Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore hasun

hasun

Published by hasun.kah, 2019-07-06 04:59:50

Description: hasun

Search

Read the Text Version

วิชาสงั คมศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 4 โดย..ครูฮาซนั กาฮา

พระราชดาริว่าด้วยเศรษฐกจิ พอเพยี ง • “...การพฒั นาประเทศจาเป็ นต้องทาตามลาดบั ขนั้ ต้องสร้างพืน้ ฐานคอื ความพอมี พอกิน พอใช้ของ ประชาชนสว่ นใหญ่เบือ้ งต้นก่อน โดยใช้วิธีการและ อปุ กรณ์ที่ประหยดั แตถ่ กู ต้องตามหลกั วชิ าการ เม่ือ ได้พืน้ ฐานความมนั่ คงพร้อมพอสมควร และปฏบิ ตั ิ ได้แล้ว จงึ คอ่ ยสร้างคอ่ ยเสริมความเจริญ และ ฐานะทางเศรษฐกิจขนั้ ที่สงู ขนึ ้ โดยลาดบั ตอ่ ไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)

เศรษฐกจิ พอเพยี ง • “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั พระราชทานพระราชดาริชีแ้ นะ แนวทาง การดาเนินชีวิตแกพ่ สกนิกรชาวไทยมาโดย ตลอดนานกวา่ ๒๕ ปี ตงั้ แตก่ ่อนเกิดวกิ ฤตการณ์ ทางเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลงั ได้ทรงเน้นยา้ แนว ทางการแก้ไขเพ่ือให้รอดพ้น และสามารถดารงอยไู่ ด้ อยา่ งมน่ั คงและยงั่ ยนื ภายใต้กระแสโลกาภวิ ตั น์และ ความ เปลยี่ นแปลงตา่ งๆ

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของ ประชาชนในทุกระดบั ต้งั แต่ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ท้งั ในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพ่อื ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวตั น์

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จึงประกอบด้วยคุณสมบตั ิ ดงั น้ี



๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ี่ไม่น้อยเกินไปและไมม่ ากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผ้อู ื่น เช่น การผลิตและการบริโภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ ๒. ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ระดบั ความพอเพียงนนั้ จะต้องเป็นไปอยา่ งมีเหตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจยั ท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจน คานงึ ถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดขนึ ้ จากการกระทานนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ ๓. ภมู คิ ้มุ กนั หมายถงึ การเตรียมตวั ให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลย่ี นแปลง ด้านตา่ งๆ ที่จะเกิดขนึ ้ โดยคานงึ ถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาด วา่ จะเกิดขนึ ้ ในอนาคต

• โดยมี เง่อื นไข ของการตดั สนิ ใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยใู่ นระดบั พอเพียง ๒ ประการ ดงั นี ้ ๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกบั วิชาการตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบท่จี ะ นาความรู้เหลา่ นนั้ มาพจิ ารณาให้เชื่อมโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏิบตั ิ ๒. เงื่อนไขคณุ ธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความซื่อสตั ย์สจุ ริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชีวิต

• ทฤษฎีใหม่ขัน้ ต้น ให้แบง่ พืน้ ที่ออกเป็น ๔ สว่ น ตามอตั ราสว่ น ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซง่ึ หมายถงึ พืน้ ทสี่ ว่ นท่ีหนงึ่ ประมาณ ๓๐% ให้ขดุ สระเก็บกกั นา้ เพือ่ ใช้เกบ็ กกั นา้ ฝนในฤดฝู น และใช้เสริมการปลกู พืช ในฤดแู ล้ง ตลอดจนการเลีย้ งสตั ว์และพืชนา้ ตา่ งๆ พืน้ ที่สว่ นท่ีสอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลกู ข้าวในฤดฝู นเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวนั สาหรับครอบครัวให้ เพยี งพอตลอด ปี เพอ่ื ตดั คา่ ใช้จ่ายและสามารถพงึ่ ตนเองได้ พืน้ ทส่ี ว่ นทีส่ าม ประมาณ ๓๐% ให้ปลกู ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผกั พืชไร่ พืชสมนุ ไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหาร ประจาวนั หากเหลอื บริโภคก็นาไปจาหนา่ ย พืน้ ทส่ี ว่ นที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยอู่ าศยั เลยี ้ งสตั ว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอ่ืนๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook