โครงสร้างและหน้าที่ของอวยั วะตา่ งๆ ของรา่ งกายมนุษย์ 2 อาจารยก์ ติ ติศกั ดิ์ จนั ทรส์ ขุ สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ วิทยาลยั สหเวชศาสตร์
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) ส่วนของอวัยวะของร่างกายทา หน้าที่รับออกซิเจน (O2) จากภายนอกเข้าสู่ ร่างกาย และนาคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากภายใน ออกมาขบั ทิ้งสภู่ ายนอกร่างกาย โดยอาศัยระบบไหลเวียนโลหิตเป็นตัวกลาง ในการลาเลียงก๊าช
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) ทางเดนิ หายใจแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น - ทางเดินหายใจสว่ นบน ประกอบดว้ ย จมกู (nose) คอหอย (pharynx) และ กลอ่ งเสยี ง (larynx) - ท า ง เ ดิ น ห า ย ใ จ ส่ ว น ล่ า ง ประกอบด้วย หลอดลม (trachea) ท่อลม (bronchi) และปอด (lung) ทง้ั สองข้าง
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) การหายใจของคน ประกอบดว้ ย 2 ขน้ั ตอนใหญ่ ๆ 1. การหายใจภายนอก (external respiration) เป็นการนาอากาศเข้าสู่ปอด มกี ารแลกเปล่ียนแกส๊ ระหวา่ งปอดกับเลือด การขนสง่ แกส๊ จากเลอื ดไปยังเซลล์และเนอื้ เยือ่ การขนส่งแก๊ส จากเซลล์และเนอื้ เยือ่ กลบั ไปยงั ปอด ตลอดไปจนถงึ การนาอากาศออกนอกร่างกาย
ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory system) การหายใจของคน ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ 2. การหายใจภายในเซลล์ (Internal respiration) การหายใจท่ีเป็นปฏิกิริยาท่ี เกิดขึ้นภายในเซลล์ของร่างกาย หรือ เรียกว่า Cellular respiration หมายถึง การสลายสารอาหารเพ่ือให้ ได้พลังงาน กล่าวคือ เม่ือเซลล์ได้รับ สารอาหารและออกซิเจน จะทา ปฏกิ ิริยากัน
ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory system) ชนดิ การหายใจมี 2 แบบ 1. การหายใจแบบใช้แกส๊ ออกซเิ จน (Aerobic respiration) การสลายโมเลกุลของอาหารอย่าง สมบูรณ์ ได้พลังงานออกมาเต็มที่ ผลิตภัณฑ์ที่ ได้ออกมา คือ คาร์บอนไดออกไซด์และน้า ดัง สมการ
ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory system) ชนดิ การหายใจมี 2 แบบ 2. การหายใจแบบไม่ใช้แก๊สออกซเิ จน (Anaerobic respiration) การสลายโมเลกุลของอาหารไม่สมบูรณ์ ได้พลังงานออกมาเพยี ง 1 ใน 9 ของการหายใจแบบ ใช้ออกซิเจน ผลท่ีได้จากการหายใจแบบไม่ใช้ ออกซิเจนจะเกิด ใน - แบคทีเรียและในเซลล์กล้ามเนื้อลาย ของสัตวช์ น้ั สงู คือ กรดแลกตกิ - ยีสต์จะได้เป็นเอทิลแอลกอฮอล์และ คารบ์ อนไดออกไซด์ หรอื เรยี กวา่ fermentation
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) ชนดิ การหายใจมี 2 แบบ 2. การหายใจแบบไม่ใชแ้ กส๊ ออกซเิ จน (Anaerobic respiration)
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) การควบคมุ การหายใจ มี 2 แบบ 1.การควบคมุ แบบอตั โนมัติ 2.การควบคุมภายใต้อานาจจติ ใจ อยภู่ ายนอกอานาจจิตใจ บังคับไม่ได้ ใช้สมอง โดยใช้ซีเบลลัม ซรี ีบัลคอร์เทกซ์ และไฮ ส่วนเมดลุ ลาออบลองกาตาและพอนด์ โพทาลามัส
ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory system) องคป์ ระกอบทางเดินหายใจของคน 1. จมกู (Nosteil) : เปน็ ทางผา่ นเขา้ ของอากาศ 2. โพรงจมูก (Nasal cavity) : มีเยื่อบุผิวท่ีมิซิเลียและ เมือกสาหรบั ดัก สง่ิ แปลกปลอมไว้ไมใ่ ห้ผ่านลงสูป่ อด 3. คอหอย (Pharynx) : บริเวณที่พบกันของช่องอากาศ จากจมกู ช่องอาหารจากปากกล่องเสยี งจากหลอดลมคอ 4. หลอดลม (trachea) : เป็นหลอดยาวตรงมีกระดูก อ่อนเรียงเป็นรูปเกือกม้าติดอยู่โดยจะแตกแขนงออกเป็น ขั้วปอด 2 ขวั้
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) องคป์ ระกอบทางเดนิ หายใจของคน 5. ขั้วปอด (Bronchus) : เป็นส่วนของหลอดลมที่แยก ออกเปน็ ก่งิ ซ้ายและขวา เขา้ ปอด 6. แขนงขั้วปอด/หลอดลมฝอย (Bronchiole) : เป็น แขนงของทอ่ ลมท่ีแยกออกไปมากมายและแทรกอยู่ทั่วไปใน เนอื้ ปอด และจะไปสนิ้ สดุ ทถ่ี งุ ลม (Alveolus) 7. ถุงลมเล็ก ๆ ในปอด (alveoli) : ที่ผนังของถุงลมจะมี เส้นเลือดฝอยล้อมรอบอยู่มากมาย จึงเป็นแหล่งในการ แลกเปล่ียนก๊าซ ภายในปอดของคนมีอัลวิโอลัส (ถุงลมเล็ก ๆ) ประมาณ 300 ลา้ นถุง
ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory system) การสูดลมหายใจและการแลกเปลี่ยนแกส๊ การสูดลมหายใจ การหายใจเกีย่ วขอ้ งกับ กล้ามเนื้อกระบังลม และ กลา้ มเน้อื ยดึ กระดูกซโ่ี ครง
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) การสดู ลมหายใจและการแลกเปลยี่ นแก๊ส ศูนย์กลางการควบคุม คือ สมอง ส่วนเมดัลลาออบลองกาตา ( medulla oblongata ) ไวต่อ ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์
ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory system) การสดู ลมหายใจและการแลกเปลยี่ นแกส๊ แผนผังการสูดลมหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) การสดู ลมหายใจและการแลกเปลยี่ นแก๊ส ขณะหายใจเข้า (inspiration) - กล้ามเนือ้ ซี่โครงแถบนอกหดตัว - กลา้ มเนื้อยึดซโ่ี ครงแถบในคลายตัว - กระดกู ซีโ่ ครงยกตวั สูงขึ้น - กระบงั ลมตา่ ลง - กล้ามเนื้อกระบังลมหดตัว - ปรมิ าตรในช่องอกเพิม่ ข้ึน - ความดันของอากาศภายในปอด ลดลง
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) การสดู ลมหายใจและการแลกเปลี่ยนแกส๊ ขณะหายใจออก (expiration) - กระบังลมยกตัวสูงข้ึน - กลา้ มเนอื้ ยึดซโี่ ครงแถบนอกคลายตัว - กลา้ มเนอื้ ยึดซ่โี ครงแถบในหดตัว - กระดกู ซี่โครงยกตัวสงู ขนึ้ ลง - กล้ามเนื้อกระบงั ลมคลายตวั - ปริมาตรในช่องอกลดลง - ความดนั ของอากาศภายในปอด เพม่ิ ข้ึน
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) กลไกการหายใจเขา้ -ออก
ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory system) การแลกเปล่ยี นแก๊ส 1. การแลกแก๊สระหว่างปอดกบั เสน้ เลอื ด ออกซิเจน (O2) จากถุง ลมปอดจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือด ฝอย รวมตัวกับ ฮีโมโกลบิน (haemoglobin : Hb) ท่ีผิวเม็ด เลือดแดง กลายเป็นออกซิ ฮีโมโกลบิน (oxyhaemoglobin : HbO2) ส่งไปยังหวั ใจ สูบฉีดไป ยงั สว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) การแลกเปลีย่ นแก๊ส 2.การแลกเปลย่ี นแก๊สระหวา่ งเสน้ เลอื ดกับเนื้อเยื่อ
ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory system) ความจุอากาศในปอด ความจุอากาศของปอดในแตล่ ะคนจะแตกต่างกัน ขน้ึ อยกู่ ับ 1.เพศ เพศชายจะมีความจปุ อดมากกว่าเพศหญงิ 2.สภาพรา่ งกาย นักกฬี ามคี วามจุของปอดมากกวา่ คนปกติ 3.อายุ ผสู้ งู อายุจะมีความจปุ อดลดลง 4.โรคที่เกิดกับปอด โรคบางชนดิ เชน่ ถงุ ลมโปง่ พอง โรคมะเร็ง
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) อาการท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการหายใจ 1. การจาม เกิดจากการหายใจเอา อากาศท่ีไม่สะอาดเข้าไปในร่างกาย ร่างกายจึง พยายามขับสิ่งแปลกปลอมเหล่านั้นออกมานอก ร่างกาย โดยการหายใจเข้าลึกแล้วหายใจออก ทันที 2. การหาว เกิดจากการท่ีมีปริมาณ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมอยู่ในเลือดมาก เกินไป จงึ ต้องขับออกจากร่างกาย โดยการหายใจ เข้ายาวและลึก เพื่อรับแก๊สออกซิเจนเข้าปอดและ แลกเปลยี่ นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) อาการที่เกีย่ วข้องกบั การหายใจ 3. การสะอึก เกิดจากกะบังลมหด ตัวเป็นจังหวะๆ ขณะหดตัวอากาศจะถูกดัน ผ่านลงสู่ปอดทนั ที ทาให้สายเสียงสั่น เกิดเสียง ขน้ึ 4. การไอ เป็นการหายใจอย่าง รุนแรงเพ่ือป้องกันไม่ให้ส่ิงแปลกปลอมหลุด เข้าไปในกล่องเสียงและหลอดลม ร่างกายจะมี การหายใจเขา้ ยาวและหายใจออกอย่างแรง
ระบบไหลเวยี นโลหติ (Cardiovascular system) เป็นระบบท่ีนาสารเข้าและออกจากเซลล์ สามารถ ช่วยในการรกั ษาระดับอณุ หภูมิ ความเป็นกรด-เบส ซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของการรักษาดลุ ยภาพของรา่ งกาย ระบบไหลเวียนโลหิตในส่ิงมีชีวิตแบ่งได้เป็น 3 ประเภท หัวใจ เลือด และเสน้ เลือด ระบบไหลเวียนโลหิตยังรวมไปถึง pulmonary circulation คือ ระหว่างหัวใจและปอด และ systemic circulation คอื ระหวา่ งหัวใจและร่างกาย
ระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiovascular system) ระบบหมนุ เวยี นโลหิต มี 2 แบบ หลังจากท่ีอาหารถูกย่อยจนเล็กท่ีสุดแล้ว จะแพร่เข้าสู่ผนังลาไส้เล็ก ผ่านเข้าสู่หลอดเลือด เคลื่อนท่ีไปส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายพร้อมกับเลือด อวัยวะสาคัญ 3 ส่วน ดังนี้ หวั ใจ (heart) , หลอดเลือด (blood vassel) และเลือด (blood)
ระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiovascular system) สว่ นประกอบและหน้าท่ขี องเลือด
ระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiovascular system) เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง (Red blood cell) เป็นสารประกอบโปรตีน ลักษณะค่อนข้างกลม มีสีแดง ตรงกลางเว้า เม่ือโต เต็มที่ ไม่มีนวิ เคลยี ส มีสารสแี ดง เรียกว่า ฮีโมโกลบิน มีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ มีอายุ 110 - 120 วัน สรา้ งที่ ไขกระดกู ทาลายที่ ตบั ในเดก็ สรา้ งท่ี ตับ ม้าม และไขกระดกู
ระบบไหลเวยี นโลหติ (Cardiovascular system) เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell ) ลั ก ษ ณ ะ ก ล ม ไ ม่ มี สี มี นิวเคลียส ขนาดใหญ่กว่า เม็ดเลือดแดง สร้างท่ี ไขกระดูก ม้าม และต่อมน้าเลือง อายุ 7 - 14 วนั เ ม็ ด เ ลื อ ด ข า ว ท า ห น้ า ท่ี ทาลายเชื้อโรค และส่ิงแปลกปลอม หรือ การสร้างโปรตีน ท่ีเรียกว่า antibody มาทาลายเชอ้ื โรค
ระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiovascular system) เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว (White blood cell ) มีนิวเคลียส และมีโครโมโซม ใช้ใน การตรวจ DNA และแบง่ เป็น 2 ชนดิ ตามหนา้ ท่ี 1. ฟาโกไซต์ (phagocyte) : มีวิธีการ ทาลายเช้ือโรค หรือส่ิงแปลกปลอมแบบเขมือบ (phagocytosis) 2. ลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) : สรา้ ง ภูมิคุ้มกัน (Immunity) โดยหลัง Antibody ต่อสู้ กับเชอ้ื โรค
ระบบไหลเวยี นโลหติ (Cardiovascular system) เพลตเลต (Platelet) เพลตเลต หรือเศษเม็ดเลือด เกล็ดเลือด แผ่นเลือดไม่ใช่เซลล์ เป็นช้ินส่วนของเซลล์ ไม่มีสี ไม่มี นิวเคลียสมีรูปร่างไม่แน่นอนขนาดเล็กกว่าเม็ดเลือดแดงเกือบ 4 เท่า มีอายุ 4 วัน ทาหน้าท่ี ช่วยในการแข็งตัว ของเลอื ด ในขณะท่ีเส้นเลือดฉีก
ระบบไหลเวยี นโลหติ (Cardiovascular system) กระบวนการแข็งตวั ของเลือด (blood clotting) มี 2 ขั้นตอน คือ การ เกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด และการ สร้างไฟบรินเพื่อประสานเกล็ดเลือด ทีม่ ารวมกลุ่มกัน โดยมีวิตามิน K และ Ca ช่วยดว้ ย
ระบบไหลเวยี นโลหติ (Cardiovascular system) กระบวนการแขง็ ตวั ของเลอื ด (blood clotting)
ระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiovascular system) การหมุนเวยี นของเลือด ภายในหลอดเลอื ดจะถูกควบคุมโดย หัวใจ ซึง่ ทาหน้าที่ เหมอื นเคร่ืองสูบฉดี เพื่อทาให้เกิดแรงดัน ทส่ี ามารถจะดนั ให้เลือดไหล ไปตามหลอดเลือดต่าง ๆ ที่อยู่ท่ัวร่างกาย และสามารถไหลกลับเข้าสู่หวั ใจได้ ผู้ คน้ พบเป็น คนแรกได้แก่ นักวิทยาศาสตร์ ชาวองั กฤษ ช่อื วลิ เลี่ยม ฮารว์ ีย์
ระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiovascular system) หวั ใจ (Heart) หัวใจอยู่ระหวา่ งปอดทั้ง 2 ข้าง คอ่ นไปทางซา้ ยเลก็ น้อย ทาหนา้ ทส่ี บู ฉีดเลือดให้ไหล ตามหลอดเลือด ไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย แล้วไหลกลับคืนส่หู ัวใจ หัวใจประกอบ ด้วยกล้ามเนื้อพิเศษท่ีเรียกว่า กลา้ มเนอ้ื หวั ใจมี 4 หอ้ ง แบง่ ออกเป็น หอ้ งบน 2 ห้อง เรียกวา่ เอเตรยี ม (Atrium) หอ้ งลา่ ง 2 ห้อง เรียกวา่ เวนตริเคิล(Ventricle) ระหว่างห้องบนซ้าย-ล่างซ้าย จะมีล้ิน ไบคัสพิด (bicuspid valve) คั่นอยู่ และห้องบนขวา-ล่างขวา จะมีล้ิน ไตรคัสพิด (tricuspid valve) คนั่ อยู่ ล้นิ หวั ใจทาหน้าท่ี ปอ้ งกัน ไมใ่ หเ้ ลือดไหลยอ้ นกลับ
ระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiovascular system) หัวใจ (Heart) วงจรเลอื ด
ระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiovascular system) หวั ใจ (Heart) การไหลเวียนของเลอื ดผา่ นหวั ใจ
ระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiovascular system) หวั ใจ (Heart) การไหลเวียนของเลอื ดผา่ นหวั ใจ
ระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiovascular system) หวั ใจ (Heart) การไหลเวียนของเลอื ดผา่ นหวั ใจ
ระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiovascular system) หวั ใจ (Heart) การไหลเวียนของเลอื ดผา่ นหวั ใจ
ระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiovascular system) หลอดเลอื ด (blood vessels) หลอดเลือด ทาหน้าที่ลาเลียงเลือดจากหัวใจไปยังอวัยวะส่วนต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และ เป็น เส้นทางใหเ้ ลือดจากอวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกายกลับเขา้ สูห่ วั ใจ หลอดเลือดในรา่ งกายมี 3 ชนิด ได้แก่ 1. หลอดเลอื ดแดง (Artery) 2. หลอดเลอื ดดา (Vein) 3. หลอดเลือดฝอย (Capillary)
ระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiovascular system) 1. หลอดเลือดแดง (Artery) หลอดเลือดแดง เป็นหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจไปยังเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย มีผนัง หนาแขง็ แรง เพื่อให้มีความทนทานต่อแรงดันเลอื ดท่ีถกู ฉดี ออกไป ไมม่ ลี ิ้นก้ันภายใน เลอื ดทอี่ ยใู่ นหลอดเลือด แดง มีปรมิ าณแก๊สออกซิเจนมาก เรยี กว่า “ เลือดแดง ” ยกเว้น หลอดเลือดแดงที่นาเลือดออกจากหวั ใจไป ยังปอดภายในเปน็ เลือดทมี่ ีปรมิ าณ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์มาก เรียกวา่ “ เลือดดา ”
ระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiovascular system) 2. หลอดเลือดดา (Vein) หลอดเลือดดา เป็นหลอดเลือดที่นาเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่หวั ใจ หลอดเลือดดามี ผนงั บางกวา่ หลอดเลือดแดง มีล้ินก้ันภายในเพ่ือป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ เลือดที่ไหลอยู่ภายในหลอดเลือด มปี รมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์มาก ยกเว้น หลอดเลือดดาทนี่ าเลือดจากปอดเข้าสู่หัวใจ จะเปน็ เลือดแดง
ระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiovascular system) 3. หลอดเลือดฝอย (Capillary) หลอดเลือดฝอย เป็นหลอดเลือดท่ีเชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงและ หลอดเลือดดา สานเป็น รา่ งแหแทรกอยู่ตามเน้ือเย่ือต่าง ๆ ของร่างกาย มีขนาดเล็ก ละเอียด เป็นฝอย มีผนังบางมาก ประกอบด้วย เซลลเ์ พียงช้ันเดยี ว เป็นแหล่งท่มี ีการแลกเปล่ียนแกส๊ และ สารตา่ ง ๆ ระหว่างเลอื ดกับเซลล์ของ ร่างกาย
ระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiovascular system) ความดันเลือด (Blood pressure) คือ ความดันที่เกิดจากการบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ ขณะหวั ใจบีบตัว เลือดจะถูกดันออกไป ตามหลอดเลือดแดงด้วยความดันสูงทาให้เลือดเคล่ือนที่ไปตาม ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และในขณะที่หัวใจ คลายตวั เลอื ดจะไหลกลบั เขา้ สหู่ ัวใจตาม หลอดเลอื ดดาด้วยความดันตา่ ความดันเลอื ดมหี นว่ ยเปน็ มลิ ลิเมตร ของปรอทมีคา่ ตัวเลข 2 ค่า เชน่ 120 / 80 มลิ ลิเมตรของปรอท
ระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiovascular system) ความดันเลอื ด (Blood pressure) เครือ่ งมือวัดความดันเลอื ด เรยี กว่า มาตรความดันเลือด (Sphymonanomiter) ใช้คูก่ บั หู ฟงั หรือ สเตทโทสโคป (Stethoscope) วัดความดันที่หลอดเลอื ดแดงท่ตี ้นแขน
ระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiovascular system) ชีพจร (pulse) คือ จังหวะการบีบตัวและคลายตัวของ ผนังเส้นเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ โดย ปกติหัวใจเต้นเฉล่ียประมาณ 72 คร้ัง ต่อ 1 นาที และอัตราการเต้นของชีพจรในเพศชาย จะสูงกว่า เพศหญงิ การวัดชีพจรจะวดั จาก เสน้ เลอื ดแดงบริเวณขอ้ มือ และขอ้ ศอก
ระบบไหลเวยี นโลหติ (Cardiovascular system) ปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ ความดันเลอื ด
ระบบประสาท (Nervous system) การทางานของระบบประสาท ประกอบด้วย สมอง (Brain) ไขสนั หลงั (Spinal cord) เส้นประสาท (Nerve) อวัยวะรับความรู้สึกเฉพาะ (Sense organs)
ระบบประสาท (Nervous system) โครงสร้างของระบบประสาท ระบบประสาทของร่างกายมนุษย์แบ่ง ตามตาแหน่งและโครงสร้างไดเ้ ปน็ 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system หรือ CNS) คือ สมอง และไขสันหลัง ซึ่ง ประกอบด้วยตัวเซลล์ประสาทส่วน ใหญ่
ระบบประสาท (Nervous system) โครงสรา้ งของระบบประสาท 2. ระบบประสาทรอบนอก หรือระบบ ประสาทส่วนปลาย (Peripheral nervous system หรือ PNS) คือ เส้นประสาทที่อยู่นอกสมอง และไขสันหลัง ซ่ึงเป็นส่วนของเดนไดรต์และแอกซอน ไม่มตี วั เซลลป์ ระสาท ประกอบดว้ ย 2.1 เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) มจี านวน 12 คู่ 2.2 เสน้ ประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) มีจานวน 31 คู่ 2.3 เส้นประสาทอตั โนมัติ (Autonomic nerve)
ระบบประสาท (Nervous system) หนา้ ทีข่ องระบบประสาท 1. ควบคุมหน้าทขี่ องสว่ นต่างๆ ของรา่ งกายให้ปฏิบตั แิ ละประสานงานกัน 2. ควบคมุ ความคิดและพฤติกรรมของรา่ งกาย 3. ควบคมุ หน้าทข่ี องอวัยวะภายในใหด้ าเนนิ ไปตามปกติ 4. รับความรูส้ กึ จากภายนอก และสามารถปรับรา่ งกาย ใหต้ อบสนองตอ่ ส่งิ ตา่ งๆ นน้ั ได้ 5. รบั ความรู้สึกเฉพาะ เชน่ การเหน็ การได้ยิน การพดู และการเคล่อื นไหว
Search