา้ ง ทเ่ี รามี และ เรายงั ไมม่ ี ผูท้ บทวน / ผอู้ นมุ ัติ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บรหิ ารระดบั สงู สุด)

คมู่ ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี กู่ ารปฏิบัติ หนา้ 31 แบบฟอร์ม 5 แบบประเมนิ องคก์ รตนเองเร่อื งการจดั การความรู้ หมวด 1 - กระบวนการจดั การความรู้ โปรดอา่ นข้อความดา้ นลา่ งและประเมินวา่ องคก์ รของทา่ นมีการดำเนินการในเรอื่ งการจัดการความรอู้ ยูใ่ นระดบั ใด 0 – ไมม่ เี ลย / มนี ้อยมาก 1 – มนี ้อย 2 - มรี ะดับปานกลาง 3 - มีในระดบั ทดี่ ี 4 – มใี นระดับทดี่ มี าก หมวด 1 กระบวนการจัดการความรู้ สง่ิ ท่ีมีอยู่ / ทำอยู่ 1.1.องค์กรมีการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพ่ือหาจุดแข็งจุดอ่อนในเรื่องการจัดการความรู้ เพื่อ ปรบั ปรงุ ในเรื่องความรู้ เช่นองคก์ รยงั ขาดความรทู้ จ่ี ำเป็นต้องมี หรือองค์กรไม่ไดร้ วบรวมความรู้ที่ มอี ยู่ให้เปน็ ระบบ เพื่อใหง้ ่ายต่อการนำไปใช้ ไมท่ ราบว่าคนไหนเก่งเร่ืองอะไร ฯลฯ และมีวธิ ีการท่ี ชดั เจนในการแกไ้ ข ปรับปรงุ 1.2.องค์กรมีการแสวงหาข้อมูล/ความรู้จากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากองค์กรท่ีมีการ ใหบ้ รกิ ารคลา้ ยคลึงกัน (ถา้ ม)ี อยา่ งเปน็ ระบบและมจี รยิ ธรรม 1.3 ทกุ คนในองคก์ ร มสี ่วนร่วมในการแสวงหาความคดิ ใหม่ ๆ ระดับเทียบเคยี ง (Benchmarks) และ Best Practices จากองค์กรอื่นๆ ท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกัน (บริการหรือดำเนินงานที่ คล้ายคลึงกนั ) และจากองคก์ รอน่ื ๆ ที่มีลักษณะแตกต่างกนั โดยสิน้ เชงิ 1.4 องค์กรมกี ารถ่ายทอด Best Practices อยา่ งเปน็ ระบบ ซ่งึ รวมถงึ การเขียน Best Practices ออกมาเปน็ เอกสาร และการจดั ทำขอ้ สรุปบทเรยี นท่ีไดร้ บั (Lessons Learned) 1.5 องค์กรเห็นคุณค่า “Tacit Knowledge” หรอื ความรู้และทักษะ ทีอ่ ยู่ในตวั บคุ ลากร ซ่งึ เกิด จากประสบการณ์และการเรียนร้ขู องแต่ละคน และใหม้ ีการถ่ายทอดความรู้และทกั ษะนน้ั ๆ ทัว่ ท้ัง องค์กร ผู้ทบทวน / ผูอ้ นุมตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บริหารระดบั สงู สดุ ) แบบฟอรม์ 6 แบบประเมินองคก์ รตนเองเรอ่ื งการจัดการความรู้ หมวด 2 - ภาวะผู้นำ โปรดอ่านข้อความดา้ นลา่ งและประเมินวา่ องค์กรของท่านมีการดำเนนิ การในเรอ่ื งการจดั การความรูอ้ ยใู่ นระดบั ใด 0 – ไม่มีเลย / มนี อ้ ยมาก 1 – มนี อ้ ย 2 - มรี ะดบั ปานกลาง 3 - มใี นระดบั ที่ดี 4 – มีในระดับทด่ี ีมาก หมวด 2 ภาวะผูน้ ำ สง่ิ ท่ีมอี ยู่ / ทำอยู่ 2.1 ผูบ้ ริหารกำหนดใหก้ ารจัดการความรเู้ ป็นกลยทุ ธ์ทสี่ ำคัญในองค์กร 2.2 ผู้บริหารตระหนักว่า ความร้เู ป็นสินทรพั ย์ (Knowledge Asset) ท่ีสามารถนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์กับองค์กรได้ และมีการจัดทำกลยุทธ์ท่ีชัดเจน เพื่อนำสินทรัพย์ความรู้ท่ีมีอยู่ไปใช้ ประโยชน์ (เช่น ทำงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผลมากขน้ึ ให้บรกิ ารได้รวดเร็วและตรงตาม ความต้องการ สรา้ งความพงึ พอใจให้ผ้ใู ช้บริการ เปน็ ต้น) 2.3 องค์กรเน้นเรอ่ื งการเรียนรู้ของบุคลากร เพ่ือสง่ เสริม Core Competencies เดิมท่มี ีอยู่ให้ แข็งแกร่งขึ้น และพัฒนา Core Competencies ใหม่ๆ (Core Competencies หมายถึง ความ เก่งหรือความสามารถเฉพาะทางขององค์กร) 2.4 การมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ขององค์กร เป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์ท่ีองค์กรใช้ ประกอบในการพจิ ารณาในการ ประเมินผล และใหผ้ ลตอบแทนบุคลากร ผู้ทบทวน / ผอู้ นมุ ัติ : ……………………………………………. (CKO / ผบู้ ริหารระดับสูงสดุ ) แบบฟอร์ม 7 แบบประเมินองคก์ รตนเองเร่อื งการจัดการความรู้ หมวด 3 - วฒั นธรรมในเรอ่ื งการจัดการความรู้ โปรดอา่ นขอ้ ความด้านล่างและประเมินวา่ องคก์ รของทา่ นมีการดำเนนิ การในเรื่องการจดั การความร้อู ยใู่ นระดบั ใด 0 – ไม่มีเลย / มีนอ้ ยมาก 1 – มนี ้อย 2 - มีระดับปานกลาง 3 - มใี นระดบั ที่ดี 4 – มีในระดับที่ดมี าก หมวด 3 วัฒนธรรมในเรื่องการจดั การความรู้ ส่ิงทมี่ ีอยู่ / ทำอยู่

ค่มู ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ หนา้ 32 แบบฟอร์ม 6 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ หมวด 2 - ภาวะผู้นำ โปรดอ่านขอ้ ความด้านลา่ งและประเมนิ วา่ องคก์ รของท่านมกี ารดำเนนิ การในเรอื่ งการจัดการความรอู้ ยใู่ นระดับใด 0 – ไม่มเี ลย / มีน้อยมาก 1 – มีน้อย 2 - มรี ะดบั ปานกลาง 3 - มีในระดับทด่ี ี 4 – มใี นระดับท่ีดีมาก 3.1 องคก์ รสง่ เสริมและใหก้ ารสนับสนุนการแลกเปล่ยี นเรียนรขู้ องบคุ ลากร 3.2 พนกั งานในองคก์ รทำงาน โดยเปดิ เผยข้อมลู และมคี วามไว้เนือ้ เชอ่ื ใจกันและกัน 3.3 องค์กรตระหนักว่า วัตถุประสงค์หลักของการจัดการความรู้ คือ การสร้าง หรือเพิ่มพูน คณุ คา่ ใหแ้ ก่ผ้ใู ช้บริการและหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง 3.4 องค์กรส่งเสรมิ ให้บุคลากร เกิดการเรยี นรู้ โดยการให้อสิ ระในการคิด และการทำงาน รวมท้ัง กระตนุ้ ให้พนักงานสรา้ งสรรสิง่ ใหม่ ๆ 3.5 ทุกคนในองคก์ รถอื วา่ การเรยี นรู้เปน็ หน้าท่แี ละความรบั ผิดชอบของทุกคน ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ : ……………………………………………. (CKO / ผบู้ ริหารระดับสูงสุด) แบบฟอร์ม 8 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่อื งการจัดการความรู้ หมวด 4 - เทคโนโลยกี ารจัดการความรู้ โปรดอา่ นขอ้ ความด้านลา่ งและประเมนิ ว่าองค์กรของทา่ นมีการดำเนินการในเร่ืองการจัดการความรู้อยู่ในระดับใด 0 – ไม่มเี ลย / มนี อ้ ยมาก 1 – มนี ้อย 2 - มรี ะดบั ปานกลาง 3 - มีในระดบั ที่ดี 4 – มใี นระดบั ท่ีดีมาก หมวด 4 – เทคโนโลยีการจัดการความรู้ สิง่ ทมี่ อี ยู่ / ทำอยู่ 4.1.เทคโนโลยีท่ีใชช้ ่วยให้ทุกคนในองค์กรสื่อสารและเชื่อมโยงกันได้อย่างทั่วถึงท้ังภายในองค์กร และกบั องค์กรภายนอก 4.2.เทคโนโลยีที่ใช้กอ่ ให้เกิดคลังความรขู้ ององค์กร ( An Institutional Memory ) ทท่ี ุกคนใน องค์กรสามารถเข้าถึงได้ 4.3 เทคโนโลยีที่ใช้ทำให้บุคลากรในองค์กรเข้าใจและใกล้ชิดผู้มาใช้บริการมากขึ้น เช่น ความ ต้องการและความคาดหวงั พฤตกิ รรมและความคดิ เปน็ ต้น 4.4 องค์กรพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยเน้นความต้องการของผู้ใช้ 4.5 องคก์ รกระตือรือร้นท่จี ะนำเทคโนโลยีทช่ี ่วยให้พนักงานสื่อสารเชื่อมโยงกันและประสานงาน กนั ไดด้ ีขึ้น มาใช้ในองคก์ ร 4.6 ระบบสารสนเทศขององค์กรชาญฉลาด (Smart) ให้ขอ้ มลู ได้ทันทีทเี่ กิดข้ึนจริง (Real Time) และข้อมูลสารสนเทศในระบบมคี วามเชื่อมโยงกัน ผูท้ บทวน / ผู้อนมุ ตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผูบ้ รหิ ารระดบั สูงสุด) แบบฟอรม์ 9 แบบประเมนิ องคก์ รตนเองเรอ่ื งการจัดการความรู้ หมวด 5 - การวัดผลการจัดการความรู้ โปรดอา่ นข้อความดา้ นลา่ งและประเมนิ วา่ องคก์ รของท่านมกี ารดำเนินการในเรื่องการจดั การความรอู้ ยู่ในระดบั ใด 0 – ไม่มเี ลย / มนี ้อยมาก 1 – มนี อ้ ย 2 - มรี ะดับปานกลาง 3 - มีในระดับทด่ี ี 4 – มีในระดับที่ดมี าก หมวด 5 การวัดผลการจัดการความรู้ สิ่งทีม่ ีอยู่ / ทำอยู่ 5.1 องคก์ รมีวิธีการที่สามารถเชอื่ มโยง การจัดการความร้กู ับผลการดำเนินการท่ีสำคัญขององค์กร เชน่ ผลลัพธ์ในดา้ นผ้ใู ชบ้ ริการ ดา้ นการพัฒนาองคก์ ร ฯลฯ 5.2 องค์กรมีการกำหนดตวั ช้วี ัดของการจัดการความรู้โดยเฉพาะ

ค่มู ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี ู่การปฏบิ ตั ิ หนา้ 33 แบบฟอรม์ 9 แบบประเมินองค์กรตนเองเรอื่ งการจดั การความรู้ หมวด 5 - การวัดผลการจัดการความรู้ โปรดอา่ นข้อความดา้ นลา่ งและประเมนิ วา่ องคก์ รของทา่ นมีการดำเนินการในเรอ่ื งการจัดการความรู้อย่ใู นระดับใด 0 – ไมม่ ีเลย / มีน้อยมาก 1 – มีน้อย 2 - มีระดบั ปานกลาง 3 - มีในระดบั ที่ดี 4 – มีในระดบั ทด่ี มี าก 5.3 จากตัวช้ีวดั ในข้อ 5.2 องค์กรสร้างความสมดลุ ยร์ ะหวา่ งตวั ช้วี ดั ที่สามารถตีค่าเป็นตัวเงนิ ได้ ง่าย (เช่น ต้นทุนทีล่ ดได้ ฯลฯ) กับตัวชีว้ ัดท่ตี ีค่าเป็นตวั เงนิ ได้ยาก ( เช่น ความพึงพอใจของผ้มู าใช้ บริการ การตอบสนองผู้ใช้บรกิ ารได้เร็วข้ึน การพัฒนาบคุ ลากร ฯลฯ ) 5.4 องค์กรมีการจัดสรรทรัพยากรให้กับกิจกรรมต่างๆ ที่มีส่วนสำคัญท่ีทำให้ฐานความรู้ของ องคก์ รเพิม่ พูนขึ้น ผ้ทู บทวน / ผู้อนมุ ัติ : ……………………………………………. (CKO / ผูบ้ ริหารระดบั สูงสดุ ) แบบฟอรม์ ท่ี 10 รายงานผลการประเมนิ องคก์ รตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ (กรณใี ช้วิธีอนื่ ๆ) ช่อื หน่วยงาน………………………………………………………………………………………………….. วนั ทป่ี ระเมิน ……………………………………………………………………………………………………หน้าท…ี่ /… หัวข้อทปี่ ระเมินองคก์ รตนเองเรือ่ งการจัดการความรู้ ผลการประเมนิ (สง่ิ ท่มี อี ยู่/ทำอยู่) ผทู้ บทวน / ผอู้ นมุ ัติ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด) แบบฟอรม์ 11 – แผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชอื่ หนว่ นงาน : ……………………………………………………………………………………………………………. เปา้ หมาย KM (Desired State) : ………………………………………………………………………………………… หน่วยทว่ี ัดผลไดเ้ ปน็ รูปธรรม : …………………………………………………………………………………………… ลำดบั กิจกรรม วิ ธี ก า ร สู่ ระยะเวลา ตวั ชว้ี ัด เป้าหมาย เคร่ืองมือ/ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ สถานะ ความสำเร็จ อุปกรณ์ 1 การบง่ ช้คี วามรู้ 2 ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ แสวงหาความรู้ 3 การจัดความรู้ให้ เป็นระบบ 4 การประมวลและ กลน่ั กรองความรู้

คู่มอื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏบิ ัติ หนา้ 34 แบบฟอร์ม 11 – แผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจดั การความรู้ (KM Process) ชื่อหน่วนงาน : ……………………………………………………………………………………………………………. เปา้ หมาย KM (Desired State) : ………………………………………………………………………………………… หนว่ ยท่วี ดั ผลไดเ้ ปน็ รปู ธรรม : …………………………………………………………………………………………… 5 การเขา้ ถงึ ความรู้ 6 ก า ร แ บ่ ง ปั น แลกเปลี่ยนความรู้ 7 การเรียนรู้ ผูท้ บทวน/อนุมัติ : นายกรม นวตั กรรม (CKO / ผ้บู ริหารระดับสูงสุด) แบบฟอร์ม 12 – แผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการบรหิ ารจัดการการเปล่ยี นแปลง (Change Management Process) ชอื่ หน่วนงาน : ……………………………………………………………………………………………………………… เป้าหมาย KM (Desired State) : ………………………………………………………………………………………….. หน่วยทีว่ ดั ผลได้เป็นรปู ธรรม : …………………………………………………………………………………………….. ลำดับ กจิ กรรม วิ ธี ก า ร สู่ ระยะเวลา ตวั ช้ีวดั เปา้ หมาย เครื่องมือ/ งบประมาณ ผูร้ ับผดิ ชอบ สถานะ ความสำเร็จ อุปกรณ์ 1 การเตรยี มการและ ป รั บ เ ป ล่ี ย น พฤติกรรม 2 การสอื่ สาร 3 กระบวนการและ เครอ่ื งมอื 4 การเรียนรู้ 5 การวดั ผล 6 การยกย่องชมเชย และการใหร้ างวัล ผ้ทู บทวน/อนุมัติ : นายกรม นวตั กรรม (CKO / ผบู้ รหิ ารระดับสงู สุด) แบบฟอรม์ 13 สรุปงบประมาณการดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ ชื่อหนว่ นงาน……………………………………………………………………………………………………………… เป้าหมาย KM (Desired State) :………………………………………………………………………………………… หน่วยท่ีวดั ผลไดเ้ ปน็ รูปธรรม : …………………………………………………………………………………………… ลำดับ กจิ กรรมตามแผนการจดั การความรู้ งบประมาณ ปี พ.ศ.2549 ปี พ.ศ. …… (บาท) ผู้ทบทวน / ผู้อนมุ ตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บริหารระดบั สงู สดุ )

คูม่ ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ หนา้ 35 ภาคผนวก ค – ตวั อย่าง หน้าปกเอกสาร คำรับรอง กำรปฏบิ ัติรำชกำร ประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2549 ด้ำนกำรพัฒนำกำรจัดกำรควำมรู้ในองค์กร ตำมยทุ ธศำสตร์ …………………………. จดั ทำโดย กรม/ จงั หวัด ………………. วนั ที่ …. / ….. / …… สารบัญ หนา้ ….. 1. บทสรุปผู้บริหาร - ประกาศแตง่ ต้ังทมี งาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) ….. พรอ้ มรายละเอียดหนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบ …. 2. ขอบเขต KM (KM Focus Area) …. 3. เป้าหมาย KM (Desired State) …. 4. การประเมินตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ และสรุปผลการประเมนิ ตนเอง …. 5. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factor) …. 6. แผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) …. 7. งบประมาณการดำเนินงานการจัดการความรู้ …. ภาคผนวก : ข้อเสนอการเปล่ียนแปลง (Blueprint for Change) ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ท่ีองคก์ รไดค้ ดั เลือกไวใ้ นแผนปี 2548

คู่มอื การจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ูก่ ารปฏบิ ัติ หนา้ 36 1. บทสรุปผู้บริหาร จากพระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกจิ การบ้านเมืองทดี่ ี พ.ศ. 2546 มาตรา 11 ส่วน ราชการมหี น้าท่ีพัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อใหม้ ีลักษณะเป็นองค์กรแหง่ การเรยี นร้อู ยา่ งสม่ำเสมอ โดยต้องรบั รู้ ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรใู้ นด้านต่างๆ เพ่ือนำมาประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบัตริ าชการไดอ้ ย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งตอ้ งส่งเสริมและพฒั นาความรู้ ความสามารถ สรา้ งวิสัยทัศน์ และ ปรับเปลีย่ นทศั นคตขิ องข้าราชการในสังกดั ใหเ้ ป็นบคุ ลากรทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพและมกี ารเรียนรู้รว่ มกนั ... เพื่อให้การปฏิบัติราชการของส่วนราชการและจงั หวัด เป็นไปตามหลักเกณฑ์และมวี ิธกี ารบริหารทดี่ ี จึงได้นำ การจดั การความรู้ (Knowledge Management) ซ่ึงเป็นระบบการจัดการทส่ี ามารถกำหนดขึ้น และนำไปปฏิบตั ิได้ อย่างเปน็ รปู ธรรม โดยทางองค์กรได้จดั วางระบบการจดั การความรู้ และแผนการดำเนินงาน ไวด้ งั รายการต่อไปนี้ 1.1 ประกาศแตง่ ตัง้ ทมี งาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) พรอ้ มรายละเอียดหน้าทแี่ ละความรับผิดชอบ เพ่ือให้การจัดทำระบบการจัดการความรู้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผล หน่วยงาน……………จึงได้ประกาศแต่งต้ัง ทีมงาน KM และ CKO ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. นายกรม นวัตกรรม เปน็ CKO ซ่ึงมีหนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบดังน้ี …………………….. ……………………. ………………………… 2. นาย……………..เป็น หัวหน้า KM Team 3. นาง……………..เป็น KM Team 4. นางสาว…………เปน็ KM Team 5. ………………………………….. 6. ………………………………….. ………………………………………. โดย หวั หนา้ KM Team มหี น้าทแี่ ละความรับผดิ ชอบดงั นี้ ………………………………………………………………… และ KM Team มหี น้าทแี่ ละความรับผิดชอบดงั น้ี …………………………………………………… 1.2 ขอบเขต KM (KM Focus Area) ▪ ขอบเขต KM (KM Focus Area) ทส่ี นบั สนุนประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ัง้ หมดประกอบด้วย 1. …………………………………………………………………………..

คูม่ ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎสี ู่การปฏิบัติ หนา้ 37 2. ………………………………………………………………………….. 3………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ▪ ขอบเขต KM (KM Focus Area) ท่ีจะเลือกดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2549 (ได้คะแนนสงู สุด) คือ …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. 1.3 เปา้ หมาย KM (Desired State) ▪ เป้าหมาย KM (Desired State) ท้ังหมด ท่ีสอดรับกับขอบเขต KM ที่จะเลือกดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2549 ประกอบด้วย 1. ………………………………………………………………………….. 2. ………………………………………………………………………….. 3………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ▪ เป้าหมาย KM (Desired State) เพียงเป้าหมายเดียว ที่ทีมงานจะเลอื กดำเนินการให้แลว้ เสร็จภายใน งบประมาณประจำปี พ.ศ. 2549 คือ ……………..……………….. ……………………………………………………………………………………………………. 1.4 ปัจจยั แห่งความสำเรจ็ (Key Success Factor) ปจั จัยแหง่ ความสำเร็จ (Key Success Factor) เพอ่ื ให้ดำเนินการจัดการความรตู้ ามเป้าหมาย KM ท่ีเลือกทำ สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมภายในองคก์ ร คอื 1. ………………………………………………………………………….. 2. ………………………………………………………………………….. 3…………………………………………………………………………..

คมู่ อื การจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี กู่ ารปฏิบตั ิ หนา้ 38 ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………… แบบฟอร์ม 1 ขอบเขต KM (KM Focus Areas) ของหนว่ ยงาน …กรมนวตั กรรม…….................... ประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับจากขอบเขต KM ทีม่ ตี อ่ ขอบเขต KM ที่ ประชาชนไทย / ข้าราชการ ของ กระทรวง กรม กอง รฐั บาล Outsourc (KM Focus Areas) ช า ว ต่ า ง ช า ติ / หนว่ ยงานตนเอง ของหน่วยงานอืน่ eของ ชุมชน หน่วยงาน 1.1..มีส่ วน ร่วม ใน 1.1.ข ร ก .ที่ 1.1 ….…… 1.1 …. 1.1 ….… ก ารค วบ คุ ม ดู แ ล เก่ียวข้องทุกคน มี 1. การเฝ้าระวงั สง่ิ แวดล้อมดา้ นนำ้ รักษา สวล.ด้านน้ำ ค วาม รู้ที่ ถูก ต้อ ง ไดอ้ ย่างถูกต้อง เป็นมาตรฐานใน การควบคุม ดแู ล สวล.ด้านนำ้ 2. ………………………………… 2.1 ………….. 2.1 …...……… 2.1 .………… 2.1…….. 2.1…….. 2.2 ………….. 2.2 ……. 3. ………………………………… 3.1………….. 3.1 ………..… 3.1 .………… 3.1…….. 3.1…….. 3.2 ………… . ………………………………… 5.1 …..……… 5.1 ……..…… 5.1 …………… 5.1 ……. 5.1 ……. 5.2 ……. . ………………………………… n. …………… n. …….……… n. ….………… n. ……... n. ……... ผูท้ บทวน / ผูอ้ นุมัติ : ……นายกรม นวัตกรรม……. ( CKO / ผ้บู รหิ ารระดับสูงสุด )

คูม่ ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีส่กู ารปฏิบตั ิ หนา้ 39 แ บ บ ฟ อ ร์ ม 2 ก า ร ตั ด สิ น ใ จ เ ลื อ ก ข อ บ เ ข ต KM ข อ ง ห น่ ว ย ง า น …………………………………………….……………….. เกณฑก์ ารกำหนดขอบเขต KM ขอบเขต KM ขอบเขต KM ขอบเขต KM ท่ี 1 ท่ี 2 ท่ี 3 1.สอดคล้องกบั ทิศทางและยุทธศาสตร์ 6 6 3 2.ปรบั ปรุงแลว้ เหน็ ไดช้ ดั เจน (เปน็ รูปธรรม) 3 3 1 3.มีโอกาสทำได้สำเรจ็ สงู 311 4.ตอ้ งทำ คนส่วนใหญใ่ นองคก์ รตอ้ งการ 3 1 1 5.ผ้บู ริหารให้การสนบั สนุน 311 6.เป็นความรทู้ ต่ี ้องจัดการอยา่ งเร่งด่วน 3 3 1 7…………………………… 8. <อนื่ ๆ เพิม่ เตมิ ได้ ตามความเหมาะสม> รวมคะแนน 21 15 8 หมายเหตุ : เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คอื มาก = 6, ปานกลาง = 3, นอ้ ย = 1 <เกณฑ์คะแนนสามารถปรับเปลีย่ นตามความเหมาะสมได้> ผทู้ บทวน / ผู้อนุมตั ิ : ……นายกรม นวัตกรรม……. ( CKO / ผ้บู รหิ ารระดับสงู สุด ) แบบฟอรม์ 3 เปา้ หมาย KM (Desired State) ของหน่วยงาน …กรมนวตั กรรม……………….. ขอบเขต KM (KM Focus Area) คือ 1. การเฝา้ ระวังสง่ิ แวดลอ้ มด้านน้ำ เปา้ หมาย KM (Desired State) หน่วยท่ีวัดผลไดเ้ ป็นรปู ธรรม เป้าหมาย KM ท่ี 1.1 โรงพยาบาลภายใต้การควบคุมดูแลของกรมฯ สามารถ อย่างน้อย 1 โรงพยาบาล นำระบบการ จดั การความร้ดู ้านควบคมุ คณุ ภาพนำ้ เสียใหไ้ ด้ตามกฎหมายหรือได้มาตรฐานทสี่ ูง จัดการความรู้ด้านควบคุมน้ำเสียใช้ กวา่ ควบคมุ ได้จริงภายในปี 2549 เป้าหมาย KM ที่ 1.2 กรมฯ สามารถจดั การความรู้ดา้ นการรกั ษาสภาพแวด ข้าราชการในสังกัด ได้นำความรู้ไปใช้ ล้อมของแหล่งนำ้ ทีอ่ ย่ภู ายใต้การควบคุมดูแลให้ไดต้ ามกฎหมายหรือได้มาตรฐาน ควบคุมได้จริง อย่างน้อย 1 แหล่งน้ำ ทส่ี ูงกวา่ ภายในปี 2549 ...…………………..……………………………………………. ………………………………… เป้าหมาย KM ที่องค์กรต้องการทำคือ เป้าหมาย KM ท่ี 1.2 กรมฯ สามารถ ข้าราชการในสังกัด ได้นำความรู้ไปใช้ จัดการความรู้ด้านการรักษาสภาพแวดล้อมของแหล่งน้ำท่ีอยู่ภายใต้การ ควบคุมได้จริง อย่างน้อย 1 แหล่งน้ำ ควบคุมดูแลให้ไดต้ ามกฎหมายหรอื ไดม้ าตรฐานที่สงู กว่า ภายในปี 2549 ผู้ทบทวน / ผอู้ นุมตั ิ : …นายกรม นวัตกรรม…… ( CKO / ผบู้ ริหารระดับสงู สุด )

คมู่ ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี กู่ ารปฏิบัติ หนา้ 40 แบบฟอรม์ 4 Check List ทวนสอบการกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) ช่อื หนว่ นงาน : กรมนวตั กรรม วนั ที่ : 5 ธนั วาคม 2548 เปา้ หมาย KM (Desired State) : องคก์ รสามารถจัดการความรดู้ า้ นการรกั ษาสภาพแวดล้อมของแหล่งนำ้ ท่อี ยู่ภายใตก้ ารควบคุมดูแลใหไ้ ดต้ าม กฎหมายหรือได้มาตรฐานทีส่ ูงกว่า หนว่ ยทว่ี ดั ผลไดเ้ ป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย KM : ข้าราชการในสังกัดได้นำความรไู้ ปใช้ควบคุมได้จริงอยา่ งน้อย 1 แหล่งน้ำ ภายในปี 2549 ลำดับ รายการ Check List ระบรุ ายละเอยี ด 1. กระบวนงาน (Work Process) ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 1.1 กระบวนงานไหนบา้ ง เชอ่ื มโยงกบั เป้าหมาย KM การรักษาสิง่ แวดล้อม 1.2 ขนั้ ตอนไหนบา้ ง เชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM ………………………… 1.3 กระบวนงานไหนบ้าง เชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM และ สอดคล้องกับประเด็น ………………………… ยทุ ธศาสตร์ปี 2548 ดว้ ย 1.4 ขั้นตอนไหนบ้าง เชื่อมโยงกบั เป้าหมาย KM และสอด คล้องกับประเด็นยทุ ธศาสตร์ปี ………………………….. 2548 ด้วย 1.5 คิดเปน็ จำนวน กระบวนงานและข้ันตอน เทา่ ไร …………………………. 1.6 อะไรคือตัวชี้วัดของกระบวนงาน ท่ีเช่ือมโยงกับเป้าหมาย KM และ สอดคล้องกับ ……………………………. ประเดน็ ยทุ ธศาสตรป์ ี 2548 ด้วย 2. กลุม่ ผู้เกี่ยวข้องภายในองคก์ ร 2.1 หน่วยงานไหนขององค์กร ทต่ี อ้ งแบง่ ปนั แลกเปลีย่ น / Sharing K. ……………………………… 2.2 ใครบ้างในหนว่ ยงาน ทตี่ ้องแบง่ ปันแลกเปล่ียน / Sharing K. ……………………………… 2.3 คดิ เป็นจำนวนคน เทา่ ไร ทตี่ อ้ งแบง่ ปนั แลกเปล่ยี น / Sharing K. ……………………………… 2.4 หนว่ ยงานไหนขององค์กร ทตี่ อ้ งเรยี นรู้ / Learning K. ……………………………… 2.5 ใครบ้างในหน่วยงาน ทีต่ อ้ งเรยี นรู้ / Learning K. ……………………………… 2.6 คดิ เปน็ จำนวนคน เท่าไร ทีต่ อ้ งเรยี นรู้ / Learning K. ……………………………… 3. กลมุ่ ผู้เกีย่ วขอ้ งภายนอกองคก์ ร (ผ้ใู ช้บรกิ าร / Outsource) 3.1 องคก์ รไหน ทตี่ ้องแบง่ ปนั แลกเปลย่ี น / Sharing K. ……………………………… 3.2 ใครบ้างในองคก์ ร ท่ีต้องแบง่ ปนั แลกเปลย่ี น / Sharing K. ……………………………… 3.3 คิดเป็นจำนวนคน เทา่ ไร ที่ต้องแบ่งปนั แลกเปลีย่ น / Sharing K. ……………………………… 3.4 องคก์ รไหน ท่ีตอ้ งเรียนรู้ / Learning K. ……………………………… 3.5 ใครบา้ งในองคก์ ร ท่ีต้องเรียนรู้ / Learning K. ……………………………… 3.6 คิดเป็นจำนวนคน เท่าไร ทีต่ อ้ งเรียนรู้ / Learning K. ……………………………… 4. ความรูท้ ่ีจำเปน็ (EK/ TK) ในกระบวนงาน (Work Process) 4.1 มีความรู้ EK อะไรบ้าง ที่ต้องเข้ากระบวนการจัดการความรู้ เพ่ือปรับให้ทันสมัยกับ ……………………………… กาลเวลา (ระบมุ าทงั้ หมดเทา่ ที่ทำได)้ 4.2 มีความรู้ EK อะไรบา้ ง ทจี่ ัดการครัง้ เดียวแลว้ ไมต่ ้องปรบั อีกเลย (ระบมุ าทั้งหมดเทา่ ทท่ี ำได)้ ……………………………… 4.3 มีความรู้ TK อะไรบ้าง ท่ีต้องเข้ากระบวนการจัดการความรู้ เพ่ือปรับให้ทันสมัยกับ ……………………………… กาลเวลา และอยกู่ ับใครบ้าง (ระบมุ าท้ังหมดเท่าทีท่ ำได)้ 4.4 มีความรู้ TK อะไรบ้าง ท่ีจัดการคร้ังเดียวแล้วไม่ต้องปรับอีกเลย และอยู่กับใครบ้าง ……………………………… (ระบมุ าท้งั หมดเทา่ ที่ทำได้) 4.5 จากขอ้ 4.1, 4.2 ความรู้ EK อะไรบ้าง ท่เี รามี และ เรายังไม่มี ……………………………… 4.6 จากขอ้ 4.3, 4.4 ความรู้ TK อะไรบา้ ง ทเ่ี รามี และ เรายังไม่มี ……………………………… ผู้ทบทวน / ผ้อู นุมตั ิ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บรหิ ารระดบั สูงสุด)

คมู่ ือการจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ูก่ ารปฏบิ ัติ หนา้ 41 แบบฟอรม์ 5 แบบประเมนิ องค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ หมวด 1 - กระบวนการจัดการความรู้ โปรดอา่ นขอ้ ความดา้ นลา่ งและประเมินว่าองค์กรของทา่ นมีการดำเนนิ การในเรอื่ งการจดั การความรู้อยู่ในระดับใด 0 – ไม่มเี ลย / มีนอ้ ยมาก 1 – มนี ้อย 2 - มรี ะดบั ปานกลาง 3 - มใี นระดับที่ดี 4 – มีในระดับทด่ี ีมาก หมวด 1 กระบวนการจดั การความรู้ สิ่งทม่ี อี ยู่ / ทำอยู่ 1.1.องค์กรมีการวิเคราะห์อยา่ งเปน็ ระบบ เพอ่ื หาจุดแข็งจดุ ออ่ นในเร่ืองการจดั การความรู้ เพ่ือ - องค์กรมีการวิเคราะห์ SWOT ของ ปรบั ปรุงในเร่ืองความรู้ เช่นองคก์ รยังขาดความรู้ทจ่ี ำเป็นต้องมี หรือองค์กรไม่ไดร้ วบรวมความรู้ องค์กร แตย่ ังไม่ได้เชื่อมโยงถึงการจดั การ ทม่ี อี ยู่ให้เปน็ ระบบ เพอื่ ให้ง่ายต่อการนำไปใช้ ไม่ทราบว่าคนไหนเกง่ เร่ืองอะไร ฯลฯ และมวี ธิ ีการ ความรู้ ที่ชัดเจนในการแก้ไข ปรับปรุง ……………………………………………. -องค์กรมีการแสวงหาความรู้/ข้อมูลจาก 1.2.องค์กรมีการแสวงหาข้อมลู /ความรู้จากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งจากองค์กรที่มีการ แหล่งต่างๆเม่ือจำเป็นต้องใช้ แต่ไม่เป็น ใหบ้ รกิ ารคลา้ ยคลงึ กนั (ถา้ มี) อยา่ งเปน็ ระบบและมจี ริยธรรม ระบบ ตา่ งคน ตา่ งทำ -…………………………………….. 1.3 ทุกคนในองค์กร มีส่วนร่วมใน การแสวงหาความคิดใหม่ ๆ ระดับเทียบเคียง - องคก์ รมกี ารแสวงหาความร้ใู หมๆ่ บา้ ง แต่ (Benchmarks) และ Best Practices จากองค์กรอื่นๆ ท่ีมีลักษณะคลา้ ยคลงึ กัน (บริการหรือ ไม่เป็นระบบ และทำกันเฉพาะกลุ่มงาน ดำเนินงานทีค่ ลา้ ยคลงึ กัน ) และจากองคก์ รอืน่ ๆ ทมี่ ีลกั ษณะแตกตา่ งกันโดยส้ินเชงิ และยังไม่ครอบคลมุ ทกุ คน -………………………………………. - องค์กรมีการจัดทำวารสารความรู้เพื่อ 1.4 องค์กรมีการถ่ายทอด Best Practices อย่างเป็นระบบ ซึ่งรวมถึงการเขียน Best เผยแพรใ่ นบางเรอ่ื ง แต่ยังไม่เป็นระบบ ใคร Practices ออกมาเป็นเอกสาร และการจัดทำข้อสรปุ บทเรยี นที่ได้รับ (Lessons Learned) อยากทำกท็ ำ -………………………………………. - องค์กรเห็นคุณค่าของ Tacit Knowledge 1.5 องค์กรเห็นคุณค่า “Tacit Knowledge” หรือ ความรู้และทักษะ ท่ีอยู่ในตัวบุคลากร ซึ่ง แล ะพ ย าย ามก ระตุ้ น ให้ มี การถ่ าย ท อ ด เกดิ จากประสบการณ์และการเรียนรู้ของแต่ละคน และใหม้ ีการถ่ายทอดความรแู้ ละทักษะน้ัน ๆ ความรู้ แต่ไม่ได้ทำเป็นระบบ ส่วนใหญ่ มี ท่วั ทง้ั องคก์ ร การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรเู้ ป็นกลุ่ม ย่อยๆ แต่ไม่มรี ูปแบบชดั เจน - …………………….. ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ : ……นายกรม นวัตกรรม……. (CKO / ผู้บริหารระดับ สงู สดุ ) การประเมนิ องคก์ รตนเองเรอ่ื งการจดั การความรู้ ดว้ ย KMAT ให้ประเมนิ ให้ครบทง้ั 5 แบบฟอรม์ ได้แก่ แบบฟอรม์ ท่ี 5-9 และใหเ้ ตมิ รายละเอยี ดให้ครบทุกช่อง

คูม่ อื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบตั ิ หนา้ 42 การประเมนิ องคก์ รตนเองเร่ืองการจดั การความรู้ ถา้ ไม่ได้ประเมินดว้ ย KMAT ใหร้ ะบหุ วั ข้อท่ี ประเมนิ และระบสุ ง่ิ ทมี่ ีอยู่หรือทาอยใู่ นแบบฟอรม์ ที่ 10 นี้ และใหเ้ ตมิ รายละเอยี ดให้ครบทุก ช่อง แบบฟอร์มท่ี 10 รายงานผลการประเมินองค์กรตนเองเรอ่ื งการจัดการความรู้ (กรณใี ชว้ ธิ ีอืน่ ๆ) ชือ่ หน่วยงาน………………………………………………………………………………………………….. วนั ทปี่ ระเมนิ ……………………………………………………………………………………………………หนา้ ท…่ี /… หัวขอ้ ท่ปี ระเมนิ องคก์ รตนเองเรื่องการจดั การความรู้ ผลการประเมิน (ส่งิ ท่มี อี ยู่/ทำอยู่) ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ : ……………………………………………. (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสดุ )

คูม่ ือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบตั ิ หนา้ 43 แบบฟอรม์ 11 แผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจดั การความรู้ (KM Process) ชือ่ หน่วนงาน : กรมนวัตกรรม เป้าหมาย KM (Desired State) : องค์กรสามารถจัดการความรู้ด้านการรกั ษาสภาพแวดลอ้ มของแหลง่ นำ้ ทอี่ ยภู่ ายใต้การควบคมุ ดแู ลให้ได้ ตามกฎหมายหรอื ได้มาตรฐานท่ีสงู กว่า หนว่ ยที่วดั ผลได้เป็นรปู ธรรม : ขา้ ราชการในสงั กัดได้นำความรูไ้ ปใช้ควบคมุ ได้จริงอย่างนอ้ ย 1 แหลง่ น้ำ ภายในปี 2549 ลำดบั กิจกรรม วิ ธี ก า ร สู่ ระยะเวลา ตัวชวี้ ัด เป้าหมาย เคร่ืองมือ/ งบประมาณ ผู้รับผดิ ชอบ สถานะ ความสำเรจ็ อปุ กรณ์ 1 การบง่ ชี้ความรู้ ท ะ เบี ย น -ความรู้ด้านการรักษา -ทำการตรวจสอบ 15 -30 ร า ย ก า ร จำนวนรายการ -กระดาษ A4, -10,000 -อธบิ ดีกรม, …… ค ว า ม รู้ ที่ ความรู้ด้านการ คอมพิวเตอร์, บาท สภาพแวดล้อมของ คว ามรู้ใน องค์กร ธ.ค.48 KM Team แหลง่ นำ้ เพื่อหา Gap ความรู้ ต้องใช้ด้าน รั ก ษ า พริน้ เตอร์ -……… …… การรักษ า สภาพแวดล้อม -………… -ความรู้ด้านกฎหมาย ท่ีมีกับความรู้ที่ต้อง -………….. ของแหล่งน้ำ ใช้ สภาพแวด อย่า งน้ อย 10 -……………… ล้อม รายการ 2 ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ แสวงหาความรู้ -ภายใน ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… …… -ภายนอก ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… ….. 3 การจัดความรู้ให้ - รวบรวมความรู้ 1 -15 มี จำนวนความร้ทู ี่ เปน็ ระบบ เป็นหมวดหมู่และ ม.ค.48 ฐานข้อมูล นำไปใช้ได้จริง -ก ร ะ ด า ษ -50,000 -อ ธิ บ ดี ….. จดั ทำฐานข้อมลู เป็น ………….. ความรู้ด้าน อ ย่ า ง น้ อ ย 1 A4, บาท กรม, KM Knowledge Base การรักษ า รายการ คอมพิวเตอร์ Team -………………. สภาพแวด , พริ้นเตอร์ -………….. -……… ล้ อ ม ที่ -………… นำไปใชไ้ ด้ 4 การประมวลและ ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… …… กลั่นกรองความรู้ ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… ….. 5 การเขา้ ถงึ ความรู้ ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… …… ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… ….. 6 ก า ร แ บ่ ง ปั น จำ น ว น หั ว ข้ อ -ก ร ะ ด า ษ -30,000 -อ ธิ บ ดี ….. แลกเปลีย่ นความรู้ -จั ด ท ำ กิ จ ก ร ร ม 1-15 ม.ี ค48 มีกิจกรรม CoP ด้ า น ก า ร A4, บาท กรม, KM Team COP, After ………….. CoP หัวข้อ รั ก ษ า คอมพิวเตอร์ Action Review การรักษ า สภาพแวดล้อม , พร้ินเตอร์ -………….. -……… -………………… สภาพแวด อ ย่ า ง น้ อ ย 5 -หอ้ งประชุม. ลอ้ ม หัวข้อ 7 การเรียนรู้ ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… …… ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… ….. ผู้ทบทวน/อนุมตั ิ : นายกรม นวัตกรรม (CKO / ผบู้ รหิ ารระดบั สูงสุด)

คู่มอื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบัติ หนา้ 44 แบบฟอร์ม 12 – แผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการบรหิ ารจัดการการเปลีย่ นแปลง (Change Management Process) ช่ือหนว่ นงาน : กรมนวัตกรรม เปา้ หมาย KM (Desired State) : องคก์ รสามารถจดั การความรูด้ า้ นการรักษาสภาพแวดลอ้ มของแหลง่ น้ำทีอ่ ยูภ่ ายใตก้ ารควบคมุ ดแู ลใหไ้ ด้ ตามกฎหมายหรอื ได้มาตรฐานทสี่ งู กวา่ หนว่ ยทีว่ ดั ผลได้เปน็ รูปธรรม : ข้าราชการในสังกดั ไดน้ ำความรไู้ ปใชค้ วบคมุ ไดจ้ รงิ อยา่ งน้อย 1 แหลง่ นำ้ ภายในปี 2549 ลำดับ กิจกรรม วิ ธี ก า ร สู่ ระยะเวลา ตวั ชวี้ ัด เปา้ หมาย เครื่องมือ/ งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ สถานะ ความสำเรจ็ อุปกรณ์ 1 การเตรยี มการและ -สง่ เสรมิ ให้พนักงาน 15 ธ .ค .48 พนักงาน จ ำ น ว น -ก ร ะ ด า ษ -30,000 -อธิบดีกรม, ….. ป รั บ เ ป ลี่ ย น เหน็ ความสำคัญของ เปน็ ตน้ ไป ท ร า บ พนักงานที A4, บาท KM Team -…………. พฤตกิ รรม การจดั การความรู้ ………….. เป้าหมาย ท ร า บ คอมพิวเตอร์ -……………… KM ข อ ง เป้ า ห ม า ย , พร้ินเตอร์ -………….. องค์กร KM ข อ ง -………… องค์กรอย่าง น้ อ ย 50% ขององค์กร 2 การสอื่ สาร ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… …… ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… ….. 3 กระบวนการและ ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… …… เครือ่ งมอื ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… ….. 4 การเรียนรู้ ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… …… ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… ….. 5 การวดั ผล ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… …… ……………. ………. ……… ………. ………. ………. ……… ….. 6 การยกย่องชมเชย -การให้ของขวัญ/ 15 ธ .ค .48 พนักงาน จำน วน -ของขวัญ / -50,000 -อธิบดีกรม, ….. พ นั ก ง า น ท่ี ของรางวลั บาท และการให้รางวัล ของรางวลั เปน็ ต้นไป มี ค ว า ม เข้ า ใจ ก า ร -………… KM Team ………….. เ ข้ า ใ จ จั ด ก า ร -………….. -………………… ความรู้อย่าง -…………. น้ อ ย 50% ก าร ขององคก์ ร จั ด ก า ร ความรู้ ผ้ทู บทวน/อนมุ ัติ : นายกรม นวัตกรรม (CKO / ผ้บู ริหารระดับสูงสดุ )

ค่มู อื การจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏบิ ัติ หนา้ 45 แบบฟอร์ม 13 สรุปงบประมาณการดำเนินงานตามแผนการจดั การความรู้ ชื่อหน่วนงาน : กรมนวตั กรรม เปา้ หมาย KM (Desired State) : องคก์ รสามารถจดั การความรู้ด้านการรกั ษาสภาพแวดล้อมของแหลง่ น้ำทอ่ี ยภู่ ายใตก้ ารควบคุมดูแลให้ไดต้ าม กฎหมายหรอื ไดม้ าตรฐานท่ีสงู กว่า หน่วยท่ีวัดผลไดเ้ ปน็ รปู ธรรม : ขา้ ราชการในสงั กดั ได้นำความรไู้ ปใช้ควบคมุ ไดจ้ ริงอยา่ งน้อย 1 แหล่งน้ำ ภายในปี 2549 ลำดบั กิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ งบประมาณ ปี พ.ศ.2549 ปี พ.ศ. …… (บาท) 1 กระบวนการจดั การความรู้ (KM Process) 1.1 ……………… xx,xxxx 1.2 ………………. xx,xxxx … ……………… xx,xxxx 2 กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) 2.1 ……………… xx,xxxx 2.1 ………………. xx,xxxx …. ……………… xx,xxxx ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ : ………นายกรม นวัตกรรม ………. (CKO / ผู้บริหารระดับ สูงสุด)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook