Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ตำบลดอนคลัง อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ตำบลดอนคลัง อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี

Published by kl_1270040000, 2020-10-05 22:59:23

Description: ดอนคลัง พ.ย.

Search

Read the Text Version

1 ทาเนียบภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ประจาเดอื น พฤศจกิ ายน 2563 กศน.ตาบลดอนคลัง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอดาเนินสะดวก สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดราชบุรี สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

ก คานา ด้วย กศน.ตาบลดอนคลัง ได้ดาเนินการจัดทาภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้กับประชาชนในพื้นท่ี ตาบลดอนคลัง เพ่ือเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง สามารถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ท้ังจากการศึกษาด้วยตนเอง และได้รับการถ่ายทอดจากผู้อ่ืน การนาภูมิปัญญามาเผยแพร่เพื่อให้ ประชาชนในพ้ืนที่ได้นาไปใชแ้ ละเรียนรู้เพ่ือเพ่ิมอาชีพ และประสบการณ์ให้กับตนเองและครอบครัว ให้ มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเน่ืองและเก้ือกูลในการผลิตซ่ึงกันและกัน โดยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิด ประโยชน์และไม่มสี ารพิษ เชน่ ดนิ น้า แสงแดดอย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุล ของ สภาพแวดล้อมอย่างต่อเน่ือง และเกิดผลในการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติด้วย กศน.ตาบลดอนคลัง หวังวา่ เอกสารเล่มน้ีคงมีประโยชน์ต่อผอู้ า่ นและผ้ปู ฏบิ ตั ิงานตอ่ ไป กศน.ตาบลดอนคลัง พฤศจิกายน 2562

สารบญั ข คานา หน้า สารบัญ กศน.ตาบลดอนคลงั 1 5 - ภูมปิ ัญญา อดุ มการเ์ ดน้ : คณุ อดุ ม ฐติ วฒั นะสกุล 9 - ภมู ิปญั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง โอ๊บ โอ๊บ : คณุ สมขาย นวมดี 13 - ภูมิปญั ญา มะพร้าวนา้ หอม : คุณภานุวัฒน์ ชนู ติ ย์ คณะผ้จู ัดทา

1 แบบบันทึกชดุ ขอ้ มูลคลังปัญญา - ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ตาบลดอนคลัง อาเภอดาเนินสะดวก จงั หวดั ราชบุรี ชอื่ ภมู ปิ ญั ญา : อุดมการเ์ ด้น ชื่อ นายอดุ ม นามสกลุ ฐติ วฒั นะสกลุ วนั เดอื นปเี กิด : 18 สงิ หาคม พ.ศ. 2508 ทอี่ ยปู่ จั จุบนั (ท่ีสามารถตดิ ต่อได)้ : บา้ นเลขท่ี 179 หมู่ที่ 3 ตาบลดอนคลัง อาเภอ/เขต ดาเนินสะดวก จังหวัด ราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70130 โทรศัพท์ : 081 809 1900 Line ID : udom179 E-mail Address : - Facebook : Udom Titwattanasakul ความเปน็ มาของบุคคลคลงั ปัญญา แต่ก่อนคุณอุดมเป็นนักวิชาการเกษตรประจาอยู่ท่ีประเทศอินเดียจนกระทั่งช่วงวิกฤติค่าเงิน บาทลอยตัวจงึ ลาออกมาทาอาชีพส่วนตัวและคิดว่าตัวเองก็มีความรู้ด้านการเกษตรและพ้ืนเพ ทางบ้าน ก็ทาสวนกล้วยไม้อยู่ท่ีกรุงเทพเริ่มทามาต้ังแต่ปี 2500และนับได้ว่าเป็นสวนกล้วยไม้เชิงพาณิชย์แหล่ง แรกแรกของประเทศไทยหลังจากนั้นจึงตัดสินใจมาทางานด้านเกษตรกรรมโดยเริ่มจากพ้ืนที่ผืนเล็กๆที่ ทางบ้านซ้ือท้ิงเอาไว้แต่ไม่มีใครทาในอาเภอดาเนินสะดวก จากนั้นจึงเริ่มปลูกพืชใบ เมื่อต้นปี 2539 กอ่ นทีจ่ ะหนั มาทาไมใ้ บทส่ี วนกจ็ ะปลกู พืชผักผลไมต้ ามทเ่ี ขาปลูกกัน แต่ก็สูโ้ รคและแมลงไม่ไหวจึงได้เริ่ม มองหาไม้ประดับเข้ามาลองปลูกดูใน แปลงเล็กๆ ทาไปได้ซักระยะหนึ่งก็เริ่มมีตลาดและขยายพ้ืนที่ ออกไปเรอ่ื ยๆ จนในปัจจบุ นั มีทงั้ หมด 60 ไร่ จดุ เด่นของภูมิปัญญาท้องถิน่ - ผู้ผลติ และจาหนา่ ยพชื ใบไม้เพื่อการประดับ ที่ใหญท่ สี่ ุดในจังหวัดราชบุรี - การปลูกพืชใบไมเ้ พ่ือการประดับ โดยการพัฒนาพนั ธุ์พร้อมการขยายพันธด์ุ ว้ ยวธิ ที ่ี หลากหลาย ทัง้ มกี ารบรหิ ารจัดการพ้นื ที่อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ วตั ถุดิบทใี่ ชป้ ระโยชนใ์ นผลติ ภัณฑ์ท่เี กิดจากภมู ปิ ญั ญา ซึ่งพืน้ ทอี่ นื่ ไม่มี - การนาวัสดุและอปุ กรณ์ที่เหลือใช้มาประยุกต์ใช้ภายในสวน เช่น การเอาน้าเศษกากมะพร้าว หัวท้ายท่ีแข็งๆ เอามาใช้ปลูกต้นไม้ บางส่วนก็นามาเผาเป็นถ่านแล้วนามาปลูกกล้วยไม้ เนื่องจากกาก มะพรา้ วนนั้ ไม่ถกู ย่อยสลายโดยจลุ ินทรีย์ซาแรน ท่ีเหลือจากสวนกล้วยไม้ก็นามาใช้พันไว้กับเสาบ้าง ทา แปลงปลูกต้นไม้บ้าง จุดน้ีจึงทาให้ผู้ซ้ือในต่างประเทศเห็นความสาคัญในการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและ นาส่งิ ของเหลอื ใชม้ าทาใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้

2 รายละเอยี ดของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในการจัดสวนจะต้องเริ่มจากการจัดการขั้นพ้ืนฐานของงานเกษตรก่อน ซ่ึงคนทาสวนท่ัวไปจะ ไม่คานึงถึงความสาคัญตรงจุดน้ี เช่น การจัดระบบน้า ที่สวนจะขุดบ่อน้าข้ึนมาใช้ในฤดูแล้งถึงแม้ว่าใน อาเภอจะมีน้าค่อนข้างดี แต่ก็ไม่ประมาท ในบ่อจะเลี้ยงปลากินพืชสาหรับเป็นตัววัดคุณภาพน้า เนือ่ งจากปลากนิ พืชค่อนขา้ งจะไวตอ่ ค่าบีโอดี หากในนา้ มีปริมาณออกซิเจนน้อยปลาจะลอยตัวข้ึนมาให้ เราเห็น ชายตลิ่งก็จะปลูกพืชยึดดิน เช่น ลิ้นมังกร เนื่องจากเป็นพืชที่ไม่เป็นที่ซ่อนของสัตว์เลื้อยคลาน ชายตลิ่งอีกข้างก็จะปลูกมะพร้าวเป็นพ้ืนฐานทางการเกษตรโดยใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ สรา้ งคันกน้ั น้า ปลกู ผลไม้สาหรบั นามาคา้ ขายและปลูกไม้ยืนต้นสูงๆ เพ่ือเป็นแนวปอองกันลม พวกนี้เป็น ความรู้พ้ืนฐานทางเกษตรที่ทุกคนรู้แต่ว่าละเลย ทาให้ท่ีสวนไม่มีปัญหาในขณะท่ีส่วนอื่นมีปัญหาเร่ือง การปลูกพืชตามทศิ ทางความต้องการของตลาด รายละเอยี ดเพ่มิ เติม (สามารถข้อมูล ลิงค์วีดีโอ หรือเว็บไซตท์ ่ีเกย่ี วข้อง) - https://udomgarden.com/4 - Face book สวนอุดมการ์เดน้ @ อาเภอเนนิ สะดวก ราชบุรี - https://kasetthaivariety.com/short-training-thai-indonesia รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน)  ยงั ไม่เคยมกี ารเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน  มีการเผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนและสื่ออื่นอย่างแพรห่ ลาย  มีการดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน มากกวา่ 10 คร้ัง ไม่ต่ากว่า 100 คน  มกี ารนาไปใช้  อ่ืนๆ (ระบุ) ลักษณะของภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น การพัฒนาต่อยอดภูมปิ ญั ญาให้เปน็ นวัตกรรม คุณคา่ (มลู ค่า) และ ความภาคภูมใิ จ  ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น/นวตั กรรมที่คดิ คน้ ขนึ้ มาใหม่  ภูมิปัญญาท้องถิน่ ดัง่ เดิมไดร้ ับการยกย่องถ่ายทอดมาจาก  ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ท่ีได้พัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ คอื การปลูกพืชใบไมเ้ พื่อการประดบั การพัฒนาต่อยอดคือ การสร้างความพร้อมจะเช่ือมโยงความรู้ ประสบการณ์ แนวความคิด และระบบการปฏิบัติ เพื่อการขยายโอกาสไปสู่เส้นทางแขนงสาขาวิชาชีพเกษตรให้ ต่อเชือ่ มกับการพฒั นาอยา่ งยั่งยนื

3 รปู ภาพเจ้าของภูมปิ ัญญา นายอุดม ฐติ วัฒนะสกุล (เจ้าของภูมปิ ัญญาอดุ มการเ์ ด้น)

4 รปู ภาพภมู ิปัญญา การปลกู พืชไมใ้ บ คุณอดุ ม ฐิตวัฒนะสกลุ (เป็นวิทยากรให้กบั กศน.) สวนอดุ มการ์เดน้

5 แบบบันทึกชดุ ข้อมูลคลงั ปญั ญา - ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ตาบลดอนคลงั อาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ชอ่ื ภมู ปิ ญั ญา : เศรษฐกิจพอเพียง โอ๊บ โอบ๊ ชือ่ นายสมชาย นามสกลุ นวมดี วนั เดอื นปเี กิด : 15 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2513 ท่อี ยูป่ ัจจุบนั (ที่สามารถติดตอ่ ได้) : บ้านเลขท่ี 46 หมทู่ ่ี 1 ตาบลดอนคลงั อาเภอ/เขต ดาเนินสะดวก จังหวดั ราชบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 70130 โทรศพั ท์ : 08 9065 5095 Line ID : 08 9065 5095 E-mail Address : - Facebook : - ความเปน็ มาของบคุ คลคลังปญั ญา นายสมชาย นวมดี มีความต้องการแบ่งปันความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความพอเพียง ตามรอย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซ่ึงทาให้ทุกคนท่ี เรียนรู้น้อมนาเอาไปใช้ในการดาเนนิ ชีวติ จดุ เด่นของภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ - การสร้างความพอเพียงให้กับชีวิตตนเอง และแบ่งปันความรู้ จะเป็นประโยชน์ กับ ประชาชนทกุ ทา่ น เนื่องจากปัจจบุ นั หลายคนประสบปัญหา หนี้สิน การพอเพียง จึงเป็นเร่ืองสาคัญ เป็นอยา่ งยง่ิ วัตถดุ บิ ทใี่ ช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑท์ ่ีเกดิ จากภูมปิ ัญญา ซึ่งพืน้ ทอี่ นื่ ไม่มี - การทาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างความหลากหลาย ในการสร้างอาหารการกิน ท่ีหลากหลาย จุดน้ีจึงทาให้ผู้ซ้ือในต่างประเทศเห็นความสาคัญในการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและนาสิ่งของเหลือใช้มา ทาใหเ้ กิดประโยชน์ได้ รายละเอียดของภมู ิปัญญาท้องถ่นิ - เป็นสถานท่ีฝึกอบรม และศึกษาดูงาน ให้กับประชาชนและหน่วยงานต่างๆ รวมถึงการนา สนิ คา้ OTOP ในชุมชนมาจาหน่ายเพอ่ื สร้างรายไดเ้ พม่ิ เติมใหค้ นในชุมชน

6 รปู แบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น)  ยังไมเ่ คยมกี ารเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน  มีการเผยแพรผ่ า่ นสื่อมวลชนและสอื่ อน่ื อย่างแพรห่ ลาย  มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน ....... ครงั้ จานวน ............ คน  มีการนาไปใช้  อืน่ ๆ (ระบุ) ลกั ษณะของภูมิปญั ญาท้องถ่ิน การพฒั นาต่อยอดภูมปิ ญั ญาใหเ้ ปน็ นวตั กรรม คุณค่า (มูลคา่ ) และ ความภาคภมู ิใจ  ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ /นวัตกรรมที่คดิ ค้นขนึ้ มาใหม่  ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ดั่งเดิมไดร้ ับการยกย่องถ่ายทอดมาจาก  ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นที่ไดพ้ ฒั นาและต่อยอด แบบเดมิ คือ การน้อมนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ การพัฒนาต่อยอดคอื การนามาปรบั เปลี่ยนใหเ้ ขา้ กับวสั ดุที่มีในครวั เรือน

7 รปู ภาพเจ้าของภูมปิ ัญญา นางสาวอรสา ย้ิมสงา่ (เจา้ ของภูมิปญั ญาปยุ๋ มลู ไส้เดือน)

8 รปู ภาพภมู ปิ ญั ญา การเพาะเห็ดในโรงเรอื น อบรมใหค้ วามรู้ในชมุ ชน การเผยแพร่ความรู้สชู่ มุ ชน

9 แบบบนั ทกึ ชดุ ข้อมูลคลงั ปัญญา - ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ตาบลดอนคลงั อาเภอดาเนนิ สะดวก จังหวัดราชบรุ ี ชือ่ ภมู ิปัญญา : มะพรา้ วนา้ หอม ชอื่ นายภาณวุ ัฒน์ นามสกุล ชูนิตย์ วันเดือนปเี กิด : 31 มีนาคม พ.ศ. 2524 ที่อยปู่ จั จุบัน (ที่สามารถตดิ ต่อได)้ : บา้ นเลขท่ี 43/2 หมู่ท่ี 2 ตาบลดอนคลงั อาเภอ/เขต ดาเนินสะดวก จังหวัด ราชบุรี รหสั ไปรษณีย์ 70130 โทรศพั ท์ : 093 364 1572 Line ID : 093 364 1572 E-mail Address : - Facebook : นายภาณุวัฒน์ นิตย์ ความเปน็ มาของบคุ คลคลังปัญญา นายภาณุวัฒน์ นิตย์ เป็นผู้ใหญ่บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 2 ตาบลดอนคลัง เน่ืองจากชาวบ้านส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพทาสวนมะพร้าว ผู้ใหญ่บ้านจึงหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนาผลผลิตให้ดีกว่าที่อ่ืน ขนั จงึ เรม่ิ จัดทาเกษตรแปลงใหญส่ าหรบั การปลูกมะพรา้ วน้าหอมของตาบลดอนคลงั จดุ เดน่ ของภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น - จากการพฒั นาปรับปรงุ มาเปน็ เวลามากกวา่ 10 ปี จึงไดร้ ับรางวลั การันตีแปลงเกษตรอินทรยี ์ และอีกหลายรางวลั ซ่งึ สามารถนาเป็นตวั อย่างในการศึกษาของประชาชนภายในตาบล โดยผสมผสาน ตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ วัตถดุ บิ ที่ใช้ประโยชนใ์ นผลิตภณั ฑ์ท่ีเกิดจากภมู ปิ ญั ญา ซ่ึงพ้นื ท่ีอน่ื ไม่มี - การใช้หลักการปลูกธรรมชาติ โดยให้ธรรมชาติเป็นส่ิงควบคุมตัวเอง และใช้ปุ๋ยท่ีได้จาก วัตถุดิบในทอ้ งถิ่น รายละเอียดของภูมิปัญญาท้องถ่นิ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ทีไ่ ดจ้ ากการเรียนรู้และการพฒั นาการเกษตรเก่ียวกับการปลูกมะพร้าวโดยใช้ กับดกั ด้วงมะพร้าว และใช้ชวี ภาพในการกาจดั แมลง ปุ๋ยชวี ภาพในการบารุงดิน

10 รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ )  ยงั ไม่เคยมีการเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบุคคล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน  มกี ารเผยแพร่ผา่ นส่ือมวลชนและสอื่ อื่นอยา่ งแพร่หลาย  มกี ารดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน มากกว่า 5 ครัง้ ไม่ต่ากว่า 50 คน  มีการนาไปใช้  อ่ืนๆ (ระบุ) ลักษณะของภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น การพฒั นาตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญาให้เปน็ นวตั กรรม คณุ คา่ (มูลค่า) และ ความภาคภมู ิใจ  ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน/นวัตกรรมทีค่ ิดค้นข้ึนมาใหม่  ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ดงั่ เดิมไดร้ ับการยกย่องถ่ายทอดมาจาก  ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ที่ไดพ้ ฒั นาและต่อยอด แบบเดมิ คือ - การพฒั นาต่อยอดคือ -

11 รปู ภาพเจ้าของภมู ปิ ัญญา นายภานวุ ฒั น์ ชูนิตย์ (เจ้าของภมู ปิ ัญญามะพรา้ วน้าหอม)

12 รูปภาพภมู ิปัญญา มกี ารเล้ยี งปลาในร่องนา้ มกี ารปลกู พชื ผสมผสาน เพ่อื ให้มลู ปลาเปน็ ปยุ๋ ใหต้ ้นมะพรา้ ว แปรงเรียนรู้เพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลติ

13 คณะผจู้ ัดทา ที่ปรึกษา นายทวสี ิทธ์ิ แซมเพชร ผู้อานวยการ กศน.อาเภอดาเนินสะดวก นางสาวจติ รา ถนั อาบ ครู นางเอื้องทิพย์ แสงรุ่งเรอื ง ครู นางอันชนั จนั ทร์พูล ครู ร่าง/เรียบเรยี งและจดั พิมพ์ ครู กศน.ตาบลดอนคลงั นางสาวชมพู มรธุ าวานิช


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook