Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันลอยกระทง 1

วันลอยกระทง 1

Published by กศน.ตำบลบางใหญ่, 2021-11-16 03:17:49

Description: วันลอยกระทง 1

Search

Read the Text Version

ประวัติวันลอยกระทง ตำนำนเลำ่ เรื่อง ประเพณีลอยกระทงนั้นมีมาแต่โบราณ โดยมีคติความเช่ือหลายอย่าง เช่น เช่ือว่าเป็นการ บูชาและขอขมา แม่พระคงคา เป็นการสะเดาะเคราะห์ เป็นการบูชาพระเจ้าในศาสนา พราหมณ์ หรือเป็นการบูชารอยพระพุทธบาท เป็นต้น การลอยกระทงนิยมทากันในวัน เพ็ญ เดือน 12 ของทุก ๆ ปี อันเป็นช่วงที่น้าในแม่น้าลาคลองข้ึนสูงและอากาศเริ่มเย็นลง ตาม พระราชนิพนธ์พระราชพิธีสิบสองเดือน และตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ได้กล่าวว่า นางนพมาศ หรือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ พระสนมเอกในพระร่วงเจ้าแห่งกรุงสุโขทัย เป็นผู้ริเริ่มประดิษฐ์กระทงสาหรับ ลอยประทีป เป็นรปู ดอกบวั บานขึ้น ซ่งึ คนท่วั ไปนิยมทาตามสืบต่อมา นอกจากน้นั ในศลิ าจารึกหลัก ที่ 1 ยังได้กล่าวถึงงานเผาเทียน เล่นไฟ ของกรุงสุโขทัยไว้ด้วยว่า เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ท่ีสุดของกรุง สุโขทัย ทาให้ผู้รู้ท้ังหลายสันนิษฐานต้องตรงกันว่า งานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่าง แน่นอน จุดเดน่ ของพธิ ีกรรม การลอยกระทงเป็นนักขัตฤกษ์ร่ืนเริงของคนทั่วไป เม่ือเป็นพิธีหลวง เรียก \" พระราชพิธี จองเปรียง ลดชุดลอยโคมส่งน้า\" ต่อมาเรียก \"ลอยพระประทีป\" พิธีนี้มีมาต้ังแต่สมัยสุโขทัย ดัง ปรากฏหลักฐานอยู่ใน หนังสือตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ และได้กระทาต่อมาในสมัยกรุงศรี อยุธยาตลอดจนถึงสมัยกร งรัตนโกสนิ ทร์ พิธลี อยกระทงเดมิ ทากันในวนั เพญ็ เดือน11 และวันเพ็ญ เดือน12 ปัจจุบันพิธีลอยกระทงเฉพาะวันเพ็ญเดือน12 พิธีลอยกระทง สันนิษฐานว่าได้มาจาก อินเดีย ตามลกั ธิพราหมณ์เชื่อว่า ลอยกระทงเพ่ือบชู าแม่น้าคงคง อันศักคส์ ิทธ์ิของอนิ เดีย และลอย เพื่อบูชาพระผู้เป็นเจ้า คือ พระนารายณ์ ซึ่งบรรทมสินธุ์อยู่กลางเกษียรสมุทร อีกประการ หนึ่ง ศาสนาพุทธเชื่อว่าการลอยกระทงเป็นการทาพิธีเพื่อต้อน รับพระพุทธเจ้าในวันเสด็จจากเท วโลกสู่โลกมนุษย์ ภายหลังจากทรงเทศนาโปรด พุทธมารดาบนสวรรค์ชน้ั ดาวดงึ ส์ บ้างกเ็ ชื่อวา่ เพ่ือ บูชา พระบรมสารีริกธาตุ ท่ีบรรจุไว้ในพระจุฬามณี พระเจดีย์บนสวรรค์ บางก็ว่าเพื่อบูชารอยพระ พุทธบาทท่ีทรงประทับไว้ ณ หาดทราย ริมฝั่งแม่น้านัมมหานทีในแคว้นทักขิณาบถ ของประเทศ อินเดีย (ปัจจุบันเรียกว่าแม่น้าเนรพุททา) บางท่านก็ว่า ลอยกระทงเพื่อขอบคุณพระแม่คงคาท่ีให้ เราได้อาศัยน้ากินน้าใช้ และขออภัยพระแม่คงคา ท่ีท้ิงส่ิงปฏิกูลต่าง ๆ ลงในน้า เมื่อถึงวัน เพ็ญ เดือน 12 ประชาชนจะจัดทากระทงเป็นรูปต่าง ๆด้วยใบตอง หรือกาบใบต้นพลับพลึง หรือ วัสดุอ่ืน ๆ ประดับตกแต่งกระทงให้สวยงามด้วยดอกไม้สดในกระทงจะปักธูปเทียน บางทีก็ใส่ สตางค์ หรือหมากพลูลงไปด้วยสมัยก่อนในพิธีลอยกระทงมีการเล่น สักวาเล่นเพลงเรือและมี แสดง มหรสพประกอบงานมีการประกวด นางนพมาศ ประกวด กระทงและร่วมกันลอย กระทง โดยจุดธูปเทียน กล่าวอธิษฐานตามที่ใจปรารถนาและปล่อยกระทงให้ลอยไปตา แม่น้า จุดมุ่งหมายของการลอยกระทง ตามความเชื่อของพุทธศาสนิกชนชาวไทยตั้งแต่ครั้งโบราณ สรุป ได้ 3 ประการ คอื

๑. เชื่อว่าเป็นการบชู าสมเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ วิธหี น ่ึึงโดยใช้นา้ ท่ีไหลไปเป็นพาหนะนา กระทง ดอกไม้ธูปเทียนไปสักการะพระองค์ท่านโดยจินตนาการประก อบกับเป็นช่วงฤดูน้าหลาก พระจนั ทร์ เต็มดวงในคนื วันเพญ็ เปน็ บรรยากาศที่ทาใหค้ นในสมัยก่อ นซง่ึ ยึดมนั่ ในพระพุทธศาสนา อย่างแน่นแฟ้น เกิดความสุขสงบเป็นพิเศษจึงได้จัดพิธีบูชาพระพุทธคุณ ด้วยกระทงดอกไม้ธูป เทียนพรอ้ มกับงานรืน่ เริงอื่น ๆ ๒. เช่ือว่าเป็นการลอยความทุกข์โศกของตนที่มีอยู่ให้อ อกไปจากตัวกับสายน้าท่ีไหลไปนั้น พรอ้ ม กับตั้งจติ อธษิ ฐานขอพรกับสง่ิ ศักดสิ์ ิทธ์ิให้ตนและคร อบครัวได้รบั แตส่ ่งิ ท่ดี ี ๓. เช่ือว่าเป็นการขอขมาต่อน้าโดยเฉพาะแม่น้าลาคลองซึ ง่ึมีคุณอย่างอเนกอนันต์ต่อคน สมัยก่อน ท้ังเร่ืองใชอ้ าบชะล้างสงิ่ ต่างๆประจาวันรวมทั้งการเ พาะปลูกการคมนาคมถือว่าเปน็ การ กระทาล่วง เกนิ ให้นา้ สกปรกจงึ ได้ทาพธิ ขี อขมาอยา่ งเปน็ พิธีการอย ึ่างนอ้ ยปลี ะครงั้ ควำมหมำย ลอยกระทง หมายถึง ประเพณีบชู ารอยพระพุทธบาท แสดงความ สานึกบุญคณุ ของแหล่ง น้าอันมีความสาคัญต่อการดารงชีวิ ตและเป็นการ การบูชาพระแม่คงคาเทวีตามความเชื่อแต่ โบราณด้วยกระทง ดอกไมธ้ ูป เทียน ประกอบกบั ส่งิ ประดิษฐ์จากธรรมชาตทิ ่ลี อยน้าได้ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีลอยกระทงึนับว่าเป็นประเพณีที่มีคุณค่าต่อ ครอบครัวชุมชน สังคม และ ศาสนา กลา่ วคอื ๑. คุณค่าต่อครอบครัว ทาให้สมาชิกในครอบครวั ได้ทา กิจกรรมร่วมกัน เช่น การประดิษฐ์ กระทง แล้วนาไปลอยน้า เพ่ือแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อน้าท่ีให้คุณประโยชน์แก่เรา บางท้องถิ่น จะลอยเพอื่ เป็นการแสดงความระลึกถึงบรรพบรุ ุษอกี ด้วย ๒. คุณค่าต่อชุมชน ทาให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี ในชุมชนเช่น ร่วมกันคิดประดิษฐ์ กระทงเป็นการส่งเสริมแล ะ สืบทอดศิลปกรรมด้านช่างฝีมืออีกด้วย ทั้งยังเป็นการ พบปะ สงั สรรค์ สนุกสนานร่ืนเรงิ บนั เทงิ ใจรว่ มกัน ๓. คุณค่าต่อสังคม ทาให้มีความเอ้ืออาทรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการช่วยกันรักษาความ สะอาดแม่น้า ลาคลอง โดยการขุดลอก เก็บขยะในแม่น้าลาคลองให้สะอาด และไม่ท้ิงส่ิงปฏิกูลลง ไป ในแมน่ ้าลาคลองอีกด้วย ๔. คุณค่าต่อศาสนา ชว่ ยกนั รักษาทานุบารุงศาสนา เช่น ทางภาคเหนอื ลอยกระทงเพอื่ เปน็ การบชู ารอยพระพุทธบาทของ พระพุทธเจ้า และยงั จดั ให้มีการทาบุญให้ทาน การปฏิบตั ิ ธรรม และฟังเทศน์ดว้ ย กิจกรรมทปี่ ฏบิ ตั กิ ันอยูใ่ นปจั จบุ นั ๑. การทาความสะอาดแม่นา้ ลาคลอง เชน่ ขุด ลอก คูคลอง ๒. การทาบญุ ใหท้ าน การปฏบิ ตั ิธรรม การฟังเทศน์ 3. การประดษิ ฐก์ ระทงใหญ่ กระทงเลก็

4. การจดั กิจกรรมการประกวดต่าง ๆ เช่น การประกวดกระทง นางนพมาศึเปน็ ตน้ 5. การจัดขบวนแหก่ ระทง การนากระทงไปลอยในแมน่ า้ 6. การปล่อยโคมลอย 7. การจุดดอกไมไ้ ฟ ประทัด หรือพลุ เพอื่ เปน็ การ เฉลิมฉลอง 8. การละเลน่ ร่ืนเริง ตามทอ้ งถิน่ น้ัน ๆ กิจกรรมที่เบีย่ งเบนไป ๑. การจุดดอกไมไ้ ฟ ประทดั หรอื พลุ เด็กและ วัยรนุ่ จุดเล่นกันอย่างคึกคะนองไม่เปน็ ท่ีเป็น ทาง ไมร่ ะมดั ระวัง จดุ เล่นตามถนนหนทาง โดยเฉพาะโดยไม่คานึงถึงอันตรายทจ่ี ะเกิดแกผ่ ้คู น และ ยวดยานท่สี ัญจรไปมาและอาจเปน็ สาเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ บ้านเรือนได้ ๒. การประกวดนางนพมาศ ให้ความสาคัญมากเกินไป ถือเป็นกิจกรรมหลักของ ประเพณี ซึ่งแท้ท่ีจริงแล้วไม่ใช่แก่นแท้ ของประเพณีเลย เป็นเพียงกิจกรรมที่เสริมข้ึนมาภายหลัง เพ่อื ให้ เกิดความสนกุ สนานและเปน็ สิง่ ดงึ ดดู นักท่องเทยี่ ว ๓. การประดิษฐ์กระทง สมัยก่อนใช้วัสดุพื้นบ้านหรือ ตามธรรมชาติ เช่น ทาจาก ใบตอง หยวกกล้วย ซ่ึงเป็นวัสดุที่ ย่อยสลายง่าย แต่ปัจจุบันกลับนิยมใช้วัสดุโฟม ซึ่งย่อยสลาย ยาก ทาใหแ้ ม่นา้ ลาคลอง สกปรก เนา่ เหมน็ เกิดมลภาวะเปน็ พิษ คำถวำยกระทงสำหรับลอยประทีป มะยงั อมิ นิ า ปะทีเปนะ นัมมะทายะ นะทิยา ปเุ ลเนฐติ ัง มุนิโน ปาทะวะลญั ชัง อะภปิ ูเชมะ อะยัง ปะทีเปนะ มุนิโน ปาทะวะลัญชัสสะ บูชา อัมหากัง ทฆี ะรตั ตัง หิตายะ สุขายะ สงั ฆวตั ตะตุ ประเพณลี อยกระทงในแต่ละทอ้ งถิ่น

จังหวัดเชียงใหม่ มีประเพณี “ย่ีเป็ง” เชียงใหม่ ในทุกึๆึปีึจะมีการจัดงานข้ึนอย่าง ยงิ่ ใหญต่ ระการตา และมีการปลอ่ ยโคมลอยขึ้นเต็มทอ้ งฟ้า จังหวัดตำก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสาย เรียกว่า “กระทงสาย” จงั หวดั สุโขทยั ขบวนแห่โคมชกั โคมแขวน การเลน่ พลตุ ะไล ไฟพะเนยี ง

จังหวัดร้อยเอ็ด มีช่ืองานประเพณีว่า “สมมาน้าคืนนพ็ง พสงประทีป” ตามภาษาถิ่นมีความ หมายถึง การขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง การประกวดประทีปโคมไฟและ กระทงอันสวยงาม มีการจาลองแหห่ ัวเมืองสาเกตนุ ครทั้ง 11 หัวเมือง จังหวัดสกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทา ปราสาทผึง้ โบราณ เรยี กงานนวี้ ่าเทศกาลลอยพระประทปี พระราชทาน สบิ สองเพ็งไทสกล

จังหวัดนครพนม จะตกแต่งเรือแล้วประดับไฟ เป็นรูปต่างๆ เรียกว่า “ไหลพรนอไฟ” โดย เฉพาะทจี่ งั หวัดนครพนมเพราะมีความงดงามและอลังการทีส่ ุดในภาคอสี าน กรงุ เทพมหานคร จะมงี านภูเขาทอง เปน็ รูปแบบงานวัด เฉลมิ ฉลองราว 7-10 วัน ก่อน งานลอยกระทง และจบลงในช่วงหลงั วันลอยกระทง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยำ มีการจดั งานประเพณีลอยกระทงกรงุ เก่าขนึ้ อยา่ งยงิ่ ใหญ่ บรเิ วณอทุ ยานประวัติศาสตร์พระนครศรอี ยุธยา ภายในงานมีการจดั แสดงแสง สี เสยี ง อย่าง งดงามตระการตา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook