Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3วันมาฆบูชา

3วันมาฆบูชา

Published by กศน.ตำบลบางใหญ่, 2021-02-22 14:32:01

Description: 3วันมาฆบูชา

Search

Read the Text Version

10 Feb 2017 | Articles ประวตั วิ นั มาฆบชู า ความหมายของวนั มาฆบูชา คำว่ำ “มำฆะ” น้ัน เป็นชื่อของเดือน 3 ย่อมำจำกคำว่ำ “มำฆบุรณมี” หมำยถึง กำรบชู ำพระในวนั เพญ็ กลำงเดอื นมำฆะตำมปฏิทนิ ของอินเดยี หรือเดือน 3 การกาหนดวันมาฆบชู า กำรกำหนดวันมำฆบูชำตำมปฏิทินจันทรคติของไทยน้ันจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 แต่ถ้ำปีใดมีเดือนอธิกมำส คือมีเดือน 8 สองคร้ัง วันมำฆบูชำก็จะเลื่อนไปเป็น วันขึ้น 15 คำ่ เดือน 4 และมักตรงกับเดือนกมุ ภำพันธ์หรือมีนำคม ความสาคญั วันมาฆบูชาและประวัตวิ นั มาฆบชู า ควำมสำคัญของวันมำฆบชู ำ คือเปน็ วันท่ีพระสมั มำสมั พุทธเจ้ำทรงแสดง “โอวำท ปำฏโิ มกข์” แก่พระสงฆ์เป็นครัง้ แรก หลงั จำกตรัสรู้มำแลว้ เป็นเวลำ 9 เดอื น ซึ่งหลักคำ สอนน้ีเป็นหลักกำร และวิธีกำรปฏิบัติต่ำง ๆ หำกสรุปเป็นใจควำมสำคัญ จะมีเนื้อหำ ว่ำ “ทาความดี ละเวน้ ความช่ัว ทาจิตใจให้บริสทุ ธิ์”

ท้งั นี้ในวันมาฆบชู าได้เกิดเหตุอัศจรรย์ข้ึนพรอ้ ม ๆ กันถึง 4 ประการ อนั ได้แก่ 1. วันนัน้ ตรงกับวันเพญ็ ขนึ้ 15 คำ่ เดอื น 3 ซึ่งพระจันทรเ์ สวยมำฆฤกษ์ 2. มีพระสงฆ์จำนวน 1,250 รูป มำประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมำย ณ วัดเวฬุวัน เมืองรำชคฤห์ แควน้ มคธ เพ่อื สกั กำระพระสมั มำสมั พทุ ธเจ้ำ 3. พระสงฆท์ มี่ ำประชุมท้ังหมดล้วนแตเ่ ป็นพระอรหันต์ ผู้ไดอ้ ภิญญำ 6 4. พระสงฆ์ทั้งหมดได้รบั กำรอุปสมบท โดยตรงจำกพระพุทธเจ้ำ “เอหิภิกขุอุปสัมปทำ” และเพรำะเกิดเหตุอัศจรรย์ 4 ประกำรข้ำงต้น ทำให้วันมำฆบูชำ เรียกอีกช่ือหน่ึงได้ ว่ำ “วันจำตุรงคสันนิบำต” ซึ่งคำว่ำ “จำตุรงคสันนิบำต” น้ี มีควำมหมำยตำมกำร แยกศัพท์ คือ  จำตรุ แปลว่ำ 4  องค์ แปลว่ำ สว่ น  สันนิบำต แปลว่ำ ประชุม ดงั น้ัน “จำตรุ งคสนั นิบำต” จงึ หมำยควำมว่ำ “กำรประชุมดว้ ยองค์ 4” นั่นเอง ท้ังนี้ วันมำฆบูชำถือว่ำเป็นวันพระธรรม ขณะที่วันวิสำขบูชำถือว่ำเป็นวันพระพุทธ ส่วนวัน อำสำฬหบชู ำ เป็นวนั พระสงฆ์ ประวตั วิ นั มาฆบูชาในประเทศไทย พิธีทำบุญวันมำฆบูชำน้ี ไม่ปรำกฏหลักฐำนว่ำมีมำในสมัยใด อย่ำงไรก็ตำมใน หนังสือ “พระรำชพิธีสิบสองเดือน” อันเป็นบทพระรำชนิพนธ์ของ “พระบำทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว” มีเรื่องรำวเก่ียวกับกำรประกอบรำชกุศลมำฆบูชำไว้ว่ำ ประเทศไทยเริ่มกำหนดพิธีปฏิบัติใน “วันมำฆบูชำ” เป็นคร้ังแรก ในช่วงรัชสมัย พระบำทสมเด็จพระจอมเกลำ้ เจ้ำอยู่หัว รชั กำลท่ี 4 ซ่ึงมีกำรประกอบพิธีเปน็ ครั้งแรกใน ปี พ.ศ. 2394 ในพระบรมมหำรำชวังก่อน โดยมีพิธีพระรำชกุศลในเวลำเช้ำ นมัสกำร พระสงฆจ์ ำกวัดบวรนิเวศรำชวรวหิ ำรและวดั รำชประดิษฐ์ จำนวน 30 รูป ฉนั ภตั ตำหำร ในพระอุโบสถ วัดพระศรรี ตั นศำสดำรำม เมือ่ ถงึ เวลำค่ำ พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั เสดจ็ ฯ ออก ทรงจุดธูป เทียนนมัสกำร พระสงฆ์ทำวัตรเย็นและสวดคำถำโอวำทปำฏิโมกข์ เมื่อสวดจบทรงจุด

เทียน 1,250 เล่ม รอบพระอุโบสถ มีกำรประโคมอีกครั้งหนึ่งแล้วจึงมีกำรเทศนำโอวำท ปำฏโิ มกข์ 1 กณั ฑ์เปน็ ทั้งเทศนำภำษำบำลี และภำษำไทย สว่ นเครอ่ื งกณั ฑป์ ระกอบด้วย จวี รเนอ้ื ดี 1 ผืน เงิน 3 ตำลงึ และขนมตำ่ ง ๆ เมอื่ เทศนำจบ พระสงฆ์ 30 รปู สวดรับ ในสมัยรัชกำลที่ 4 นั้น พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว จะเสด็จออก ประกอบพิธีด้วยพระองค์เองทุกปี แต่มีกำรยกเว้นบ้ำงในสมัยพระบำทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 5 เน่ืองจำกบำงครั้งตรงกับช่วงเสด็จประพำสก็จะทรง ป ระก อ บ พิ ธีมำฆ บู ชำใน สถ ำน ที่ น้ัน ๆ ขึ้น อีก แ ห่ ง น อ ก เห นื อ จำก ภ ำยใน พระบรมมหำรำชวงั ตอ่ มำกำรประกอบพิธีมำฆบชู ำไดแ้ พร่หลำยออกไปภำยนอกพระบรมมหำรำชวัง และประกอบพิธีกันทั่วรำชอำณำจักร ทำงรัฐบำลจึงประกำศให้เป็นวนั หยุดทำงรำชกำร ด้วย เพื่อให้ประชำชนจำกทกุ สำขำอำชพี ได้ไปวัด เพื่อทำบุญกศุ ลและประกอบกิจกรรม ทำงศำสนำ นอกจำกนี้ในปี พ.ศ. 2549 รัฐบำลไทยประกำศให้วันมำฆบูชำ เป็นวันกตัญญู แหง่ ชำตอิ กี ดว้ ย หลกั ธรรมทคี่ วรนาไปปฏิบัติในวันมาฆบูชา หลักธรรมท่ีควรนำไปปฏิบัตคิ ือ “โอวำทปำฏิโมกข์” ซึ่งเป็นหลักคำสอนสำคัญอัน เป็นหัวใจของพระพุทธศำสนำ เพื่อไปสูค่ วำมหลดุ พ้น หลกั ธรรมประกอบดว้ ย หลักกำร 3 อุดมกำรณ์ 4 และวธิ กี ำร 6 ดังนี้ หลกั การ 3 คือหลกั คาสอนท่ีควรปฏบิ ตั ิ ได้แก่ 1. กำรไม่ทำบำปท้ังปวง คือ กำรลด ละ เลิก ทำบำปทั้งปวง อันได้แก่ อกุศลกรรมบถ 10 ซง่ึ เป็นทำงแห่งควำมช่ัว 10 ประกำรที่เป็นควำมช่ัวทำงกำย (กำรฆ่ำ สัตว์ กำรลกั ทรัพย์ กำรประพฤติผิดในกำม) ทำงวำจำ (กำรพูดเท็จ กำรพดู สอ่ เสยี ด กำร พดู เพ้อเจ้อ) และทำงใจ (กำรอยำกได้สมบัตขิ องผูอ้ ่ืน กำรผูกพยำบำท และควำมเห็นผิด จำกทำนองคลองธรรม) 2. กำรทำกุศลให้ถึงพร้อม คือ กำรทำควำมดที ุกอย่ำงตำม กุศลกรรมบถ 10 ทั้ง ควำมดีทำงกำย (ไม่ฆ่ำสัตว์ ไม่เบียดเบยี นผ้อู ื่น ไม่เอำสิ่งของทเี่ จ้ำของไม่ได้ใหม้ ำเป็นของ

ตน มีควำมเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ ไม่ประพฤติผิดในกำม) ควำมดีทำงวำจำ (ไม่พูดเท็จ ไม่พูด ส่อเสยี ด ไม่พดู หยำบคำย ไม่พดู เพ้อเจ้อ) และควำมดที ำงใจ (ไม่โลภอยำกได้ของผ้อู ื่น มี ควำมเมตตำปรำรถนำดี มคี วำมเข้ำใจถูกตอ้ งตำมทำนองคลองธรรม) 3. กำรทำจิตใจให้ผ่องใส คือ ทำจิตใจให้บริสุทธ์ิ หลุดจำกนิวรณ์ที่คอยขัดขวำง จิตใจไม่ให้เขำ้ ถึงควำมสงบ ได้แก่ ควำมพอใจในกำม, ควำมพยำบำท, ควำมหดหู่ทอ้ แท้, ควำมฟ้งุ ซำ่ น และควำมลงั เลสงสัย ซึ่งทั้ง 3 หลักกำรข้ำงต้น สำมำรถสรุปใจควำมสำคัญได้ว่ำ “ทำควำมดี ละเว้น ควำมช่ัว ทำจิตใจใหบ้ รสิ ุทธิ์” น่นั เอง อดุ มการณ์ 4 ไดแ้ ก่ 1. ควำมอดทน อดกลนั้ คอื ไมท่ ำบำปทั้งกำย วำจำ ใจ 2. ควำมไมเ่ บยี ดเบียน คอื งดเว้นจำกกำรทำร้ำย หรือเบียดเบียนผู้อน่ื 3. ควำมสงบ ได้แก่ กำรปฏิบตั ิตนใหส้ งบท้ังทำงกำย ทำงวำจำ และทำงใจ 4. นพิ พำน ได้แก่ กำรดับทุกข์ ซ่ึงเปน็ เปำ้ หมำยสูงสดุ ในพระพทุ ธศำสนำ วธิ กี าร 6 ได้แก่ 1. ไม่วำ่ รำ้ ย คอื ไม่กล่ำวให้ร้ำย โจมตีใคร 2. ไมท่ ำร้ำย คือ กำรไมเ่ บียดเบียนผู้อื่น 3. สำรวมในปำฏิโมกข์ คือ เคำรพระเบียบวินัย กฎกติกำ รวมทั้งขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงำมของสงั คม 4. รจู้ กั ประมำณ คือ รู้จักควำมพอดีในกำรบริโภค รวมทัง้ กำรใชส้ อยสิ่งต่ำง ๆ 5. อยู่ในสถำนที่สงัด คอื อยู่ในสถำนทท่ี ม่ี สี ิ่งแวดลอ้ มทเี่ หมำะสม 6. ฝึกหดั จติ ใจให้สงบ คอื กำรฝกึ หดั ชำระจติ ใจให้สงบ มีประสทิ ธภิ ำพทดี่ ี วนั มาฆบูชา กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีควรปฏบิ ัตใิ นวนั มาฆบชู า กำรปฏิบัติตนสำหรบั พุทธศำสนิกชนในวันมำฆบูชำ คือ ในตอนเช้ำ ควรไปทำบุญ ตกั บำตร ไปวัดเพ่ือฟงั พระธรรมเทศนำ หรือจัดสำรบั คำวหวำนไปทำบญุ ถวำยภัตตำหำร ชว่ งบ่ำยฟังพระแสดงพระธรรมเทศนำ เจรญิ สมำธิภำวนำ เม่ือถึงตอนค่ำ นำดอกไม้ ธูป

เทียนไปเวียนเทียน 3 รอบ ที่พระอุโบสถ โดยกำรเวียนเทียนน้ันจะเวียนขวำ จำนวน 3 รอบ และช่วงเวลำท่ีเดินอยู่นั้นให้ระลึกถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นอกจำกน้ี พุทธศำสนิกชนควรบำเพ็ญสำธำรณประโยชน์ตำมสถำนท่ีต่ำง ๆ และรักษำศีล สำหรับ ตำมบ้ำนเรือน สถำนท่ีรำชกำร จะมีกำรประดับธงชำติ ธงธรรมจักร เพ่ือระลึกถึงวัน สำคญั ทำงพระพุทธศำสนำ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook