Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2. ใบความรู้ กรต. มปลาย 263

2. ใบความรู้ กรต. มปลาย 263

Description: 2. ใบความรู้ กรต. มปลาย 263

Search

Read the Text Version

~1 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ภัยแล้ง ภยั แล้ง หมายถงึ การขาดแคลนน้าในพืน้ ท่เี ป็นระยะเวลานาน เช่น ปริมาณนา้ ฝนที่ตกน้อยลง หรอื การท้ิงชว่ ง เปน็ ระยะเวลานาน และส่งผลให้เกดิ ความเดอื ดร้อน ภัยแล้ง เกดิ จากสภาพภูมอิ ากาศท่แี ปรปรวนไปจากในอดีต มีสาเหตมุ าจากกิจกรรมของมนษุ ย์ เช่น การพัฒนา อุตสาหกรรม การบกุ รุกทา้ ลายป่า การเผาผลาญเชือ้ เพลงิ จากฟอสซิล ถา่ นหิน และพลาสติก ซ่ึงปจั จยั เหล่าน้ี ส่งผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ที่มีความสัมพันธ์กับสภาวะอากาศ อณุ หภูมิ และความช้ืนที่ สงู ข้ึน รวมท้ังการพดั พาของลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ และความผิดปกติของร่องลมมรสมุ ท่ที า้ ใหเ้ กิดภาวะฝน ทง้ิ ชว่ ง เชน่ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย ท่ลี มมรสุมตะวันตกเฉียงใตม้ ักพดั พาเขา้ ไม่ถงึ ท้าใหป้ รมิ าณน้าฝนลดลงและเกดิ การท้ิงชว่ งของฝนในพ้นื ท่ี จงึ ทา้ ให้เกิดปัญหาภัยแลง้ ในพน้ื ที่เปน็ ประจ้าทุกปี ปจั จยั เสยี่ ง โดยปกตแิ ล้วจากเงื่อนไขทางลกั ษณะทางภูมิอากาศ ภมู ิประเทศ และอิทธพิ ลจากลมมรสุมท่พี ดั ผ่าน ซึ่งมกั ส่งผลใหป้ ระเทศไทยมักประสบปญั หาภยั แล้งใน 2 ชว่ งเวลา ได้แก่ ช่วงกลางเดือนตลุ าคมเปน็ ต้นไป โดยภมู ภิ าคทไี่ ด้รบั ผลกระทบ ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวันออก โดยปรมิ าณน้าฝนจะลดระดับลงจนถงึ ขนั้ ของการท้งิ ชว่ งของฝน และจะกลับมา ตกอีกครง้ั ในชว่ งกลางเดือนพฤษภาคมเปน็ ตน้ ไป การเกดิ ในลักษณะดงั กลา่ วมักเกิดขึ้นเปน็ ประจา้ ในทุกปี โดยเฉพาะพ้ืนที่ตอนบนของประเทศ ช่วงปลายเดือนมถิ นุ ายน – กรกฎาคม ซ่ึงอยู่ในชว่ งของกลางฤดูฝนที่ในบางพ้นื ท่ีอาจเกิดภาวะฝนทง้ิ ชว่ ง และ อาจสง่ ผลใหเ้ กิดภาวะภยั แล้งได้ ลักษณะดังกลา่ วนี้อาจเกดิ ข้ึนในบางพืน้ ท่ี หรอื อาจขยายวงกว้างในหลายพืน้ ที่ ขึ้นอยูก่ ับหลายปัจจยั ประกอบกัน ภยั แล้งนับเป็นภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติท่ไี มส่ ่งผลกระทบในแบบทีแ่ ผ่กระจายเปน็ วงกว้าง เหมอื นกับการ เกดิ อุทกภยั จึงทา้ ใหผ้ ู้คนคิดว่าภัยแล้งเปน็ ภัยท่ีไกลตวั และแทบไมไ่ ด้ให้ความสนใจ โดยเฉพาะในสังคมเมือง ท่ี แมว้ า่ พืน้ ทโี่ ดยรอบจะประสบปญั หาภัยแลง้ รนุ แรง แตค่ นในเขตเมืองก็ยังคงมีน้ากินน้าใช้ทีเ่ พียงพอเสมอ แต่ ทว่าสงั คมไทยนั้นเป็นสงั คมท่ีมีภาคเกษตรกรรมเป็นพน้ื ฐานทางเศรษฐกิจ ดังนน้ั นา้ จึงถือเปน็ ปจั จยั ส้าคัญทใ่ี ช้ สา้ หรับหลอ่ เลี้ยงวิถีชีวิตของเกษตรกรท่ีเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ ซึง่ หากเกดิ ภัยแลง้ รุนแรง ผลผลิตทาง การเกษตรได้รบั ความเสยี หายเป็นวงกวา้ ง ซ่ึงน่ันหมายความวา่ ความเสยี หายจะรุนแรงและขยายวงกวา้ งมาก ขึ้นตามไปดว้ ย ผลกระทบจากปญั หาภยั แล้ง จาแนกได้ 6 ประการ คือ

~2 1. ผลผลิตทางการเกษตรได้รับความเสยี หาย และไม่เพียงพอต่อความต้องการของผูบ้ ริโภค ทา้ ให้สินคา้ ขาด แคลนและมรี าคาท่ีเพิ่มสูงขึ้น ซึง่ สง่ ผลและมคี วามสมั พนั ธก์ ับปญั หาความอดอยาก ความม่ันคงทางอาหาร สขุ ภาวะ และการเข้าถงึ ปจั จัยพ้ืนฐานของประชาชนผมู้ รี ายได้น้อย 2. การขาดแคลนน้าส้าหรับการอปุ โภค บรโิ ภค และระบบอุตสาหกรรม เพราะในระบบอตุ สาหกรรมหลาย ชนดิ อาศยั น้าเป็นพลงั งานและช่วยในการขบั เคลื่อนกระบวนการผลติ ซึง่ ปัญหาดังกล่าวยอ่ มสง่ ผลตอ่ ความ เสียหายทางเศรษฐกิจและระบบการจา้ งงานของพนักงานในพ้ืนที่ 3. ผลผลิตทางปศสุ ตั วแ์ ละการประมงได้รบั ความเสยี หาย จากสาเหตุของการขาดแคลนน้าในการเลย้ี งสตั ว์ซ่ึง ส่งผลต่อสุขภาพของสัตว์เล้ียง เกดิ โรคระบาด และผลผลิตทางปศุสตั วแ์ ละประมงไม่ไดค้ ุณภาพ 4. การเปลย่ี นแปลงโครงสร้างทางเคมขี องดนิ จากสภาพความแห้งแลง้ ของผวิ ดิน และการระเหยของน้าใต้ดนิ ท้าให้พ้ืนทีท่ างการเกษตรกลายสภาพเป็นดนิ เคม็ ท่ีไม่สามารถท้าการเกษตรได้ หรือไดผ้ ลผลิตต่้า ไม่คุ้มคา่ 5. ปญั หาด้านสิ่งแวดล้อม เพราะการเกดิ ภยั แลง้ ในหลายพื้นทมี่ ักเปน็ ตัวเร่งในการเกิดไฟปา่ ทีย่ ากต่อการ ควบคุม ส่งผลให้เกิดปญั หาหมอกควนั การคมนาคม การด้าเนินชีวิต ตลอดจนเป็นปัจจัยเรง่ ให้เกิดการ เปล่ยี นแปลงทางสภาพภมู ิอากาศ และภยั พิบัติที่ทวีความรุนแรงและมีแนวโน้มท่จี ะเกิดถี่มากย่ิงขึน้ 6. การสูญเสียงบประมาณของภาครฐั ส้าหรบั การเยียวยา และการแกป้ ัญหา ซึ่งมแี นวโน้มทจ่ี ะเกิดขนึ้ อยา่ ง ต่อเนื่อง และทวีความรุนแรงมากขนึ้ ในทุกปี การเตรยี มตัวรบั มอื จากการคาดการณ์และสถติ ิการเกิดปญั หาภยั แล้งของประเทศไทย สามารถจา้ แนกการเตรียมรับมือและการ แก้ปัญหาทีเ่ กิดขึ้นออกเปน็ 3 รปู แบบ ได้แก่ 1. การเตรยี มรับมือปอ้ งกนั โดยอาศัยระบบโครงสรา้ งพื้นฐานเป็นเครื่องมอื เช่น การสรา้ งฝายชะลอน้า พ้นื ท่ี กกั เก็บนา้ ระบบระบายนา้ ท่ีมีคุณภาพ 2. การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า ไดแ้ ก่ การเตรยี มการเพ่ือชว่ ยเหลอื บรรเทาทุกข์แกป่ ระชาชนผู้ได้รับ ผลกระทบจากภาวะภยั แล้ง เชน่ การแจกจา่ ยนา้ ดม่ื การขุดเจาะน้าบาดา การท้าฝนเทียม 3. การเตรยี มรบั มือและแก้ปัญหาในระยะยาว เปน็ การแก้ปญั หาภายใต้แนวคดิ ของการพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน เพ่ือ การสร้างสมดุลทางธรรมชาติทเ่ี หมาะสมเชน่ การปลกู ป่า การรักษาสมดุลธรรมชาติ การลดใช้พลังงาน เชอ้ื เพลิงทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ ปรากฏการณภ์ าวะเรอื นกระจกและการเปล่ียนแปลงของภมู อิ ากาศ

~3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 วาตภัย 1. วาตภยั คอื อะไร วาตภัยหมายถงึ ภัยทเ่ี กดิ ข้นึ จากพายุลมแรง จนทา้ ให้เกิดความเสียหายแกอ่ าคารบ้านเรือน ต้นไม้ และ สงิ่ กอ่ สร้าง ส้าหรับในประเทศไทยวาตภัยหรือพายุลมแรง สาเหตมุ าจากปรากฎการณท์ างธรรรมชาติ คือ 1. พายหุ มนุ เขตร้อน ได้แก่ ดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน พายใุ ต้ฝุน่ 2. พายุฤดรู ้อน สว่ นมากจะเกิดระหว่างเดอื นมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดถใ่ี นภาคเหนอื และภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือ สว่ นภาคกลางและภาคตะวนั ออก จะมีการเกิดน้อยครั้งกวา่ สา้ หรับภาคใตก้ ็สามารถ เกดิ ได้แตไ่ ม่บ่อยนัก โดยพายุฤดรู ้อนจะเกิดใน ช่วงท่ีมลี กั ษณะอากาศร้อนอบอา้ วตดิ ตอ่ กันหลายวัน แล้วมี กระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพดั มาปะทะกนั ท้าใหเ้ กดิ ฝนฟ้าคะนองมพี ายุลมแรง และอาจมีลกู เหบ็ ตกได้จะทา้ ความเสยี หายในบริเวณท่ีไม่กวา้ งนัก ประมาณ 20-30 ตารางกิโลเมตร 3. ลมงวง (เทอรน์ าโด) เป็นพายุหมุนรนุ แรงขนาดเล็กท่ีเกิดจากการหมนุ เวยี น ของลมภายใต้เมฆก่อตวั ในทางตง้ั หรือเมฆพายฝุ นฟา้ คะนอง (เมฆคิวมูโลนิมบสั ) ท่ีมฐี านเมฆต้่า กระแสลมวนท่ีมีความเรว็ ลมสูงน้ี จะ ท้าให้กระแสอากาศเปน็ ล้าพงุ่ ข้ึนสทู่ ้องฟ้า หรือย้อยลงมาจากฐานเมฆดูคล้ายกบั งวงหรอื ปล่องยืน่ ลงมา ถ้าถึงพน้ื ดินกจ็ ะท้าความเสียหายแกบ่ ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งปลูกสรา้ งได้ สา้ หรับในประเทศไทยมักจะเกดิ กระแสลมวน ไกลพ้ ื้นดินเป็นสว่ นใหญ่ไม่ต่อเนือ่ งข้ึนไปจนถงึ ใต้พ้ืนฐานเมฆ และจะเกดิ ข้ึนนาน ๆ ครั้ง โดย จะเกดิ ขึ้นในพืน้ ท่ีแคบ ๆ และมีชว่ งระยะเวลาส้ัน ๆ จงึ ทา้ ใหเ้ กิดความเสยี หายได้ในบางพื้นท่ี 2. วาตภัยคร้ังสาคญั ในประเทศไทยเกดิ ข้นึ ที่ใดและเม่ือไร 1. วาตภยั จากพายโุ ซนร้อน “แฮเรยี ต” ที่แหลมตะลมุ พุก อ้าเภอปากพนัง จงั หวัดนครศรีธรรมราช เมื่อ วันที่ 25 ตลุ าคม 2505 มีผ้เู สยี ชีวติ 870 คน สญู หาย 160 คน บาดเจบ็ 422 คน ประชาชนไร้ทีอ่ ยู่อาศยั 16,170 คน ทรัพยส์ ินสญู เสียราว 960 ล้านบาท 2. วาตภัยจากพายุไตฝ้ นุ่ “เกย์” ท่ีพัดเข้าส่จู งั หวัดชมุ พร เมอ่ื วันที่ 4 พฤศจิกายน 2532 ความเร็วของลมวัด ได้ 120 กม./ชม. ประชาชนเสยี ชีวิต 602 คน บาดเจบ็ 5,495 คน บ้านเรอื นเสียหาย 61,258 หลัง ทรัพยส์ ินสูญเสยี ราว 11,739,595,265 บาท 3. วาตภัยจากพายไุ ตฝ้ ่นุ ลนิ ดา ตง้ั แต่วันที่ 2 พฤศจิกายน ถึง 4 พฤศจิกายน 2540 ท้าใหเ้ กดิ ความเสียหาย จากวาตภัย อทุ กภยั และคลนื่ ซดั ฝั่งในพืน้ ที่ 11 จังหวดั ของภาคใต้และภาคตะวนั ออกเมื่อเดอื นพฤศจิกายน 2532 3. อนั ตรายทเี่ กิดจากวาตภัยมีอะไรบา้ ง อนั ตรายท่เี กิดจากพายุและลมแรงจัด สง่ ผลความเสียหายดังน้ี บนบก ต้นไม้ถอนรากถอนโคน ต้นไมท้ ับ บ้านเรือนพัง ผู้คนได้รับบาดเจบ็ ถงึ ตาย เรือกสวนไร่นา เสียหายหนกั มากบา้ นเรอื นที่ไม่แขง็ แรง ไม่สามารถ ต้านทานความรุนแรงของลมไดพ้ งั ระเนระนาด หลังคาบ้านที่ทา้ ดว้ ยสงั กะสีจะถูกพัดเปิด กระเบ้ืองหลังคาปลวิ ว่อน เป็นอันตรายต่อผู้ท่ีอย่ใู นทโี่ ลง่ แจ้ง เสาไฟฟา้ เสาโทรเลข เสาโทรศพั ท์ล้ม สายไฟฟา้ ขาด ไฟฟา้ ลดั วงจร

~4 เกิดเพลงิ ไหม้ ผูค้ นเสยี ชีวติ จากไฟฟ้าดูดได้ ผ้คู นที่พักอยู่ริมทะเล จะถูกคลืน่ ซัดท่วมบา้ นเรอื น และกวาดลง ทะเล ผคู้ นอาจจมนา้ ตายในทะเลได้ ฝนตกหนักมากทงั้ วนั และทั้งคนื อุทกภัยจะตามมา น้าปา่ จากภูเขาไหล หลากลงมาอย่าง รุนแรง ทว่ มบา้ นเรอื น ถนน และเรอื นสวนไร่นา เส้นทางคมนาคม ทางรถไฟ สะพาน และ ถนนถกู ตัดขาด ในทะเล มลี มพดั แรงจัดมาก คล่ืนใหญ่ เรอื ขนาดใหญ่อาจถูกพัดพาไปเกยฝั่งหรือชนหินโสโครกทา้ ใหจ้ มได้ เรือ ทุกชนดิ ควรงดออกจากฝง่ั หรือหลีกเลี่ยงการเดินเรือเข้าใกลศ้ นู ยก์ ลางพายุ มีคลนื่ ใหญ่ซัดฝ่งั ท้าใหร้ ะดับน้าสูง ท่วม อาคารบ้านเรอื นบริเวณรมิ ทะเล และอาจกวาด ส่ิงก่อสรา้ งท่ไี ม่แข็งแรงลงทะเลได้ เรือประมงบรเิ วณ ชายฝัง่ จะถกู ทา้ ลาย 4. การเตรียมการป้องกันอนั ตรายจากวาตภัยตอ้ งปฏิบัติอยา่ งไร การเตรยี มการและขณะเกดิ วาตภยั 1. ติดตามข่าวและประกาศค้าเตอื นลกั ษณะอากาศร้ายจากกรมอุตุนยิ มวทิ ยา 2. เตรยี มวทิ ยุและอุปกรณส์ ่ือสาร ชนิดใชถ้ ่านแบตเตอรี่ เพ่ือตดิ ตามขา่ วในกรณีท่ีไฟฟา้ ขัดข้อง 3. ตดั กิง่ ไม้ หรือรีดก่ิงไม้ท่อี าจหักไดจ้ ากลมพายุ โดยเฉพาะก่ิงที่จะหักมาทับบา้ น สายไฟฟ้า ต้นไมท้ ่ีตายยนื ต้น ควรจดั การโคน่ ลงเสยี 4. ตรวจเสาและสายไฟฟา้ ทัง้ ในและนอกบริเวณบ้านใหเ้ รียบรอ้ ย ถ้าไม่แข็งแรงให้ยึดเหนย่ี วเสาไฟฟ้าให้ม่นั คง 5. พกั ในอาคารท่มี ่ันคงตลอดเวลาขณะเกิดวาตภยั อยา่ ออกมาในทโี่ ลง่ แจ้ง เพราะต้นไม้และก่งิ ไม้อาจหกั โค่น ลงมาทบั ได้ รวมท้งั สงั กะสีและกระเบื้องจะปลวิ ตามลมมาท้าอนั ตรายได้ 6. ปิดประตู หน้าต่างทุกบาน รวมท้ังยึดประตูและหน้าตา่ งใหม้ ั่นคงแข็งแรง ถ้าประตูหน้าตา่ งไม่แข็งแรง ใหใ้ ช้ ไม้ทาบตตี ะปตู รึงปดิ ประตู หนา้ ต่างไว้จะปลอดภยั ย่งิ ข้ึน 7. ปดิ กัน้ ช่องทางลมและช่องทางต่าง ๆ ที่ลมจะเข้าไปทา้ ให้เกิดความเสยี หาย 8. เตรยี มตะเกยี ง ไฟฉาย และไม้ขีดไฟไว้ใหพ้ ร้อม ให้อยู่ใกลม้ ือ เมื่อเกิดไฟฟา้ ดบั จะได้หยิบใชไ้ ด้อยา่ งทนั ท่วงที และนา้ สะอาด พร้อมทงั้ อุปกรณ์เคร่อื งห้มุ ตุ้ม 9. เตรยี มอาหารส้ารอง อาหารกระป๋องไว้บ้างสา้ หรบั การยังชีพในระยะเวลา 2-3 วนั 10. ดบั เตาไฟให้เรยี บร้อยและควรจะมีอุปกรณส์ ้าหรบั ดบั เพลิงไว้ 11. เตรียมเครอื่ งเวชภณั ฑ์ 12. ส่งิ ของควรไวใ้ นท่ีต้่า เพราะอาจจะตกหลน่ แตกหักเสียหายได้ 13. บรรดาเรอื แพ ให้ลงสมอยดึ ตรงึ ให้มนั่ คงแขง็ แรง 14. ถ้ามีรถยนต์ หรือพาหนะ ควรเตรียมไว้ใหพ้ ร้อมภายหลังพายุสงบอาจต้องนา้ ผูป้ ว่ ยไปส่ง โรงพยาบาล น้ามันควรจะเติมให้เตม็ ถังอยู่ตลอดเวลา 15. เมื่อลมสงบแล้วต้องรออย่างน้อย 3 ชวั่ โมง ถ้าพ้นระยะนีแ้ ลว้ ไมม่ ลี มแรงเกิดข้นึ อีก จงึ จะวางใจว่าพายุได้ ผ่านพน้ ไปแลว้ ทงั้ นีเ้ พราะ เม่ือศนู ย์กลางพายผุ า่ นไปแลว้ จะตอ้ งมีลมแรงและฝนตกหนกั ผ่านมาอีก ประมาณ 2 ช่วั โมง 16. ตั้งสติใหม้ ่ันในการตดิ สินใจ ช่วยครอบครวั ให้พน้ อันตรายในขณะวกิ ฤต โทรปรึกษานักพยากรณ์อากาศท่ี

~5 หมายเลขโทรศัพท์ 398-9830, 399-4012-3 เมื่อพายสุ งบแลว้ 1. เมือ่ มีผูบ้ าดเจ็บใหร้ บี ชว่ ยเหลือและน้าสง่ โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลท่ีใกลเ้ คียงใหเ้ ร็ว ทส่ี ดุ 2. ตน้ ไมใ้ กลจ้ ะลม้ ให้รีบจดั การโคน่ ล้มลงเสยี มิฉะน้นั จะหกั โคน่ ล้มภายหลงั 3. ถา้ มีเสาไฟฟ้าล้ม สายไฟขาดอย่าเข้าใกล้หรือแตะตอ้ งเป็นอนั ขาด ท้าเคร่ืองหมายแสดงอนั ตราย 4. แจ้งให้ เจา้ หน้าทห่ี รือช่างไฟฟ้าจัดการด่วน อยา่ แตะโลหะที่เปน็ สอ่ื ไฟฟ้า 4. เมอ่ื ปรากฎว่าท่อประปาแตกท่ใี ด ใหร้ บี แจง้ เจา้ หนา้ ท่ีมาแกไ้ ขโดยด่วน 5. อยา่ เพงิ่ ใชน้ ้าประปา เพราะนา้ อาจไม่บรสิ ุทธิ์ เน่ืองจากท่อแตกหรอื น้าทว่ ม ถ้าใชน้ ้าประปาขณะนั้นดื่ม อาจจะเกดิ โรคได้ ใหใ้ ช้น้าท่กี ักตนุ ก่อนเกดิ เหตุดม่ื แทน 6. ปญั หาทางด้านสาธารณสขุ ท่ีอาจจะเกิดขึ้นได้ การควบคมุ โรคติดตอ่ ท่ีอาจเกิดระบาดได้ การทา้ น้าให้สะอาด เชน่ ใช้สารสม้ และใชป้ ูนคลอรนี การกา้ จดั อจุ จาระ โดยใชป้ นู ขาว หรือน้ายาไลโซล 5% ก้าจัดกลิ่นและฆ่าเชื้อโรค ก้าจดั พาหนะน้าโรค เชน่ ยุง และแมลงวัน โดยใชฆ้ า่ แมลง โรคตา่ ง ๆ ท่มี กั เกดิ หลังวาตภยั โรคระบบหายใจ เชน่ หวัด โรคตดิ เชอ้ื และปรสติ เช่น การอักเสบมีหนอง โรคฉ่หี นู เป็นต้น โรคผิวหนัง เชน่ โรคน้ากดั นา้ กลาก เปน็ ตน้ โรคระบบทางเดินทางอาหาร เชน่ โรคอุจจาระร่วง ภาวะทางจิต เชน่ ความเครียด

~6 หน่วยการเรียนรู้หน่วยท่ี 3 อุทกภยั 1. อะไรเปน็ สาเหตขุ องอทุ กภัยในประเทศไทย อุทกภัยคือ ภัยและอันตรายที่เกิดจากสภาวะนา้ ทว่ มหรอื น้าทว่ มฉับพลนั มสี าเหตุมาจากการเกิดฝนตกหนัก หรอื ฝนต่อเน่ืองเป็นเวลานาน เนือ่ งมาจาก 1.1 หย่อมความกดอากาศตา้่ 1.2 พายหุ มนุ เขตร้อน ไดแ้ ก่ พายดุ เี ปรสชน่ั , พายโุ ซนร้อน, พายใุ ตฝ้ ุ่น 1.3 ร่องมรสมุ หรือรอ่ งความกดอากาศตา่้ 1.4 ลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ 1.5 ลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1.6 เข่ือนพงั 2. ลักษณะของอุทกภัยเกดิ ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ลักษณะของอุทกภัยมีความรุนแรง และรูปแบบต่าง ๆ กนั ข้ึนอยกู่ ับลกั ษณะภูมิประเทศ และสง่ิ แวดล้อมของ แตล่ ะพนื้ ท่ีโดยมลี ักษณะดังน้ี 2.1 นา้ ป่าไหลหลาก หรือน้าท่วมฉับพลัน มักจะเกิดข้นึ ในท่ีราบต้า่ หรอื ท่รี าบลุ่มบรเิ วณใกล้ภเู ขาตน้ น้า เกดิ ข้ึน เนอ่ื งจากฝนตกหนักเหนือภเู ขาต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทา้ ให้จ้านวนน้าสะสมมีปรมิ าณมากจนพน้ื ดนิ และตน้ ไม้ ดูดซับไม่ไหวไหลบ่าลงสู่ท่รี าบต่้า เบ้อื งลา่ งอยา่ งรวดเรว็ มอี ้านาจท้าลายร้างรนุ แรงระดับหนึ่ง ทีท่ า้ ใหบ้ า้ นเรือน พงั ทลายเสยี หาย และอาจทา้ ให้เกดิ อนั ตรายถงึ ชีวติ ได้ 2.2 น้าทว่ ม หรือน้าท่วมขงั เปน็ ลกั ษณะของอทุ กภัยท่ีเกดิ ขน้ึ จากปรมิ าณน้าสะสมจา้ นวนมาก ท่ีไหลบ่าในแนว ระนาบ จากที่สงู ไปยังท่ตี ้่าเข้าทว่ มอาคารบา้ นเรอื น เรือกสวนไร่นาไดร้ ับความเสยี หาย หรือเปน็ สภาพนา้ ท่วม ขัง ในเขตเมอื งใหญท่ ่เี กิดจากฝนตกหนกั ต่อเน่ืองเปน็ เวลานาน มสี าเหตมุ าจากระบบการระบายน้าไมด่ พี อ มี ส่ิงก่อสรา้ งกดี ขวางทางระบายน้า หรอื เกดิ น้าทะเลหนนุ สูงกรณีพ้ืนท่อี ยู่ใกล้ชายฝงั่ ทะเล 2.3 น้าล้นตลงิ่ เกิดขนึ้ จากปริมาณน้าจา้ นวนมากที่เกิดจากฝนหนกั ต่อเนื่อง ท่ีไหลลงสู่ล้านา้ หรือแมน่ า้ มี ปรมิ าณมากจนระบายลงส่ลู มุ่ น้าด้านล่าง หรือออกสูป่ ากนา้ ไมท่ นั ทา้ ให้เกิดสภาวะนา้ ลน้ ตลงิ่ เขา้ ท่วมเรือกสวน ไร่นา และบา้ นเรือนตามสองฝ่ังนา้ จนได้รบั ความเสยี หาย ถนน หรือสะพานอาจชา้ รุด ทางคมนาคมถูกตัดขาด ได้ 3. เม่ือเกิดอทุ กภยั อนั ตรายและความเสียหายทเ่ี กดิ ขึ้นมีอะไรบา้ ง สามารถแบง่ อนั ตรายและความเสยี หายท่ีเกิดจากอุทกภยั ดังนี้ 3.1 น้าท่วมอาคารบ้านเรือน ส่งิ กอ่ สร้างและสาธารณสถาน ซง่ึ จะทา้ ให้เกดิ ความเสียหายทางเศรษฐกจิ อยา่ ง มาก บา้ นเรือนหรอื อาคารสิ่งก่อสร้างที่ไม่แข็งแรงจะถูกกระแสนา้ ท่ีไกลเชย่ี วพงั ทลายได้ คนและสตั วพ์ าหนะ และสัตวเ์ ล้ียงอาจได้รับอันตรายถงึ ชวี ติ จากการจมน้าตาย

~7 3.2 เส้นทางคมนาคมและการขนส่ง อาจจะถูกตัดเป็นชว่ ง ๆ โดยความแรงของกระแสน้า ถนน และสะพาน อาจจะถกู กระแสน้าพัดให้พงั ทลายได้ สนิ ค้าพสั ดุอยรู่ ะหว่างการขนสง่ จะได้รบั ความเสยี หายมาก 3.3 ระบบสาธารณปู โภค จะไดร้ ับความเสียหาย เชน่ โทรศัพท์ โทรเลข ไฟฟ้า และประปา ฯลฯ 3.4 พนื้ ทก่ี ารเกษตรและการปศุสตั วจ์ ะไดร้ บั ความเสยี หาย เชน่ พืชผล ไร่นา ทุกประการที่ก้าลงั ผลดิ อกออก ผล อาจถูกน้าทว่ มตายได้ สัตวพ์ าหนะ วัว ควาย สตั วเ์ ลี้ยง ตลอดจนผลผลิตที่เก็บกักตนุ หรือมไี วเ้ พ่ือท้าพันธุ์ จะได้รับความเสยี หาย ความเสยี หายทางอ้อม จะสง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ โดยทว่ั ไป เกิดโรคระบาด สขุ ภาพจติ เสอ่ื ม และสญู เสียความปลอดภัยเป็นตน้ 4. วิธีปฏิบัตใิ นการป้องกันตนเองและบรรเทาจากอุทกภยั กระทาได้อย่างไรบา้ ง 4.1 การวางแผนการใชท้ ่ีดนิ อย่างมีประสทิ ธ์ภิ าพ ควรก้าหนดผงั เมอื ง เพือ่ รองรับการเจริญเติบโตของตวั เมือง ไมใ่ ห้กดี ขวางทางไหลของน้า กา้ หนดการใช้ท่ีดนิ บริเวณพ้ืนทนี่ ้าท่วม ใหเ้ ป็นพ้ืนท่ีราบลุม่ รับนา้ เพอ่ื เป็นการ หนว่ งหรือชะลอการเกดิ น้าทว่ ม 4.2 การออกแบบสง่ิ ก่อสรา้ งอาคารต่าง ๆ ให้มีความสงู เหนือระดับท่นี ้าเคยทว่ มแลว้ เช่น บ้านเรอื นท่ยี กพืน้ สงู แบบไทย ๆ เป็นตน้ 4.3 การเคล่อื นย้ายวัสดุจากท่ีท่ีจะได้รับความเสียหายอันเน่ืองมาจากนา้ ท่วม ให้ไปอยูใ่ นทปี่ ลอดภัยหรอื ในท่สี งู 4.4 การนา้ ถุงทรายมาท้าเข่ือน เพือ่ ป้องกันน้าทว่ ม 4.5 การพยากรณแ์ ละการเตรียมภยั นา้ ท่วม เพ่ือให้ประชาชนรับทราบล่วงหนา้ เพื่อเตรยี ม ปอ้ งกนั 4.6 การสร้างเขื่อน ฝาย ทา้ นบ และถนน เพ่ือเปน็ การกักเก็บนา้ หรือเปน็ การกัน้ ทางเดนิ ของน้า เป็นตน้

~8 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 ดินโคลนถล่ม 1) สาเหตุจากมนุษย์ (Manmade Causes) กิจกรรมท่ีมนุษยท์ า้ ในบริเวณท่ีลาดชนั เป็นสาเหตุ หนึ่งทีท่ า้ ใหเ้ กดิ ดินถล่มหรือโคลนถล่ม เช่น · การก่อสรา้ งในบรเิ วณเชิงเขาทลี่ าดชัน โดยไม่มีการค้านวณดา้ นวศิ วกรรมท่ดี ีพอ · การเกษตรในพ้ืนทลี่ าดชันเชงิ เขา · การกา้ จดั พชื ท่ปี กคลุมดินและการตัดไม้ทา้ ลายป่า กิจกรรมเหลา่ นีส้ ง่ ผลใหพ้ นื้ ท่ีดังกลา่ วมีความลาดชนั เพิ่มขึ้นเกิดการเปลี่ยนแปลงรปู แบบการไหลของนา้ ผิวดนิ และเปลย่ี นแปลงระดบั น้าบาดาล ซ่งึ อาจก่อใหเ้ กิดดินถล่มหรือโคลมถลม่ การขดุ หรือตดั ถนนในบริเวณทีล่ าด เชงิ เขาอาจก่อใหเ้ กิดความชนั ของพน้ื ทมี่ ากข้ึน การขุดเหมืองและการระเบดิ หินมักจะท้าใหด้ ินมีความลาดชัน เพม่ิ ขึ้น การท้าการเกษตรในบริเวณทลี่ าดชนั เกษตรกรกจ็ ้าเปน็ ทีจ่ ะต้องกา้ จัดวชั พืชและอาจปรับพ้นื ที่ให้มี ลักษณะข้ันบันไดหรือธรุ กิจการตัดไมท้ ้าลายป่า กิจกรรมเหล่าน้ลี ้วนท้าใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงรูปแบบการไหล ของนา้ บริเวณผิวดนิ กล่าวคือนา้ จะไหลผา่ นหนา้ ดินอยา่ งรวดเรว็ และก่อให้เกดิ การชะล้างหนา้ ดนิ เน่อื งจากปา่ ถูกท้าลาย ดนิ ขาดรากไม้ยดึ เหนี่ยวนอกจากนี้การเปล่ยี นแปลงรูปแบบการไหลของน้าบรเิ วณผิวดินยังส่งผลต่อ ระดับน้าบาดาลอกี ด้วย ในการทา้ ชลประทาน จะมปี รมิ าณน้าสว่ นหนงึ่ ท่ีซมึ ออกจากคลองชลประทานและไหล ซมึ ลงไปใตด้ นิ ทา้ ให้ระดบั น้าบาดาลเพิม่ สงู ขนึ้ มวลดินมีนา้ หนกั มากข้นึ และอาจเป็นสาเหตุใหเ้ กิดดินถล่มใน ทส่ี ดุ การเพิ่มระดับน้าบาดาลอาจมีสาเหตุมาจากการรวั่ ของท่อน้า บ่อหรืออา่ งเกบ็ น้า หรอื การปลอ่ ยน้าทิง้ จากทตี่ ่าง ๆ 2) สาเหตุจากธรรมชาติ (Natural factors) เหตุการณ์ทางธรรมชาติกเ็ ป็นสาเหตใุ ห้เกดิ ดนิ ถล่มหรือโคลนถล่มไดเ้ ชน่ กนั เชน่ · ฝนตกหนกั การเกิดดนิ ถล่มในประเทศไทยส่วนใหญ่มักจะมฝี นเปน็ ปัจจยั เรง่ ทส่ี ้าคญั เสมอ · การละลายของหมิ ะจะไปเพมิ่ ระดบั น้าใต้ผวิ ดิน และน้าหนกั ของดินอย่างรวดเรว็ · การเปลยี่ นแปลงระดับน้าเนือ่ งจากน้าขึน้ น้าลง การลดระดบั นา้ ในแมน่ า้ และอา่ งเกบ็ น้า · การกดั เซาะของดนิ จากกระแสน้าในแมน่ ้า ลา้ ธาร หรอื จากคล่ืนซัดทา้ ให้ความหนาแน่นของ มวลดนิ ลดลง · การผพุ งั ของมวลดินและหิน · การส่นั สะเทือนจากแผ่นดินไหว · ภเู ขาไฟระเบิด ในบริเวณท่ีภเู ขาไฟยังไม่สงบ เถา้ ภูเขาไฟหรือลาวาจะเคล่ือนตัวเปน็ มวลดนิ ขนาดใหญท่ ี่มคี วามหนาแนน่ ตา้่ เม่อื เกดิ ฝนตกหนัก จงึ มโี อกาสท่ีเกดิ ดนิ ถลม่ ให้เกดิ ดินถล่มและเข่ือนแตก ส่งผล ให้เกิดน้าทว่ มอยา่ งรนุ แรงในพนื้ ที่ท้ายน้าท่ีมรี ะดับตา้่ กว่า เหตกุ ารณ์ลักษณะเชน่ นอ้ี าจส่งผลกระทบแตกตา่ งไป จากเหตุการณท์ ี่มีสาเหตุการเกดิ จากภัยพิบัตเิ พียงภยั เดียว

~9 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ไฟป่า ไฟป่า US Forest Service อ้างโดย Brown and Davis (1973) ใหค้ ้าจา้ กัดความของไฟป่า ทใี่ ช้กนั อยา่ ง แพรห่ ลายวา่ “ไฟทปี่ ราศจากการควบคมุ ลุกลามไปอยา่ งอิสระ แล้วเผาผลาญเช้ือเพลงิ ธรรมชาตใิ นปา่ ไดแ้ ก่ ดนิ อินทรยี ์ ใบไมแ้ ห้ง หญ้า ก่ิงกา้ นไม้แหง้ ท่อนไม้ ตอไม้ วัชพืช ไมพ้ ุ่ม ใบไม้สด และในระดบั หนง่ึ สามารถเผา ผลาญต้นไมท้ ีย่ ังมชี ีวิตอยู่ โดยลกั ษณะส้าคัญทแ่ี ยกแยะไฟปา่ ออกจากไฟที่เผาตามก้าหนด (Prescribe Burning) คอื ไฟป่ามี การลุกลามอยา่ งอิสระ ปราศจากการควบคุม ในขณะที่ไฟท่เี กิดจากการเผาตามก้าหนดจะมีการควบคมุ การ ลกุ ลามให้อยู่ในขอบเขตที่ก้าหนดเอาไวเ้ ท่านนั้ ส้าหรับประเทศไทย เพ่ือให้เหมาะสมกบั สภาพปญั หาและขอบเขตการจดั การไฟป่า จงึ กา้ หนดคา้ นยิ ามของไฟ ป่าว่า “ไฟท่เี กิดจากสาเหตใุ ดกต็ าม แล้วลุกลามไปได้โดยอิสระปราศจากการควบคุม ทง้ั นีไ้ ม่วา่ ไฟนั้นจะเกิดข้นึ ในปา่ ธรรมชาตหิ รอื สวนปา่ ” ชนิดของไฟปา่ การแบ่งชนิดของไฟป่าทีไ่ ด้รับการยอมรับและใชก้ นั มายาวนานนน้ั ถอื เอาการไหมเ้ ช้อื เพลงิ ในระดบั ต่างๆในแนวดิ่ง ต้ังแตร่ ะดับชั้นดนิ ขึ้นไปจนถึงระดบั ยอดไม้ เป็นเกณฑ์ การแบ่งชนิดไฟป่าตามเกณฑด์ ังกล่าว ทา้ ให้แบ่งไฟป่าออกเปน็ 3 ชนิด คอื ไฟใต้ดิน ไฟผิวดิน และไฟเรอื นยอด (Brown and Davis,1973) 1. ไฟใตด้ ิน (Ground Fire) คือไฟที่ไหม้อินทรยี วตั ถทุ ่อี ยู่ใต้ช้นั ผิวของพื้นป่า เกิดขนึ้ ในป่าบางประเภท โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงป่าในเขตอบอุ่นท่ีมรี ะดับความสงู มากๆ ไฟใตด้ ินโดยทั่วไปมักจะเกิดจากไฟผิวดินก่อนแล้วลกุ ลามลงใต้ผิวพ้ืนปา่ ดังนั้นเพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้าใจท่ี ชัดเจนไมส่ บั สน ในทีน่ ้ีจงึ ขอแบง่ ไฟใต้ดินออกเปน็ 2 ชนิดยอ่ ย คือ 1.1 ไฟใต้ดนิ สมบูรณ์แบบ (True Ground Fire) คอื ไฟท่ีไหม้อนิ ทรยี วัตถุอยใู่ ตผ้ ิวพน้ื ป่าจริงๆ ดงั น้นั เมอ่ื ยนื อยบู่ นพื้นป่าจงึ ไม่สามารถตรวจพบไฟได้ ต้องใชเ้ คร่ืองมือพิเศษ 1.2 ไฟกงึ่ ผิวดนิ กึ่งใต้ดนิ (Semi-Ground Fire) ไดแ้ ก่ไฟทไี่ หม้ในสองมติ ิ คือสว่ นหนงึ่ ไหม้ไปในแนว ระนาบไปตามผิวพนื้ ป่าเชน่ เดียวกับไฟผวิ ดิน ในขณะเดยี วกันอีกสว่ นหนึ่งจะไหมใ้ นแนวดิ่งลึกลงไปในชั้น อนิ ทรียวตั ถุใต้ผวิ พ้ืนปา่ ซ่งึ อาจไหม้ลึกลงไปไดห้ ลายฟุต ไฟดงั กลา่ วสามารถตรวจพบไดโ้ ดยง่ายเช่นเดยี วกบั ไฟ ผวิ ดินทวั่ ๆไป แต่การดับไฟจะต้องใชเ้ ทคนิคการดบั ไฟผิวดินผสมผสานกบั เทคนคิ การดับไฟใตด้ ิน จึงจะสามารถ ควบคุมไฟได้ ตัวอย่างของไฟชนิดนีไ้ ดแ้ ก่ไฟทไี่ หมป้ ่าพรุในเกาะสมุ าตรา และเกาะกาลิมันตัน ของประเทศ อินโดนเี ซีย และไฟทไี่ หม้ป่าพรุโตะ๊ แดง และป่าพรบุ าเจาะ ในจงั หวดั นราธวิ าส ของประเทศไทย 2. ไฟผิวดิน (Surface Fire) คอื ไฟที่ไหมล้ กุ ลามไปตามผวิ ดิน โดยเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงบนพ้นื ป่า อันได้แก่ ใบไม้ ก่ิงกา้ นไมแ้ ห้งทต่ี กสะสมอย่บู นพน้ื ปา่ หญ้า ลกู ไมเ้ ล็กๆ ไม้พนื้ ลา่ ง กอไผ่ 3. ไฟเรือนยอด (Crown Fire) คือไฟทีไ่ หม้ลกุ ลามจากยอดของต้นไมห้ รอื ไมพ้ ุ่มตน้ หนึง่ ไปยังยอดของ ต้นไมห้ รือไม้พ่มุ อีกตน้ หน่งึ สามารถแบ่งไฟเรอื นยอดออกเปน็ 2 ชนิดย่อย ไดด้ ังน้ี

~ 10 3.1 ไฟเรือนยอดที่ตอ้ งอาศยั ไฟผิวดนิ เป็นสื่อ (Dependent Crown Fire) คอื ไฟเรือนยอดทตี่ ้องอาศัยไฟ ที่ลกุ ลามไปตามผวิ ดนิ เป็นตัวนา้ เปลวไฟขึน้ ไปสู่เรอื นยอดของตน้ ไมอ้ ื่นที่อยู่ใกล้เคยี ง 3.2 ไฟเรือนยอดทีไ่ ม่ต้องอาศยั ไฟผิวดิน (Running Crown Fire) เกิดในปา่ ทีม่ ีตน้ ไม้ที่ตดิ ไฟได้งา่ ยและมี เรอื นยอดแน่นทึบติดต่อกนั ไฟป่าเกิดจาก 2 สาเหตุ คือ 1. เกิดจากธรรมชาติ ไฟป่าที่เกดิ ขึน้ เองตามธรรมชาตเิ กดิ ขึน้ จากหลายสาเหตุ เช่นฟา้ ผา่ กง่ิ ไม้เสยี ดสกี ัน ภูเขาไฟระเบดิ ก้อนหนิ กระทบกนั แสงแดดตกกระทบผลกึ หนิ แสงแดดส่องผา่ นหยดน้า ปฏกิ รยิ าเคมใี นดินปา่ พรุ การลกุ ไหม้ในตัวเอง ของสิง่ มชี ีวิต (Spontaneous Combustion) แต่สาเหตทุ ่สี ้าคัญ คือ 1.1 ฟ้าผา่ เป็นสาเหตสุ า้ คัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศ แคนาดา พบวา่ กว่าครงึ่ หนง่ึ ของไฟปา่ ท่ีเกิดข้นึ มีสาเหตมุ าจากฟา้ ผ่า ท้ังนี้โดยท่ีฟา้ ผ่าแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ (1) ฟา้ ผา่ แหง้ (Dry or Red Lightning) คือฟ้าผา่ ทีเ่ กิดขึน้ ในขณะที่ไมม่ ฝี นตก มักเกดิ ในช่วงฤดูแล้ง สายฟา้ จะ เปน็ สแี ดง เกิดจากเมฆทเี่ รยี กว่าเมฆฟา้ ผ่า ซง่ึ เมฆดังกล่าวจะมีแนวการเคลือ่ นตวั ท่ีแน่นอนเป็นประจา้ ทุกปี ฟ้าผ่าแหง้ เป็นสาเหตุส้าคญั ของไฟป่าในเขตอบอุน่ (2) ฟ้าผ่าเปยี ก (Wet or Blue Lightning) คือฟา้ ผา่ ที่เกิดควบคไู่ ปกับการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง (Thunderstorm) ดงั น้นั ประกายไฟทเี่ กดิ จากฟ้าผา่ จงึ มักไม่ทา้ ให้เกิดไฟไหม้ หรืออาจเกิดไดบ้ ้างแต่ไมล่ ุกลาม ไปไกล เนื่องจากความชื้นสัมพทั ธแ์ ละความชน้ื ของเชอ้ื เพลิงสูง ฟ้าผ่าในเขตร้อนรวมถึงประเทศไทยมกั จะเป็น ฟา้ ผา่ เปียก จงึ แทบจะไมเ่ ป็นสาเหตขุ องไฟป่าในเขตร้อนน้ีเลย 1.2 กงิ่ ไม้เสียดสกี ัน อาจเกิดข้ึนได้ในพนื้ ท่ปี ่าท่ีมีไม้ขึน้ อยู่อยา่ งหนาแน่นและมีสภาพอากาศแห้งจัด เช่น ในป่าไผ่หรือป่าสน 2. สาเหตจุ ากมนษุ ย์ ไฟปา่ ทีเ่ กดิ ในประเทศก้าลงั พัฒนาในเขตรอ้ นสว่ นใหญ่จะมีสาเหตมุ าจากกิจกรรมของมนุษย์ สา้ หรบั ประเทศ ไทยจากการเก็บสถิตไิ ฟป่าต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2528-2542 ซ่งึ มสี ถติ ิไฟป่าท้ังสนิ้ 73,630 คร้งั พบว่าเกดิ จากสาเหตุ ตามธรรมชาตคิ อื ฟ้าผา่ เพยี ง 4 ครัง้ เทา่ นัน้ คือเกดิ ที่ภูกระดึง จงั หวดั เลย ทหี่ ว้ ยน้าดัง จังหวัดเชยี งใหม่ ท่ีท่า แซะ จงั หวัดชมุ พร และทเ่ี ขาใหญ่ จงั หวดั นครราชสีมา แห่งละหน่ึงครั้ง ดงั น้นั จงึ ถือได้ว่าไฟปา่ ในประเทศไทย ท้ังหมดเกิดจากการกระทา้ ของคน โดยมสี าเหตุต่างๆ กนั ไป ได้แก่ 2.1 เกบ็ หาของป่า เป็นสาเหตทุ ที่ า้ ให้เกดิ ไฟป่ามากที่สุด การเก็บหาของปา่ สว่ นใหญ่ไดแ้ ก่ ไข่มดแดง เหด็ ใบตองตึง ไม้ไผ่ นา้ ผงึ้ ผกั หวาน และไมฟ้ ืน การจุดไฟส่วนใหญเ่ พ่อื ให้พนื้ ปา่ โล่ง เดินสะดวก หรือให้แสง สวา่ งในระหว่างการเดนิ ทางผ่านปา่ ในเวลากลางคืน หรือจุดเพ่ือกระตุ้นการงอกของเหด็ หรือกระตุ้นการแตก ใบใหมข่ องผักหวานและใบตองตึง หรือจุดเพ่อื ไลต่ วั มดแดงออกจากรัง รมควนั ไลผ่ ง้ึ หรอื ไล่แมลงต่างๆ ในขณะ ที่อยูใ่ นปา่

~ 11 และห 2.2 เผาไร่ เปน็ สาเหตุท่ีส้าคญั รองลงมา การเผาไร่กเ็ พื่อกา้ จัดวชั พืชหรือเศษซากพืชทีเ่ หลอื อยู่ภายหลงั การเก็บเก่ียว ท้ังนีเ้ พ่ือเตรียมพ้นื ที่เพาะปลูกในรอบต่อไป ท้งั นโ้ี ดยปราศจากการทา้ แนวกนั ไฟและปราศจาก การควบคมุ ไฟจงึ ลามเข้าป่าท่ีอยู่ในบรเิ วณใกล้เคยี ง 2.3 แกล้งจุด ในกรณีท่ปี ระชาชนในพื้นทม่ี ปี ญั หาความขดั แยง้ กับหนว่ ยงานของรัฐในพน้ื ที่ โดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งปญั หาเร่อื งท่ที า้ กินหรอื ถูกจบั กุมจากการกระท้าผดิ ในเรอื่ งปา่ ไม้ กม็ ักจะหาทางแก้แคน้ เจา้ หน้าท่ีดว้ ย การเผาป่า 2.4 ความประมาท เกิดจากการเขา้ ไปพักแรมในป่า กอ่ กองไฟแล้วลมื ดบั หรือท้ิงก้นบุหรี่ลงบนพน้ื ป่า เปน็ ต้น 2.5 ลา่ สัตว์ โดยใชว้ ธิ ไี ลเ่ หล่า คอื จดุ ไฟไล่ให้สัตวห์ นีออกจากทซี่ อ่ น หรือจุดไฟเพื่อใหแ้ มลงบนิ หนีไฟ นกชนดิ ต่างๆ จะบินมากินแมลง แลว้ ดกั ยิงนกอีกทอดหนงึ่ หรือจดุ ไฟเผาทงุ่ หญ้า เพื่อให้หญ้าใหมแ่ ตกระบดั ล่อให้สัตวช์ นิดตา่ งๆ เชน่ กระทิง กวาง กระต่าย มากนิ หญา้ แล้วดกั รอยงิ สตั ว์นนั้ ๆ 2.6 เลย้ี งปศุสตั ว์ ประชาชนทีเ่ ลย้ี งปศุสัตวแ์ บบปล่อยให้หากนิ เองตามธรรมชาติ มักลกั ลอบจุดไฟเผา ป่าให้โลง่ มสี ภาพเป็นทุ่งหญ้าเพ่ือเปน็ แหลง่ อาหารสัตว์ 2.7 ความคึกคะนอง บางครัง้ การจดุ ไฟเผาป่าเกิดจากความคึกคะนองของผ้จู ดุ โดยไมม่ วี ัตถปุ ระสงค์ ใดๆ แต่จดุ เลน่ เพื่อความสนุกสนาน เท่านัน้ 3. การระวงั ภัยจากไฟป่า การจัดการและการแกไ้ ขปัญหาไฟป่าอย่างครบวงจร เรม่ิ ตั้งแต่การปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กดิ ไฟป่า โดยศกึ ษาหาสาเหตขุ องการเกิดไฟปา่ แล้ววางแผนปอ้ งกนั หรือก้าจดั ตน้ ตอของสาเหตนุ ้นั แตไ่ ฟป่า ยงั มโี อกาสขึ้นไดเ้ สมอ ดงั นั้น จา้ เปน็ ตอ้ งมีมาตรการอ่นื ๆ รองรับตามมา ได้แก่ การเตรยี มการดบั ไฟป่า การตรวจหาไฟ การดบั ไฟปา่ และการประเมนิ ผล การปฏบิ ัตงิ าน การปฏิบตั ิงานงานควบคมุ ไฟปา่ แบง่ ได้ 2 กิจกรรมหลกั ได้ ดงั น้ี 3.1 การป้องกนั ไฟปา่ สามารถดา้ เนนิ การได้ดังนี้ 1.การรณรงคป์ ้องกนั ไฟป่า ไฟป่าที่เกิดขน้ึ ในหลายประเทศ สว่ นใหญ่มสี าเหตมุ าจากการกระท้าของมนษุ ย์ ไม่ใหป้ ระชาชนจดไฟเผาป่าทั้งนีอ้ าจท้าไดโ้ ดยการประชาสัมพันธ์ช้ีแนะให้ประชาชนตระหนักถึงความส้าคัญ เกดิ ขึ้นหากมกี ารบกุ รกุ ทา้ ลายหรือเผาป่า เพ่ือให้ประชาชนเกดิ ทศั นคตทิ ่ีถกู ต้อง เลิกจุดไฟเผาป่า ดา้ เนินการไดใ้ นรูปแบบต่างๆ เช่น การประชาสัมพันธ์ ส่อื มวลชน การตดิ ตง้ั ป้ายประชาสัมพนั ธ์ การจัดนิทรรศการ การให้การศึกษา การจดั ฝึกอบรม ตลอดจนการเปดิ โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนรว่ มในกิจกรรมด้านปา่ ไม้ เป็นตน้ 2.การจัดการเชือ้ เพลงิ โดยการท้าแนวกนั ไฟ และการก้าจัดเชอื้ เพลงิ ในพนื้ ที่ทีล่ อ่ แหลมต่อการเกิดไฟป่า เช่น มวี ชั พชื หนาแน่น พื้นทีป่ ่าสองขา้ งถนน ซง่ึ มโี อกาสเกิดไฟปา่ ไดง้ า่ ย เพ่ือลดโอกาสการเกดิ ไฟป่าได้ง่าย เพอื่ ลดโอกาสการเกดิ ไฟปา่ หรือหากเกดิ ไฟป่าขึน้ กจ็ ะมคี วามรนุ แรงน้อย สามารถควบคมุ งา่ ย 3.2การปฏิบัตงิ านดบั ไปไฟป่า เปน็ การปฏบิ ัติงานเพื่อควบคมุ ดับไฟปา่ มิใหล้ ุกลามเผาท้าลายต้นไม้ ในกรณีทเ่ี กดิ ไฟปา่ ขึ้นแลว้ ในปจั จุบนั มีหน่วยปฏบิ ัตงิ านภาคสนามของกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่

~ 12 และพนั ธ์พชื ท่ที ้าหน้าที่ในการดับไฟปา่ คอื สถานีควบคุมไฟปา่ ที่อยใู่ นทุกจงั หวดั ในส่วนของประชาชนทอ่ี าศัยอยูใ่ นพื้นทป่ี ่าอยใู่ นปา่ มีส่วนส้าคญั ท่กี ่อให้เกิดไฟป่าและมีส่วนส้าคญั ในการ ให้ความร่วมมือในการป้องกันไฟปา่ ซ่ึงสามารถทา้ ได้ดังน้ี 1.เม่อื ทา้ การเผา่ ไร่ในพื้นทค่ี วบคมุ ดูแลไฟไมใ่ ห้ลุกลามเขา้ ไปในปา่ และควรท้าแนวปอ้ งกันไฟป่าก่อนเผาทุกครง้ั 2. ไมจ่ ดุ ไฟเผาป่าเพ่ือลา่ สตั ว์ และไม่จุดไฟเล่นดว้ ยความสนุกหรือคึกคะนอง 3. ระมดั ระวงั การใชไ้ ฟ เม่อื อยใู่ นป่าหรอื พักแรมในปา่ หากมีความจ้าเปน็ ต้องใช้ไฟ ควรดับไฟให้ หมดก่อนออกจากปา่ 4. เม่อื พบเห็นไฟไหม้ปา่ หรือสวนป่า ให้ชว่ ยกนั ดบั ไฟป่าหรือแจ้งหน่วยราชการที่อยบู่ ริเวณใกล้เคียง 5. มสี ว่ นร่วมด้านการประชาสมั พันธ์ ชี้ใหเ้ หน็ ความส้าคัญของปา่ ไม้และความเสียหายท่ีเกิดจากไฟป่า และโทษที่จะได้รบั หรือเปน็ อาสาสมัครป้องกันไฟปา่ 6. ชว่ ยเป็นหูเป็นตาใหเ้ จา้ หน้าที่ในการส่องดูแลไมใ่ หเ้ กดิ ไฟไหม้ป่ารวมทัง้ ชว่ ยจับกมุ ผู้ฝ่าฝืนมาลงโทษ ตามกฎหมาย เพือ่ มิใหเ้ ป็นเย่ียงอย่างแกบ่ ุคคลอืน่ ต่อไป

~ 13 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หมอกควัน หมอกควนั (อังกฤษ: smog) เปน็ ลกั ษณะของมลพิษทางอากาศชนดิ หน่งึ โดยคา้ ว่า สม็อก เป็นหนว่ ยค้าควบ มาจากค้าวา่ สโมก (smoke แปลว่า ควัน) กบั ฟ็อก (fog แปลว่า หมอก) ในอดีตหมอกปนควันเกิดขน้ึ มาจาก การผสมระหว่างควันกับซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์จากการเผาไหม้ถ่านหนิ ส่วนหมอกปนควนั ในปจั จุบันมกั จะมาจาก ควันทีเ่ กิดจากการเผาไหมข้ องเครื่องยนต์และควันจากโรงงานอตุ สาหกรรม และทา้ ปฏิกิริยากบั แสงแดดซง่ึ ก่อให้เกิดหมอกปนควันแบบโฟโตเคมี (photochemical smog) ปัญหาอนั เกิดจากหมอกปนควันและมาตรการท่ีเกีย่ วข้อง[แก้] ปัญหาไฟป่าและหมอกปนควัน มคี วามรุนแรงเพ่ิมขึ้นอนั เกิดจากท้ังสาเหตุไฟป่า และการเผาในทโ่ี ลง่ ส่งผลตอ่ ความเสียหายทงั้ สุขภาพ เศรษฐกจิ และความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ อนั กลายเป็นปญั หาระหวา่ ง ชาติ ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ประสบปัญหาไฟป่าและหมอกปนควันเชน่ เดียวกบั ภมู ภิ าคอื่น ๆ จึงได้ เกิด \"ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพษิ จากหมอกปนควนั ข้ามแดน - ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution\" [2]อนั มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือปอ้ งกัน ลด และตดิ ตามตรวจสอบมลพิษจาก หมอกปนควนั ขา้ มแดน อันเป็นผลเนื่องจากไฟบนพื้นดนิ และ/หรอื ไฟปา่ โดยอาศัยความพยายามรว่ มกันใน ระดับประเทศ ระดบั ภมู ภิ าค และระดบั นานาชาติ ขอ้ ตกลงนี้มีผลบังคบั ใชเ้ ม่ือมีประเทศสมาชกิ 6 ประเทศได้ ให้สตั ยาบันในความตกลงน้ี ซ่ึงประเทศไทยพร้อมด้วยประเทศสมาชิกอาเซียนอกี 9 ประเทศไดร้ ว่ มลงนามใน ข้อตกลงฯ น้ี เมือ่ วนั ท่ี 10 มิถุนายน พ.ศ. 2545 ณ กวั ลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซยี และได้ด้าเนนิ การให้ สตั ยาบันครบ 6 ประเทศเมื่อปลายปี พ.ศ. 2546 ส่งผลใหข้ อ้ ตกลงฯ มีผลบังคับใช้เมื่อวนั ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ประเทศทีใ่ หส้ ัตยาบันทงั้ 9 ประเทศ ได้แก่ บรูไน มาเลเซีย พมา่ สิงคโปร์ เวียดนาม ไทย ลาว กัมพูชา และฟิลปิ ปนิ ส์

~ 14 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 7 แผน่ ดินไหว แผ่นดนิ ไหวเกิดจากอะไร เว็บไซตก์ รมทรพั ยากรธรณี ได้ระบวุ ่า แผน่ ดินไหวเป็นภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ ทีเ่ กิดจากการ ส่ันสะเทือนของพ้ืนดิน อันเน่ืองมาจากการปลอดปล่อยพลังงาน เพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงท่ี ซง่ึ ปัจจุบันนักวทิ ยาศาสตร์ยังไม่สามารถท้านายเวลา สถานท่ี และความรุนแรงของแผ่นดินไหวทจี่ ะเกิดขึ้นได้ใน อนาคต สว่ นสาเหตุการเกิดแผน่ ดินไหวนน้ั มี 2 สาเหตุใหญ่ ได้แก่ 1. การกระท้าของมนุษย์ อาทิ การทดลองระเบิดปรมาณู การกักเกบ็ น้าในเขอื่ น และแรงระเบิดจาก การท้าเหมืองแร่ เป็นตน้ 2. การเกดิ ข้นึ โดยธรรมชาติ อนั เน่ืองมาจากการเคล่อื นท่ีของแผน่ เปลือกโลก แบ่งออกเปน็ 2 ทฤษฎี ดงั น้ี - ทฤษฎวี ่าดว้ ยการขยายตัวของเปลือกโลก โดยแผน่ ดนิ ไหวเกดิ จากการที่เปลือกโลกเกดิ การคดโคง้ โก่งตัวอยา่ งฉับพลัน และเมื่อวัตถขุ าดออกจาก กันจงึ ปลดปล่อยพลงั งานออกมาในรูปคลนื่ แผน่ ดินไหว - ทฤษฎีว่าด้วยการคืนตัวของวัตถุ โดยแผน่ ดนิ ไหวมาจากการเคล่ือนตัวของรอยเลือ่ น และเม่ือรอยเล่ือนเคลื่อนตัวมาจดุ หนึง่ วตั ถุจะขาด ออกจากกนั และเสียรปู อย่างมาก พร้อมทง้ั ปลดปลอ่ ยพลังงานมหาศาลออกมาในรูปของคลนื่ แผน่ ดินไหว การป้องกนั ความเสียหาย ในปจั จุบันมกี ารสร้างอาคาร ตกึ ระฟ้าใหม่ ๆ บนหนิ แขง็ ในเขตแผน่ ดินไหว อาคารเหลา่ นั้นจะใช้โครงสรา้ ง เหล็กกล้าทแ่ี ขง็ แรงและขยบั เขย้อื นได้ มปี ระตแู ละหนา้ ต่างน้อยแห่ง บางแห่งกม็ ุงหลังคาด้วยแผน่ ยางหรือ พลาสติกแทนกระเบือ้ ง ปอ้ งกันการตกลงมาของกระเบ้ืองแข็งทา้ ให้ผูค้ นบาดเจบ็ ถนนมักจะสร้างใหก้ วา้ งเพ่ือ วา่ เมอื่ เวลาตึกพงั ลงมาจะได้ไมก่ ีดขวางทางจราจร และยังมีการสรา้ งท่ีวา่ งตา่ ง ๆ ในเมือง เช่น สวนสาธารณะ ซึ่งผู้คนสามารถจะไปหลบภัยให้พ้นจากการถล่มของอาคารบา้ นเรือนได้

~ 15 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 8 สึนามิ..ภัยรา้ ยทีน่ ่ากลวั สนึ ามิ (Tsunami) เป็นภาษาญปี่ ุ่น แปลว่า คลนื่ ทา่ (harbor wave) คอื คลนื่ หรอื กลมุ่ คลน่ื ที่มีจดุ ก้าเนดิ อยู่ใน เขตทะเลลึก ซง่ึ มักปรากฏหลังแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ แผน่ ดินไหวใต้ทะเล ภเู ขาไฟระเบิด ดนิ ถล่ม แผน่ ดินทรุด หรืออุกกาบาตขนาดใหญต่ กลงในทะเล ซึ่งคล่นื สนึ ามสิ ามารถเขา้ ทา้ ลายพนื้ ทช่ี ายฝ่งั ท้าให้เกิดการสูญเสยี ท้ัง ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ได้ ลกั ษณะของคลื่น คลืน่ สนึ ามแิ ตกตา่ งจากคลืน่ น้าธรรมดามาก ตัวคลน่ื นน้ั สามารถเดินทางไดเ้ ป็นระยะทางไกล โดยไม่ สูญเสยี พลังงาน และสามารถเขา้ ทา้ ลายชายฝ่งั ที่อยหู่ า่ งไกลจากจุดกา้ เนิดหลายพันกโิ ลเมตรได้ โดยทวั่ ไปแล้ว คลื่นสึนามิซ่ึงเป็นคลื่นในนา้ จะเดนิ ทางได้ชา้ กว่าการสั่นสะเทือนของแผน่ ดนิ ไหวที่เป็นคลื่นทเ่ี ดินทางในพน้ื ดนิ ดงั น้นั คล่ืนอาจเข้ากระทบฝ่ังภายหลังจากท่ผี ้คู นบริเวณนนั้ รสู้ กึ วา่ เกดิ แผน่ ดินไหวเป็นเวลาหลายชัว่ โมง คลืน่ โดยทว่ั ไปจะมีคุณสมบตั สิ า้ คัญทว่ี ดั ได้อยู่สองประการคือ คาบ ซ่ึงจะเป็นเวลาระหว่างลูกคลื่นสองลกู และ ความยาวคลน่ื ซงึ่ เปน็ ระยะห่างระหว่างลูกคลนื่ สองลูก ในทะเลเปิดคลนื่ สนึ ามิมคี าบทน่ี านมาก โดยเร่มิ จาก ไม่ก่ีนาทีไปจนเป็นชวั่ โมง ในขณะเดยี วกันกม็ ีความยาวคลืน่ ทีย่ าวมาก โดยอาจยาวถงึ หลายร้อยกิโลเมตร ในขณะทค่ี ลนื่ ทั่วไปทเี่ กิดจาก ลมท่ีชายฝ่งั นน้ั มีคาบประมาณ 10 วนิ าที และมีความยาวคลนื่ ประมาณ 150 เมตรเทา่ นั้น ความสูงของคล่ืนในทะเลเปิดมกั น้อยกวา่ หนง่ึ เมตรซึ่งทา้ ใหไ้ มเ่ ปน็ ที่สงั เกตของผู้คนบนเรือ คลื่นสึ นามจิ ะเคลื่อนทดี่ ว้ ยความเรว็ ตงั้ แต่ 500 ถงึ 1,000 กิโลเมตรตอ่ ชั่วโมง อย่างไรก็ตาม เม่ือเขา้ สูช่ ายฝ่งั ที่มคี วาม ลกึ ลดลง คล่นื จะมีความเรว็ ลดลงและเริ่มกอ่ ตวั เปน็ คลนื่ สูง โดยอาจมีความสงู มากกวา่ 30 เมตร คลน่ื สึนามจิ ะเคลื่อนตวั ออกจากแหลง่ ก้าเนิด ดงั นั้น ชายฝ่งั ทีถ่ กู กา้ บงั โดยแผ่นดนิ ส่วนอนื่ ๆ มกั ปลอดภยั จาก คลน่ื อยา่ งไรกต็ าม ยังมโี อกาสทีค่ ล่นื จะสามารถเลยี้ วเบนไปกระทบได้ นอกจากนี้ คล่นื ไมจ่ ้าเปน็ ตอ้ งมคี วาม แรงเทา่ กนั ในทุกทิศทุกทาง โดยความแรงจะขึน้ กับแหลง่ ก้าเนิดและลกั ษณะของภูมิประเทศแถบนน้ั คลน่ื จะมี พฤติกรรมเปน็ \"คล่นื น้าตืน้ \" เมือ่ อตั ราสว่ นระหว่างความลึกของน้าและขนาดของคลน่ื นัน้ มคี ่าต่้า ดงั น้นั เนือ่ งจากมีขนาดของคลื่นทส่ี งู มาก คลืน่ สนึ ามจิ งึ มคี ุณสมบัติเป็นคล่ืนน้าตนื้ แม้อยู่ในทะเลลกึ ก็ตาม สาเหตกุ ารเกดิ คลื่นสนึ ามิส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกใต้ทะเลอยา่ งฉับพลนั อาจจะเปน็ การเกิด แผ่นดนิ ถล่มยบุ ตวั ลง หรือเปลอื กโลกถูกดันขนึ้ หรือยุบตวั ลง เมื่อแผ่นดินใต้ทะเลเกดิ การเปลยี่ นรปู ร่างอยา่ ง กระทันหัน จะท้าใหน้ ้าทะเลเกิดเคลือ่ นตัวเพ่ือปรับระดับให้เขา้ สจู่ ดุ สมดุลและจะก่อใหเ้ กิดคล่นื สนึ ามิ การ เปลีย่ นรูปรา่ งของพื้นทะเลมักเกิดข้นึ เม่ือเกิดแผน่ ดินไหวเน่อื งจากการขยบั ตัวของเปลอื กโลก ซ่ึงจะเกิดบรเิ วณ ท่ีขอบของเปลอื กโลกหลายแผน่ เช่ือมตอ่ กนั ทเี่ รยี กว่า รอยเล่อื น (fault) เชน่ บริเวณขอบของมหาสมทุ ร แปซิฟิก นอกจากแผน่ ดนิ ไหวแลว้ ดินถลม่ ใตน้ า้ ทม่ี ักเกิดรว่ มกบั แผน่ ดินไหวสามารถท้าใหเ้ กิดคลื่นสึนามิได้ เช่นกัน นอกจากการกระทบกระเทือนทเี่ กิดใตน้ ้าแล้ว การท่ีพ้นื ดินขนาดใหญถ่ ล่มลงทะเล หรอื การตกกระทบ พนื้ น้าของเทหวัตถุ กส็ ามารถท้าให้เกดิ คลนื่ ได้ คลน่ื สนึ ามทิ ่ีเกดิ ในรูปแบบนี้จะลดขนาดลงอย่างรวดเร็วและไม่

~ 16 มีผลกระทบต่อชายฝ่งั ที่อยูห่ า่ งไกลมากนัก อยา่ งไรก็ตาม ถ้าแผน่ ดนิ มีขนาดใหญม่ ากพอ อาจทา้ ใหเ้ กดิ เมกะสึ นามิ ซงึ่ อาจมีความสูงรว่ มร้อยเมตรได้ ระบบเตอื นภยั จากสนึ ามิ การบรรเทาภยั จากสนึ ามจิ ะท้าไดโ้ ดยการเฝ้าระวังอย่างใกลช้ ดิ ประเทศไทยเป็นสมาชกิ ในระบบ เตอื นภยั สนึ ามิในแปซฟิ ิก (Pacific Tsunami Warning System) ซึง่ มีสมาชิก 26 ประเทศ ซ่งึ มีศนู ย์อยู่ที่ ฮาวาย เมอ่ื ศนู ย์ไดร้ บั ข้อมลู แผน่ ดนิ ไหวจะท้าการตรวจสอบว่าตา้ แหนง่ ท่เี กิดกับขนาดของแผ่นดนิ ไหววา่ เข้าเกณฑเ์ ส่ียงไหม ถา้ พบว่าเข้าเกณฑ์เสี่ยงกจ็ ะท้าการแจ้งเตอื นภัยโดยรอบ พร้อมท้ังจะใหข้ อ้ มลู เวลาทค่ี าดว่า คลื่นจะมาถึงสา้ หรบั บริเวณท่ีคลืน่ จะถึงใน 2-3 ช่ัวโมง เม่ือทางศูนยต์ รวจพบสนึ ามิใหญจ่ ากการตรวจวัดภาพ พน้ื ทะเล ศนู ยจ์ ะแจ้งเตอื นทว่ั ประเทศในภาคพ้ืนแปซิฟิค ข้อควรปฏิบตั เิ ม่ือเกดิ สึนามิ 1. กรณีที่อยูบ่ นบก หากไดร้ ับสัญญาณเตือนภัยข่าวการเกิดคล่นื สนึ ามิ ควรเคลื่อนย้ายออกจากพ้ืนทเ่ี สยี่ งภยั และปฏิบตั ิตามค้า แนะน้าของเจ้าหนา้ ทห่ี ากอยู่บริเวณชายหาด และรู้สกึ ได้ถึงแผน่ ดนิ ไหว ใหร้ บี หนีไปอยูบ่ รเิ วณทีส่ ูงและอยหู่ า่ ง จากแมน่ า้ หรือคลองท่ี ต่อเชอื่ มลงสู่ทะเลหรอื มหาสมทุ ร หากเกดิ คล่ืนสนึ ามิในบริเวณมหาสมุทรทห่ี า่ งไกล กม็ เี วลาเพียงพอท่จี ะหาบรเิ วณทส่ี ูงส้าหรับหลบภัยได้ แต่ ส้าหรบั คลื่นสึนามทิ เ่ี กิดขนึ้ ประจา้ ในท้องถนิ่ เมอ่ื รู้สึกถึงแผ่นดินไหว ก็จะมีเวลาเพียง 2 -3 นาทีเทา่ นนั้ ส้าหรบั หาทหี่ ลบภัยได้สา้ หรบั ตึกสูง หลายชัน้ และ มโี ครงสร้างเสริมความแข็งแรง ชนั้ บนของตึกสามารถใชเ้ ปน็ ท่หี ลบ ภัยคล่ืนสนึ ามิได้ในกรณที ่ีไม่มีเวลาพอในการหาทส่ี งู หลบภยั 2. กรณที ี่อยู่ในทะเล ปกติผู้เดนิ เรือจะไมท่ ราบวา่ เกิดสนึ ามเิ ม่ืออยใู่ นทะเล และเม่ือไดย้ ินการเตือนภัย ห้ามเข้าชายฝง่ั เพราะระดบั นา้ จะเปลีย่ นแปลงอย่างมากทช่ี ายฝ่งั แตถ่ ้าเรอื ก้าลงั จะออกจากทา่ เรือให้ตดิ ต่อกบั ทา่ เรอื เพ่ือรับฟังค้าแนะนา้ ถา้ รบั ทราบคา้ เตือนและมเี วลาที่จะไปยังนา้ ลึกก็อาจจะไปอย่างเป็นระเบยี บ แตส่ า้ หรับเรือเลก็ อาจจะปลอดภยั กวา่ ถา้ อพยพออกจากเรือไปยังท่สี ูง

~ 17 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 9 บคุ ลากรและหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ภยั ธรรมชาติ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (อังกฤษ: Department of Disaster Prevention and Mitigation) หรอื ช่ือย่อ \"ปภ.\" เปน็ ส่วนราชการระดบั กรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย ต้งั ขึ้นตามพระราชบัญญตั ิ ปรบั ปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545[3] เพอ่ื เปน็ หน่วยงานหลกั ในการปฏิบตั ิภารกิจท่เี คยซา้ ซ้อนอยู่ใน หนว่ ยงานอื่นๆ ใหเ้ ปน็ ระบบ โดยมภี ารกจิ ในการจดั ท้าแผนแม่บท วางมาตรการ ส่งเสริมสนับสนนุ การป้องกนั บรรเทาและฟน้ื ฟจู ากสาธารณภัย โดยกา้ หนดนโยบายด้านความปลอดภยั สร้างระบบปอ้ งกนั เตือนภยั ฟนื้ ฟู หลังเกิดภัย และการติดตามประเมินผล เพ่ือให้หลกั ประกนั ในด้านความมนั่ คงปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ได้รบั การถ่ายโอนภารกิจ และบุคลากรมาจาก 5 หนว่ ยงาน คอื  กรมการเรง่ รัดพฒั นาชนบท  กองป้องกันภัยฝา่ ยพลเรอื น กรมการปกครอง  สา้ นักงานคณะกรรมการป้องกนั อบุ ัติภยั สา้ นกั งานปลัดส้านักนายกรัฐมนตรี  กองสงเคราะหผ์ ูป้ ระสบภยั กรมประชาสงเคราะห์  กรมการพฒั นาชุมชน (งานบริการด้านช่างพื้นฐาน)

~ 18 ใบความรู้ ที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของเงนิ เร่อื งท่ี 1.ความหมายและประโยชน์ของเงิน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของ “เงิน” คือ วัตถุท่ี กำหนดให้ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนหรือชำระหน้ี ปัจจุบันส่วนใหญ่ คอื ธนบัตร และเหรียญ กษาปณ์ อย่างไรก็ดี เงินอาจไม่ได้จำ กัดอยู่ในรูปธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เท่าน้ัน แต่อาจอยู่ใน รูปแบบอ่นื ๆ อกี เชน่ เงินอิเล็กทรอนิกส์ “เงิน” เป็นส่ิงส้าคัญที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในยุคปัจจุบัน เพราะเป็นสิ่งทใี่ ช้ใน การซ้ือหา ส่ิงของหรือบริการเพื่อให้สามารถดำรงชีพได้ หรือเพื่อความสะดวกสบาย เช่น การซื้อ หา อาหาร สิ่งของจำ เป็น การศึกษา การรักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายเดินทาง ดังนั้น ทุกคน จึง จำเป็นต้องประกอบอาชีพ สร้างอาชีพให้ตนเองเพื่อให้มีเงินหรือมีรายได้เลี้ยงตนเองและคน ใน ครอบครัว การใหเ้ งนิ และการใหย้ มื เงนิ การให้เงิน หมายถึง การให้เงินโดยไม่ได้หวังผลตอบแทน และไม่ได้หวังให้มีการ นำเงิน ดงั กล่าวมาจา่ ยคืนให้ เชน่ พ่อแม่ใหค้ า่ ขนมแก่ลูก การบรจิ าคเงนิ เพอ่ื การกุศล การให้ยืมเงิน หมายถึง การให้เงินโดยคาดหวังให้มีการจ่ายคืนภายในระยะเวลา ท่ี ก ำ ห น ด แ ล ะ มี ก า ร ก ำ ห น ด อั ต ร า ผ ล ต อ บ แ ท น ข อ ง ก า ร ใ ห้ ยื ม เงิ น น้ั น ด้ ว ย ซ่ึ ง เรียกวา่ “ดอกเบี้ย” เช่น สมชายให้สมหญิงกู้ยืม 10,000 บาท คิดดอกเบี้ย 2% ต่อปีและให้ใช้คืน เมื่อครบ 1 ปี หมายความวา่ สมหญงิ ต้องจ่ายเงนิ คนื สมชาย 10,200 บาท เม่ือครบ 1 ปี เงนิ เฟ้อ เงนิ ฝืด เงินเฟอ้ หมายถงึ ภาวะท่รี ะดับราคาสินค้าโดยท่วั ไปเพม่ิ สงู ขึน้ ตอ่ เน่ือง หรือพดู ง่าย ๆ ว่า เปน็ ภาวะท่ขี า้ วของแพงขึ้นไปเรอื่ ย ๆ ลองเปรียบเทียบราคาก๋วยเตี๋ยวในปัจจุบัน เมื่อ 10 ปีท่ีแล้ว แลอีก 10 ปี ข้างหน้า ใน วันน้ีเราอาจซ้อก๋วยเตี๋ยวได้ในราคาชามละ 30 บาท เมื่อ 10 ปีก่อน เงิน 30 บาท อาจซื้อกว๋ ยเตีย๋ ว ไดถ้ ึง 2 ชาม แต่ในอีก 10 ปีข้างหน้าอาจจะซ้ือก๋วยเตี๋ยวไม่ได้สักชามก็เป็นไป ได้ นั้นแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า เงินเฟ้อทำ ให้เงินในกระเป๋าสตางค์ของเรา ที่มีอยู่เท่า เดิมแต่กลับมีค่าลดลง เพราะซ้ือของได้น้อยลง หรืออาจต้องใช้เงินมากขึ้นเพื่อให้ สามารถซือ้ สินค้า ได้จำนวนเท่าเดิม หรือที่เรียกวา่ “มูลค่าของเงนิ ” หรือ “อำนาจซ้ือ” ของเรา ลดลง เม่ือเวลาผ่านไป นน่ั เอง

~ 19 ใบความรู้ เร่ืองที่ 2 ประเภทของเงนิ ตราไทย เงินตราทใี่ ช้ในประเทศไทย ปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ ธนบตั ร ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานท่ีทา้ หน้าที่บริหารจัดการ ธนบัตร ภายในประเทศทุกข้ันตอน เร่ิมต้งั แต่การผลิต น้าธนบัตรใหม่ออกใช้หมุนเวียนและ ทำลาย ธนบัตรเก่า รวมท้งั ประเมินความต้องการใช้ธนบัตรใหม่ในแต่ละปีว่าควรจะผลิตธนบัตร ชนิด ราคาใดออกมาจำนวนมากน้อยเพยี งใด เพื่อให้เพยี งพอต่อความต้องการใช้จ่ายของ ประชาชน ในประเทศ ซึ่งในแต่ละปีปริมาณการผลิตธนบัตรจะผันแปรไปตามความต้องการใช้ ธนบัตร ที่เพมิ่ ข้นึ หรือลดลงตามภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศ ธนาคารแหง่ ประเทศไทยเป็นผู้มีสทิ ธพิ์ ิมพแ์ ละออกใช้ธนบัตรในประเทศไทย แตเ่ พียงผู้เดียว โดยปฏิบัติตามท่ีพระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2501 กำหนดไว้ว่าการนา้ ธนบตั รออกใช้หมุนเวยี นใน ระบบเศรษฐกจิ สามารถทำได้ 2 กรณี คือ 1. แลกเปลย่ี นทนั ทกี บั ธนบตั รทีอ่ อกใชห้ มุนเวียนอยู่แลว้ ในมลู คา่ ที่เทา่ กนั เชน่ ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท 10 ฉบับ มูลค่า 10,000 บาท แลกเปลี่ยนกับธนบัตรใหม่ชนิด ราคา เดียวกันหรือชนิดราคาอื่นในมูลค่าท่ีเท่ากัน อาทิ ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท จำ นวน 20 ฉบบั 2. แลกเปลี่ยนทันทีกับสินทรัพย์ที่กฎหมายกำหนดให้เป็นทุนสำ รองเงินตรา ในมูลค่าที่ เท่ากัน เช่น น าทองคำมูลค่า 100 ล้านบาทมาเข้าบัญชีทุนสำ รองเงินตรา แลกเปลี่ยน กับธนบัตร เพอื่ น าออกใชม้ ลู คา่ 100 ล้านบาทเทา่ กัน ทุนสำ รองเงินตรา คือสินทรัพย์ที่ใช้หนุนหลังธนบัตรออกใช้ เพื่อสร้างความ เชื่อม่ันให้แก่ ประชาชน และเป็นหลักประกันว่าธนบัตรออกใช้ทุกฉบับมีมูลค่าตามราคาที่ระบุไว้ บนหน้า ธนบัตร โดยสินทรัพย์ที่กฎหมายกำหนดใหเ้ ป็นทุนสำรองเงินตรา เช่น ทองคำเงินตรา ตา่ งประเทศท่ี อยใู่ นรูปของเงินฝากในธนาคารนอกราชอาณาจักรหรือในสถาบนั การเงนิ ระหว่าง ประเทศ หลกั ทรพั ย์ ต่างประเทศ หลักทรพั ยร์ ัฐบาลไทย ต๋วั เงินในประเทศ ธนบัตรที่ใชห้ มุนเวยี นในปจั จบุ นั นับจากปี พ.ศ. 2445 ท่เี ร่มิ นำธนบัตรแบบแรกออกใช้ จนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยมธี นบตั รออกใช้หมนุ เวียนรวมจำนวน 16 แบบ โดยธนบัตรแบบ ปัจจุบัน คือ ธนบัตร แบบสิบหก1มี 5 ชนดิ ราคา ไดแ้ ก่ 20 บาท 50 บาท 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท

~ 20

~ 21

~ 22 ขนาดมาตรฐานของธนบตั รแบบปจั จุบนั (แบบสิบหก) การกา้ หนดขนาดธนบัตรมุ่งเน้นถงึ ความสะดวกในการพกพาเป็นหลัก และเพ่ือ ประโยชน์ ต่อการสังเกตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ที่มีความบกพร่องทางสายตาซ่ึง สามารถ แยกแยะชนิดราคาธนบัตรด้วยการสัมผัสเท่าน้ัน จึงกำหนดให้ธนบัตรทุกชนิดราคามคี วามกว้าง เทา่ กันคือ 72 มลิ ลิเมตร แตม่ ีความยาวทล่ี ดหลนั่ กนั ชนดิ ราคาละ 6 มลิ ลิเมตร วธิ ีการตรวจสอบธนบตั รแบบสิบหก 1. สัมผัส 1.1 กระดาษธนบัตร ธนบัตรทำจากกระดาษชนิดพิเศษท่ีมีใยฝา้ ยเป็นสว่ นประกอบหลัก จงึ

~ 23 มีความแกร่ง ทนทาน ไม่ย่ยุ ง่าย เมอ่ื จับสมั ผสั จะให้ความรูส้ กึ แตกต่างจากกระดาษทวั่ ไป 1.2 ลายพมิ พ์เส้นนนู สามารถสัมผัสความนูนตามจุดต่าง ๆ ได้แก่ ตัวเลขอารบิกแจ้ง ชนิด ราคาที่มุมขวาบนของธนบัตร ตัวอักษรคำว่า “รัฐบาลไทย” และตัวเลขไทยแจ้งชนิด ราคา ด้านหนา้ ธนบตั ร นอกจากนี้ ทบี่ รเิ วณมุมลา่ งด้านขวาของธนบัตรทุกชนดิ ราคาจะมีลายพิมพ์ เสน้ นนู รปู ดอกไม้ ซึง่ เป็นสัญลกั ษณแ์ จง้ ชนิดราคาธนบัตรทป่ี ระยุกต์มาจากอักษรเบรลล์ เพอื่ อำนวย ความสะดวกแก่ผ้มู คี วามบกพรอ่ งทางสายตา 2. ยกส่อง 2.1 ลายนา้ ลายน้าเกิดข้ึนในข้ันตอนการผลิตกระดาษที่ให้เน้ือทา้ กระดาษมีความหนา ไม่ เท่ากัน เมื่อยกธนบัตรส่องกับแสงสว่างจึงมองเห็นภาพที่มีการไล่ระดับของแสงเงาและตัวเลขไทย ตามชนิดราคาธนบัตรท่ีมีความโปร่งแสงเป็นพิเศษประดบั ควบค่ลู ายน้าพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั 2.2 แถบสีและแถบสี่เหลี่ยมเคลื่อนไหวสลับสี ธนบัตรทุกชนิดราคามีแถบสีต่าง ๆ ตามชนิดราคาธนบัตรที่ฝังไว้ใน เน้ือกระดาษตาม แนวตั้ง มีบางส่วนของแถบปรากฏให้เห็นเป็นระยะ ๆ ที่ดา้ นหลังของธนบตั ร เมื่อยกส่องดูกับแสง สว่างจะเห็นเป็นเส้นตรงยาวต่อเนื่องบนแถบมีตัวเลขและตัวอักษร โปร่งแสงแจง้ ชนิดราคา ธนบัตรท่มี องเห็นได้ทั้งสองด้าน และสามารถมองเห็นการเปล่ียนสี ของแถบนเี้ มื่อพลกิ เอียง ธนบตั รไปมา

~ 24 ภาพที่ 1 - 3 เป็นแถบสี ซึ่งมีอยู่ในธนบัตรชนิดราคา 20 บาท 50 บาท และ 100 บาท ภาพท่ี 4 - 5 เป็นแถบสีที่มีส่ีเหล่ียมเคลื่อนไหวสลับสี ซ่ึงมีอยู่ในธนบัตรชนิด ราคา 500 บาท และ 1000 บาท 2.3 ภาพซอ้ นทับ บริเวณมุมบนด้านซ้ายของธนบตั รมีตวั เลขอารบิกแจ้งชนดิ ราคาธนบตั รท่ี พิมพ์แยกไว้ในตำแหน่งตรงกันของด้านหน้าและด้านหลังธนบัตร จะมองเห็นเป็นตัวเลข ที่ สมบรู ณ์เมื่อยกธนบตั รส่องกับแสงสว่าง 3. พลิกเอียง 3.1 หมึกพิมพ์พเิ ศษสลบั สี เป็นจุดสังเกตสำหรับธนบัตรชนิด ราคา 500 บาท และ 1000 บาท เทา่ นนั้ โดยใหส้ งั เกตทมี่ ุมลา่ งด้านซ้ายของธนบัตรเม่ือพลิกขอบ ลา่ งธนบัตรข้ึน ลายประดิษฐ์ สที องจะเปลี่ยนเปน็ สเี ขยี ว

~ 25 3.2 แถบฟอยล์ 3 มติ ิ แถบฟอยล์ 3 มิตทิ ่ผี นึกอยูบ่ นดา้ นหน้าธนบัตรชนดิ ราคา 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท จะมองเห็นเป็นหลายมิติแตกตา่ งกันตามชนิดราคาและจะเปล่ียน สี สะท้อนแสงวาววับเม่อื พลกิ เอียงธนบัตรไปมา 3.3 ตัวเลขแฝง ในลายประดษิ ฐ์มุมล่างซา้ ยของธนบัตรทกุ ชนิดราคาเม่อื ยกธนบัตรเอียงเขา้ หาแสงสว่างและมองผา่ นจากมุมล่างซา้ ยเขา้ หาก่ึงกลางธนบตั รในมุมทเ่ี หมาะสมจะเห็นตัวเลขอา รบกิ แจง้ ชนิดราคาธนบตั รฉบับนั้น เหรียญกษาปณ์ กรมธนารักษ์ได้ผลิตเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนออกใช้ในระบบเศรษฐกิจ ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา ซึ่งมีหลากร่นุ หลายแบบ โดยได้ปรับเปล่ยี น รูปลักษณะ ลวดลาย และ กรรมวธิ กี ารผลติ เร่อื ยมา เพื่อให้สะดวกต่อการพกพา การใชส้ อย และยาก ตอ่ การปลอมแปลง

~ 26 เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนเป็นเหรียญกษาปณ์ท่ีใช้หมุนเวียนกันอยู่ท่ัวไปใน ชีวติ ประจำวัน มี 9 ชนิดราคาคือ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์ 10 สตางค์ 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ แตใ่ ช้หมนุ เวยี นในระบบเศรษฐกิจมี 6 ชนดิ ราคา คือ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์ สว่ นเหรียญชนดิ ราคา 10 สตางค์ 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ มีใช้ในทางบัญชีเทา่ น้ัน ในปี พ.ศ. 2551 กระทรวงการคลังไดอ้ นมุ ตั ิใหก้ รมธนา รักษ์ จดั ทำ เหรียญ กษาปณ์ออกใช้หมนุ เวยี นชุดใหม่ในระบบเศรษฐกจิ โดยมีลกั ษณะและชนิดราคา ดงั น้ี 1. เหรยี ญกษาปณโ์ ลหะสองสี (สขี าวและสีทอง) ชนิดราคา 10 บาท 2. เหรยี ญกษาปณ์โลหะสีขาว (ทองแดงผสมนิกเกิล เคลือบไส้ทองแดง) ชนิดราคา 5 บาท 3. เหรยี ญกษาปณ์โลหะสีทอง (ทองแดงผสมนิกเกลิ และอลูมิเนียม) ชนดิ ราคา 2 บาท การดอู ตั ราแลกเปล่ียนอย่างง่าย ตวั อย่าง ตาราง แสดงอตั ราแลกเปลยี่ นระหว่างเงินตา่ งประเทศและเงนิ บาท ทผ่ี ้ใู ห้บรกิ าร ซงึ่ ประกอบ ธรุ กจิ ปจั จยั ชา้ ระเงนิ ตราต่างประเทศที่ไดร้ บั อนญุ าตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ประกาศไว้(เงนิ บาท ตอ่ 1 หนว่ ยสกุลเงนิ ตราต่างประเทศ) ประเทศ สกุลเงนิ อัตรารบั ซ้ือ อตั ราขาย สหรฐั อเมรกิ า USD 34.89 35.22 สหราชอาณาจกั ร GBP 49.84 50.69 ยโู รโซน EUR 39.25 39.96 ญ่ีปนุ่ (ต่อ 100 เยน) JPY 31.68 32.37 ฮอ่ งกง HKD 4.47 4.55 มาเลเซยี MYR 8.85 9.13 คอื อตั ราทผี่ ใู้ หบ้ ริการเสนอซอ้ื เงินตราตา่ งประเทศ อัตราขาย คอื อตั ราท่ผี ูใ้ ห้บรกิ ารเสนอขายเงินตรา ต่างประเทศ -หากต้องการนำเงนิ บาทไทยไปแลกเปน็ เงนิ ดอลลารส์ หรัฐ กลา่ วคือ ตอ้ งการ ซอื้ เงินดอลลาร์ สหรฐั เราต้องดรู าคาท่ีอตั ราขาย จากตัวอยา่ งข้างตน้ 1 USD = 35.22 บาท -หากตอ้ งการนำเงนิ ดอลลารส์ หรฐั ไปแลกเปน็ เงินบาท กล่าวคือ ต้องการขาย เงนิ ดอลลาร์ สหรฐั เราตอ้ งดูราคาที่อัตรารบั ซอ้ื จากตัวอย่างขา้ งต้น 1 USD = 34.89 บาท วิธกี ารคำนวณอัตราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา่ งประเทศ ในกรณีที่ต้องเดินทางไปต่างประเทศ เราอาจต้องแลกเปลี่ยนสกุลเงินเป็นของ ประเทศ นนั้ ๆ ซึ่งสามารถคำนวณอตั ราแลกเปลีย่ นได้ ดังนี้ ตัวอยา่ งที่ 1 หากต้องการเดินทางไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งใช้สกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐ (USD) สมมตุ วิ ่า อัตราแลกเปล่ียนขณะน้นั อยู่ที่ 1 USD = 30 บาท หากต้องการแลก 100 USD ตอ้ งใชเ้ งนิ บาทไทยแลกเป็นจำนวนเท่าไร

~ 27 ใบความรู้ เรือ่ งท่ี 3 การฝากเงิน การประกนั ภยั และการลงทนุน การฝากเงนิ เม่ือไดร้ ับเงินจากแหล่งตา่ ง ๆ เชน่ รายได้จากการประกอบอาชีพ สิง่ ท่ีควรท้า คือแบ่งเงินบางส่วนไปเก็บออมเพ่ือวตั ถปุ ระสงคต์ า่ ง ๆ เช่น ไวใ้ ช้ยามฉุกเฉิน เปน็ ค่าใช้จ่ายหลัง เกษียณหรือเลิกท้างาน การมองหาสถานทีเ่ กบ็ รักษาเงนิ จึงเป็นเรื่องจา้ เป็น โดยแหล่งเกบ็ เงนิ ท่ีนิยม กันคือการฝากเงินไวก้ ับธนาคาร ซ่ึงนอกจากมีความปลอดภยั กว่าการเก็บเงินสดไวก้ ับตัว หรือไว้ที่บ้าน แลว้ การฝากเงินไวก้ ับธนาคารยงั ท้าให้ได้รับผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ย เงนิ ฝากด้วย อย่างไรกด็ ีการจะไดร้ ับดอกเบี้ยมากหรือน้อยขน้ึ อยู่กบั ว่าเป็นบัญชเี งินฝากประเภทใดมี เงื่อนไขอยา่ งไรเราจึงจ้าเป็นต้องรูจ้ กั บัญชเี งินฝากแต่ละประเภทเพื่อเลือกบัญชี ทเี่ หมาะสมและตรงกับ ความต้องการของเรามากทส่ี ุด โดยปจั จบุ ันบญั ชีเงินฝากที่รู้จักและใช้กนั มาก เช่น บัญชีเงนิ ฝากออม ทรัพย์ บัญชีเงนิ ฝากประจา้ ประเภทของบญั ชีเงินฝาก 1. บญั ชเี งินฝากออมทรพั ย์ ลกั ษณะ -สามารถฝากหรือถอนเงนิ เมือ่ ไหร่กไ็ ด้ -ก้าหนดจา้ นวนเงนิ ฝากขั้นต้า่ ไว้ไม่สูงนัก เช่น 100 - 1,000 บาท -จา่ ยดอกเบ้ียให้ปีละ 2 ครงั้ ในเดือนมถิ ุนายนและธันวาคมของทุกปี ประโยชน์ ถ้าดอกเบ้ยี รับไม่เกนิ 20,000 บาท ไมต่ ้องเสียภาษี 15% ของดอกเบ้ีย ท่ีได้รับ (รวมรับจากทุกสถาบัน การเงินใน 1 ป)ี ถา้ เกิน 20,000 บาท ธนาคารจะหักภาษี ณ ท่จี ่าย ไว้เลยจากบัญชีเงินฝากมีบริการ บัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิต สา้ หรบั ใช้ถอนหรือโอนเงินทเี่ คร่ือง เอทีเอ็มไดส้ ะดวก (บัตรเดบิตยัง สามารถใชช้ ้าระคา่ สนิ ค้าและบรกิ ารไดด้ ้วย)แตห่ ากต้องการเปดิ บญั ชีเพียงอย่างเดยี วกส็ ามารถท้าได้ โดยไม่จ้าเป็นต้องทา้ บัตรใด ๆ คาแนะนา 1.ควรท้ารายการฝาก ถอน หรือโอนอย่างน้อยปลี ะ 1 คร้ัง เพื่อหลีกเลี่ยง การถูกคิด คา่ ธรรมเนียมรักษาบัญชีกรณีบญั ชีเงินฝากไม่เคลื่อนไหว และมียอดเงินฝากคงเหลือ น้อยกว่าทีก่ ้าหนด 2.ปรับสมุดบัญชีอย่างสมา่้ เสมอเพื่อดูวา่ มีเงินคงเหลือในบัญชีเพียงพอส้าหรับการหักบัญชีหรือ เง่ือนไขต่าง ๆ ที่ก้าหนดหรือไม่ เช่น ค่าใช้จ่ายที่จะถูกตดั ออกจากบัญชี ยอดเงินขั้นต่้าที่ธนาคาร ก้าหนด เพ่ือไม่ให้พลาดการชา้ ระเงินหรือมเี งินไม่พอที่จะช้าระซึ่งอาจท้าให้ ต้องเสียค่าใชจ้ า่ ยเพมิ่ เติม 3. หากไม่มีความจา้ เป็นต้องใช้บตั รเอทีเอ็มหรือบตั รเดบิตควรแจ้งยกเลิก บัตร หรือแจ้ง เจา้ หน้าทว่ี า่ ไม่ต้องการทา้ บัตร จะช่วยประหยัดค่าธรรมเนียมทีไ่ มจ่ ้าเป็นได้เป็นบัญชเี งินฝากประจ้าท่ี ได้รับยกเว้นภาษี แต่เปิดไดเ้ พียงบัญชเี ดยี ว ประโยชน์

~ 28 -ได้รบั อัตราดอกเบีย้ เงนิ ฝากสงู กวา่ บญั ชเี งนิ ฝากออมทรัพย์ -ไดฝ้ ึกวนิ ยั การออม (ต้องน้าเงินไปฝากทุกเดือน เดือนละเท่า ๆ กัน) -ดอกเบี้ยท่ีไดร้ ับไม่ต้องเสียภาษี ข้อจากัด -มขี ้อจา้ กัดและเงื่อนไขในการถอน เชน่ หากมีการถอนก่อน ระยะเวลาท่ีกา้ หนดไวอ้ าจไม่ได้ รับดอกเบ้ีย และไม่ได้รับสิทธิยกเวน้ การหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% บัญชีนี้เหมาะกับใคร ผทู้ ่ีต้องการสรา้ งวนิ ยั การออม และเพมิ่ รายไดจ้ ากดอกเบย้ี ผู้ท่ีไม่มีความจ้าเป็นท่ี จะใช้เงินที่ออมไวใ้ นชว่ งระยะเวลาหนง่ึ (อย่างน้อย 2 ปี) คาแนะนา ผสู้ นใจจะฝากเงินในบัญชเี งินฝากประจ้าทั้ง 2 ประเภทน้ี ควรศึกษาเงื่อนไขการฝากและถอนเงนิ ให้ เข้าใจและต้องมั่นใจวา่ ยังไม่มีความจ้าเป็นต้องใช้เงินระหวา่ งท่ฝี ากเงินไว้กับธนาคารเพื่อปอ้ งกันปญั หา การไม่ปฏิบตั ิตามเง่ือนไขและท้าใหไ้ ม่ได้รับดอกเบี้ย ตามท่ีกา้ หนด สลากออมทรัพย/์ สลากออมสนิ เปน็ ทางเลือกการออมอยา่ งหนึ่งของผู้ท่ชี อบล้นุ รางวลั แม้จะให้ผลตอบแทน ไม่สูงนัก (หากไม่ถูก รางวัล) แต่จะไดเ้ งินต้นคนื เต็มจ้านวนเมื่อครบก้าหนด ซึ่งแตกต่างจากการ ซื้อหวย หรือสลากกินแบ่ง รฐั บาล สถาบันการเงินที่ออกสลากในปัจจบุ ัน4เป็นสถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรฐั ลักษณะของสลาก ออมทรัพย์/สลากออมสิน คือ ขายเปน็ จ้านวนหน่วยและมีการ กา้ หนดอายุท่ีแน่นอน (เช่น อายุ 3 ปี หรอื 5 ปี) และมักมีการจ่ายดอกเบยี้ เปน็ ผลตอบแทนหาก ถือจนครบตามเกณฑ์ท่ีผู้ออกสลากก้าหนด ผู้ซ้ือสลากสามารถลุน้ รางวัลได้ทกุ งวดจนกวา่ สลาก จะหมดอายุ แต่ก็อาจมีสลากบางรุ่นซึ่งหากถอน กอ่ นครบก้าหนดอาจได้คืนเงินตน้ น้อยกว่าท่จี ่ายไป หรือมีบริการพิเศษทีส่ ามารถใช้สลากค้าประกัน การกู้เงินได้ดว้ ย ท้ังนี้ เมื่อซื้อสลาก สถาบันการเงินที่ออกสลากมักแนะน้าให้เปิดบัญชีเงนิ ฝาก ออม ทรัพย์คู่กนั เพ่ือเป็นบัญชเี งินฝากส้าหรับการรับเงินหากถูกรางวลั ขอ้ จากัด 1.เงนิ ท่ีน้ามาซื้อสลากออมทรัพยค์ วรจะเป็นเงินเยน็ หรือเป็นเงนิ ที่ไม่ต้องการ ใช้ตลอดอายของ สลาก เพราะหากถอนสลากก่อนก้าหนดอาจไดร้ บั เงนิ คนื น้อยกว่าจ้านวนที่ซ้ือ 2. ควรศึกษาเง่ือนไขให้ละเอยี ดก่อนซื้อ 3. เมื่อไดส้ ลากมาควรตรวจสอบความถูกต้องทุกคร้ัง เช่น ชอ่ื นามสกุล จ้านวน หน่วย จา้ นวนเงินทซี่ ้ือ 4. ควรเก็บรักษาสลากให้ดี หากท้าหายต้องไปแจ้งความ และติดต่อขอท้าสลาก ใหม่ซ่ึงจะมี คา่ ธรรมเนียมในการออกสลากใหม่ด้วย 5. ควรพิจารณาและเปรียบเทยี บผลตอบแทนของสลากแตล่ ะประเภท หรือ แต่ละรุ่นก่อน ตดั สินใจซื้อ

~ 29 รปู แบบประกนั ภยั กอ่ นซ้ือประกันภยั ผเู้ อาประกันภัยควรศึกษาท้าความเขา้ ใจ เปรียบเทยี บ รปู แบบ ความคมุ้ ครอง และเบ้ีย ประกันภยั ของการประกนั ภัยกอ่ น เพื่อให้ไดร้ บั แบบประกันภัย ท่มี ีความเหมาะสม ตรงตามความต้องการมาก ทสี่ ุด ซ่ึงสามารถแบ่งประกันภัยออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ไดแ้ ก่ 1) ประกันชวี ติ 2) ประกันวินาศภยั โดยแตล่ ะ ประเภทก็ยังมรี ูปแบบการ ประกันภยั ทจ่ี า้ แนกย่อยอีก 1. ประกนั ชีวติ เป็นสัญญาระหวา่ งผูร้ บั ประกันภยั (บริษัทประกนั ชีวติ ) กับ ผู้เอาประกนั ภัย โดยเรยี ก สญั ญาดังกลา่ วว่ากรมธรรมป์ ระกนั ชวี ติ ซ่ึงก้าหนดให้ผเู้ อาประกันภยั ตอ้ งจ่ายเบย้ี ประกันภยั ใหแ้ กบ่ ริษทั ประกันชีวติ หากผเู้ อาประกนั ภัยเกิดเสยี ชวี ิตขณะที่ กรมธรรมม์ ผี ลบงั คบั (ยงั อย่ใู นระยะเวลาการคุ้มครอง) ภายใต้เงื่อนไขในกรมธรรม์ เช่น การ เสยี ชวี ิตทไี่ ม่ใช่การฆา่ ตวั ตาย บริษัทประกันชีวติ จะจ่ายเงินจา้ นวนหนึง่ ให้กับผู้รับผลประโยชน์ เรียกว่าเงินสนิ ไหม หากพจิ ารณาจากลักษณะความคมุ้ ครองและผลประโยชน์ สามารถแบง่ แบบ การประกันชีวิตไดด้ งั นี้ 1) แบบการประกันชีวิตพนื้ ฐาน มอี ยู่ 4 แบบคือ 1.1) ประกนั ชวี ิตแบบช่ัวระยะเวลา (term insurance) เปน็ การ ประกนั ชวี ติ ทบี่ รษิ ัทประกันชีวติ จะ จ่ายเงนิ เอาประกันภยั ให้แกผ่ ู้รบั ประโยชน์ เม่อื ผู้เอา ประกันภยั เสยี ชวี ิตในระยะเวลาเอาประกนั ภัย

~ 30 วตั ถปุ ระสงค์เพอื่ คุม้ ครองการเสียชีวิตกอ่ นวัย อนั สมควร การประกนั ชวี ิตแบบน้ไี ม่มีสว่ นของการออมทรัพย์ เบยี้ ประกันภยั จึงต้า่ กวา่ แบบ อื่น ๆ และไม่มเี งินเหลือคนื ให้หากผูเ้ อาประกันภัยมชี ีวติ อยู่จนครบกา้ หนดสัญญา 1.2) ประกนั ชวี ิตแบบตลอดชีพ (whole life) เป็นการประกนั ชวี ติ ที่ บริษทั ประกนั ชีวติ จะจา่ ยเงนิ เอา ประกันภัยให้แก่ผู้รบั ประโยชนเ์ ม่ือผู้เอาประกันภัยเสียชีวติ ใน ขณะทก่ี รมธรรม์มีผลบงั คับ หรอื หากผเู้ อา ประกนั ภยั มีอายุยนื ยาวจนครบกา้ หนดสัญญา ผู้เอา ประกันภัยจะได้รับจา้ นวนเงนิ เอาประกนั ภยั (ระยะเวลา เอาประกนั ชีวิตแบบตลอดชีพ กา้ หนดให้ครบก้าหนดสัญญาเมือ่ ผู้เอาประกันภัยมีอายุครบ 90 ปี ถึง 99 ปี) วตั ถุประสงคเ์ พือ่ คุม้ ครองการเสียชวี ติ เพื่อใหบ้ คุ คลท่ีอยใู่ นความอปุ การะของผ้เู อาประกนั ภยั ไดร้ ับเงนิ ทุน จา้ นวนหนึง่ ไว้ส้าหรบั จุนเจอื หรอื เปน็ เงินทุนสา้ หรบั การเจบ็ ป่วยครั้งสุดท้ายและค่าทา้ ศพ เพอ่ื ไม่ใหต้ กเป็น ภาระของคนอนื่ 1.3) ประกนั ชวี ติ แบบสะสมทรัพย์ (endowment) เปน็ การประกนั ชวี ิตทบ่ี ริษัทประกันชีวิตจะจา่ ย จ้านวนเงินเอาประกนั ภยั ใหแ้ ก่ผู้เอาประกนั ภัย เมื่อมีชวี ติ อย่คู รบ ก้าหนดสัญญา หรือจ่ายเงนิ เอาประกันภยั ใหแ้ กผ่ รู้ บั ประโยชนเ์ ม่ือผู้เอาประกนั ภัยเสยี ชวี ติ ลง ภายในระยะเวลาเอาประกนั ภยั วตั ถปุ ระสงค์เพ่ือคุ้มครอง การเสียชวี ติ และการออมทรัพย์ โดยในสว่ นของการออมทรัพย์ ผู้เอาประกันภยั ไดร้ บั เงินคืนในระหว่างสัญญา หรอื เมอ่ื สัญญา ครบก้าหนด 1.4) ประกนั ชีวติ แบบบ้านาญ (annuity) เปน็ การประกนั ชีวิตที่ บริษทั ประกนั ชีวิตจะจ่ายเงนิ จา้ นวน หนึ่งเท่ากนั อย่างสม่้าเสมอให้แก่ผเู้ อาประกันภยั ทุกเดือน นบั แต่ผเู้ อาประกนั ภัยเกษยี ณอายุ หรอื มีอายุ ครบ 55 ปี หรอื 60 ปี เปน็ ต้นไป แลว้ แตเ่ งอ่ื นไข ในกรมธรรม์ทีก่ ้าหนดไว้ สา้ หรับระยะเวลาการจา่ ยเงินขน้ึ อยู่ กับความต้องการของผูเ้ อา ประกันภัย โดยบรษิ ัทประกันชีวติ จะเก็บเบย้ี ประกันภยั จนถงึ อายุหน่ึงซ่ึงช่วง ระยะเวลาที่เก็บ เบี้ยประกันภยั จะอย่ใู นช่วงท่ีท้างาน หรอื ชว่ งกอ่ นเกษยี ณอายุ วัตถุประสงค์เพื่อใหค้ วาม คุ้มครองกรณที ผ่ี ูเ้ อาประกนั ภยั ทค่ี าดว่ามีอายุยืนยาว และต้องการใหม้ เี งินไดป้ ระจ้าหลังจาก ทเ่ี กษยี ณอายุ 2) แบบการประกันชีวติ ควบการลงทนุ คอื การประกนั ชีวิตทีใ่ หค้ วาม คุ้มครองการเสียชีวิตและการออม ทรัพย์ โดยเบยี้ ประกันภัยจะแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ สว่ น ของความคุ้มครอง ส่วนของคา่ ใช้จ่ายต่าง ๆ และ สว่ นของการออมทรัพย์ เงินในส่วนของการ ออมทรพั ย์ท่ีได้รบั จะมากหรือน้อยขนึ้ กับผลตอบแทนทไ่ี ด้รบั จาก การลงทุน มีอยู่ 2 แบบคือ 2.1) ประกันชวี ติ แบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ (universal life) เปน็ การ ประกนั ชีวติ ท่ใี ห้ความค้มุ ครองการเสียชวี ติ และการออมทรพั ย์ โดยสว่ นของการออมทรพั ย์ บริษัทประกันชีวติ เปน็ ผบู้ รหิ ารการลงทุน2.2) ประกนั ชวี ติ แบบควบการลงทุน (unit link) เปน็ การประกนั ชีวติ ที่ใหค้ วามคุ้มครองการเสียชวี ิตและการออมทรพั ย์ โดยส่วนของการออมทรัพย์ ผู้เอาประกนั ภยั เปน็ ผ้เู ลือก ลงทุนในกองทนุ รวมประเภทตา่ ง ๆ ซึง่ กองทุนรวมดังกลา่ วบรษิ ทั ได้ พิจารณาจดั สรรเพื่อใหผ้ ้เู อาประกันภยั ได้ เลือกลงทุน 1) ไฟไหม้ ฟา้ ผา่ (รวมถงึ ความเสียหายตอ่ เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ท่เี กดิ จาการ ลัดวงจรจากฟ้าผา่ ) ระเบดิ ภยั จากการเฉีย่ ว และ/หรือการชนของยานพาหนะหรอื สัตว์พาหนะ ภัยจากอากาศยาน และ/หรือวตั ถุที่ตกจาก

~ 31 อากาศยาน ภยั เน่ืองจากน้าทีเ่ กดิ ขน้ึ โดยอบุ ัติเหตุ จากการปล่อยการรว่ั หรอื ลน้ ออกมาของน้าหรือไอน้า จาก ท่อนา้ ถงั น้า ฯลฯ ท้งั น้ี บรษิ ัทจะ ชดใชต้ ามความเสียหายที่เกดิ ขน้ึ จริง แต่ไม่เกินจา้ นวนเงนิ เอาประกนั ภัย 2) กลุ่มภยั ธรรมชาติ ได้แก่ ภยั ลมพายุ ภยั น้าท่วม ภยั แผ่นดินไหว หรือภูเขา ไฟระเบิด หรอื คล่นื ใต้ นา้ หรือ สนึ ามิ และภยั จากลูกเห็บ ทัง้ นี้ บรษิ ัทจะชดใชต้ ามความเสยี หาย ท่ีเกิดขึ้นจริง ทุกภัยรวมกันแล้วไม่ เกิน 20,000 บาท 3) การขยายความคุ้มครองค่าเชา่ ทอี่ ย่อู าศัยชั่วคราว กรณีทรพั ยส์ ินที่ เอาประกนั ภยั เปน็ ส่ิงปลกู สร้าง และไดร้ บั ความเสียหายอันเนื่องจากภยั ตามข้อ 1) ทง้ั น้ี หากผู้รบั ประกันภยั พบว่าความเสยี หายเกิดจากการทุจริตหรือความ ประมาทอย่างร้ายแรง หรอื การ กระทา้ โดยเจตนา ของผู้เอาประกนั ภัยหรอื ผรู้ บั ประโยชน์ หรือ แสดงข้อความ เอกสารอันเปน็ เท็จเพื่อใหไ้ ดม้ า ซ่งึ ผลประโยชน์ของการประกันภยั นี้ บรษิ ัทมสี ทิ ธิ ปฏิเสธการชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนในความเสียหาย โดยไม่ ตอ้ งคืนเบยี้ ประกันภัย 1. วัตถปุ ระสงคข์ องการทาประกันภัย เปน็ สิง่ ท่ีต้องพิจารณาเปน็ อันดับแรก ต้องรู้ก่อนวา่ “เรา ต้องการทา้ ประกันภัยเพ่ืออะไร”เพ่ือเลือกไดต้ รงกบั ความต้องการ เชน่ •ต้องการป้องกนั ความเส่ียง ควรจะเลอื กประกนั ภยั โดยดทู กี่ ารคมุ้ ครอง เป็นหลกั เชน่ ถา้ กังวลว่า ครอบครัวจะผ่อนบ้านต่อไม่ไหวหากเราซง่ึ เปน็ ผู้หารายไดห้ ลักของ ครอบครวั เสยี ชีวติ ไปก่อน ก็ควรเลือกท้า ประกันคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ ถา้ กังวลว่าจะไม่มีเงนิ ซื้อ รถใหมถ่ ้ารถหาย ก็ควรเลอื กทา้ ประกนั ภยั รถยนต์ ประเภท 1 •ตอ้ งการทา้ ประกนั ชีวิตและเนน้ การออมเงินควบคูไ่ ปดว้ ย อาจจะเลือก ท้าประกนั ภยั แบบสะสม ทรพั ย์ หรอื แบบบา้ นาญท่ีจะจา่ ยคืนเงนิ ก้อนคร้ังเดียว หรอื ทยอยคืน อย่างสม้า่ เสมอหลังเกษียณ •ต้องการทา้ ประกันชีวติ เพื่อให้ลูกหลานไม่ล้าบากในอนาคตหาก ตนเองเสียชวี ิตกะทันหัน อาจเลอื ก ท้าประกันชวี ติ แบบชั่วระยะเวลา(term insurance) ซึ่งจะให้ความคุม้ ครองชวี ติ สูงในขณะทจ่ี า่ ยค่าเบ้ียประกนั นอ้ ย (หากเปรยี บเทียบกบั ประกันภยั แบบ สะสมทรพั ย์ในกรณที จี่ ่ายคา่ เบยี้ ประกันภยั เท่ากัน) ถา้ ผูเ้ อา ประกันภัยเสียชีวติ ในระยะเวลาท่ีทา้ ประกนั ภยั แบบชวั่ ระยะเวลาจะใหผ้ ลตอบแทนแก่ผรู้ ับประโยชนม์ ากกวา่ แบบสะสมทรัพย์ 2. การเลือกระยะเวลาทาประกันภัยใหค้ รอบคลุม ผทู้ ีท่ ้าประกันภัยโดยเลอื ก ระยะเวลาสัน้ แตเ่ พ่ิง คดิ อยากจะท้าต่อเม่ือสิน้ สดุ กรมธรรม์ มักตอ้ งจ่ายเบี้ยประกนั ภยั แพงกว่า การเลอื กระยะเวลายาวต้ังแตแ่ รก เพราะความเสย่ี งของตนเองจะสงู ข้ึนตามอายุท่ีมากขนึ้ ใน กรณปี ระกนั ชวี ิต หรือในกรณีประกันคุ้มครองวงเงิน สินเชอื่ หากประกันที่ ทา้ ไม่ครอบคลุมกบั ระยะเวลาผ่อนหนี้ และต่อมามีเหตุเกดิ ขึ้นหลงั จากที่ประกันภยั หมดสญั ญา ผู้ขอสนิ เช่ือ หรือ ลูกหลานกต็ ้องเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบภาระหน้นี ้ันเอง 3. ความสามารถในการจา่ ยเบีย้ ประกนั ภยั ควรพจิ ารณาด้วยว่ามี ความสามารถในการจ่ายเบ้ยี ประกนั ภัยหรอื ไม่ แม้วา่ ต้องการทา้ ประกนั ภยั ให้ครอบคลุมความ เส่ียง แตห่ ากเกนิ ก้าลังในการจา่ ยเบ้ยี

~ 32 ประกนั ภยั ก็อาจเลอื กเงินเอาประกนั ภัยทจ่ี ้านวนไมส่ งู นกั เพือ่ ทอี่ ยา่ งน้อยจะไดช้ ่วยแบ่งเบาภาระบางสว่ นหาก เกดิ เหตรุ ้ายขนึ้ จรงิ 4. การเปรยี บเทียบข้อมูล ควรเปรียบเทยี บรายละเอียดความคมุ้ ครอง ระยะเวลาการคุ้มครอง เบย้ี ประกันภัยของบรษิ ัทหลาย ๆ แหง่ เพื่อเลือกประกันภัยท่ีคุ้มค่า ในราคาทเ่ี หมาะสม เมอ่ื ได้รบั กรมธรรมป์ ระกนั ภัย ควรอา่ นสาระสาคัญของกรมธรรม์ประกนั ภัย และตรวจสอบความถูกต้อง การลงทนุ การลงทนุ มีหลายรปู แบบ ซ่ึงแต่ละแบบกม็ ีความเสย่ี งและผลตอบแทนมากน้อยแตกต่างกนั ไป แต่ส่งิ สา้ คัญท่ี นักลงทุนโดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ทีเ่ ป็นมือใหมต่ ้องค้านึงก็คอื ควรเลือก รูปแบบการลงทุนให้เหมาะสมกับตัวเอง เชน่ ต้องการผลตอบแทนเท่าใด และรับความเส่ยี งที่จะ ขาดทนุ ไดแ้ คไ่ หน

~ 33 ใบความรู้ เรื่องท่ี 4 การชาระเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ความหมายและประโยชน์ของการช้าระเงินทางอเิ ล็กทรอนิกส์ การช้าระเงิน (payment) คือ การส่งมอบเงนิ หรือโอนเงนิ ผ่านช่องทางต่าง ๆ เพ่ือซื้อสินค้าและ บรกิ าร หรือใช้ช้าระหน้ี โดยสามารถใช้สอ่ื การช้าระเงนิ ที่เป็นไดท้ ั้งเงินสดและ ไมใ่ ช่เงินสด ในบางครั้ง การชา้ ระเงนิ อาจท้าผ่านคนกลางที่เป็นผใู้ ห้บรกิ ารเพื่ออ้านวยความ สะดวกและรักษาความปลอดภัย ของการทา้ รายการ ซงึ่ ผู้ใหบ้ ริการมที ั้งท่ีเป็นสถาบนั การเงนิ และ มิใช่สถาบนั การเงิน (non-bank) เงนิ สดเป็นสง่ิ ทเ่ี ราคุ้นเคยในการใช้จ่ายมากทีส่ ุด จนนึกไม่ถงึ ว่าทจ่ี ริงแล้วการใช้ เงินสดน้ันไม่สะดวก หลายประการ เชน่ ต้องเตรียมเงินสดให้เพียงพอในการซ้ือสนิ คา้ และหาก ยง่ิ พกพาจ้านวนมากกเ็ ส่ียง ต่อการถูกปลน้ ขโมย หรือหากมองในมมุ เจ้าของกิจการการรับชา้ ระ ด้วยเงินสดอาจถกู ยักยอกหรือ ขโมยได้ง่ายและตรวจสอบได้ยาก รวมถึงเสียโอกาสในการขาย สนิ ค้าหากมีช่องทางใหล้ ูกค้าชา้ ระค่า สินคา้ เป็นเงินสดเพียงอย่างเดียว สา้ หรับมุมของประเทศ นั้น เงินสดมคี ่าใชจ้ ่ายในการจัดการค่อนข้าง สงู เช่น คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กิดจากการผลิต การขนส่ง การ เก็บรักษา การตรวจนบั การคดั แยก และการ ท้าลาย ถา้ เราหันมาช่วยกันใช้การช้าระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) จะชว่ ยลดภาระ ค่าใช้จา่ ยในการจัดการได้ 2 - 3 เทา่ เลยทีเดียว ความหมายการชาระเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ การชา้ ระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หมายถึง การส่งมอบหรือโอนเงินเพ่ือซ้ือสนิ คา้ และบริการ หรือช้าระ หน้ี ผ่านช่องทางต่าง ๆ ท่มี ีความสะดวกและรวดเรว็ โดยใช้สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ มาชว่ ย ทัง้ ด้านส่ือที่ใช้ ช้าระเงินแทนเงินสด เช่น บัตรเอทเี อ็ม บตั รเดบิต บตั รเครดิต เงนิ อเิ ล็กทรอนิกส์ รวมถึงช่องทางการ ชา้ ระเงินที่ใชง้ านง่ายและรวดเร็ว เชน่ ผา่ นอินเทอรเ์ น็ต โดยใชอ้ ุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ อยู่ในชิปด้านหน้าของบัตร โดยบัตรแบบน้จี ะป้องกันการขโมยข้อมูลได้ ดีกว่า เพราะมีการ เข้ารหัสข้อมูลที่ท้าให้ยากต่อการคัดลอกหรือขโมยข้อมลู ในบัตร

~ 34 ใบความรู้ เรื่องท่ี 5 ผู้ให้บริการทางการเงนิ ในประเทศไทย ผูใ้ ห้บรกิ ารทางการเงนิ ในประเทศไทย ระบบการเงนิ เปน็ กลไกลสา้ คญั ย่ิงในการจัดสรรทรัพยากรระหว่างภาคเศรษฐกิจ จากผ้ทู ่ีมีเงิน ออมไปยังผูต้ ้องการเงนิ ทนุ ซ่ึงจะก่อให้เกิดการลงทุน การผลิต และการจา้ งงาน อนั เป็นแรงขับเคล่ือน สา้ คัญทท่ี ้าให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโต ซึ่งสถาบนั การเงินมบี ทบาท สา้ คัญอย่างมากในการเป็น แรงผลักดนั ใหเ้ กิดการเติบโตทางเศรษฐกจิ ผู้ใหบ้ ริการทางการเงนิ ในประเทศไทย มีทั้งท่ีเป็นสถาบันการเงินทร่ี ับฝากเงิน และสถาบันการเงนิ ท่ีไม่ไดร้ บั ฝากเงิน รวมท้งั ผู้ใหบ้ ริการที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน สามารถจ้าแนก ผ้ใู ห้บรกิ ารทางการเงินได้ตามหน่วยงานที่ กา้ กับดูแลดังนี้ ผใู้ ห้บรกิ ารทางการเงนิ ภายใตก้ ารกากับดแู ลของธนาคารแหง่ ประเทศไทย (ธปท.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือแบงก์ชาติ เปน็ ธนาคารกลางของ ประเทศไทย มหี น้าท่ีหลัก ดงั น้ี 1. รกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ การเงินของประเทศ ซึง่ ครอบคลุมหนา้ ท่ีใน การรกั ษาค่าเงิน เช่น ดูแลอัตราเงนิ เฟ้อ อัตราดอกเบยี้ อัตราแลกเปลย่ี น และสภาพคล่องของ เม็ดเงินในระบบ เศรษฐกจิ 2.กา้ กับดูแลสถาบันการเงินที่กฎหมายให้อ้านาจไว้ ใหม้ ีความมนั่ คงและ มีเสถียรภาพ เพ่ือลด ผลกระทบต่อผู้ฝากเงิน และสนบั สนนุ การเจรญิ เติบโตของเศรษฐกจิ อย่าง ย่ังยนื 3.ดแู ลและพัฒนาให้ระบบการช้าระเงนิ ของประเทศมีประสทิ ธิภาพ ม่ันคงและ ปลอดภัย เพื่อ เป็นกลไกสนับสนนุ การท้าธรุ กิจและการพัฒนาเศรษฐกจิ การเงิน

~ 35 4. หนา้ ท่ีอน่ื ๆ เช่น การออกธนบัตรและบรหิ ารจัดการให้มธี นบตั รหมุนเวยี น อย่างเพียงพอ การบริหารเงินส้ารองทางการของประเทศ การเปน็ นายธนาคารให้แกร่ ัฐบาลใน การรบั ฝากเงิน โอน เงิน และเป็นแหล่งกยู้ ืมเงนิ สุดท้ายแกส่ ถาบันการเงินท่ีขาดเงนิ ทนุ หมนุ เวียนรวมถงึ การให้ความรู้และ คุ้มครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงินให้ไดร้ ับความเป็นธรรม ธปท. ก้ากับดแู ลผใู้ ห้บริการทางการเงนิ แบ่งไดด้ ังนี้ 1. สถาบันการเงนิ ตามพระราชบัญญัตธิ รุ กจิ สถาบันการเงนิ พ.ศ. 2551 คือ สถาบนั ทท่ี ้าหน้าท่ี ให้บริการด้านการเงิน เชน่ การรบั ฝากเงนิ การรบั ชา้ ระเงิน การใหส้ นิ เช่ือ และ ธุรกรรมทางการเงินอ่ืน ตามท่ีได้รับอนญุ าต ไดแ้ ก่ 1) ธนาคารพาณิชย์ (ธพ.) คือ บริษัทท่ีไดร้ ับอนุญาตให้ประกอบธรุ กิจ ธนาคารพาณิชย์ เชน่ การรับ ฝากเงิน การโอนและรับชา้ ระเงิน และการใหส้ นิ เช่ือ รวมถึงบริการ ทางการเงินอื่น ๆ เช่น การค้าประกัน บรกิ ารเกี่ยวกับเงินตราต่างประเทศ ธุรกิจต่างประเทศ เช่น สนิ เช่อื เพ่ือการส่งออกนา้ เข้า ตลอดจนบริการ ทางการเงินเพ่ือการบริหารความเสีย่ งให้แก่ ลกู คา้ เช่น สัญญาซื้อขายอัตราแลกเปล่ียนล่วงหน้า ในปจั จบุ ัน ธนาคารพาณชิ ย์ไดร้ ับอนุญาตให้ ประกอบธุรกจิ ท่ีเก่ียวข้องกับหลักทรัพยแ์ ละประกันภยั บางประเภทเพิ่มข้ึน เช่น การเป็นนายหน้า ซื้อขายหนว่ ยลงทุน นายหนา้ ประกันภัย การแนะนา้ บริการของบริษทั ประกันภยั ให้ ลกู ค้า 2) ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายยอ่ ย (ธย.) คือ บรษิ ัทที่ไดร้ ับอนุญาตให้ ประกอบธรุ กิจธนาคาร พาณิชย์ โดยมีวตั ถุประสงค์หลกั เพ่ือให้บริการแกป่ ระชาชนรายย่อยและ วิสาหกจิ ขนาดกลางและ ขนาดย่อม และสามารถให้บริการทางการเงินพ้ืนฐานอื่น เช่น การรบั ฝากเงนิ การโอนและรับช้าระเงิน ได้ดว้ ย แตไ่ มไ่ ด้รับอนุญาตใหป้ ระกอบธรุ กิจท่ีมคี วามซับซ้อนและมี ความเส่ียงสูง เช่น ธุรกิจ เก่ยี วกับเงนิ ตราต่างประเทศ และตราสารอนุพันธ์ 3) ธนาคารพาณิชย์ท่เี ป็นบริษทั ลูกของธนาคารตา่ งประเทศ คือ บรษิ ัท ที่จดทะเบียนใน ประเทศไทยและไดร้ ับอนุญาตให้ประกอบธรุ กิจธนาคารพาณิชย์ โดยมีธนาคาร พาณิชย์ตา่ งประเทศ ถือหุ้นไมต่ ่้ากวา่ 95% ของหุ้นทจี่ า้ หน่ายไดแ้ ล้วทั้งหมด 4) สาขาของธนาคารพาณิชย์ตา่ งประเทศ คือ สาขาของธนาคารพาณชิ ย์ ต่างประเทศท่ี ได้รับอนญุ าตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณชิ ย์ในประเทศไทย 5) บริษัทเงินทุน (บง.) คือ บริษัทที่ได้รับอนุญาตใหป้ ระกอบธรุ กจิ เงินทุน โดยรับฝากเงิน หรือรับเงินจากประชาชนที่ต้องจ่ายคืนเม่ือทวงถาม หรือเมือ่ ส้ินระยะเวลา ทก่ี ้าหนดไว้ และสามารถให้ กยู้ ืมเงินตามประเภทของธรุ กิจเงินทนุ ที่ไดร้ บั อนุญาต เช่น การให้ กู้ยืมเงินระยะปานกลางและระยะ ยาวแก่กิจการอุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรือพาณิชยกรรม การใหเ้ ช่าซ้ือบางประเภท แต่ไม่สามารถ ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเงินตราต่างประเทศได้ 6) บริษั ท เครดิตฟ องซิเอร์ (บ ค .) คือ บริษัท ท่ีได้รับ อนุญ าตให้ป ระกอบ ธุรกิจ เครดิตฟองซิเอร์ โดยสามารถรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่จะจ่ายคืนเม่ือส้ิน ระยะเวลาที่

~ 36 ก้าหนดไว้ เช่น ไม่น้อยกว่าหน่ึงปี และต้องฝากเงนิ ไม่น้อยกว่าหน่ึงพันบาท โดย สามารถให้กู้ยืมเงินโดย วธิ รี ับจา้ นองอสงั หาริมทรัพย์ การรบั ซือ้ อสงั หาริมทรัพยโ์ ดยวธิ ีขายฝาก 2. สานักงานผู้แทนธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ คือ ส้านักงานของธนาคาร พาณิชย์ต่างประเทศท่ี ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยให้ด้าเนินการในประเทศไทย แทนธนาคารพาณิชย์ ต่างประเทศ ส านักงานผู้แทนฯ สามารถด้าเนินการเพื่อประโยชน์ของ ส านักงานใหญ่ หรือส้านักงาน อื่น ๆ ของธนาคาร ได้เฉพาะท่ีเกี่ยวกับการติดต่อ ประสานงาน การแนะน้าลูกค้า และการรวบรวม ข้อมูลข่าวสารเพ่ือส่งให้ส้านักงานใหญ่ หรือส้านักงานอื่น ๆ ของธนาคารเท่าน้ัน เช่น การรวบรวม ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของลูกค้าและ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการเงิน ส า นักงานผู้แทนฯ ต้องไม่ประกอบธุรกิจใดอันเข้าข่าย ธุรกิจธนาคารพาณิชย์และธุรกิจท่ีเกี่ยวเน่ือง เช่น ธรุ กจิ ให้ เชา่ ซ้ือ ลีสซิ่ง แฟก็ เตอริง รับซ้อื รับโอนลูกหนี้เงนิ ให้ก้ยู ืม 3. บริษัทบริหารสินทรัพย์ คือ บริษัทท่ีได้รับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วย บริษัทบริหารสินทรัพย์ ให้ สามารถประกอบธุรกิจรับซื้อหรือรับโอนสินทรัพย์และหลักประกัน ของสถาบันการเงิน เช่น ลูกหน้ีสินเชื่อ ด้อยคุณภาพ (Non-Performing Loans: NPLs) สินทรัพย์ของสถาบันการเงินที่ปิดกิจการไปแล้ว โดยจะน า มาบริหารตอ่ เช่น ให้กูย้ มื เพิ่มเตมิ ปรับปรุงโครงสรา้ งหนี้ 4. สถาบันการเงินเฉพาะกิจ หมายถึง สถาบันการเงินของรัฐท่ีมีกฎหมาย เฉพาะจัดต้ังข้ึน เพ่ือ ดา้ เนนิ การตามนโยบายของรฐั ในการพัฒนาส่งเสริมเศรษฐกิจ และ สนบั สนุนการลงทนุ ต่าง ๆ แบ่งเปน็ 1) สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่รับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป หมายถึง สถาบันการเงิน เฉพาะกิจท่ีเป็นธนาคารและให้บริการทางการเงินท้ังด้านเงินฝากและการให้ สินเช่ือ เช่น ธนาคารออม สนิ ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 2) สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ไมร่ ับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป หมายถึง สถาบนั การเงนิ เฉพาะกิจ ที่ท้าธุรกิจตามขอบเขตท่ีก้าหนด เช่น ให้สินเชื่อหรือรับประกันสนิ เชอ่ื ให้แก่ลูกค้าเฉพาะกล่มุ แต่ไมร่ ับเงิน ฝากจากประชาชนทว่ั ไป เช่น ธนาคารเพื่อการส่งออกและ น้าเข้าแห่งประเทศไทย 5. ผู้ประกอบธุรกจิ ทีม่ ใิ ชส่ ถาบนั การเงิน (non-bank) แบ่งได้ 5 ประเภทดัง 1)ผูป้ ระกอบธุรกิจบตั รเครดิต จะด้าเนินการทเ่ี กย่ี วข้องกับบัตรเครดิต เพื่อให้ผ้ถู ือบัตรนา้ ไปใช้ช้าระค่าสนิ ค้า คา่ บริการ หรือค่าอื่นใดแทนการชา้ ระด้วยเงนิ สด หรือ เพื่อใช้ เบิกถอนเงินสด โดยผู้ประกอบธุรกิจทดรองจา่ ยเงินแทนผ้ถู ือบัตรนนั้ ก่อน และจะได้รับ ช้าระคืนจากผู้ ถอื บัตรในภายหลงั 2) ผปู้ ระกอบธรุ กจิ สินเช่ือส่วนบุคคลภายใต้การกากับ จะด้าเนินกจิ การ เก่ียวกับการใหก้ ู้ยมื เงนิ แกบ่ ุคคลธรรมดาโดยไมม่ ีหลักประกัน เพ่ือน้าไปใช้จ่ายสว่ นตัว หรือเพ่ือ ผ่อนชา้ ระค่าสินค้า โดยไม่ รวมการเช่าซ้ือรถยนต์และรถจักรยานยนต์

~ 37 3) ผปู้ ระกอบธุรกจิ สินเช่ือรายย่อยเพ่ือการประกอบอาชีพภายใต้การกากับหรือสินเชื่อนา โนไฟแนนซ์ จะดา้ เนนิ กจิ การใหก้ ยู้ ืมแก่บุคคลธรรมดานา้ ไปใช้ในการ ประกอบอาชีพ เพื่อส่งเสริมการ เขา้ ถึงแหล่งเงินทุนและเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ 4) ผ้ปู ระกอบธุรกจิ ให้บรกิ ารการชาระเงินทางอเิ ล็กทรอนิกส์ท่ีอยู่ภายใต้ พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยการควบคุมดแู ลธุรกจิ บริการการช้าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 และ มธี นาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้กา้ กับดูแลเฉพาะสว่ นของธุรกิจน้ี 5) ผู้ประกอบธุรกจิ ให้บรกิ ารดา้ นการแลกเปล่ียนเงินหรือโอนเงนิ ตรา ตา่ งประเทศ ปัจจุบัน ผูใ้ ห้บริการด้านการแลกเปลี่ยนเงิน (ท่ีไม่ใชธ่ นาคารพาณิชย์) ที่ไดร้ ับ อนุญาตให้ประกอบธุรกจิ เงินตรา ตา่ งประเทศ มี 2 ประเภท ได้แก่ 5.1) บุคคลรบั อนุญาต สามารถประกอบธรุ กิจการซื้อและขายธนบัตร ต่างประเทศ และรับ ซ้ือเชค็ เดินทางจากลูกค้า 5.2) ตวั แทนโอนเงินระหว่างประเทศ สามารถประกอบธุรกจิ การโอน เงินเข้าออกจาก ประเทศไทยสามารถศึกษาข้อมลู เพ่มิ เติมไดท้ ่ีเวบ็ ไซต์ ธปท. www.bot.or.th ผ้ใู ห้บริการทางการเงนิ ภายใตก้ ารกากบั ดแู ลของหน่วยงานอ่นื ๆ 1. ภายใต้การกากับดูแลของสานกั งานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาด หลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)สา้ นักงานคณะกรรมการก้ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เป็น หนว่ ยงานของรฐั ท่ีก่อตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรพั ย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มี หน้าที่ ก้ากับและพัฒนาตลาดทุนของประเทศ สรุปได้ดังน้ี 1)การกากับดูแลการระดมทุนของกิจการโดยการออกตราสารทุนและ ตราสารหน้ี มี วัตถุประสงค์หลักคือการคุ้มครองผ้ลู งทนุ โดย ก.ล.ต. จะพจิ ารณาคุณสมบัติของ บรษิ ัทผู้ออก หลกั ทรัพยใ์ นกรณที ี่เป็นการออกและเสนอขายตราสารทุน และจะพิจารณา คุณสมบัติของหลักทรัพย์ ทเ่ี สนอขายในกรณีท่ีเปน็ การออกและเสนอขายตราสารหน้ี และดูแล การเปิดเผยข้อมลู เพื่อให้ผลู้ งทุน มขี ้อมลู ประกอบการตัดสนิ ใจลงทุน ท้ังนี้ การเสนอขาย หลักทรัพย์ต่างประเภท หรือเสนอขายให้แก่ บุคคลต่างกลุ่ม ระดับการก้ากับดแู ลก็อาจแตกต่าง กนั ได้ 2) กากบั ดูแลตลาดหลกั ทรัพย์ (ตลาดรอง) เพ่ือให้ระบบการซื้อขาย หลกั ทรัพย์มีความ ม่ันคง และสามารถด้าเนนิ งานได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผลู้ งทนุ มน่ั ใจได้วา่ จะ ได้รับหลักทรัพย์หรือเงิน คา่ ขายในจา้ นวนและเวลาทถี่ ูกต้อง มีความโปร่งใสและเป็นธรรมในการ ซื้อขายหลักทรัพย์ มีการ บรหิ ารความเส่ียงทเี่ หมาะสม เพ่ือสรา้ งความเช่ือม่ันให้แกต่ ลาดทุน โดยรวม 3) กากับดแู ลการปฏิบตั ิงานของผปู้ ระกอบธุรกจิ ตัวกลาง ไดแ้ ก่ บริษัท หลักทรัพย์ บริษัท หลกั ทรัพยจ์ ัดการกองทุน และตัวแทนซื้อขายสัญญาซ้ือขายล่วงหน้า โดย ผู้ประกอบธรุ กจิ ดังกล่าว ตอ้ งมีความน่าเชื่อถือ ทั้งด้านฐานะการเงิน ความรคู้ วามสามารถ และ ความซื่อสัตย์สุจรติ และต้อง ไดร้ ับใบอนุญาตประกอบธรุ กิจ หรือขึ้นทะเบียนกับ ก.ล.ต. เพื่อให้มี การกลั่นกรองผู้ท่จี ะประกอบ ธุรกจิ และมีการก้ากับดูแลท่ีเหมาะสม โดย ก.ล.ต. พจิ ารณาท่ี ความพร้อมและความเหมาะสม (fit

~ 38 and proper) ของผู้ขอใบอนญุ าต กรรมการและผู้บรหิ าร รวมถึงบคุ ลากรที่เกย่ี วข้องกบั การท้าธุรกิจ เชน่ ผู้แนะนา้ การลงทุน นักวเิ คราะห์การลงทุน ผู้ วางแผนการลงทุน เป็นตน้ 4) ตรวจสอบและลงโทษผกู้ ระทาผดิ ก.ล.ต. มีบทบาทหนา้ ท่ีในฐานะ ผู้บงั คับใช้กฎหมาย เพ่ือให้ตลาดทนุ มีความโปร่งใส น่าเช่ือถือ โดยจะทา้ การตรวจสอบและ ลงโทษผู้กระทา้ ผิดบทบัญญตั ิในพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อาทิ การ เปิดเผยข้อมูลอนั เปน็ เท็จ การฉ้อฉลทุจริต และการกระท้าอันไม่เปน็ ธรรมในการซื้อขายหลักทรัพย์ ท้งั นี้ในกรณีการตรวจสอบความผิดปกติในการซ้ือขายหลักทรัพยจ์ ะมีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทีท่ ้าหนา้ ท่ีเป็นด่านแรกในการตรวจสอบข้อมูล และหากพบความ ผิดปกติ ก็จะจัดส่งข้อมูลให้ ก.ล.ต. ตรวจสอบข้อมูลในเชิงลึก และด้าเนินการต่อไปในฐานะผู้ใช้ บงั คบั กฎหมาย 5) พฒั นาตลาดทุน ไดแ้ ก่ 5.1) การพัฒนาในเชงิ โครงสร้าง เชน่ การปรบั ปรงุ คุณภาพบรษิ ัทจดทะเบยี น การปรับปรุง กระบวนการซื้อขายหลักทรัพย์ การเสนอขายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน เป็นตน้ 5.2) ส่งเสริมใหก้ ิจการและประชาชนเข้าถึงทนุ และสามารถใช้ประโยชน์ จากตลาดทุน โดย สง่ เสริมช่องทางการระดมทนุ และเคร่ืองมือต่าง ๆ เพ่ือให้กจิ การสามารถระดมทนุ ด้วยรปู แบบและ ตน้ ทนุ ทีเ่ หมาะสม ในขณะเดยี วกันเป็นการเพ่ิมทางเลอื กใหแ้ กผ่ ู้ลงทุนด้วยตลอดจนสง่ เสรมิ ให้เกิดการ ออมเพื่อรองรับการเกษยี ณ เพ่ือเตรยี มความพร้อมการเข้าสสู่ งั คม ผ้สู งู อายุ 5.3) การเสริมสร้างประสทิ ธิภาพและความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบธุรกจิ ตัวกลาง ใหส้ ามารถแข่งขันได้ทงั้ ในและต่างประเทศ 5.4) การส่งเสริมให้ผูเ้ กี่ยวข้องในตลาดทนุ มีความพร้อมรเู้ ท่าทันและ ใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยที างการเงิน (FinTech) หน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกากบั ดูแลของ ก.ล.ต. 1) ผู้ประกอบธุรกิจตัวกลาง ได้แก่ บรษิ ัทหลักทรัพย์ บริษทั หลกั ทรัพย์ จัดการกองทุน และ ตวั แทนซื้อขายสัญญาซ้ือขายล่วงหนา้ 2) ตลาดหลักทรัพย์ ศนู ย์รับฝากหลักทรพั ย์ และสานักหักบัญชี 3) บริษัทท่ีออกและเสนอขายหลกั ทรัพย์ ท้ังประเภทตราสารทนุ และ ตราสารหน้ี 4) ผู้ประกอบวิชาชพี ในตลาดทุน เชน่ ผู้แนะน้าการลงทุน นักวิเคราะห์ ที่ปรึกษาทางการเงิน ผสู้ อบบัญชี ซ่งึ ต้องไดร้ ับความเห็นชอบจาก ก.ล.ต. ก่อน สามารถศกึ ษาข้อมูล เพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ ก.ล.ต. www.sec.or.th

~ 39 ใบความรู้ท่ี 1 เรอื่ งที่ 1 : ความสาคัญและความจาเปน็ ในการครองชีพ การขยายขอบขา่ ยอาชีพ หมายความถึง กิจกรรมอาชีพที่มีอยูส่ ามารถขยายกจิ กรรมท่ีเกีย่ วข้องและสัมพนั ธอ์ อกไปเปน็ ขอบขา่ ยอาชีพที่ สร้างรายได้ ใช้ทนุ ทรัพยากรจากอาชีพหลักใหเ้ กดิ คณุ ค่า สรา้ งความเขม้ แข็งยั่งยนื ในอาชพี ได้ เช่น 1. การขยายขอบขยายอาชพี จากการหมุนเวียนเปล่ียนรปู ผลผลติ ภัณฑ์ หรอื ผลพลอยได้ไปส่กู ิจกรรมใหม่ เชน่ 1.1 สรา้ งธรุ กจิ แปรรปู หมูจากฟาร์มหมขู องตนเอง 1.2 สร้างธรุ กิจปุย๋ หมักจากข้ีหมู 1.3 สร้างธรุ กจิ ขนมหวานเยลลีจ่ ากหนังหมู 2. การขยายขอบข่ายอาชพี จากการสรา้ งและพฒั นาเครือข่ายจากอาชีพ เชน่ 2.1 เฟรนชาย ชายสบ่ี ะหม่เี กี๊ยว 2.2 การสรา้ งเครือขา่ ยนาขา้ วอินทรีย์ 3. การขยายขอบขา่ ยอาชีพจากการตลาด เชน่ 3.1 สวนมะพร้าวน้าหอมแมต่ ้มุ ศนู ยก์ ลางรับซอื้ และขายส่งมะพรา้ วน้าหอม ภายใตก้ ารควบคมุ คุณภาพของ ตนเอง 4. การขยายขอบขา่ ยอาชพี จากการสง่ เสรมิ การท่องเที่ยว เช่น 4.1 จดั บริการท่องเทยี่ วพักผ่อน กนิ อาหารเกษตรอินทรียท์ ไี่ ร่สุดปลายฟ้า 4.2 ทอ่ งเท่ียวชมิ ผลไม้ ชมสวนชาวไร่จันทบรุ ี 5. การขยายขอบขา่ ยอาชพี กับการส่งเสริมสขุ ภาพและอนามัย เช่น 5.1 พกั ฟืน้ รับประทานอาหารธรรมชาตไิ ร้สารพิษ ปฏิบตั ิธรรมกับ Home stay ครองรางจระเข้ 6. การขยายขอบขา่ ยอาชพี กับการเรียนรู้ เช่น 6.1 เรยี นรรู้ ะบบนิเวศ ความพอเพียงทไ่ี ร่นาสวนผสมคุณพชิ ติ

~ 40 ใบความร้ทู ่ี 2 การขยายอาชพี ในชุมชน ประเทศ และ ภูมิภาค 5 ทวปี ได้แก่ ทวีปเอเซยี ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี อัฟรกิ า กลมุ่ อาชีพใหม่ จากการเปลยี่ นแปลงในบริบทโลกทงั้ ในส่วนการรวมกลุ่มทางการเงนิ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยอี ย่างรวดเร็ว การเปล่ียนแปลงของธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของผู้บรโิ ภค การรวมกลุม่ ทาง เศรษฐกจิ และประการส้าคัญคือ การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งประชากรทางสงั คม ดังนนั้ อาชีพในปัจจุบัน จะต้องมีการพฒั นาวธิ กี ารและศักยภาพในการแข่งขนั ไดใ้ นระดบั โลก ซึ่งจะต้องค้านึงถึงบรบิ ทภมู ิภาคหลกั ของ โลก หรือ “ร้ศู ักยภาพเขา” หมายถึงทวปี เอเซยี ทวปี อเมริกา ทวปี ยโุ รป ทวปี ออสเตเลีย และทวปี แอฟริกา และจะต้อง “รู้ศักยภาพเรา” หมายถึงรศู้ ักยภาพหลักของพื้นทป่ี ระเทศไทย คอื ศกั ยภาพของ ทรพั ยากรธรรมชาติในแตล่ ะพน้ื ท่ี ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ิตของแตล่ ะพนื้ ที่ และ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแตล่ ะพืน้ ที่ ดงั น้นั เพ่อื ใหก้ ารประกอบอาชีพสอดคล้องกับศักยภาพหลักของ พน้ื ทีแ่ ละสามารถแข่งขันในเวทโี ลก จงึ ได้ก้าหนดกลุ่มอาชพี ใหม่ 5 กลุม่ อาชีพ คือ กลุม่ อาชีพใหมด่ า้ น การเกษตร กลุ่มอาชพี ใหมด่ า้ นพาณชิ ยกรรม กลุม่ อาชพี ใหมด่ า้ นอตุ สาหกรรม กลุ่มอาชีพใหมด่ ้านความคิด สรา้ งสรรค์ และกลุม่ อาชพี ใหมด่ ้านบรหิ ารจัดการและบรกิ าร 1. กลมุ่ อาชีพใหม่ดา้ นการเกษตร คือการพฒั นาอาชีพในด้านการเกษตรเกยี่ วกับการปลูกพืช เล้ยี งสัตว์ การ ประมง โดยนา้ องคค์ วามรู้ใหม่ เทคโนโลย/ี นวตั กรรม มาพัฒนาใหส้ อดคล้องกับศกั ยภาพหลกั ของพืน้ ท่ี คือ ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแต่ละพื้นที่ ตามลักษณะภมู อิ ากาศ ศักยภาพของภมู ิประเทศ และทา้ เล ทีต่ ้งั ของแตล่ ะพนื้ ท่ี ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถขี องแต่ละพื้นทแี่ ละศักยภาพของ ทรัพยากรมนษุ ย์ในแต่ละพ้ืนท่ี อาชพี ใหม่ด้านการเกษตร เชน่ เกษตรอนิ ทรีย์ เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎี ใหม่ วนเกษตร ธรุ กิจการเกษตร เปน็ ตน้ 2. กล่มุ อาชพี ใหม่ด้านพาณชิ ยกรรม คอื การพัฒนาหรือขยายขอบข่ายอาชีพดา้ นพาณชิ ยกรรม เชน่ ผู้ให้บรกิ าร จ้าหนา่ ยสินคา้ ท้ังแบบค้าปลกี และคา้ ส่งให้แกผ่ ู้บริโภคทงั้ มีหน้าร้านเปน็ สถานท่จี ัดจา้ หนา่ ย เช่น หา้ งรา้ น หา้ งสรรพสินค้า ซปุ เปอรส์ โตร์ ร้านสะดวกซอื้ และการขายทไ่ี ม่มหี นา้ รา้ น เชน่ การขายผ่านสือ่ อิเลคทรอนิกส์ 3. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม คอื การพฒั นาอาชีพที่อาศยั องคค์ วามรู้ เทคโนโลย/ี นวตั กรรม อาชีพ เกย่ี วกบั งานชา่ ง ซึ่งไดแ้ กช่ ่างไฟฟา้ ชา่ งไม้ ชา่ งยนต์ ช่างประปา ช่างปูน และชา่ งเชื่อมให้สอดคล้องกบั ความ ต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศและศกั ยภาพหลกั ของพื้นที่ เช่น ผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ หรืออปุ กรณ์อิเลคทรอนิกสโ์ ดยทั่วไป เช่น IC PCB ผูป้ ระกอบรถยนตแ์ ละยานยนตป์ ระเภทตา่ ง ๆ ผผู้ ลติ ตัวแทนจา้ หน่ายหรอื ผูป้ ระกอบช้ินส่วนหรอื อะไหล่รถยนต์ ผ้ใู หบ้ รกิ ารซ่อมบ้ารงุ รถยนต์ ผู้จัดจา้ หน่าย และศนู ย์จ้าหน่ายรถยนต์ทัง้ มือหนง่ึ มือสอง ผูผ้ ลติ และจา้ หน่ายเคร่อื งจักรและเครื่องมือทุกชนดิ เช่น เครอ่ื งจักรกลหนกั เคร่ืองจักรกลเบา ผลิตอปุ กรณห์ รือสว่ นประกอบพื้นฐานของเครอื่ งใช้ไฟฟ้าตา่ ง ๆ เช่น สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา้ มอร์เตอร์ต่าง ๆ การผลิตอลมู เิ น่ยี ม ผลติ และตัวแทนจา้ หนา่ ยผลิตภณั ฑ์เหลก็ สเตนเลส ผูผ้ ลิตจ้าหน่ายวัสดกุ ่อสร้าง วัสดุตกแต่ง สขุ ภณั ฑ์ การกอ่ สรา้ ง อาคาร หรือที่อย่อู าศยั

~ 41 4. กล่มุ อาชีพใหมด่ า้ นความคิดสรา้ งสรรค์ ท่ามกลางกระแสการแข่งขนั ของโลกธรุ กจิ ท่ีไรพ้ รมแดนและการพฒั นาอย่างกา้ วกระโดดของเทคโนโลยกี าร สอื่ สารและการคมนาคม การแลกเปล่ยี นสินคา้ จากท่หี นึ่งไปยังอกี สถานทที่ ่ีอยหู่ า่ งไกลน้ันเป็นเรือ่ งงา่ ยใน ปัจจบุ ันเมื่อข้อจ้ากัดของการขา้ มพรมแดนมิใชอ่ ุปสรรคทางการคา้ ต่อไปจึงท้าใหผ้ บู้ รโิ ภคหรือผซู้ ้อื มีสทิ ธเิ ลือก สนิ ค้าใหมไ่ ด้อย่างเสรีทัง้ ในด้านคุณภาพและราคา ซึง่ การเรียนรูแ้ ละพัฒนาสินคา้ และบริการตา่ ง ๆท่ีมีอยู่ใน ตลาดอยแู่ ล้วในยุคโลกไรพ้ รมแดนกระทา้ ไดง้ า่ ย ประเทศที่มีต้นทนุ การผลิตตา้่ เช่นประเทศจีน อินเดีย เวยี ดนาม และประเทศในกลุ่มยโุ รปตะวนั ออก จะมีความได้เปรยี บในการแข่งขันด้านราคา ด้วยเหตุนปี้ ระเทศ ผู้น้าทางเศรษฐกิจหลายประเทศจึงหันมาสง่ เสริมการดา้ เนินนโยบายเศรษฐกจิ สรา้ งสรรคเ์ พ่ือพฒั นาสนิ คา้ และ บริการใหม่ ๆ และหลกี เลยี่ งการผลิตสนิ ค้าทตี่ ้องตอ่ สู้ดา้ นราคา โดยหลักการของเศรษฐกิจสร้างสรรคค์ ือ แนวคิดหรอื แนวปฏบิ ัตทิ ส่ี ร้าง/เพ่มิ มลู คา่ ของสนิ คา้ และบริการไดโ้ ดยไม่ต้องใช้ทรัพยากรมากนกั แต่ใชค้ วามคิด สติปัญญา และความสร้างสรรคใ์ หม้ ากข้ึน ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ได้ก้าหนดยุทธศาสตรก์ าร ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเจรญิ เตบิ โตอย่างคณุ ภาพและยงั่ ยืน ใหค้ วามส้าคัญกบั การปรับโครงสรา้ ง เศรษฐกจิ บนฐานความรู้ ความคิดสรา้ งสรรค์และภมู ิปัญญา ภายใตป้ ัจจัยสนบั สนนุ ท่ีเออ้ื อ้านวยและระบบการ แข่งขันท่เี ป็นธรรมเพ่ือสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ให้กบั ประเทศ มุ่งปรับโครงสรา้ งและการลงทุนให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดทัง้ ภายในและต่างประเทศ สร้างมลู ค่าเพ่ิมใหก้ ับสาขาบริการท่ีมศี ักยภาพบนพนื้ ฐาน ของนวตั กรรมและความคิดสรา้ งสรรค์ พัฒนาธรุ กจิ สรา้ งสรรคแ์ ละเมืองสร้างสรรค์ เพิ่มผลติ ภาพของภาค เกษตรและสรา้ งมูลคา่ เพ่ิมด้วยเทคโนโลยแี ละกระบวนการผลิตทีเ่ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม พฒั นา ภาคอตุ สาหกรรมสู่อุตสาหกรรมฐานความรูเ้ ชงิ สรา้ งสรรค์และเป็นมติ รต่อส่งิ แวดลอ้ ม พัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐาน และระบบโรจสิ ติกส์ สรา้ งความมั่นคงด้านพลังงานควบคู่ไปกับการปฏิรปู กฎหมายและกฎระเบยี บตา่ ง ๆทาง เศรษฐกิจและการบริหารจดั การเศรษฐกจิ สว่ นรวมอย่างมีประสทิ ธิภาพเพื่อใหเ้ ป็นฐานเศรษฐกจิ ของประเทศที่ เขม้ แข็งและขยายตวั อย่างมคี ุณภาพ กลมุ่ อาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ จึงเปน็ อาชีพทอ่ี ยูบ่ นพืน้ ฐานของการใชอ้ งค์ความรู้ (Knowledge)การศกึ ษา(Education) การสร้างสรรคง์ าน (Creativity) และการใชท้ รัพย์สนิ ทางปญั ญา (Intellectual Property) ทเ่ี ช่อื มโยงกบั พ้ืนฐานทางวฒั นธรรม(culture) การสัง่ สมความรขู้ องสงั คม (Wisdom) และเทคโลโลยี/นวัตกรรมสมยั ใหม่ (Technology and Innovation) (อาคม เตมิ พทิ ยาไพสิฐ ,2553) ดงั น้นั กลุม่ อาชีพใหม่ด้านความคิดสรา้ งสรรค์ จึงเป็นการต่อยอดหรือการพฒั นาอาชพี ในกลมุ่ อาชีพเดมิ คอื กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม กลมุ่ อาชีพอุตสาหกรรม กลุ่มอาชีพพาณชิ ยกรรม กลุม่ อาชพี คหกรรม กลุ่มอาชีพ หัตถกรรม และกล่มุ อาชพี ศิลปกรรม กลุม่ อาชีพใหมด่ ้านความคิดสรา้ งสรรค์ เชน่ แฟช่ันเส้อื ผ้า เคร่อื งประดบั เคร่ืองส้าอาง ทรงผม สปาสมุนไพร การออกแบบส่ือ/ภาพยนตร์/โทรทศั น์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เฟอร์นเิ จอร์ วสั ดุกอ่ สร้างแบบประหยัดพลังงาน เซรามิก ผา้ ทอ จักสาน แกะสลกั รถยนต์พลังงานทางเลือก ขากลอัตโนมัตเิ พอื่ ผู้พิการ การท่องเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรม ตลาดนา้ อโยธยา เป็นต้น

~ 42 5.กล่มุ อาชพี ใหมด่ า้ นบริหารจัดการและบริการ เชน่ ธรุ กิจบริการทอ่ งเทย่ี ว ธรุ กิจบรกิ ารสุขภาพ ธรุ กจิ บรกิ ารโลจิสติกส์ ธุรกิจภาพยนต์ ธุรกจิ การจดั ประชุมและแสดงนิทรรศการ บริการท่ีปรกึ ษาดา้ น อสังหารมิ ทรัพย์ ทีป่ รกึ ษาทางธุรกิจ งานอาชีพใหมท่ ้งั 5 กล่มุ ในอนาคตจะมกี ารเตบิ โตทางธุรกิจมากขนึ้ จงึ มีความต้องการเจ้าหน้าที่ บุคคล พนกั งาน เพอื่ ควบคุมและปฏิบัตงิ านทม่ี ีความรู้ ความสามารถ และทักษะฝมี ือเปน็ จ้านวนมาก การขยายอาชพี ระดับประเทศ ธุรกจิ ทมี่ ีการขยายขอบข่ายอาชพี ในระดบั ประเทศ มักจะเป็นธุรกิจทส่ี ร้างประสทิ ธิภาพในระบบการจัดการใช้ ทรพั ยากรทีเ่ กย่ี วข้อง กับการจดั การก้าลงั คนทั้งระดบั รหิ ารจัดการและแรงงาน การจัดการเงนิ ทนุ การ จดั การวสั ดุนา้ เขา้ การผลติ และกระบวนการผลติ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ สูงสดุ และมีของเสียหายน้อยท่สี ุดเป็นเรือ่ ง สา้ คญั ดงั นั้น การจดั ตงั้ ธุรกิจรองลงมาท่มี คี วามสัมพนั ธส์ อดคล้องกบั การลดปริมาณการเสียหายใหน้ ้อยท่สี ุด จนเหลอื ศูนย์ รองรบั ธรุ กิจหลักจึงเกดิ การขยายขา่ ยอาชพี ขึ้น การขยายอาชพี ระดับโลก หากเราจะมองไปทป่ี ระเทศมหาอา้ นาจทางเศรษฐกจิ ได้แก่ สหรัฐอเมรกิ า อังกฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมนั ญี่ปุน่ ซง่ึ เป็นนกั คิด นักพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อตุ สาหกรรมเคมี อุตสาหกรรม อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และอน่ื ๆ ลว้ นแตท่ ้าลายส่งิ แวดลอ้ มประเทศเขามหาอา้ นาจเหลา่ น้ีจึงขยายขอบข่ายการผลติ ออกไปยงั ประเทศท่ีคา่ จ้างแรงงานต้า่ และหนั กลบั มาอนรุ ักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม สรา้ งความสวยงาม ใหก้ ับระบบเกษตรอินทรีย์ที่มีความปลอดภัย และคณุ ภาพสงู เพ่ือสร้างพ้ืนฐานสุขภาพชวี ิตประชาชนของเขา ให้อยูด่ มี ีสุขสู่การมปี ัญญาอนั เลิศล้า

~ 43 ใบความรู้ท่ี 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพในชุมชน 1. การกาหนดแนวทางขยายอาชพี 1.1 เหตผุ ลการขยายขอบขา่ ยอาชพี เหตผุ ลความจ้าเป็นในอาชีพท่ีกล่าวไว้ในเบ้ืองตน้ สามารถสรุปเหตผุ ลของการขยายขอบข่ายอาชีพได้ดงั น้ี 1. สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ 2. สภาพแวดล้อมทางสังคม 3. สภาพแวดล้อมทางวฒั นธรรม 4. สภาพแวดล้อมทางสงิ่ แวดลอ้ ม ในการปฏิบัติเหตผุ ลในการขยายขอบขา่ ยอาชีพ ในแต่ละสภาพแวดลอ้ มนั้นไม่อสิ ระตอ่ กัน แตม่ ีความเชอื่ มโยง ผกู พันกัน และเป็นไปเพ่ือการเพมิ่ รายไดข้ องอาชพี หลกั ทจี่ ะผลติ ผลมาหมุนเวยี นเปลีย่ นรูปสร้างมลู คา่ เพ่ิม 1.2 ความคดิ รวบยอดของหลกั การขยายอาชพี ในการกา้ หนดแนวทางขยายอาชพี เราควรสรปุ กิจกรรมหลักของการขยายอาชพี ให้มองเห็นชัดเจนเปน็ ความคดิ รวบยอดทีป่ ระกอบด้วย ปัจจยั นาเขา้ เพอ่ื การขยายอาชพี คืออะไร กระบวนการผลิตทา้ อย่างไร และสดุ ท้ายจะเกิดอะไรข้นึ 1.3 วเิ คราะหพ์ อเพียงในการดาเนินงาน เปน็ กจิ กรรมต่อเน่ืองจากผเู้ รียน สามารถหาเหตุผลและสร้างความคดิ รวบยอดได้ แล้วนา้ ความเข้าใจมา วิเคราะห์หาปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างตัวแปรการผลิต ประกอบด้วย ผลผลติ ท่จี ะทา้ การลดต้นทุน และตวั แปรความ พอเพียงท่ีประกอบด้วยความมีเหตผุ ล ความพอเพยี ง ภูมิคุ้มกนั ความรอบรู้และคณุ ธรรม ผลการวิเคราะหจ์ ะ ทา้ ให้มองเหน็ สง่ิ ท่เี กดิ และสิ่งท่จี ะต้องท้าในขอบเขตของความพอเพียง ดงั นี้ 1.4 การกาหนดแนวทางขยายอาชพี หลังจากนา้ ความคดิ รวบยอดการขยายขอบขา่ ยอาชีพมาวิเคราะหค์ วามพอเพยี งในการด้าเนินการจะทา้ ให้เรา เห็นสภาพปฏิสัมพันธ์ ระหว่างตวั แปรการผลติ กับตวั แปรปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงทจ่ี ะบอกใหเ้ รารู้วา่ ความคดิ การขยายอาชพี เหมาะสมท่ีจะท้าหรอื ไมจ่ ากตัวอยา่ งการวเิ คราะห์เราจะพบวา่ ตวั แปรทางปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งจะควบคุมความคิดของเราให้อยู่ในขอบขา่ ยทเ่ี หมาะสมมภี มู ิคุ้มกนั โอกาสประสบความส้าเร็จมีสูง การก้าหนดแนวทางของอาชพี จึงอาศยั ความรู้ที่ไดจ้ ากผลการวิเคราะห์มากา้ หนดโดยใช้วงจร I-P-O (ปจั จยั นา้ เขา้ -กระบวนการ-ผลได้) เปน็ ฐานในการกา้ หนดแนวทางขยายอาชีพ

~ 44 ใบความรู้ที่ 1 การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรียนรู้ดว้ ยตนเองคอื อะไร การเรยี นรดู้ ว้ ยตัวเอง คือการเรยี นรโู้ ดยไมต่ อ้ งผา่ นผู้สอนหรือสถาบนั ส่วนมากคนที่เรยี นรดู้ ้วยตวั เองคือ คนทสี่ ามารถเลอื กหัวข้อเรื่องทตี่ วั เองสนใจ เลอื กวธิ ที ่จี ะเรียนรู้ เลอื กส่ือและวสั ดุในการเรยี นรู้ และเลอื กเวลาท่ี จะเรียนรู้ดว้ ยตวั เอง ลักษณะและองค์ประกอบของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนร้ดู ้วยตัวเองเปน็ ทักษะทสี่ า้ คัญ อยา่ งไรก็ตามทกั ษะนี้กจ็ ะมีความแตกตา่ งจากทักษะการเรยี นรู้ แบบกลุม่ หรอื ทักษะการเรียนรแู้ บบมคี นสอน องคป์ ระกอบของการเรยี นรดู้ ้วยตวั เองมีอะไรบ้าง เปา้ หมายของการเรยี นรูด้ ว้ ยตวั เอง – องคป์ ระกอบหลักของการเรยี นรดู้ ้วยตวั เองก็คือการตงั้ เป้าหมายของการเรยี นรู้ด้วยตัวเอง ในกรณีที่ เราอยู่ในโรงเรยี นมีอาจารยส์ อน เป้าหมายหลกั ของการเรยี นรูอ้ าจจะเป็นการทา้ คะแนนใหด้ ี หรืออาจจะเปน็ การเนน้ ท่องจ้าเปน็ สว่ นมาก แต่ในกรณีทเี่ ราเลือกที่จะเรียนรู้ด้วยตวั เอง เรากส็ ามารถต้ังเป้าหมายและวธิ กี าร ในการเรยี นรู้ดว้ ยตวั เองได้ สถานการณแ์ ละสภาพแวดลอ้ มท่ีจะเรยี นรู้ – องคป์ ระกอบก็คอื การเลอื กสถานการณแ์ ละสภาพแวดล้อมทีเ่ ราอยากจะเรยี นรู้ หมายความวา่ เราไม่ จา้ เปน็ ต้องจา้ กดั เวลาเรียนรอู้ ยูท่ ่ี 8:00 นถงึ 17:00 น แต่เราสามารถเลอื กเวลาที่เราร้สู ึกวา่ เรามสี มาธมิ ากทสี่ ดุ และพร้อมท่จี ะเรียนร้มู ากทีส่ ุด สา้ หรับบางคนเวลานอ้ี าจจะเป็นเวลาตอนเชา้ สา้ หรบั บางคนเวลานอ้ี าจจะเปน็ เวลาตอนกลางคืน ปญั หาของการเรียนร้ดู ้วยตนเอง ถึงแม้วา่ การเรียนรูด้ ว้ ยตวั เองจะฟงั ดสู วยหรูมากแค่ไหน ทุกอย่างก็ย่อมมจี ดุ แข็งและจดุ อ่อนของตวั เอง ปญั หาแรกของการเรยี นรู้ด้วยตวั เองก็คือการท่ีเรา ‘ไมร่ ใู้ นสิ่งทเี่ ราไม่รู้’ หมายความว่า การเรยี นรูด้ ้วยตัวเอง เหมาะสา้ หรบั การเรียนรแู้ นวที่มโี จทย์หรอื ปัญหาให้เราศึกษาอยา่ งแนน่ อน และยงิ่ คุณช่างสังเกตชา่ งถามมาก แค่ไหน คุณก็จะยิง่ ไดป้ ระโยชน์จากการเรยี นรู้ดว้ ยตวั เองมากเทา่ นัน้ ยกตวั อยา่ งเช่นถา้ มีคนบอกใหค้ ุณไปสรา้ ง รถมา 1 คัน หากคนไมร่ ู้วา่ ขนั้ ตอนการสรา้ งรถควรจะเร่ิมยังไง มนั ก็ยากท่จี ะเรยี นรู้ดว้ ยตวั เอง ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ส้าคญั มากในกรณีท่ี ‘ผลลัพธ์ของการเรยี นรู้’ มีความสา้ คญั หากต้องหาข้อมลู เพอ่ื ไปทา้ งานและถา้ ไม่ สามารถหาข้อมลู นี้ได้บรษิ ทั ก็จะเกดิ ความเสียหาย ในกรณีน้ีกอ็ าจจะต้องพ่ึงพาความสามารถทัง้ การเรียนร้ดู ้วย ตวั เองและท้ังการหาข้อมลู จากเพื่อนร่วมงาน กระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเองมขี ้นั ตอนอยา่ งไร กระบวนการเรยี นรู้ด้วยตัวเองนน้ั มขี ้นั ตอนง่ายๆแค่ 4 ขั้นตอนเท่านน้ั แนน่ อนวา่ สา้ หรับบางคนทเี่ รียนรูด้ ้วย ตวั เองเปน็ อยู่แลว้ ขนั้ ตอนพวกน้กี ็อาจจะฟงั ดตู รงไปตรงมา แตส่ ้าหรับบางคนท่ยี งั เรียนรู้ดว้ ยตัวเองไมเ่ ป็น ให้ ลองศึกษาและท้าตามข้ันตอนขา้ งล่าง

~ 45 ขั้นที่ 1 ประเมนิ ความสามารถในการเรียนรู้ กอ่ นทีเ่ ราจะเร่มิ เรยี นร้ดู ้วยตัวเอง เราก็ต้องประเมินทักษะของตัวเองกอ่ นว่าเราสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเอง มากกวา่ หรือเปล่า ทักษะหลายอยา่ งที่คณุ อยากจะเรยี นรูส้ ามารถถูกสรา้ งหรือถกู เสริมเพิ่มขนึ้ มาจากทักษะที่ คณุ มีอยแู่ ลว้ ได้ เพราะฉะนัน้ หากเรามัน่ ใจหรือมที ิศทางพ้นื ฐานอยู่แลว้ ว่าอยากจะเรียนรู้ด้วยตวั เองอยา่ งไร เรา ก็สามารถน้าทักษะพ้นื ฐานพวกนไ้ี ปใช้ต่อในขั้นตอนต่อไปได้ ข้นั ท่ี 2 เป้าหมายในการเรยี นรู้ ขนั้ ตอนต่อไปก็คือการต้ังเป้าหมายในการเรยี นรู้ หากคุณอยากจะฝึกทกั ษะ ดนตรศี ิลปะ คุณก็ควรตัง้ เปา้ หมายในใจไว้ว่าภายในระยะเวลาเทา่ ไหรเ่ ราควรจะไดผ้ ลงานประมาณเท่าไหน เปา้ หมายท่ดี ีต้องมีทงั้ ผลลัพธ์และกร็ ะยะเวลาขน้ั ท่ี 3 กระบวนการเรียนรู้ ขั้นตอนท่ี 3 คือขน้ั ตอนการเรียนรู้ ในขนั้ ตอนนี้คณุ ก็ตอ้ งเลือกวิธกี ารเรยี นรทู้ ี่เหมาะสม กบั ตัวคุณและเหมาะสมกับเป้าหมายทค่ี ุณอยากจะไดม้ า กระบวนการเรียนรู้ของแต่ละทักษะ แตล่ ะความรู้ ของแต่ละคนอาจจะมขี ้นั ตอนไม่เหมือนกนั หากคณุ ยังไม่เคยเรียนรดู้ ว้ ยตัวเองมาก่อนก็ใหล้ องคดิ กลบั ไป ทบทวนดวู ่าในอดีตเวลาที่คุณเรียนรูห้ รือมคี นสอนทกั ษะอะไรให้คณุ คุณร้สู กึ ถนดั กับวธิ กี ารสอนแบบไหนมาก ทสี่ ุด ขน้ั ที่ 4 ประเมนิ ผลและพัฒนา ขนั้ ตอนสดุ ท้ายก็คือขัน้ ตอนการประเมินผลและหาวิธีมาพัฒนากระบวนการเรยี นรูด้ ว้ ยตัวเองอยา่ งต่อเน่ือง ให้ กลับไปดูเป้าหมายในระยะส้นั และระยะยาวของคนท่ตี ้งั ไว้ข้ันท่ี 2 และ และกลบั มาพจิ ารณาดูวา่ เป้าหมายแบบ ไหนพิจารณาดูว่ากระบวนการท่ีทา้ ในขนั้ ที่ 3 น้นั สามารถท้าใหค้ ณุ ก้าวไปสเู่ ป้าหมายระยะสัน้ และระยะยาวได้ หรอื เปล่า

~ 46 ใบความรเู้ รือ่ งที่ 2 ทกั ษะพ้ืนฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ ทกั ษะการแก้ปัญหา และเทคนคิ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง คา้ ถามธรรมดา ๆ ทเี่ ราเคยได้ยินไดฟ้ ังกันอยบู่ ่อย ๆ ก็คือ ท้าอย่างไรเราจึงจะสามารถฟงั อยา่ งรู้เรื่อง และคดิ ไดอ้ ย่างปราดเปร่ือง อา่ นไดอ้ ย่างรวดเร็ว ตลอดจนเขยี นได้อยา่ งมืออาชพี ทง้ั นี้ กเ็ พราะเราเขา้ ใจกันดี วา่ ทงั้ หมดนี้เปน็ ทักษะพืน้ ฐาน (basic skills) ทสี่ ้าคัญ และเป็นความสามารถ (competencies) ทีจ่ ้าเป็น สา้ หรับการดา้ รงชวี ิตทงั้ ในโลกแหง่ การท้างาน และในโลกแห่งการเรยี นรู้ การฟัง เป็นการรบั ร้คู วามหมายจากเสยี งท่ีไดย้ ิน เป็นการรับสารทางหกู ารไดย้ นิ เป็นการเร่มิ ต้นของ การฟัง และเปน็ เพียงการกระทบกันของเสียงกบั ประสาทตามปกติ จึงเป็นการใชค้ วามสามารถทางรา่ งกายโดยตรง ส่วนการฟงั เปน็ กระบวนการท้างานของสมองอีกหลายขั้นตอนตอ่ เน่ืองจากการไดย้ นิ เป็นความสามารถท่จี ะได้ รบั รสู้ ิ่งท่ไี ด้ยนิ ตีความและจบั ความสง่ิ ท่ีรับรู้น้นั เขา้ ใจและจดจา้ ไว้ ซ่ึงเปน็ ความสามารถทางสติปัญญา การพดู เป็นพฤตกิ รรมการสอื่ สารทีใ่ ชก้ ันแพรห่ ลายทัว่ ไป ผูพ้ ูดสามารถใช้ทงั้ วจนะภาษา และ อวจั นะ ภาษา ในการสง่ สารติดต่อไปยังผูฟ้ งั ได้ชดั เจนและรวดเรว็ การพดู หมายถึง การส่ือความหมายของมนุษยโ์ ดยการใช้ เสยี ง และกิรยิ าท่าทางเปน็ เครอื่ งถ่ายทอดความรคู้ วามคิด และความร้สู กึ จากผ้พู ูดไปสู่ผู้ฟงั การอ่าน เปน็ พฤติกรรมการรับสารท่ีส้าคัญไม่ยง่ิ หยอ่ นไปกว่าการฟัง ปัจจบุ ันมีผรู้ ้นู ักวิชาการและ นักเขยี นน้าเสนอความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสารและงานสรา้ งสรรค์ ตีพมิ พ์ ในหนังสือและสงิ่ พิมพอ์ ่นื ๆ มากนอกจากนี้ แลว้ ขา่ วสารสา้ คญั ๆ หลงั จากน้าเสนอด้วยการพูด หรืออ่านใหฟ้ ังผา่ นสื่อต่าง ๆ สว่ นใหญ่จะตีพิมพ์รักษาไว้ เปน็ หลกั ฐานแก่ผู้อ่านในช้ันหลัง ๆความสามารถในการอ่านจึงส้าคญั และจ้าเป็นยิ่งต่อการเปน็ พลเมืองทมี่ ี คุณภาพในสังคมปจั จบุ นั การเขยี น เปน็ การถา่ ยทอดความรู้สกึ นกึ คิดและความตอ้ งการของบุคคลออกมาเปน็ สญั ลักษณ์ คอื ตวั อักษร เพ่ือสื่อความหมายให้ผู้อน่ื เข้าใจจากความข้างตน้ ทา้ ให้มองเหน็ ความหมายของการเขียนวา่ มีความจ้าเป็น อยา่ งย่งิ ต่อการส่ือสารในชวี ิตประจ้าวนั เชน่ นกั เรยี น ใช้การเขียนบันทกึ ความรู้ ท้าแบบฝึกหดั และตอบ ข้อสอบบุคคลทั่วไป ใชก้ ารเขียนจดหมาย ท้าสัญญา พนิ ัยกรรมและค้าประกนั เปน็ ตน้ พ่อคา้ ใช้การเขียนเพอ่ื โฆษณาสนิ คา้ ทา้ บัญชี ใบสงั่ ของ ท้าใบเสรจ็ รับเงิน แพทย์ ใชบ้ นั ทึกประวัตคิ นไข้เขียนใบสัง่ ยาและอ่นื ๆ เป็น ตน้

~ 47 ใบความรู้ เรื่อง จุด เสน้ สี แสง เงา รปู รา่ ง และรปู ทรง จุด ……………………………………… คือ องค์ประกอบท่ีเลก็ ที่สุด จุดเปน็ สิ่งที่บอกต้าแหนง่ และทิศทางได้การน้าจุดมาเรียงต่อกนั ให้เป็นเส้น การรวมกันของจุดจะเกดิ นา้ หนกั ทใ่ี ห้ปริมาตรแก่รปู ทรง เปน็ ตน้ เส้น หมายถึง จุดหลายๆจุดที่เรียงชิดติดกันเป็นแนวยาว หรือการลากเส้นจากจุดหนึ่งไปยังจุดหน่ึง ในทิศทางท่ีแตกต่างกัน จะเป็นทิศมุม 45 องศา 90 องศา 180 องศาหรือมุมใดๆ การสลับทิศทางของเส้นท่ี ลากท้าให้เกิดเป็นลกั ษณะต่าง ๆ ในทางศิลปะเสน้ มีหลายชนิดด้วยกันโดยจ้าแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คอื ลักษณะ เชน่ ตง้ั นอน เฉยี ง โค้ง เส้นหยกั เส้นซิกแซก ความรสู้ กึ ที่มีต่อเสน้ เส้นเปน็ องค์ประกอบพื้นฐานท่ีสา้ คัญในการสร้างสรรค์ เส้นสามารถแสดงให้เกิดความหมายของภาพ และใหค้ วามรู้สึกได้ตามลกั ษณะของเส้น เส้นที่เป็นพ้นื ฐาน ได้แก่ เสน้ ตรงและเสน้ โคง้ จากเส้นตรงและเสน้ โค้งสามารถนา้ มาสร้างใหเ้ กดิ เปน็ เสน้ ใหม่ที่ใหค้ วามร้สู กึ ที่แตกตา่ งกันออกไปได้ สี หมายถึง แสงทม่ี ากระทบวตั ถแุ ลว้ สะทอ้ นเขา้ ตาเรา ท้าใหเ้ ห็นเป็นสีตา่ งๆ ทฤษฎีสี หมายถึง หลกั วิชาเก่ียวกับสที สี่ ามารถมองเห็นได้ด้วยสายตา เรารบั รู้สีไดเ้ พราะ เมื่อสาม รอ้ ยกว่าปที ี่ผา่ นมา ไอแซก นวิ ตัน ได้ค้นพบ ว่า แสงสขี าวจาก ดวงอาทิตย์เมื่อหกั เห ผา่ นแทง่ แก้วสามเหล่ียม ( prism) แสงสีขาวจะกระจายออกเป็นสรี งุ้ เรียกวา่ สเปคตรัม มี 7 สี ไดแ้ ก่ ม่วง คราม น้าเงนิ เขียว เหลือง สม้ แดง และได้มกี า้ หนดให้เป็นทฤษฎีสขี องแสงข้ึน ความจรงิ สรี ุ้งเป็นปรากฏการณ์ ตาม ธรรมชาติ ซึ่งเกดิ ขน้ึ และพบเห็นกนั บ่อยๆ อยู่แล้ว โดยเกิดจากการหักเห ของ แสงอาทิตย์หรือ แสงสวา่ ง เมอ่ื ผ่าน ละอองน้าใน อากาศ ซง่ึ ลกั ษณะกระทบต่อสายตาให้เหน็ เปน็ สี มีผลถงึ จิตวทิ ยา คอื มีอา้ นาจใหเ้ กดิ ความเขม้ ของแสง ท่ี อารมณ์ และความร้สู ึกได้ การท่ีได้เหน็ สีจากสายตา สายตาจะสง่ ความรูส้ ึกไปยังสมองท้าใหเ้ กดิ ความรู้สึกตา่ งๆ ตาม อทิ ธิพลของสี เช่น สดชน่ื เรา่ ร้อน เยือกเย็น หรอื ตน่ื เตน้ มนุษย์เราเกีย่ วข้องกับสีต่างๆ อยู่ตลอดเวลา เพราะ ทุกสิง่ ที่อยูร่ อบตัวน้ัน ลว้ นแตม่ สี ีสนั แตกต่างกนั มากมาย แมส่ ี นักวิชาการสาขาต่างๆ ได้ศึกษาค้นคว้าเร่ืองสี จนเกิดเป็นทฤษฎีสี ตามหลักการของนักวิชาการสาขา นั้นๆ ดังนี้ แมส่ ขี องนักฟสิ กิ ส์ (แมส่ ขี องแสง) (spectrum primaries) คอื สีทเี่ กดิ จากการผสมกนั ของคล่นื แสง มีแมส่ ี 3 สี คอื สีขัน้ ท่ี 1 (Primary Color) คือ สพี น้ื ฐาน มีแม่สี 3 สี ไดแ้ ก่ 1. สีเหลือง (Yellow)

~ 48 2. สีแดง (Red) 3. สนี ้าเงนิ (Blue) สขี ั้นท่ี 2 (Secondary color) คอื สที ีเ่ กดิ จากสขี ้ันท่ี 1 หรือแมส่ ีผสมกันในอัตราส่วนที่เทา่ กนั จะทา้ ใหเ้ กดิ สใี หม่ 3 สี ไดแ้ ก่ 1. สสี ม้ (Orange) เกดิ จาก สแี ดง (Red) ผสมกับสเี หลอื ง (Yellow) 2. สีมว่ ง (Violet) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกับสนี ้าเงนิ (Blue) 3. สเี ขยี ว (Green) เกดิ จาก สเี หลือง (Yellow) ผสมกบั สนี ้าเงิน (Blue) สขี ัน้ ที่ 3 (Intermediate Color) คอื สีท่เี กดิ จากการผสมกันระหวา่ งสขี องแม่สีกับสขี น้ั ที่ 2 จะเกิดสขี ึ้นอกี 6 สี ไดแ้ ก่ 1. สนี ้าเงนิ ม่วง ( Violet-blue) เกิดจาก สนี ้าเงิน (Blue) ผสมสมี ่วง (Violet) 2. สเี ขยี วน้าเงิน ( Blue-green) เกดิ จาก สนี ้าเงนิ (Blue) ผสมสีเขียว (Green) 3. สเี หลืองเขยี ว ( Green-yellow) เกดิ จาก สีเหลอื ง(Yellow) ผสมกับสีเขียว (Green) 4. สสี ม้ เหลอื ง ( Yellow-orange) เกิดจาก สีเหลือง (Yellow) ผสมกับสีส้ม (Orange) 5. สีแดงส้ม ( Orange-red) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกบั สีส้ม (Orange) 6. สมี ่วงแดง ( Red-violet) เกิดจาก สแี ดง (Red) ผสมกับสีม่วง (Violet) คุณลักษณะของสมี ี 3 ประการ คอื 1. สีแท้ หรือความเป็นสี (Hue ) หมายถึง สีท่ีอยู่ในวงจรสีธรรมชาติ ทั้ง 12 สี (ดูภาพสี 12 สีใน วงจรสี ดา้ นซ้ายมือประกอบ) สี ที่เราเหน็ อย่ทู ุกวันน้ีแบ่งเป็น 2 วรรณะ โดยแบง่ วงจรสีออกเปน็ 2 ส่วน จากสี เหลอื งวนไปถึงสีมว่ ง คือ 1. สีรอ้ น (Warm Color) ใหค้ วามรู้สึกรนุ แรง ร้อน ตื่นเต้น ประกอบด้วย สีเหลือง สีเหลือง สม้ สสี ้ม สแี ดงส้ม สีแดง สมี ่วงแดง สมี ว่ ง 2. สเี ย็น (Cool Color) ใหค้ วามรสู้ ึกเยน็ สงบ สบายตาประกอบดว้ ย สเี หลือง สเี ขียว เหลือง สีเขียว สนี า้ เงินเขียว สนี า้ เงนิ สมี ว่ งนา้ เงิน สีม่วง เราจะเห็นว่า สีเหลือง และสีมว่ ง เปน็ สที อ่ี ยไู่ ด้ทง้ั 2 วรรณะ คอื เปน็ สีกลาง เป็นได้ทง้ั สีรอ้ น และสเี ยน็ 2. ความจัดของสี (Intensity) หมายถึง ความสด หรือความบรสิ ทุ ธิ์ของสีใดสหี นึ่ง สีท่ีถูกผสมดว้ ย สี ด้าจนหมน่ ลง ความจัด หรอื ความบริสุทธิจ์ ะลดลง ความจดั ของสจี ะเรยี งลา้ ดบั จากจัดทีส่ ุด ไปจน หมน่ ที่สุด ไดห้ ลายล้าดับ ด้วยการค่อยๆ เพิม่ ปรมิ าณของสดี า้ ท่ีผสมเข้าไปทลี ะน้อยจนถึงลา้ ดบั ท่ีความจดั ของสีมีน้อย ทีส่ ุด คอื เกือบเปน็ สีด้า 3. น้าหนักของสี (Values) หมายถงึ สที ่สี ดใส (Brightness) สีกลาง (Grayness) สีทบึ (Darkness) ของสแี ต่ละสี สีทกุ สีจะมนี ้าหนักในตวั เอง ถ้าเราผสมสีขาวเขา้ ไปในสีใดสหี น่ึง สนี ัน้ จะสว่างขน้ึ หรอื มนี า้ หนัก อ่อนลงถา้ เพ่ิมสขี าวเข้าไปทีละน้อยๆ ตามล้าดับ เราจะได้น้าหนกั ของสีทเ่ี รยี งลา้ ดับจากแก่สุด ไปจนถึงออ่ นสุด

~ 49 น้าหนักอ่อนแก่ของสีก็ได้ เกิดจากการผสมด้วยสขี าว เทา และ ดา้ น้าหนกั ของสจี ะลดลงดว้ ยการใช้สขี าวผสม ( tint) ซงึ่ จะท้าให้ เกิดความรู้สึกนุ่มนวล ออ่ นหวาน สบายตา น้าหนกั ของสจี ะเพิ่มขนึ้ ปานกลางดว้ ยการใชส้ ี เทาผสม 1. การใช้สกี ลมกลนื กัน การใช้สีให้กลมกลืนกัน เป็นการใช้สีหรือน้าหนักของสใี ห้ใกล้เคียงกัน หรือคล้ายคลงึ กัน เช่น การใช้สี แบบเอกรงค์ เปน็ การใชส้ สี ีเดยี วท่ีมนี ้าหนกั อ่อนแกห่ ลายล้าดบั การใช้สีขา้ งเคยี ง เป็นการใช้สีที่เคียงกัน 2 – 3 สี ในวงสี เช่น สแี ดง สีส้มแดง และสีมว่ งแดง การใช้สใี กล้เคียง เป็นการใช้สีท่ีอยู่เรียงกันในวงสีไม่เกิน 5 สี ตลอดจนการใช้สีวรรณะร้อนและวรรณะเย็น ( warm tone colors and cool tone colors) ดังได้กลา่ วมาแลว้ 2. การใช้สีตัดกัน สีตัดกันคือสีท่ีอยู่ตรงขา้ มกันในวงจรสี (ดูภาพวงจรสี ด้านซ้ายมือประกอบ) การใช้ สีให้ตัดกันมคี วามจ้าเป็นมาก ในงานออกแบบ เพราะช่วยให้เกิดความน่าสนใจ ในทันทีทีพ่ บเห็น สตี ัดกันอย่าง แทจ้ รงิ มี อยู่ดว้ ยกนั 6 ค่สู ี คอื 1. สเี หลอื ง ตรงข้ามกบั สีมว่ ง 2. สีส้ม ตรงขา้ มกบั สนี า้ เงิน 3. สีแดง ตรงข้ามกบั สเี ขียว 4. สีเหลอื งสม้ ตรงขามกบั สีม่วงนา้ เงนิ 5. สีสม้ แดง ตรงขา้ มกบั น้าเงนิ เขียว 6. สมี ่วงแดง ตรงขา้ มกบั สเี หลืองเขียว แสงและเงา แสงและเงา หมายถงึ แสงท่ีส่องมากระทบพ้นื ผิวทีม่ ีสีอ่อนแกแ่ ละพ้ืนผิวสูงตา้่ โค้งนูนเรียบหรือขรุขระ ท้าให้ปรากฏแสงและเงาแตกต่างกนั ตัวก้าหนดระดับของค่าน้าหนัก ความเข้มของเงาจะข้ึนอยู่กับความเข้มของแสง ในท่ีที่มีแสงสว่าง มาก เงาจะเขม้ ข้นึ และในท่ีทีม่ ีแสงสวา่ งน้อย เงาจะไม่ชัดเจน ในท่ีที่ไม่มแี สงสวา่ งจะไม่มเี งา และเงาจะอยใู่ น ทางตรงข้ามกับแสงเสมอ ค่าน้าหนักของแสงและเงาที่เกิดบนวัตถุ สามารถจ้าแนกเป็นลักษณะท่ี ต่าง ๆ ไดด้ งั น้ี 1. บริเวณแสงสว่างจัด (Hi-light) เป็นบริเวณท่ีอยู่ใกล้แหล่งก้าเนิดแสงมากที่สุด จะมีความ สวา่ งมากท่ีสุด ในวัตถุที่มผี วิ มนั วาวจะสะท้อนแหล่งกา้ เนดิ แสงออกมาใหเ้ ห็นไดช้ ดั 2. บริเวณแสงสว่าง (Light) เป็นบริเวณที่ได้รับแสงสว่าง รองลงมาจากบริเวณแสงสว่าง จัด เน่อื งจากอยู่ห่างจากแหลง่ กา้ เนดิ แสงออกมา และเริม่ มีคา่ น้าหนักอ่อน ๆ 3. บริเวณเงา (Shade) เป็นบริเวณที่ไม่ได้รับแสงสว่าง หรือเป็นบริเวณที่ถูกบดบังจาก แสง สว่าง ซึ่งจะมีคา่ นา้ หนกั เขม้ มากขน้ึ กว่าบรเิ วณแสงสวา่ ง 4. บริเวณเงาเข้มจัด (Hi-Shade) เป็นบริเวณท่ีอยู่ห่างจากแหล่งก้าเนิดแสงมากที่สุด หรือ เป็น บริเวณท่ีถูกบดบังมาก ๆ หลาย ๆ ช้นั จะมีคา่ น้าหนกั ทเ่ี ขม้ มากไปจนถงึ เข้มทส่ี ุด

~ 50 5. บริเวณเงาตกทอด เป็นบริเวณของพืน้ หลังที่เงาของวัตถุทาบลงไป เป็นบริเวณเงาท่ีอยู่ ภายนอก วัตถุ และจะมีความเข้มของค่าน้าหนักขึ้นอยู่กับ ความเข้มของเงา น้าหนักของพ้ืน หลัง ทิศทางและระยะของ เงา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook