Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook-23

ebook-23

Published by ju_sureerut, 2018-04-18 00:43:24

Description: ebook-23

Search

Read the Text Version

ปที ่ี 36 ฉบบั ท่ี 4 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 23

ปีที่ 36 ฉบบั ท่ี 4 ตุลาคม-ธนั วาคม 2558 ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 23 สารบญับทความ 2 ประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกจิ ของยางพาราทีม่ สี าเหตุ จากโรครากขาวในพน้ื ทีป่ ลูกยางภาคใตต้ อนบน ของประเทศไทย15 การคัดเลือกและผลิตผงเชอื้ Trichoderma spp. เพ่ือ ควบคุมเชือ้ รา Rigidoporus microporus สาเหตโุ รคราก ขาวของยางพารา20 หยดุ การใชก้ รดซัลฟวิ รกิ ในการจับตวั ยาง26 การทดสอบเทคโนโลยีเบอ้ื งตน้ สำ�หรับการปลูกยางพารา เพือ่ ผลิตเนอื้ ไม้* การรว่ มมือในการแลกเปลย่ี นพันธ์ยุ างของประเทศสมาชิก ใน IRRDB* ตดิ ตามอา่ นไดใ้ นเรว็ ๆ น้ีภาพปก : สภาพสวนยางที่เป็นโรครากขาว แสดงการลุกลามของโรค ซ่ึงมีทั้งพ้ืนที่ว่าง ต้นยางท่ียืนต้นตาย และต้นยางท่ีแสดงอาการโรครุนแรงมากพมุ่ ใบเหลือง

2 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตุลาคม-ธันวาคม 2558ประเมนิ ความสญู เสียทางเศรษฐกิจของยางพาราทีม่ สี าเหตจุ ากโรครากขาวในพ้ืนทปี่ ลกู ยางภาคใตต้ อนบนของประเทศไทยอารมณ์ โรจนส์ ุจติ ร1, สโรชา กรธี าพล2, วันเพ็ญ พฤกษว์ วิ ัฒน์2, วลยั พร ศศิประภา3, ประภา พงษอ์ ุทธา4และ ปราโมทย์ คำ�พทุ ธ51 ศนู ย์วิจัยยางสุราษฎร์ธานี สถาบนั วจิ ยั ยาง การยางแหง่ ประเทศไทย2 ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการเกษตรภูเก็ต ส�ำ นักวจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 7 กรมวชิ าการเกษตร3 ศูนย์สารสนเทศ กรมวชิ าการเกษตร4 ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรระนอง สำ�นกั วจิ ยั และพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 7 กรมวิชาการเกษตร5 ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกระบ่ี สำ�นกั วิจยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 7 กรมวชิ าการเกษตร โรครากขาวของยางพารา เกิดจากเช้ือราชั้นสูง กระทบของโรครากขาวต่อผลผลิตในแปลงยางท่ีเป็นจ�ำพวกเห็ด (Basidiomycetes) มีช่ือวิทยาศาสตร์ โรครากขาวและไม่มีการดูแลรักษาโรคเป็นเวลา 4 ปีRigidoporus microporus พบแพร่ระบาดและท�ำความ พบว่า ผลผลิตของยางลดลงทุกปี คือมีผลผลิตของปีท่ีเสียหายแก่พ้ืนท่ีปลูกยางท่ัวไปตั้งแต่ 1-2 ปีแรกปลูก 1, 2, 3 และ 4 ลดลงเหลือเทา่ กบั 71.5, 65.2, 62.6 และท�ำให้ต้นยางที่เป็นโรคยืนต้นตายและเป็นแหล่งเชื้อแพร่ 47.9 กิโลกรัม/ไร่/ปี ตามล�ำดับ เช่นเดียวกับการศึกษากระจายแก่ต้นข้างเคียงทั้งในแถวและระหว่างแถว จ�ำนวนต้นยางท่ีสูญเสียเนื่องจากโรครากขาวจากพ้ืนที่ตอ่ ไป ท�ำใหจ้ �ำนวนต้นยางและผลผลติ ตอ่ ไร่ลดลง ส่งผล ปลูกยางประเทศแอฟริกาตะวันตก โดยศึกษาจากแปลงให้สูญเสียรายได้ทั้งจากผลผลิตน�้ำยางและไม้ยาง ยางทปี่ ลูกในปี ค.ศ. 1957, 1958, 1959, 1960 และ ปีนอกจากน้ี ยังต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมเติมในการควบคุม 1961 พบว่า จากการประเมินในปี 1970 ซึง่ แต่ละแปลงและป้องกันโรคอีกด้วย โรครากขาวในประเทศไทยมี ยางมอี ายุ 13, 12, 11, 10 และ 9 ปี พบว่า มีต้นยางตายแนวโน้มแพร่ขยายและระบาดมากขึ้น โดยเฉพาะ รอ้ ยละ 46, 45, 42, 26 และ 29 ตามล�ำดับอย่างยิ่งในพ้ืนที่ปลูกยางเดิมซ่ึงมีการปลูกยางแทนรอบ เพ่ือให้ทราบสถานการณ์ของโรครากของยางพาราใหม่ จากการส�ำรวจโรคทั่วไปในพ้ืนท่ีปลูกยางภาคใต้ ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของประเทศ โดยเฉพาะตอนบนปี 2543-2546 พบสวนยางเป็นโรครากขาว อย่างยิ่งโรครากขาวของยางพารา จึงได้ศึกษาพื้นท่ีการกระจายอยู่ทั่วไปร้อยละ 4.03 และต่อมาในปี ระบาดของโรครากขาวและความเสียหายทางเศรษฐกิจ2548-2550 พบสวนยางเปน็ โรคมากขึน้ เป็นรอ้ ยละ 12.2 ของยางพารา ส�ำหรับวางแผนการควบคมุ โรคตอ่ ไปของจ�ำนวนสวนยางท่ีส�ำรวจทั้งหมด (อุไร และคณะ, ท�ำการศึกษาระหว่างปี 2551-2554 โดยเก็บ2551) สวนยางที่เป็นโรครากหากปล่อยไว้จะท�ำให้เกิด ข้อมูลทุกจังหวัดและทุกอ�ำเภอที่ปลูกยาง สุ่มเลือกต�ำบลความสูญเสียมากขึ้นตามเวลาท่ีเพิ่มขึ้น ส�ำหรับปัญหาท่ี ที่มีโรครากขาวระบาดมาอย่างน้อยอ�ำเภอละ 5 ต�ำบลเกิดในต่างประเทศ Fox (1977) รายงานการศึกษาผล แต่ละต�ำบลสุ่มเก็บข้อมูลเฉพาะสวนยางที่พบว่าเป็นโรค

3 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 ขณะที่มีสวนยางท่ีเป็นโรครากน�้ำตาล สาเหตุจากเช้ือรา P. noxius (ภาพท่ี 3) และโรครากแดง สาเหตุจากเช้ือราก (Purposive sampling observation) วิเคราะห์ G. pseudoferrium (ภาพท่ี 4) ส่วนใหญ่พบในสวนยางมูลค่าความเสียหายในเชิงเศรษฐกิจจากน้�ำยางและไม้ ยางที่มอี ายมุ ากคอ่ นข้างนอ้ ยเพียง 172 และ 15 แปลงยางในภาพรวมของทั้งภูมิภาคโดยอาศัยข้อมูลการ หรือเพียงร้อยละ 5.15 และ 0.13 เท่านั้น โดยในพ้ืนท่ีส�ำรวจโรคท่ัวไประหว่างปี 2548-2550 (อุไร และคณะ, จ.ภูเก็ต พบสวนยางเป็นโรครากน้�ำตาลกระจายอย่าง2551) และจากฐานข้อมูลการปลูกยางพาราในปี 2552 หนาแน่นคิดเป็นสัดส่วนการกระจายโรคร้อยละ 48.9(ส�ำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2552) ของสวนยางที่พบโรครากในจังหวัดทั้งหมด รองลงมาคือ จ.พังงา นครศรธี รรมราช และ สรุ าษฎร์ธานี พบสวนยาง การกระจายของโรครากของยางพารา เป็นโรครากนำ้� ตาลกระจายรอ้ ยละ 12.5, 5.57 และ 3.35 ตามล�ำดับ ในขณะที่ จ.ชุมพร พบโรคน้อยมาก ส่วนโรค ผลการส�ำรวจสวนยางท่ีเป็นโรครากในพ้ืนที่ภาค รากแดงสาเหตุจากเช้ือ G. pseudoferrium พบมีสวนใต้ตอนบน ปี 2551-2553 จากแปลงยางท่ีเป็นโรคราก ยางเป็นโรครากแดงนอ้ ยมากเพยี ง 15 แปลง หรอื รอ้ ยละท้ังหมด 3,340 แปลง รวมพื้นท่ีส�ำรวจ 56,295 ไร่ เป็น 0.13 ของจ�ำนวนสวนยางที่พบเป็นโรครากทั้งหมดสวนยางใน จ.สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ชุมพร (ตารางที่ 1)ระนอง กระบ่ี พังงา และ ภเู ก็ต จ�ำนวน 1,255, 975, 346, 286, 244, 144 และ 90 แปลง ตามล�ำดับ สวนยางมีเน้ือท่ีต่อแปลงเฉลี่ย 16.8 ไร่ โดย จ.ระนองมีเน้ือที่เฉลี่ย ความรุนแรง และความเสยี หายของต่อแปลงน้อยที่สดุ 12.7 ไร่ และ จ.ภูเก็ต มเี น้อื ที่เฉลยี่ ต่อ ยางพาราที่มสี าเหตจุ ากโรครากแปลงสูงท่ีสุด 28.4 ไร่ รองลงมาคือ จ.ชุมพร พังงากระบ่ี สุราษฎร์ธานี และ นครศรีธรรมราช มีเนื้อท่ีเฉล่ีย ความเสียหายจากการส�ำรวจ 22.7, 18.9, 18.7, 17.7 และ 13.0 ไร่ ตามล�ำดบั สวนยาง จากการส�ำรวจสวนยางจ�ำนวน 3,340 แปลง รวมที่พบโรครากมีอายุต้ังแต่น้อยกว่า 1 ปี จนถึงมากกว่า พื้นที่ส�ำรวจ 56,295 ไร่ (ตารางที่ 1) พบว่า มีต้นยางท่ี30 ปี โดยท้ังภูมิภาคเฉลี่ย 13.6 ปี ซ่ึงสวนยางใน เสียหายและแสดงอาการจากโรครากคิดเป็นพื้นที่จ.สุราษฎร์ธานี มีอายุสวนยางเฉลี่ยน้อยที่สุด 10.4 ปี ท้ังหมด 1,978 ไร่ หรือร้อยละ 3.48 ของพื้นที่สวนยางที่ในขณะที่สวนยางใน จ.ชุมพร มีอายุปลูกเฉล่ียมากท่ีสุด ส�ำรวจพบเป็นโรครากท้ังหมด (ตารางที่ 2) โดยแบ่ง22.6 ปี รองลงมา คือ จ.กระบี่ ภูเก็ต นครศรีธรรมราช ความเสียหายตามชนิดโรครากดังนี้พงั งา และ กระบี่ เฉล่ยี 19.7, 16.9, 16.3, 14.7 และ 12.8 ความเสียหายจากโรครากขาว คิดเป็นพ้ืนท่ีมากปี ตามล�ำดับ โดยมีสัดส่วนของยางก่อนเปิดกรีดอายุ ถึง 1,928.7 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 3.43 ของพ้นื ท่ีสวนยางทีพ่ บน้อยกว่า 6 ปี รอ้ ยละ 16 มสี ัดส่วนสวนยางท่ีอยใู่ นระยะ เป็นโรครากทั้งหมด โดยสวนยางใน จ. นครศรีธรรมราชท่ีมศี ักยภาพในการใหผ้ ลผลติ ชว่ งอายุ 6-20 ปี มากถึง มีความเสียหายต่อพ้ืนท่ีมากท่ีสุดร้อยละ 4.45 รองลงมาร้อยละ 58 และ สัดส่วนสวนยางอายุมากกว่า 20 ปี คือ สวนยางใน จ.กระบี่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี พังงาประมาณรอ้ ยละ 26 (ตารางท่ี 1) ระนอง และภูเก็ต มีความเสียหายต่อพื้นที่ร้อยละ 4.15, ส�ำหรับการกระจายของพื้นท่ีแพร่ระบาดของโรค 3.81, 3.08, 3.02, 1.91 และ 1.35 ตามล�ำดับ ราก จากการส�ำรวจและประเมินสวนยางที่เป็นโรคราก ความรุนแรงของโรคราก สามารถค�ำนวณจ�ำนวนในพ้ืนที่ปลูกยาง 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน พบกระจาย ต้นยางท่ีเสียหายจากโรครากเฉล่ียแปลงละ 45.3 ต้นอยู่ในพื้นที่ปลูกยางทั่วไป (ภาพท่ี 1) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หรือ คิดเป็นพื้นที่เสียหาย 0.61 ไร่/แปลง (ตารางที่ 2)โรครากขาว สาเหตุจากเช้อื รา R. microporus (ภาพที่ 2) แต่ละแปลงมีจุดท่ีพบโรคกระจายต้ังแต่ 1 - 12 บริเวณจะเห็นว่ามีแพร่กระจายอย่างหนาแน่นในทุกพ้ืนที่ที่ปลูก ดังน้ัน โดยเฉล่ียแล้วแต่ละแปลงเป็นโรค 2.13 บริเวณยาง มีสวนยางเปน็ โรคมากถงึ 3,168 แปลง หรอื คดิ เป็น ยกเว้นสวนยางปลูกแทนอายุ 1-3 ปี ท่ีพบว่ามีต้นยางที่ร้อยละ 94.85 ของสวนยางที่พบเป็นโรครากทั้งหมด ใน

4 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 23 ตุลาคม-ธนั วาคม 2558ตารางที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของสวนยางจากการสำ�รวจทพี่ บเป็นโรครากยางพาราแยกตามจงั หวัดต่างๆ ในพน้ื ทีป่ ลูกยางภาคใต้ตอนบน ปี 2551-2553จงั หวัด จ�ำ นวน เน้อื ที่ เฉลีย่ เนือ้ ที่ เฉล่ยี ตน้ ปลกู เฉลีย่ อายุ กระบ ี่ แปลง (ไร)่ ตอ่ แปลง(ไร่) ต่อไร่ สวนยาง(ปี) ภเู ก็ต 244 4,566 71 พงั งา 2,947 18.7 74 19.7 ระนอง 90 2,724 28.4 72 16.9 ชุมพร 144 3,635 18.9 74 14.7 สุราษฎร์ฯ 286 7,810 12.7 74 12.8 นครศรฯี 346 22,263 22.7 75 22.6 รวม/เฉลีย่ 1,255 12,698 17.7 75 10.4 975 56,295 13.0 74 16.3 3,340 16.8 13.6ตารางท่ี 1 (ตอ่ ) ขอ้ มลู ท่ัวไปของสวนยางจากการสำ�รวจทพี่ บเปน็ โรครากยางพาราแยกตามจงั หวัดตา่ งๆ ในพ้นื ทีป่ ลูกยางภาคใตต้ อนบน ปี 2551-2553จงั หวัด จ�ำ นวนแปลงทเี่ ป็นโรคราก จำ�นวนแปลงทเี่ ปน็ โรคราก กระบ่ี ภูเกต็ < 6 ปี 6-15 ปี 16-20 ปี >20 ปี รากขาว รากน้ำ� ตาล รากแดง พงั งา ระนอง 13 33 80 104 240 4 1 ชุมพร 15 25 23 26 52 44 1 สรุ าษฎร์ฯ 29 33 43 28 132 18 1 นครศรฯี 37 151 73 19 280 8 1 รวม 10 71 159 105 343 1 - % 290 397 275 286 1,206 45 5 130 321 226 286 915 56 6 524 1,031 879 854 3,168 172 15 15.94 31.36 26.73 25.97 94.85 5.15 0.13เป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นโรครากขาวมากหลายจุดๆละ ทวคี ูณตามระยะเวลาและจ�ำนวนจุดเริ่มตน้ ท่ีพบโรค จาก1-3 ต้น กระจายท่ัวแปลงปลูก ซ่ึงพบว่าแปลงยางท่ีพบ การเก็บข้อมูลความเสียหายของต้นยางในแต่ละจุดหรือโรคท่ีอายุน้อยเหล่าน้ีส่วนใหญ่มักมีตอไม้เดิมอยู่ใน บริเวณทเี่ ป็นโรคในแต่ละอายุของสวนยาง พบวา่ ตน้ ยางแปลงปลูก ซึ่งหากปล่อยไว้โดยไม่มีการป้องกันและ เป็นโรคเพิ่มมากขึ้นตามอายุของยางท่ีเพ่ิมข้ึน (ภาพที่ 5)ก�ำจัด จะท�ำให้โรคลุกลามและท�ำความเสียหายมากเป็น ซ่งึ จะไดค้ วามสมั พันธข์ องอายสุ วนยาง (X) ตอ่ ความสูญ

รากขาว 240 52 132 280 343 1,206 915 3,168 (94.8%)รากน้าตาล 4 44 18 8 1 45 56 172 (5.15%)5 รากแดง 1 1 1 1 - 5 6 15 (0.134%) ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558(1) (2) 4(3) (4) 5 5 55 5 5 5มกี มาีกรมปมา5กีรกี้อปาางรอ้รกปปงนั ้อกอ้ แงนังลกกแะันนัลกแะแาลกจละดัาะกจกัดาะาจจทดั ะดัาจทใจะหะาทใท้โหราาใคโ้ใหรหลค้โุกโ้ รลรลคกุคาลลมกุ ากุแลมลาแาะมมลทแะแาลทลคะะาวทคทาามวาคาเคสมววียาเาสมหมียเาเสหสยียมยีาหยหามากายาเยปมกม็นาเาปกกทน็เเปวปทคี็นน็ วณู ททีคตวูณวคีาคี ตมณู ูณารตมะตารยามะมรยเรวะะลยเยวาะะลแเเวลาวลแะลาลจาแะแาลนจละ แภลาะพกทร่ีะ1จากยาตรกวั รขะอจงาโรยคตรัวาขกอแงดสงวน(4ย)างในพื้นท่ีภาคใต้ตอกขนานึ้ กขบรตเานึน้ กากขรทกขตม็บเา้นึพ่ีกาน้ึาอรขรตบม็บตเา้อเกโาอกยขารมม็บขุมาคบ็อ้ ลูอยขอรขมคุขาา้องา้อลูกยอวยมมุขคางาขุ(ูล1มอวูลงยอค)ทางาเคงสกมวงย่เีวยพาทาียาเาาสรมงหิม่มีเงกพทยีเทาขเรสหส่มิีเยะ้นึ่เีพียพจขยีาขหิม่ายหอซิม่ึ้นยขาขงาขง่ึตยอซนึ้ตยจึ้นวัขงขน้่ึงะขอซตจอซไอยงดน่ึง้ะงงาึ่งตจโไค้ตงยจรดน้ะใวนา้ะคนไ้คงยาไรยดใมดวาาแานค้งกาส้คตงใมวขแใว่ลัมนาานสตาะพวมแมล่แัจสตัน(สะตุดพ2ล่ัมธจ)ล่ัมหน ะ์ขพดุ ะพกรธจอหจันาอืันข์ุดงดุรรธบอหธกหอื์ขรงร์ขารบรอะเิยออืวือจรงสุางณบาเิบอยอววยรสุทารนณาตเิยเิววยี่วัวยปสุทณนสุขณาน็วี่เองวยปทนทงโนา(น็เ่ีโรงยี่เXปรยปคโาค(น็า)รนใง็Xรงตนคโาโ()ร(กอ่ใXรแXคตนนคคต)ใอ่)ำ�้แวใล่ตนตคตนตาะอ่าแมว่อล่แอลคตาสคะตามว่ล(วอยูญล่3าสะาขุา)ะมเ มอยูญสอสขุาสงยีาเยญูสอสยญูตขุ งขุียเว้นเสอสตสอนยงยีวน้งียายสตนสตงยาวน้ใงวน้ายนนงยนายพใงาแยายนบงาตงพาอกขาานกปงาม็บอ้รากยตอ้เอมขรกุขันางาปลู้อม็บอกแยมกขคอ้มองขุขลันาึน้กีวงยลูา้อะอรแกายาาตคกงมเลงรขุนักาวยาทูลปะเอมบ็าแจสากค่เีอ้มงอลดัพขยี าวยทงเาะจห้อสิ่มาากย่ีเกะสเมัดพงาขยีุนัสทาภ(ยทมจลูเห้นึม่ิอ2จสแีขยาะาคี่เก)าขงดัพลใียพอซทตยวยหาึ้นจหะแิ่มงขึงทาาาร้ะโ้นกตผใามจขงอซร่ีเทหยา1น้ทนะลย้ึนเงคง่ึจสขาไโ้ตแยเ่ีทขจลาดัใดพรอยีซาผน้หะย่กีุกคงจหค้่มิึงไนยลา้โะกใตวจดาขรรานททานุกยา้กะค้นึคงกมมขแ่ีแาไล�ยใแวลรดแำใสตนอสซาาลาะหกุตล้คมงล่มัดแ่ึงจงัล้โใะวตแ่จะลสตพงารดนาทาน้ละจกยล่คมัมนะงัแไาดุตะายะลพแนดจธสตครทหาัวจกุล์ขนั้คล่วุกีมงดขาดุรละใาอวะรธคพออืหนมทาาจะงข์วงันบมมรเแอาุดจโอสแือธรคสตรอาามหงียเิล์ขยยบวคล่ัมวเอบรหสตุสะาอรรณะพือามารัวทียาวงเิจยบวนัทยกิขเหอเนุสาดุสณมวรนธี่เคอาาหยวปียเิายณ์ขทยวงวา้านหกรน็ุสมสตงาอณเ่ีือยเปมาทโวาปางว(ารบทยกลนน็Xเอนี่เ็นงสคมรีเ่เปาโย)(ยปทใยี(าเิ(ยร3าวXตนาYก็หน็นวสุค)งงณอ่เแ)()โีคาทใใปวโY(แรคตตนทยนดXณูรนว็น(คล)มวล่อ่(งัีเแพคYคี)ยปตYทใะาดสาะคตาูณตน้ืน)ม(ากน็งัว)อวมแง่ลYมอ่ดทแสสเตคีดโาาผปกะ(รคงัต)รยมูญ่ีภมาณูงัXนอา็นสะควมขุล่สสากรเา)ตดยทาทมใสครอะเมยาญูมะตนลาักี่ะงกอใรวยีขุกมเอ่สตขเแยสาเวคีตาาสอลารครต้ยรยะตูญลณูวน้รงียะขกเกขุเวอล่านเลสวเตยยตลยรสาแกอนะ ดลขายะวน้YกมะาขลางยีองบาานยเมงักจลยสยสวตะใงาแYกนนราายากังลจูญว้นลพงยกละาี้ทขุกาแน(YะใยเตงYายงันบภแสอาตน่ีพจายลัวะหลพลาว(วงงยี่ลาา=หแบงัขเภพงัะรใส่านวตบงะตโรอนาต(ืจอทล=หว้น(จจรวภพ่ลพอืงภน้าแนจดุี่คดุา่นรยาโะนจบ2ทแ=หาตตยรหพ=หรเ�อืายจ)จาพรลววำ่ีาล่งน้คราา1นจ2ุดนทรุดรด่มิงา่นะทใกงะอืร.)ยาือือหตเวเนงั4่ีวตจจรป1่ีนาจ2าพด(บนนจ29้นราแก้นน่มิดุ.ง1ุด)าน็วงั4)3านบรือ้ีตต1ยเน)แหตดเทต1นนป9Xดโริเ.บวาวน้ล่ดแวว.น้ังร43รพี่มิวี้นต้็งงั41า่นรผะณนงนย9คX.ือทเนน09ตบ้ตโปิเยจ3า2จนใี้ตบ(ว31ทร6น้ี่พี้ต้นงโยนX4ุด.ุด็า0ทXณค้นรรทเ่ี้นา2)ยบทหเเป1งโ6คิเใกี่รพง1ยท.าเ่ีวรย0โ.น่ีพรสทน็ท0มิ่งา2ารม่ิณคา2เ่ีจ6อืงรเปบ6ยีโตี่เ่เคงพปามใสทบทกรสห(ทน็โ้นกนน็า่ิมrคจียรรเ่รีเ่ียา2เ่ีสกโทเปาหสมคะ(โพิเยรหวrกรยีพ่ีน็จาขียาค2ม่ิจณคห(ก=าายหบโ(อrามยใrรขา2ทยงกโา2นตา=ยคอรแยี่เ0ขกเขปัวคงขพป.=อ9ขอ=แน็0อล่ิม8จงองป.โง93ามแแ0รงแล0กย8)าป.โคปป.93งารก9ลง8ย)ลค8ล3งา(3งงงย)Yย)รยา(าpางYงา)ก(pดงข(YY)(งัาpYดวนp)งั)pี้ ดนด)งั ี้ังนน้ี ี้Yมง)สกดามังรกส(เลYามรข)กเยลดากขงัรกสเยลากมขลกยังากล(รภกังเลา(ลพขภงัยทากพ(่ี 2ภกท)าี่พดล2งัท)นดี่(2ภ้ีัง)านดพ้ี งั ทน่ี 2้ี ) ดังน้ี YpYpYYpp= = ==( 1(.419(.(43119X..43419X.0932316X.0X)21621.0.)0.2126263).)1223..1133 (r2(r2((=rr22=0.=9=08.93008)..9398)833))Y Y Y=หรอื=หจรYาือ=ห1นจ.รว4าอืน91จ3.ตว4Xาน9้=ห1น13ต.ย.รว04Xา2้นอื96ง13ยจ.ตท0Xา2น้6เ่ีคง1นส1ยท..0ว4ียา2เ่ีน96ห(าสงr3ทตมา2ียXยน้เี่ห(รสขr1ยา2.=นุ0ียอยา2ห(6งขแrแท=0า2อรยป.เ่ีง9สขงลแ80=ียอป3ง.แ9ห(งย)ลr8แล0า23งปง.ยะ9ย)ขล(8าค=Yอ3งวงย)p(แา)0Yางป.ดม9p(ลงัส8)Yเน3งสดมpสย)้ีังกยี)ามนาสงดหสกร้ี มัง(ทมาYานกรก่ีไยpท้ีาดา)รขไี่น้รทดดทอสี้ ัง่ไีน้ ไ่ีงอดนด้สี ด้นยี้้นอคีส้าี้สดลงอคอส้อพดดลงมคคอ้แากลงลรอ้าแ้อะางรลมงสแทะแคี ลาม่ีไล่าะเดคีะหมม้น่าีคตนีค้ีส่าว่าจุอคนคณาาดวานใกนณคกวโวลลใณรกณ้เ้อคคใลใงกยีเ้กรคแงลลายีกล้เ้เคงกบคั ะยีกียคมงบังา่กีคกควบั บั่าิเา่ คควคคริเา่ คา่�วำวะรนเิ ิเคหาควะรค์รณหาาวะะค์าใหหมวกค์าเค์ลสมวว้เายีเาคสมหมียียเาเสหสงยยี ขียาหยหอขางายอสยขงขวอสอนงวงยสนสาวงวยนทนางย่ีเยปทาYpYpคYว=pาม=เจสYาีย(ก=pห1ก.(าา4รย91ส3.จ4(Xา=า91รก13.ว.04Xก2จ961าส3.)0ร(Xว226ส1น.1)1..า0ย4322ร96า.ง1ว3)จ3Xจ2า.11น.032ว6น)(r232.,1(3r342=0(rแคแ2=0ปปา่ .คแ9ลล80ป่าว=งงคแ3.ร(าคแล9ขr)ป่ามววป8่าง2อ0คามลเค3ขล.สงมว9)งวพอทงียา8เขา=สงข้นืมห้งั3มอทอยีภ)เทาเสงหงั้ส0มูยี่สทยีภท.จียาภิ9าห้ังูมยาหงั้8ราภกจาภิค3วามูยาก)มูยาจกจภิดคาจภิ 5ากรางัาาก6ดคคากทค,กรงัาก2ี่รดคนาท9ดาารงัา5รยวี่รงั คนท.คงณาท6ายาวรี่าีร่นตนไงนณาารายาวขยว่ตมนงณพา้งณาาสขงาบตมนตนตมา้ าวสขงา้นขกมา่มตา้ าา้มสงสน้คกรงตีตมตนอืมา้นน้คกรน้อก้ที นอืยาาาีอ่คราอคยร้ที งนาอื สุนาอื ีอ่ยทอย้ีทวอีทุ้าเ่ีุสา1นอ่ีสยา่อียว3ยุายียุสา1.นสุยหา6ยว3ุงวยุา1น.เป1นา6ยฉ3งย3ีแย.ลเป.า6ฉาล6ยี่งโีงระลเปเปฉ1คแฉยี่โี 3ลรีสล.1ค่ียโา6ด่ยีโ3รกรง1.คปาข1ค6อ3กร3าีรา.ปามข.ว6าก6กาีกคาปมข1วปขา่ราีคเจาีบฉม1วม่าวาลรคีเกคีบฉ1ิเยี่1าโวา่ลรเตรเบฉณเิบฉ่ยีคน้วลรตจลรณยิเย่ีะน้เิว่ียาวตจมณตงยณะน้เีตนา้ สจมจงย้นยะีเตีะาสายมหงมน้งายีเีตาเตีสงยหสยน้เน้ายีสจยีางยหยยาหีเาสากจาหงางยาโยีเยาเสรกจ

6 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558(ก) (ข)ภาพท่ี 2 ต้นยางทีแ่ สดงอาการโรครากขาว (ก) กลมุ่ เส้นใยสีขาวบรเิ วณโคนต้น (ข) ลักษณะดอกเหด็ ที่โคนต้นภาพท่ี 3 ลักษณะดอกเห็ดของโรครากน้ำ� ตาล ภาพที่ 4 ลักษณะดอกเหด็ ของโรครากแดงตารางที่ 2 ความเสยี หายทม่ี ีสาเหตจุ ากโรครากชนดิ ตา่ งๆในสวนยางท่ีพบโรครากในภาคใตต้ อนบน จากการส�ำ รวจในปี 2551-2552จังหวดั พน้ื ท่เี สียหาย(ไร)่ %ของพ้ืนที่ท่ีสำ�รวจ เสียหาย/แปลง(ไร่) รากขาว รากน้ำ� ตาล รากแดง รวม รากขาว รากนำ�้ ตาล รากแดง รวม รากขาว รากน้�ำตาลนครศรีธรรมราช 565.30 8.89 0.57 574.76 4.45 0.070 0.004 4.53 0.62 0.160ชมุ พร 297.41 1.24 - 298.65 3.81 0.016 - 3.82 0.87 0.028ระนอง 69.49 0.60 - 70.08 1.91 0.017 - 1.93 0.25 0.075พงั งา 82.24 3.07 3.02 0.113 0.016 3.15 0.62 0.171สรุ าษฎร์ธานี 685.00 7.43 0.44 85.76 3.08 0.033 0.004 3.11 0.57 0.165กระบ่ี 189.42 0.63 0.92 693.35 4.15 0.014 0.001 4.16 0.79 0.158ภเู กต็ 39.82 8.50 0.03 190.08 1.35 0.288 0.001 1.64 0.77 0.193ทง้ั ภมู ภิ าค 1928.68 30.36 0.04 48.36 3.43 0.054 0.004 3.48 0.61 0.177 2.0 1978.1 หมายเหตุ : สวนยางท้งั ภูมิภาคมบี ริเวณที่เปน็ โรคในแปลงเฉล่ีย 2.13 บริเวณ/แปลง (สวนยาง)

ทัง้ ภมู ิภาค 1928.68 30.36 2.0 1978.1 3.43 0.054 0.004 3.48 0.61 0.177หมายเหตุ : สวนยางท้ังภูมภิ าคมบี รเิ วณท่เี ปน็ โรคในแปลงเฉล่ีย 2.13 บริเวณ/แปลง (สวนยาง)7 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 23 ตุลาคม-ธันวาคม 2558จำนวนต้นยำงที่ ูสญเสีย 45 y = 1.493x1.026 40 r² = 0.983 35 30 5 10 15 20 25 30 25 อำยุสวนยำง(ปี ) 20 15 10 5 0 0ภภาาพพทที่ ี่52แแนนววโนโ้มนก้มากรสาญู รสเสูญยี ตเส้นยยี าตง้นพายราางเพฉลายี่ รใานเฉแตล่ลยี่ ะใบนรแเิ วตณ่ล(Yะ)บทร่เี ปเิ วน็ ณโร(คYรา)กทขา่ีเปวต็นาโมรอคารยสุากวนขยาาวงต(Xา)มใอนภายาพสุ รววนมขยอางงพ(X้ืนท)ปี่ ใลนูกภยาาพงภราวคมใตต้ ขอนอบงนพนื้ ที่ปกัลบูกคย่าาวงิเภคารคาใะตห้ต์คอนวาบมนเสียหายของสวนยางที่เป็นโรคราก ข้นึ เป็น 6-7 ตน้ (ต้นท่เี พม่ิ คอื ต้นข้างเคียงในแถวเดียวกนัขาวเฉลย่ี แตล่ ะแปลงของทัง้ ภูมภิ าค ดังทร่ี ายงานข้างต้น และอาจลามสู่ต้นยางท่ีอยู่ในแถวข้างเคียง) ซึ่งจะคืออายุสวนยางเฉล่ีย 13.6 ปี มีค่าเฉล่ียต้นยางเสียหาย วิเคราะห์รูปแบบความเสียหายของต้นยางแยกในจากโรครากขาวแปลงละ 45 ต้น ซง่ึ คา่ ความเสยี หายจาก แต่ละพ้นื ท่ใี นโอกาสต่อไปการค�ำนวณตามสมการนี้ท่ีอายุ 13.6 ปี โรครากขาว 1 ความเสียหายจากโรครากน้�ำตาล คิดเป็นพ้ืนท่ีบริเวณจะมีตน้ ยางเสยี หาย 21.73 ตน้ ดงั น้นั ถา้ เปน็ โรค เสียหาย 30.36 ไร่ หรือร้อยละ 0.054 ของพื้นท่ีที่เป็นแปลงละ 2.13 บริเวณ จะมตี ้นยางเสยี หายเทา่ กับ 46 ตน้ โรครากทงั้ หมด ความรนุ แรงของโรคนอ้ ย มพี น้ื ทีเ่ สียหายเนื่องจากค่าเฉล่ียจ�ำนวนต้นยางท่ีเสียหายจากโรคใน ของสวนยางท่ีเป็นโรครากน้�ำตาลเฉล่ียแปลงละ 0.18แต่ละปีท่ีได้ในสมการนี้เป็นค่าเฉลี่ยจากสวนยางท้ัง ไร่ ส่วนใหญ่พบกับสวนยางที่อายุมาก ในพ้ืนที่ภูมิภาค ซึ่งแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันท้ังสภาพพ้ืนท่ี จ.นครศรีธรรมราช สรุ าษฎร์ธานี ภเู ก็ต กระบี่ พังงา และและปจั จยั อนื่ ๆที่มผี ลตอ่ ความรุนแรงของโรค จึงท�ำใหค้ า่ จ.ระนอง ความรุนแรงของโรคจะน้อยกว่าโรครากขาวเฉลี่ยและแนวโน้มความเสียหายของต้นยางเป็นโรคมี ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างจากพื้นท่ี จ.ภูเก็ต ซ่ึงมีสวนอัตราการเพ่ิมข้ึนในแต่ละปีต่างกันเล็กน้อย ซึ่งจะเห็นว่า ยางเป็นโรคใกล้เคียงกับโรครากขาว แต่มีพ้ืนที่ที่เสียหายแนวโน้มเป็นเส้นตรง ซ่ึงใช้ได้เหมาะสมในลักษณะการ จากโรคน้อยกว่ามากท�ำนายความเสียหายในภาพรวมทั้งภูมิภาค แต่อย่างไร ความเสียหายจากโรครากแดง พบโรครากแดงก็ตาม จากการวิเคราะห์ข้อมูลและรูปแบบที่ได้เป็นแนว เพียง 15 แปลง มีพนื้ ท่ีทีเ่ สียหายเพียง 2 ไร่ หรือร้อยละโน้มความเสียหายของต้นยางท่ีเพิ่มขึ้นในลักษณะรูป 0.004 ของพนื้ ทท่ี ี่พบโรครากทง้ั หมดเท่านนั้ ความรนุ แรงแบบสมการเลขยกก�ำลัง ซ่ึงในแต่ละพ้ืนที่ท่ีมีสภาพไม่ ของโรคน้อย พบต้นยางเสียหายเฉลี่ยแปลงละ 0.13 ไร่แตกต่างกันแนวโน้มความเสียหายควรเป็นเส้นแนวโน้ม เท่านั้นในลักษณะสมการเลขยกก�ำลังที่ชัดเจนกว่าน้ี เพราะ ความเสียหายในภาพรวมของพน้ื ที่ภาคใต้ตอนบนความเสียหายจะลุกลามมากขึ้นตามความเสียหายที่มี วิเคราะห์จากการเปรียบเทียบจ�ำนวนสวนยางท่ีอยู่ เชน่ จากเริ่มต้น 1 ต้น โรคจะลุกลามไปสตู่ น้ ข้างเคยี ง พบโรค พ้นื ทีส่ �ำรวจ และความเสียหายจากการส�ำรวจใน2 ต้น รวมเป็นตน้ ยางเป็นโรค 3 ต้น จาก 3 ต้น อาจเพม่ิ

8 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 หรือร้อยละ 12.41 ของพน้ื ท่สี วนยางทีพ่ บโรคทัง้ หมด มี มูลคา่ ความสูญเสยี รายได้สะสม 10 ปี ประมาณ 1,182.5ครง้ั นซี้ ่ึงเปน็ ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการส�ำรวจแบบเฉพาะเจาะจง ล้านบาท และรายได้จากไม้ยางที่คาดว่าจะได้เมื่อโค่น(Purposive sampling observation) กับฐานข้อมูล อีกประมาณ 314.27 ล้านบาท รวมสูญเสียรายได้ทางเกษตรกรผู้ประกอบอาชีพท�ำสวนยางพาราในพื้นท่ีภาค เศรษฐกิจในช่วง 10 ปี ก่อนโค่นทั้งส้ินประมาณ 1,500ใต้ตอนบน ปี 2552 ทงั้ หมดจ�ำนวน 444,683 ราย พ้นื ที่ ลา้ นบาท (ตารางท่ี 4)ปลูกทั้งหมด 5,491,798 ไร่ (ส�ำนักเศรษฐกิจการเกษตร,2552) และข้อมูลสวนยางท่ีพบเป็นโรครากจากการ มูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจของสวนยางจากส�ำรวจโรคทั่วไปโดยวิธีการสุ่มไม่เฉพาะเจาจง (Non- โรครากขาวในภาพรวมของพื้นที่ภาคใต้ตอนบนpurposive sampling observation) ในปี 2548-2550 พื้นที่เสียหายจากโรครากในภาพรวมทั้งภาคใต้(อุไร และคณะ, 2551) สามารถวิเคราะห์ความเสียหาย ตอนบนปี 2551-2553 เปน็ พื้นท่ี 31,951 ไร่ คิดเปน็ มูลค่าและการสูญเสียรายได้จากสวนยางที่เป็นโรครากใน ความเสียหายปีละ 860 ล้านบาท โดยเป็นความสูญเสียภาพรวมทั้งภูมิภาคในปี 2551-2553 ได้โดยประมาณ จากโรครากขาวมากถึง 31,413 ไร่ มูลค่าความเสียหาย31,951 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.58 ของพื้นท่ีปลูกยาง ปีละ 848 ล้านบาท หากคาดการณ์ล่วงหน้าใน 10 ปีทั้งหมด แบ่งเป็นโรครากขาวประมาณ 31,413 ไร่ หรือ ข้างหน้าหรือปี 2563 โรครากขาวจะแพร่ลุกลามท�ำให้ร้อยละ 0.57 โรครากน้�ำตาลประมาณ 476 ไร่ คิดเป็น สวนยางเปน็ โรครากมากข้ึนประมาณ 82,300 ไร่ รวมเปน็ร้อยละ 0.0087 นอกน้ันเปน็ โรครากแดง โดย จ.ชุมพร มี พน้ื ทเี่ สียหาย 113,726 ไร่ หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 2.11 ของพื้นท่ีเสียหายต่อพ้ืนที่ปลูกมากที่สุด คิดเป็นความเสีย พ้ืนท่ีปลูกทั้งหมด วิเคราะห์เป็นมูลค่าผลผลิตท่ีสูญเสียหายต่อพ้ืนที่ร้อยละ 1.13 รองลงมาคือพ้ืนท่ี จ.กระบี่ สะสม 10 ปี ประมาณ 19,257 ลา้ นบาท และคาดว่าจะพังงา สุราษฎร์ธานี ภเู กต็ นครศรธี รรมราช และ ระนอง มี สูญเสียรายได้จากการขายไม้ไปประมาณ 5,200ความเสียหายต่อพื้นที่ร้อยละ 0.94, 0.78, 0.38, 0.32, ลา้ นบาท รวมท้ังสน้ิ ประมาณ 24,500 ล้านบาท (ตาราง0.27 และ 0.23 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 3) ที่ 4) จะเห็นว่าโรครากขาวท�ำให้เกิดการสูญเสียมูลค่า ที่เกษตรกรควรจะได้รับ แล้วยังมีผลท�ำให้ประเทศ สูญเสียโอกาสในการพัฒนาประเทศจากการสร้างมูลค่า มูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจของ เพิ่มทางอุตสาหกรรมต่อเน่ืองและเงินหมุนเวียนทาง สวนยางจากโรครากขาว เศรษฐกิจท่ีสร้างความม่ังคั่งและม่ันคงของประเทศอย่าง มหาศาลมูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจของสวนยางจาก เม่ือพิจารณาสัดส่วนของสวนยางท่ีเป็นโรครากโรครากขาวจากสวนยางทีส่ �ำรวจ ตามชว่ งอายตุ า่ งๆ คอื 1) ชว่ งอายกุ อ่ นเปิดกรีด อายุ< 6 จากการส�ำรวจสวนยางท่ีพบโรครากในปี 2551- ปี 2) ช่วงเปดิ กรีดอายุ 6-15 ปี 3) ช่วงเปดิ กรดี อายุ 16-2553 มีอายุเฉล่ีย 13 ปี มีพื้นท่ีเสียหายจากโรคราก 20 ปี และ ช่วงเปิดกรีดอายุ >20 ปี มสี ัดส่วนสวนร้อยทง้ั หมด 1,978 ไร่ คิดเป็นผลผลิตทสี่ ญู เสยี ประมาณปลี ะ ละ 16, 31, 27 และ 25 ตามล�ำดับ โดยจะเห็นว่าสวน53.4 ล้านบาท ซ่ึงในจ�ำนวนนี้เป็นโรครากขาวถึง 1,929 ยางช่วงอายุมากกว่า 16 ปี มีมากกว่าร้อยละ 50 ซ่ึงไร่ มลู ค่าที่สญู เสยี ประมาณปลี ะ 52.1 ล้านบาท ซึง่ มาก คาดวา่ ภายใน 1- 10 ปนี ี้ แปลงยางเหลา่ น้ีต้องมีการปลกูถงึ รอ้ ยละ 97.7 ของความสญู เสียจากโรครากทง้ั หมด แทน หากไม่มีการจัดการพ้ืนที่เหล่านี้ ต้นยางเดิมจะเป็น ค่าเฉล่ียของสวนยางท่ีเพิ่มขึ้นในแต่ละปีที่ค�ำนวณ แหล่งเช้ือท�ำให้ยางปลูกใหม่เป็นโรคตั้งแต่เร่ิมปลูก จะได้จากจากสมการความสัมพันธ์ Yp = (1.493X1.026 ) เป็นปัญหาและท�ำให้เกิดความเสียหายเป็นทวีคูณ หาก2.13 พบว่า มีต้นยางเป็นโรคเพิ่มข้ึนเฉล่ียร้อยละ 13.73 ภาครัฐไม่มีมาตรการในการป้องกนั และควบคมุต่อปี หากปล่อยไว้โดยไม่มีการจัดการใดๆ ต่อไปภายใน10 ปี เมือ่ ถงึ เวลาโค่น พืน้ ทีท่ ่สี �ำรวจในปี 2551-2553 จะมีพื้นที่เสียหายจากโรครากขาวเพิ่มขึ้น 5,055 ไร่ รวมเป็นพ้ืนท่ีเสียหายจากโรครากขาวประมาณ 6,984 ไร่

9 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 23 ตุลาคม-ธันวาคม 2558ตารางที่ 3 ความเสยี หายของยางพาราในภาพรวมของพน้ื ทภี่ าคใตต้ อนบน ปี 2551-2553จังหวดั ข้อมูลเกษตรกร1 คา่ เฉล่ีย รากขาว รากน�ำ้ ตาล %สวนทีเ่ ป็น ครัวเรือน พ้ืนท่ีถอื ครอง (ไร)่ โรคราก2 พนื้ ท่ี (ไร่) % พนื้ ที่ (ไร่) %นครศรธี รรมราช 159,162 1,459,569 4.5 4,167 0.286 62 0.0042ชุมพร 32,814 465,664 ระนอง 10,683 157,716 18.8 5,257 1.129 22 0.0048พงั งา 65,643 791,037 สรุ าษฎรธ์ านี 114,710 1,900,561 13.6 356 0.230 3 0.0019กระบ่ี 55,752 627,265 ภเู กต็ 5,919 89,986 16.5 6,157 0.778 232 0.0293ทัง้ ภูมภิ าค/เฉล่ีย 444,683 5,491,798 11.4 7,163 0.377 77 0.0041 13.8 5,903 0.941 19 0.0030 19.3 292 0.560 108 0.0030 12.24 31,413 0.570 476 0.00871 ท่ีมา : ส�ำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (2552)2 เปน็ ข้อมูลจากการส�ำรวจโรคทว่ั ไปในปี 2548-2550 โดยวิธกี ารสุ่มไม่เฉพาะเจาจง (Non-purposive sampling observation) (อุไร และคณะ, 2551) สภาพพ้นื ท่แี ละปจั จยั ที่มผี ลตอ่ ดินร่วนหรือดินร่วนทราย มีความรุนแรงของโรคต่อพ้ืนที่ ความรนุ แรงของโรคราก สวนยางต่อแปลงมากกว่า นอกจากนี้พบว่า บางพ้ืนท่ี สวนยางท่ีปลูกแทนนั้น แปลงยางเดิมมีประวัติเป็นโรค ลักษณะพ้ืนท่ีและโครงสร้างของดินที่เหมาะสมกับ รากมาก่อน และพบว่าส่วนใหญ่ไม่มีการก�ำจัดตอไม้เดิมการระบาดของโรครากขาวมากที่สุดคือ ลักษณะพื้นที่ท่ี ออกก่อน ซ่ึงเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีส�ำคัญต่อการแพร่ระบาดเปน็ ท่ีราบ และดินเป็นดนิ ร่วนทราย มรี ะดับ pH 5-7 พน้ื ท่ี ของโรครากในแปลงปลกูก่อนปลกู ยางเป็นพ้ืนท่ีป่า (Primary forest) หรอื เป็นพืน้ ที่ปลูกแทนยางพารารอบใหม่ มีสภาพฝนค่อนข้างสูง สรุปและขอ้ เสนอแนะ(Soekirman, 2006) จากการวิเคราะหล์ ักษณะพนื้ ที่ปลูกและโครงสร้างดินของพื้นท่ีปลูกในภาคใต้ตอนบนจาก จากการส�ำรวจสวนยางท่ีพบโรคในปี 2551-2553ตารางท่ี 2 พบว่า ในภาคใต้ของประเทศไทยมีปัจจัยท่ี จากสวนยางท่ีเป็นโรครากทั้งหมด 3,340 แปลง เฉล่ียเอื้อต่อการระบาดของโรค จะเห็นว่าลักษณะพ้ืนท่ีปลูก อายุ 13.6 ปี พบสวนยางเป็นโรครากขาวแพรก่ ระจายในยางส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ราบ ยกเว้นพ้ืนที่สวนยาง พื้นท่ีปลูกทั่วไปคิดเป็นร้อยละ 94.82 ของสวนท่ีพบโรคจ.ระนองท่ีส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ควนเขาและลาดชัน ถึง ราก และมีพื้นที่เสียหาย 1,929 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละร้อยละ 63.2 มีสวนยางเป็นพื้นท่ีราบเพียงร้อยละ 36.8 3.43 ของพ้ืนท่ีสวนยางท่ีพบโรครากทั้งหมด หรือร้อยละส่วนใน จ.ภูเก็ต แม้ว่าพ้ืนท่ีท่ีส�ำรวจส่วนใหญ่เป็นท่ีราบ 5.42 ของพ้ืนที่สวนยางที่พบโรครากขาว คิดเป็นมูลค่าแต่มีโครงสร้างดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนเหนียว (ตาราง ความสูญเสยี ไม่ต่ำ� กวา่ 52 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 97.7ที่ 5) จึงพบว่าพ้ืนท่ี จ.ระนอง และภูเก็ต มีความรุนแรง ของมูลค่าความสูญเสียจากโรครากท้ังหมด สวนยางท่ีของโรครากขาวคิดเป็นความเสียหายต่อพื้นท่ีเพียง เป็นโรครากขาวมีอายุเฉล่ีย 13 ปี มีความเสียหายเฉลี่ยร้อยละ 1.91 และ 1.35 เท่านั้น ในขณะที่ในพ้ืนท่ีอ่ืนซ่ึง แปลงละ 2.13 บริเวณ พื้นท่ี 0.61 ไร่ สวนยางท่ีพบโรคส่วนใหญ่พื้นท่ีปลูกเป็นท่ีราบและมีโครงสร้างดินเป็น มีตั้งแต่สวนยางเร่ิมปลูก 1 ปีแรกเป็นต้นไป จากการ

10 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558ตารางท่ี 4 สรปุ ความเสียหายทางเศรษฐกจิ ของยางพาราที่มีสาเหตุจากโรครากขาว จากการประเมนิ โรคราก ปี 2551-2553 และในภาพรวมของพืน้ ที่ภาคใตต้ อนบน อายุ จากการส�ำ รวจ จากการวิเคราะหใ์ นภาพรวมสวนยาง พน้ื ทีเ่ พม่ิ รวมพื้นที่ รายได้ รายได้ พื้นที่เพ่มิ รวมพ้ืนที่ รายได้ รายได้ (ป)ี (ไร่) (ไร)่ ผลผลติ 1 ไมย้ าง 2 (ไร)่ (ไร)่ ผลผลิต1 ไมย้ าง 2 (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) 13 1,929.0 52.08 31,413 848.15 14 265 35,726 964.60 15 301 2,193.9 59.23 4,313 40,631 1,097.04 16 343 46,210 1,247.67 17 390 2,495.1 67.37 4,905 52,554 1,418.97 18 443 59,770 1,613.80 19 504 2,837.6 76.62 5,579 67,977 1,835.37 20 573 77,310 2,087.36 21 652 3,227.2 87.13 6,345 87,924 2,373.96 22 741 99,996 2,699.90 23 843 3,670.3 99.10 7,216 113,726 3,070.60 รวม 10 ปี 5,055 113,726 19,257.43 5,205.32 4,174.3 112.71 8,206 4,747.4 128.18 9,333 5,399.2 145.78 10,615 6,140.6 165.79 12,072 6,983.7 188.56 13,730 6,983.7 1,182.55 314.27 82,313 1 รายได้ผลผลติ = พืน้ ท่ี (ไร)่ x 270 กก./ไร่ x 100 บาท/กก.2 รายได้ไมย้ าง = พ้นื ที่ (ไร่) x 45,000 บาท/ไร่วิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ความเสียหายของต้นยางในแต่ละ โรครากขาว ประมาณ 31,400 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละบริเวณท่ีเป็นโรคจะมากข้ึนตามอายุสวนยาง สามารถ 0.57 ของพื้นท่ีปลูกทั้งหมด คิดเป็นมูลค่าผลผลิตยางที่ท�ำนายความเสยี หายได้ดงั สมการ Y = 1.493X1.026 (r2 = สูญเสยี ประมาณ 848 ล้านบาท หากไมม่ ีการจัดการโรค0.983) เมื่อ Y คือ จ�ำนวนตน้ ยางทเ่ี สียหายใน 1 บรเิ วณ ในอกี 10 ปี ถดั ไปเมอื่ ถงึ เวลาโค่นเพอ่ื ปลกู ใหม่ พบว่า มีและ X คือ อายุของสวนยางที่พบโรค เม่ือวิเคราะห์ พ้ืนท่ีเป็นโรครากมากขึ้นถึง 113,726 ไร่ คาดว่ามีพื้นที่ความเสียหายพบว่า ลักษณะพ้ืนท่ีท่ีเป็นควนเขาจะพบ เสยี หายรอ้ ยละ 2.11 คดิ เปน็ มูลคา่ ของผลผลิตยางสะสมโรครากขาวรุนแรงนอ้ ยกว่าพนื้ ทรี่ าบ และพน้ื ทส่ี วนยางท่ี 10 ปีไม่ต�่ำกว่า 19,257 ล้านบาท และมูลค่าจากไม้ยางเป็นดินเหนียวจะมีโอกาสพบโรครากรุนแรงน้อยกว่าสวน อีกประมาณ 5,200 ล้านบาท รวมมูลค่าสูญหายมากถึงยางที่เป็นดินร่วนทราย 24,500 ล้านบาท จากการวิเคราะห์ภาพรวมของพื้นท่ีภาคใต้ตอน จากผลการศึกษาท่ีกล่าวข้างต้นจะเห็นว่าโรครากบนท้ังหมด พบว่า จ.ชุมพร มีความรุนแรงของโรคมาก ขาวท�ำให้เกิดการสูญเสียมูลค่าที่เกษตรกรควรจะได้รับทสี่ ุด มคี วามเสยี หายตอ่ พ้นื ทปี่ ลกู ร้อยละ 1.13 และพนื้ ที่ แล้วยังมีผลท�ำให้ประเทศสูญเสียโอกาสในการพัฒนาจ.ระนอง มีความเสียหายต่อพ้นื ท่ีนอ้ ยท่สี ดุ รอ้ ยละ 0.22 ประเทศจากการสร้างมูลค่าเพิ่มทางอุตสาหกรรมต่อโดยภาพรวมพบว่า ปี 2551-2553 มีพื้นที่เสียหายจาก เน่ืองและเงินหมุนเวียนทางเศรษฐกิจท่ีสร้างความมั่งค่ัง

11 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558ตารางท่ี 5 สภาพพนื้ ท่ี และประวัติการใช้พื้นทปี่ ลกู ยางพาราในพนื้ ท่ีภาคใตต้ อนบน (รอ้ ยละของสวนยางที่สำ�รวจ)จังหวดั พื้นที่ พนื้ ทีล่ าดเท/ ดินร่วน/ ดนิ รว่ น ขอทนุ ฯ ปลูกแทน ปลูก มปี ระวัติ ไม่ขุด/ ราบ ควนเขา ร่วนทราย เหนยี ว จาก ยาง แทนท่ี เป็นโรค ไม่ก�ำ จดั สกย.1 รกร้าง/ป่า ราก ตอไม้เดมิกระบ ่ี 95.6 68.1 25.3 64.9 69.1 27 41.5 64.8ภูเก็ต 72.2 26.7 พังงา 82.6 13.9 39.3 50 62.7ระนอง 36.8 63.2 97.5ชมุ พร 68.2 31.8 54.1 42.9 83.5 14.4 68.9 50.8สุราษฎรฯ์ 80.3 18.5 80.8นครศรฯี 62.8 34.9 48.4 23.5 72.3 24.8 45.1 81.4 2.2 20.8 12 82.7 83.5 31.9 48.7 43.3 37.6 69.7 19.9 70.91สกย. หมายถงึ กองทนุ สงเคราะห์การท�ำสวนยางและม่ันคงของประเทศอย่างมหาศาล ดังน้ัน เพื่อเป็น เช้ือราโรครากที่ยังหลงเหลืออยู่ในเศษรากไม้ซึ่งฝังกลบการชะลอความสูญเสียและเพ่ือป้องกันไม่ให้มีความ ในดินให้หมดไปเสียหายมากขึ้นในอนาคต จึงจ�ำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้อง ในกรณีที่ปลูกต้นยางแล้ว ควรส�ำรวจต้นยางมีมาตรการการป้องกันก�ำจัดและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ อย่างสม่�ำเสมอ เนื่องจากโรครากเป็นโรคที่เกิดกับระบบอย่างเข้มงวด ซึ่งการป้องกันก�ำจัดโรครากให้ประสบ ราก การลุกลามแพร่กระจายไปตามราก ซ่ึงจะเห็นผลส�ำเร็จ ต้องใช้วิธีการจัดการแบบผสมผสาน ท้ังการ อาการโรคทางทรงพุ่มเม่ือโรครุนแรงแลว้ หากพบตน้ ยางปฏบิ ัตทิ างเขตกรรม การท�ำความสะอาดแปลงปลูก การ เป็นโรคควรถอนต้น ขุดรากไปเผาท�ำลาย และใช้สารใช้สารเคมีตั้งแต่การเตรียมพื้นที่ปลูกยางจนถึงระยะ เคมีกับต้นข้างเคียงเพ่ือรักษาและป้องกันโรคลุกลามท่ีให้ผลผลิต(สถาบันวิจัยยาง, 2555) และต้องเอาใจใส่ สารเคมีที่มีประสิทธิภาพเป็นสารเคมีกลุ่ม ไตรอะโซลส์และปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงขั้นตอน เช่น ไซโปรโคนาโซล โปรปิโคนาโซล ไตรอะดิมิฟอนการเตรียมพื้นท่ีแปลงปลูกเป็นขั้นตอนท่ีจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ไมโคลบิวทานิล เปน็ ตน้เพื่อมิให้มีเช้ือราและแหล่งเช้ือปนเปื้อนอยู่ในแปลงปลูกหลังจากโค่นต้นยางหรือต้นไม้เดิมออกแล้ว ต้องก�ำจัด เอกสารอา้ งอิงตอไม้ รากไม้ และเศษไม้ออกจากแปลงให้มากท่ีสุดจากนั้น ต้องไถพลกิ ดินตากแดดอยา่ งน้อย 2-3 ครงั้ เพอ่ื สถาบันวิจัยยาง. 2555. ค�ำแนะน�ำ โรคและอาการผิดก�ำจัดเชื้อราที่อาจเจริญอยู่ในดินและในเศษไม้เล็กๆ ปกติของยางพารา ปี 2555. โรงพิมพ์ชุมนุมท่ฝี ังอย่ใู นดนิ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด : ส�ำหรับแปลงปลูกแทนท่ีแปลงยางเก่าเคยมีการ กรงุ เทพมหานคร (พิมพ์ครงั้ ท่ี 4).ระบาดโรครากในพ้ืนที่มาก่อน ควรเตรียมพ้ืนท่ีตาม ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2552. ข้อมูลเบ้ืองต้น:ค�ำแนะน�ำอย่างเคร่งครัด และอาจปลูกพืชไร่อายุสั้นใน ข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2552.พื้นท่ีก่อนปลูกยาง 1-2 ปี เพื่อก�ำจัดวงจรการเจริญของ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตร และสหกรณ์.

12 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 23 ตุลาคม-ธนั วาคม 2558 controlling root diseases in tropical plantation crops as exemplified by Hevea brasiliensis.อุไร จันทรประทิน, พเยาว์ ร่มร่ืนสุขารมย์, อารมณ์ Journal Rubber Research of Sri Lanka 54 : โรจน์สุจิตร, เกษตร แนบสนิท, นริสา จันทร์เรือง 329-362. และ บญั ญัติ สทิ ธิผล. 2551. การส�ำรวจและวจิ ยั Soekirman, P. 2006. Current status white root การระบาดของโรคและศัตรูยางที่ส�ำคัญเพ่ือสร้าง disease on Hevea rubber in Indonesia. Paper ระบบการเตือนภัย. รายงานผลการวิจัยเรื่องเต็ม presented in the International Workshop on ประจ�ำปี 2551. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการ White Root Disease of Hevea Rubber. เกษตร. หนา้ 143-234. Salatiga, Indonesia. 28 November 2006.Fox, R.A. 1977. The impact of ecological cultural and factors on the strategy and costs of

13 12 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2558 ภาคผนวกที่ 1จ�ำนวนแปลงยางทีอ่ ายุต่างๆซึง่ เป็นฐานทขีเ่อปง็นขโ้อรมคูลราเฉกลขภีย่าขวาคอตงผาเมนสอน้วาแกยนสุ ววโนนย้มากงารสญู เสียต้นยางพาราเฉลยี่ ในแต่ละจุด จ�ำนวนแปลงยาง300250200150100500 6 11 16 21 26 1 อายุสวนยาง(ป)ีภาพผนวก ก จานวนแปลงยางทอ่ี ายุตา่ งๆซง่ึ เปน็ ฐานของขอ้ มลู เฉล่ียของเสน้ แนวโน้มการสูญเสียตน้ ยางพาราเฉล่ียในแต่ ละจดุ ทเี่ ป็นโรครากขาวตามอายสุ วนยาง

โมระคเรรง็ ารา้กยขใานวสวนยาง \"ก�ำ จดั แหล่งอาหาร ปรบั ลดเชือ้ รา ยับย้งั รกั ษา ใส่ใจพฒั นา สวนยางพน้ ภยั \" ดว้ ยความปรารถนาดจี าก สถาบนั วจิ ยั ยาง การยางแหง่ ประเทศไทย

15 ฉบบั อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558การคัดเลือกและผลติ ผงเช้อื Trichoderma spp.เพือ่ ควบคุมเช้อื รา Rigidoporus microporusสาเหตโุ รครากขาวของยางพารานพวรรณ นิลสุวรรณ1 และ นรสิ า จนั ทรเ์ รอื ง21 ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาการเกษตรสงขลา สำ�นกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร2 ศูนยว์ จิ ยั ยางสงขลา สถาบนั วจิ ัยยาง การยางแหง่ ประเทศไทย โรครากขาวเป็นโรคทางรากท่ีส�ำคัญที่สุดของ สามารถเพิ่มปริมาณได้ในร�ำข้าว และมูลสัตว์ และยางพารา เกิดจากเชื้อรา Rigidoporus microporus สามารถควบคุมโรครากขาวในกล้ายางพาราได้ แต่ใน(Sw) Overeem ระบาดและสร้างความเสียหายทาง การใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในรูปเชื้อสดมักมีข้อจ�ำกัดในเศรษฐกิจในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย ศรีลังกา การน�ำไปใช้จริงในแปลงเกษตรกร ดังนั้น การวิจัยในและในประเทศแถบแอฟริกาตะวันตก และแอฟริกา ครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือคัดเลือก และเตรียมสูตรผลิตกลาง (Guyot and Flori, 2002) ส�ำหรบั ในประเทศไทย ผงเชอื้ รา Trichoderma spp. ในระดับเรอื นทดลอง เพอ่ือุไร และ คณะ (2553) รายงานผลการประเมินความ ใช้เป็นต้นแบบในการควบคุมโรครากขาวของยางพาราสูญเสียทางเศรษฐกิจในสวนยางท่ีเป็นโรครากขาว ในปี อันเป็นประโยชน์อย่างย่ิงส�ำหรับเกษตรกรผู้ปลูก2551-2553 ใน 4 จังหวดั ภาคใต้ตอนล่าง ได้แก่ จงั หวดั ยางพาราสงขลา พัทลงุ สตลู และตรงั จ�ำนวน 382 สวน รวมเปน็พ้ืนที่ 4,474.3 ไร่ พบต้นยางเป็นโรครากขาว รากแดง การรวบรวมและคดั เลือกรากน้�ำตาล รวมทัง้ หมด 14,353 ตน้ คดิ เป็นพน้ื ท่ี 188.9 เชอื้ จลุ นิ ทรียป์ ฏิปกั ษ์ไร่ ในจ�ำนวนน้ีมีพ้ืนท่ีเป็นโรครากขาวถึง 151.7 ไร่ หรือร้อยละ 3.4 ของพื้นที่ส�ำรวจท้ังหมด ในขณะท่ีโรคราก จากการเก็บตัวอย่างดิน 50 ตัวอย่างบริเวณรากแดงและโรครากน�้ำตาล มีพื้นท่ีเป็นโรคไม่เกินร้อยละ 1 ต้นปกติของยางพารา ท�ำการแยกเชื้อราปฏิปักษ์ให้ของพื้นท่ีส�ำรวจ การควบคุมโรครากขาวของยางพารา บริสทุ ธดิ์ ้วยวิธี Soil plate technique บนอาหารเลยี้ งเช้อืนยิ มใชส้ ารเคมี เชน่ ไตรอะดิมฟิ อน และ โปรปโิ คนาโซล Trichoderma Selective Media (TSM) เม่ือน�ำเช้ือราเป็นต้น (อารมณ์ และคณะ, 2556 ) เปน็ การเพ่มิ ตน้ ทนุ Trichoderma spp.จ�ำนวน 548 ไอโซเลท มาทดสอบการผลิต และมีการตกค้างของสารพิษ ซ่ึงเป็นผลเสียต่อ ประสิทธิภาพการยับย้ังการเจริญของเส้นใยเช้ือราเกษตรกรรวมถึงส่ิงมีชีวิตอื่นๆ ในสภาพแวดล้อม ดังน้ัน R. microporus พบว่า มีเพยี ง 7 ไอโซเลท ทม่ี ีเปอรเ์ ซ็นต์ในปัจจุบันจึงมีการศึกษาการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการ การยับย้ังสูงกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ และไอโซเลทที่มีควบคุมโรค เพ่ือลดผลกระทบที่เกิดจากการใช้สารก�ำจัด ประสิทธิภาพในการยับย้ังการเจริญของเส้นใยเชื้อราได้ดีเช้อื รา โดย Jayasuriya and Thennakoon (2007) พบว่า ที่สุดคือเชื้อรา Trichoderma spp. SK31 มีเปอร์เซ็นต์เชื้อรา Trichoderma harzianum สามารถยับยั้งการ การยับยั้งสูงสุดเท่ากับ 92.96 รองลงมาคือ Trichoder-เจริญของเช้ือรา R. microporus ได้ดี และเชื้อที่เล้ียง ma spp. TR7 เปอร์เซ็นต์การยับยั้งเท่ากับ 92.59 (ตารางที่ 1) เม่ือน�ำมาศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา

16 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 zianum SK31 และ T. koningii TR7 มีชีวติ รอดอยไู่ ด้ใน ปริมาณ 5.3x106 และ 2.3x105 cfu/ผงเช้ือ 1 กรัม ในเปรยี บเทียบกบั คมู่ ือ Rifai (1969) พบวา่ เชื้อรา Tricho- ขณะที่สารพาภูไมท์ ไม่พบการมีชีวิตรอดของเช้ือราderma spp. SK31 ตรงกับ เชอ้ื รา T. harzianum และ Trichoderma spp. ทั้ง 2 ไอโซเลท เน่ืองจากเมื่อเก็บเช้ือรา Trichoderma spp. TR7 ตรงกับเช้ือรา T. เป็นระยะเวลานาน ภูไมท์จะมีการจับตัวกันแน่น ท�ำให้koningii ไม่มีความพรุนของสารพา ส่งผลให้เชื้อจุลินทรีย์ไม่มี ออกซิเจนเพยี งพอเพ่อื การมีชีวิตรอด (ตารางที่ 2 ) ตารางท่ี 1 เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารยับยงั้ การเจริญของ เชือ้ รา R. microporus แต่ละไอโซเลท การทดสอบประสิทธภิ าพผงเชอื้ บ่มเชื้อทอี่ ณุ หภมู หิ ้องเป็นเวลา 7 วัน Trichoderma spp. ในการควบคมุ โรค ไอโซเลทของเชอ้ื รา เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารยบั ยั้งการ รากขาวในระดับเรือนทดลอง Trichoderma spp. เจริญของเช้อื สาเหตุโรค ใช้เชือ้ รา Trichoderma spp. จ�ำนวน 2 ไอโซเลท TR7 92.59 b คอื T. koningii TR7 และ T. harzianum SK31 ผสมกับ TR33 90.00 d สารพา 2 ชนิด คือ หนิ ฟอสเฟส และทัลคมั จากน้นั จงึ น�ำ SK31 92.96 a มารองก้นหลุม ปริมาณ 500 กรัม/1 ทอ่ บอ่ และท�ำการ SK46 91.85 c ปลูกเชอ้ื รา R. microporus ลงในท่อบอ่ ซีเมนต์ * โดยใส่ SK72 91.85 c ก้อนเช้ือเห็ดจ�ำนวน 6 ก้อน/1ท่อบ่อ เป็นเวลา 3 เดือน NAK89 91.85 c หลังจากบ่มเชื้อเห็ดแล้วทุกๆ 2 เดือนจึงท�ำการโรยผง SAT19 90.70 d เชื้อรา Trichoderma spp. บันทึกผลโดยการตรวจนับ CV (%) ปรมิ าณการมชี ีวิตรอดของเช้อื รา Trichoderma spp.ทุก 7.9 3 เดือน เป็นเวลา 15 เดอื น จากผลการทดสอบศักยภาพผลิตภัณฑ์ผงเช้ือหมายเหตุ : ค่าเฉล่ียในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด้วยอักษรเหมือนกัน Trichoderma spp.ในการควบคุมโรครากขาวในสภาพไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี เรือนทดลองพบว่า ในระยะเวลา 15 เดอื น พบกลา้ ยางในDuncan's Multiple Range Test (DMRT) ชุดควบคมุ ยนื ตน้ ตายทั้งสิน้ 30 ต้น และ หลงั จากการรอง กน้ หลุมนาน 3 เดือน ไดท้ �ำการโรยผงเชือ้ รา Trichoder- การทดสอบประสิทธิภาพของสารพา และ ma spp. ทั้ง 2 ไอโซเลท จ�ำนวน 1 คร้ัง โดยใน ตรวจสอบความมีชีวิตรอดของเชื้อรา ส่วนของ T. harzianum SK31 ผสมหินฟอสเฟต ไม่พบ Trichoderma spp. ในสารพาแตล่ ะชนิด การยืนต้นตายของกล้ายาง คิดเป็นดัชนีการเข้าท�ำลาย พบเพียง 5 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณเชื้อมีชีวิตรอด 6.7x10 9 จากผลการทดลองตรวจนบั ปริมาณเชือ้ รา T. kon- c f u / ดิ น 1 ก รั ม ใ น ข ณ ะ ท่ี T . k o n i n g i i T R 7ingii TR7 และ T. harzianum SK31 เมื่อผสมกับสารพา ผสมหนิ ฟอสเฟต พบต้นกลา้ ยางตาย 8 ต้น คดิ เปน็ ดัชนีจ�ำนวน 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ โดโลไมท์ ทัลคัม ภูไมท์ และหนิ การเข้าท�ำลาย 40.83 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณเชื้อมีชีวิตรอดฟอสเฟต หลังบ่มเชือ้ ท่ีอณุ หภูมิห้อง และเกบ็ รกั ษาผงเชื้อ ในดิน 2.6x107 cfu/ดิน 1 กรัม (ตารางที่ 3 )Trichoderma spp. เป็นเวลา 120 วัน โดยทุก 30 วันด�ำเนินการตรวจสอบความมีชีวิตรอดของเชื้อรา Tricho- * ท่อบ่อมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 120 ซม. สงู 60 ซม. ใน 1 ท่อบอ่ ปลกู ต้นderma spp. ทงั้ 2 ไอโซเลท พบวา่ สารพาทช่ี ว่ ยใหเ้ ชอื้ รา ยางจ�ำนวน 10 ต้น ท�ำ 3 ซ้�ำT. harzianum SK31 และ T. koningii TR7 มีชวี ติ รอดอยู่ได้ในปริมาณสูงที่สุดได้แก่ หินฟอสเฟต โดยยังคงมีปริมาณเชอื้ ถึง 2.7x109 และ 4.7x107 cfu/ผงเชอื้ 1 กรัมรองลงมาคือสารพาทัลคัม พบวา่ ปริมาณเชอ้ื รา T. har-

17 ฉบบั อิเล็กทรอนิกส์ 23 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2558ตารางท่ี 2 ปริมาณการมีชวี ติ รอดของเชอื้ รา Trichoderma spp. (cfu/ผงเชือ้ 1 กรมั ) ของทง้ั 2 ไอโซเลท (T. koningii TR7 และ T. harzianum SK31) เมื่อผสมกบั สารพาชนดิ ตา่ งๆ โดยบม่ เช้อื ที่อุณหภมู หิ ้อง เป็นเวลา 120 วนัชนิดสารพา 30 วัน 60 วัน 90 วนั 120 วัน TR7 SK31 TR7 SK31 TR7 SK31 TR7 SK31โดโลไมท์ 3.7x10 11 8.5x10 15 2.6x10 8 5.6x10 13 7x10 7 3.8x10 10 2.2x103 4.4x10 4ทัลคัม 5.8x10 17 3.4x10 16 3.6x10 14 2.6x10 14 6.5x10 10 6.4x10 11 2.3x105 5.3x10 6ภูไมท์ 2. 7 x10 6 6.7 x10 7 4.7x10 3 2. 3 x10 5 หนิ ฟอสเฟส 7.8x10 23 7.8x10 24 5.2x10 18 5.2x10 20 0 0 0 0 8.5x10 12 8.5x10 15 4.7x10 7 2.7x10 9หมายเหตุ : cfu ยอ่ มาจาก cell for unitตารางท่ี 3 ประสทิ ธิภาพผงเช้ือ Trichoderma spp. ในการควบคุมโรครากขาวของยางพารา ในสภาพเรอื นทดลองกรรมวิธี ระดับ 02 จ�ำ นวนต้นของเกณฑ์เขา้ ทำ�ลาย ดชั นกี ารเขา้ ท�ำ ลาย1 ระดบั 13 ระดับ 24 ระดับ 35 ระดบั 46 (%)ชุดควบคมุ (control) 0 0 0 0 30 100TR7 +หินฟอสเฟต 9 9 4 0 8 40.83SK 31+หนิ ฟอสเฟต 24 6 0 0 0 R7+ทัลคมั 6 14 6 0 4 5SK31+ทัลคัม 4 11 9 2 4 35.0 42.51 ดัชนกี ารเข้าท�ำลาย = ผลรวมของการเกดิ โรคแต่ละระดับ x 100 จ�ำนวนตน้ ยางทง้ั หมด ระดบั การเกดิ โรคสูงสุด2,3,4,5,6 หมายถงึ ต้นกลา้ ยางตาย 0, 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซน็ ต์ ตามล�ำดบั สรปุ และการน�ำไปใช้ประโยชน์ มาคือ T.koningii TR7 92.59 เปอร์เซ็นต์ เมอื่ น�ำมาผลติ ผงเชื้อโดยน�ำเช้ือรา Trichoderma spp. มาผสมกับสาร จากการเก็บตัวอย่าง 50 ตัวอย่างบริเวณรากต้น พา โดยท�ำการทดสอบชนิดของสารพา จ�ำนวน 4 ชนิดปกติของยางพารา ท�ำการแยกเชื้อราปฏิปักษ์ให้บริสุทธิ์ ได้แก่ โดโลไมท์ ทัลคัม ภูไมท์ และหินฟอสเฟต พบว่าด้วยวิธี Soil plate technique บนอาหารเลี้ยงเช้ือ เม่อื ท�ำการตรวจนบั ปรมิ าณการมชี วี ิตรอดเชือ้ รา Tricho-TSM สามารถแยกเชื้อรา Trichoderma spp.จ�ำนวน derma spp. หลังเก็บผงเชื้อ ท่ีอุณหภูมิห้อง เป็นระยะทั้งส้ิน 548 ไอโซเลท จากน้ันน�ำมาทดสอบเปอร์เซ็นต์ เวลา 120 วนั พบวา่ สารพาท่ีช่วยใหเ้ ชื้อรา T. harzianumการยบั ย้ังด้วยวธิ ี Dual culture assay พบว่า T.harzia- SK31 และ T. koningii TR7 มีชีวิตรอดอยไู่ ด้ในปริมาณnum Sk 31 มีการยับยงั้ สงู สดุ 92.96 เปอร์เซน็ ต์ รองลง

18 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 23 ตุลาคม-ธนั วาคม 2558 สูงที่สุดได้แก่ หินฟอสเฟต โดยยังคงมีปริมาณเชื้อถึง 2.7x109 และ 4.7x107 cfu/ผงเชื้อ 1 กรัม รองภาพที่ 1 ลักษณะการเข้าทำ�ลายของเช้ือรา R. microporus ท่ีรากของตน้ ลงมาคือสารพาทัลคมั พบว่าปรมิ าณเชือ้ รา T. harzia-กล้ายางในชุดควบคุม และรากปกติของต้นกล้ายางจากการรองก้นหลุม num SK31 และ T. koningii TR7 มีชีวิตรอดอยู่ได้ในดว้ ยหินฟอสเฟตท่ีมเี ชือ้ รา Trichoderma spp. ปริมาณ 5.3x106 และ 2.3x105 cfu/ผงเชื้อ 1 กรัม ตาม ล�ำดับ ส�ำหรับการทดสอบประสิทธิภาพผงเช้ือ Tricho- derma spp.ในการควบคุมโรครากขาว ในระดับเรือน ทดลอง พบว่าในระยะเวลา 15 เดือน พบกล้ายางในชุด ควบคมุ ยนื ต้นตายท้งั ส้ิน 30 ตน้ และ เม่ือเปรียบเทียบกบั หลังจากการรองก้นด้วยเชื้อรา T. harzianum SK31 ผสมหินฟอสเฟต ไม่พบการยืนต้นตายของกล้ายาง คิด เป็นดัชนีการเข้าท�ำลายพบเพียง 5 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ เชื้อมีชีวิตรอด 6.7x10 9 cfu/ดิน 1 กรัม ในขณะท่ี T. koningii TR7 ผสมหินฟอสเฟต พบต้นกล้ายางตาย 8 ต้น คิดเป็นดัชนีการเข้าท�ำลาย 40.83 เปอร์เซ็นต์ ปรมิ าณเชอื้ มชี ีวิตรอดในดนิ 2.6x10 7 cfu/ดนิ 1 กรมั การศึกษาครั้งน้ีสามารถใช้เป็นต้นแบบในการ ผลิตภัณฑ์ผงเช้ือจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการลดปริมาณเชื้อ ราสาเหตุโรครากขาวท่ีมีการตกค้างในแปลงปลูกรอบท่ี หนึ่ง และมีส่วนช่วยส่งเสริมในการเพ่ิมจุลินทรีย์ท่ีมี ประโยชน์ให้แก่พื้นท่ีท�ำการเพาะปลูกยางพาราในรอบ ถัดไป ค�ำขอบคุณ งานวจิ ยั น้ี ไดร้ บั การสนบั สนนุ ทนุ อุดหนนุ งบพิเศษ คน้ ควา้ ยาง สถาบนั วจิ ยั ยาง ประจ�ำปงี บประมาณ 2554 และขอขอบคุณผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการ เกษตรสงขลา ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 จังหวัดสงขลา พนักงาน และเจ้าหน้าท่ี ประจ�ำอาคาร ปฏิบัติการอารักขาพืช ในการส�ำรวจภาคสนาม สนับ สนนุ อปุ กรณ์ และการปฏบิ ัตงิ านด้วยดเี สมอมาภาพที่ 2 ลักษณะสารพาหินฟอสเฟต ผสมสารแขวนสปอร์ของเชื้อรา เอกสารอ้างอิงT. harzianum SK 31 จิระเดช แจ่มสว่าง และ วรรณวิไล อินทนู. 2534. การ ผลิตและการทดสอบคุณภาพของผงเชื้อรา Trichoderma harzianum. วารสารเกษตรศาสตร์ (วิทย.) 25: 169:176.

19 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 Guyot, A. and A. Flori. 2002. Comparative study for detecting Rigidoporus lignosus on rubberอุไร จันทรประทิน, บัญญัติ สิทธผิ ล, อมั พร พลเดช และ tree. Crop Protection 21 : 461-466. ประสาน ศภุ ผล. 2553. การประเมินความสูญเสยี Hoyos-Carvajal, L., S. Orduz and J. Bissett. 2009. ทางเศรษฐกิจในสวนยางที่เป็นโรครากขาว. Growth stimulation in bean (Phaseolus รายงานผลการวิจัยประจ�ำปี 2554 สถาบันวิจัย vulgaris) by Trichoderma. Biological Control ยาง กรมวชิ าการเกษตร. 51 : 409-415.อารมณ์ โรจนส์ จุ ิตร. 2541. โรครากขาว [Rigidoporus Jayasuriya, K.E. and B.I. Thennakoon. 2007. lignosus (Kloztzsch)Imaz.] ของยางพารา Biological control of Rigidoporus microporus, และแนวทางการควบคุมโดยชีววิธี. วิทยานิพนธ์ The cause of white root disase in rubber. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโรคพืชวิทยา Cey.J.Sci. (Bio Sci) 36(1) : 9-16. มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์: หาดใหญ.่ Rafai, M. A. 1969. A revision of the genusอารมณ์ โรจน์สุจิตร, พเยาว์ ร่มร่ืนสุขารมย์ และ อุไร Trichoderma. Mycological papers 116: 1-56. จันทรประทิน. 2556. ประสิทธิภาพสารเคมีต่อ ก า ร ค ว บ คุ ม โ ร ค ร า ก ข า ว ข อ ง ย า ง พ า ร า . ว. ยางพารา 34 (3): 14-23.

20 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558หยดุ การใช้กรดซลั ฟวิ รกิ ในการจบั ตวั ยางปรีด์ิเปรม ทศั นกุลศูนย์วิจยั ยางสงขลา สถาบันวจิ ยั ยาง การยางแห่งประเทศไทย ตามที่สมาคมยางพาราไทยได้ท�ำหนังสือถึงอธิบดี ในชว่ งสมัย 20 - 30 ปีทผี่ า่ นมา เกษตรกรทางภาคกรมวิชาการเกษตรเม่ือต้นเดือนกันยายน 2558 เหตุท่ี ใต้ส่วนใหญ่นิยมใช้กรดซัลฟิวริกในการท�ำยางแผ่นโรงงานยางรายใหญ่ของโลก สั่งเลิกออเดอร์ยางอีสานใน เน่ืองจากหาซื้อได้ง่าย มีราคาถูกกว่ากรดฟอร์มิคไทยเน่ืองการที่มีผู้ประกอบการจ�ำหน่ายสารจับตัวยาง ประมาณเท่าตัว แต่ผลกระทบของกรดซัลฟิวริกในการชนิดกรดซัลฟิวริกในการผลิตยางก้อนถ้วย ส่งผลให้ ท�ำยางแผ่นยังไม่มากนักเมื่อเทียบกับการท�ำยางก้อนปริมาณซัลเฟตตกค้างในยางสูงจนกลายเป็นปัญหาใหม่ ถ้วย เน่ืองจากขั้นตอนการท�ำแผ่นเม่ือผสมน�้ำยางกับน้�ำที่กระทบต่ออุตสาหกรรมยางในภาคอีสาน นอกจากน้ี เจือจางให้มีความเข้มขน้ ของเนอ้ื ยางในระดบั ทเี่ หมาะสมการใช้กรดดังกล่าวยังก่อมลพิษต่อสุขภาพของแรงงาน แล้ว ข้ันตอนต่อไปคือการเติมน�้ำกรดเพื่อให้ยางจับตัวตามสวนยางและสถานท่ีรับซื้อ รวมถึงปัญหาน้�ำยาง หากปริมาณน�้ำกรดมีมากเกินพอท่ีจะท�ำปฏิกิริยากับน�้ำเหม็นไหลลงตามถนนจนสร้างความเดือดร้อนต่อผู้ใช้รถ ยางได้ น�้ำกรดเหล่าน้ีจะออกมาอยู่ในส่วนของน�้ำเซร่ัมใชถ้ นนและชมุ ชนนนั้ นอกจากนี้ ในข้ันตอนการรีดแผ่น น้�ำกรดส่วนหนึ่งจะถูก จากการศึกษาสารจับตัวยางท่ีมีจ�ำหน่ายทางภาค ซะล้างออกไป หลังจากรีดแผ่นแล้วจะผ่านข้ันตอนการอีสานพบวา่ ส่วนใหญม่ กั เปน็ สารปลอมปน ทง้ั ทอี่ ยูใ่ นรูป ล้างน�้ำอีกครั้งหน่ึง กรดท่ีตกค้างในแผ่นจึงเหลืออยู่ในสารละลายและที่เป็นผง สารเหล่าน้ีส่งผลกระทบต่อ ปริมาณท่ีน้อยมาก ยกเว้นกรณีท่ีเกษตรกรใช้กรดในคุณภาพของยางก้อนถ้วยที่น�ำไปผลิตเป็นยางแท่งแทบ อัตรามากกว่าค�ำแนะน�ำ จะส่งผลให้แผ่นยางเหนียว มีสีท้ังสิ้น โดยพบว่า สารจับตัวที่จ�ำหน่ายในรูปสารละลาย คล้�ำจากเกลือซัลเฟตท่ีตกค้าง แต่การผลิตยางก้อนถ้วยมกั จะอ้างชอื่ ต่างๆ นานา เชน่ กรดออร์แกนคิ กรดชวี ภาพ กรดที่ใชเ้ ป็นสารจบั ตวั ถ้าไมใ่ ช่กรดอนิ ทรยี ์ท่ีเป็นกรดอ่อนกรดอนิ ทรยี ์ และกรดย่หี อ้ ตา่ งๆ มากมายท�ำใหเ้ กษตรกร อย่างเช่นกรดฟอร์มิคแล้ว จะสามารถตกค้างอยู่ในก้อนหลงเชื่อถึงความปลอดภัยต่อผู้ใช้และส่ิงแวดล้อม และ ยางได้ โดยเฉพาะหากมีการใชก้ รดแกห่ รอื กรดอนินทรีย์สารจับตัวตามที่อ้างมักมีส่วนผสมของกรดซัลฟิวริก จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพยาง เครื่องจักร ผู้ท่ีสัมผัสนอกจากนี้ ยังพบองค์ประกอบของเกลือแคลเซียม โดยตรง และต่อระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ยิ่งในปัจจุบันพบว่าแมกนีเซียม และโซเดียมอีกด้วย ส่งผลให้ยางมีความ มีผู้ประกอบการจ�ำหน่ายกรดซัลฟิวริกหลายราย ได้น�ำยืดหย่นุ ตำ่� ลง ปริมาณความชื้นมีค่าสูงเกนิ กวา่ มาตรฐาน กรดซัลฟิวริกบริสุทธ์ิท�ำการเจือจางให้มีความเข้มข้นลดที่ระบุ หากสารจับตัวยางชนิดที่เป็นผงจะอยู่ในรูปเกลือ ลงกว่าเดิมถึง 10 เท่า แล้วผสมสีต่างๆ เช่น สีด�ำแคลเซียมคลอไรด์ จะส่งผลให้ยางมีความยืดหยุ่นต่�ำลง สีเหลืองเข้ม สีเหลืองอ่อน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังใส่ผงอย่างเห็นได้ชัด ท้ังยังท�ำให้ค่าความหนืดสงู ขึ้น ยิ่งน�ำสาร แคลเซียมคลอไรด์ผสมลงในน้�ำกรดอีกด้วยเพื่อให้ยางปลอมปนต่างๆ เหล่าน้ีไปผลิตเป็นยางแผ่นดิบจะเห็นผล จับตัวได้เร็วขึ้นโดยไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์ชัดเจนข้ึนคือ ยางจะย้วยและอ่อนตัว ไม่สามารถจัดเป็น ยาง ซึ่งเดิมแคลเซียมคลอไรด์ได้มีการทดลองใช้ในยางแผ่นดิบคุณภาพดไี ด้ ประเทศมาเลเซยี เมอ่ื ปี พ.ศ. 2519 (Harris and Chang,

21 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 ก้อนยางสีสวย ไม่ติดก้นถ้วย ไม่มีกลิ่นของสารระเหยท่ี รุนแรงกับจมูก ไม่แสบคันเมื่อสัมผัส ข้ียางไม่มีกลิ่น1979) เป็นสารจบั ตัวยางเร็ว รว่ มดว้ ยกับสารเคมชี นิดอน่ื เหม็น\" จากท่ีปรีด์ิเปรม (2558 ก) ศึกษาพบว่า มีองค์ในการผลิตยางแผ่น ให้จับตัวยางบนสายพาน สามารถ ประกอบของกรดซัลฟิวริกเป็นหลัก นอกจากนี้ยังรีดแผ่นได้ในเวลาเพียง 2 นาที แต่ยางแผ่นท่ีผลิตได้เนื้อ ประกอบด้วยกรดอะซีติกในปริมาณเล็กน้อย และกรดยางแข็งกระด้าง ความยืดหยุ่นต่�ำ สียางคล�้ำ แผ่นยาง ฟอร์มิกในปริมาณท่ีน้อยมาก และเม่ือทดลองใช้กรดเหนียว ไม่เป็นที่ต้องการของตลาดมากนัก ประเทศ ออร์แกนิคตามที่อ้างเปรียบเทียบกับการใช้กรดฟอร์มิกมาเลเซียจึงได้ยกเลิกการใช้แคลเซียมคลอไรด์ดังกล่าว เกรดทางการคา้ พบว่า สมบัติทางกายภาพของยางแผ่นท่ีแต่พบว่าในช่วง 7 ปีที่ผ่านมามีผู้ประกอบการจ�ำหน่าย ใ ช ้ ก ร ด อ อ ร ์ แ ก นิ ค น้ี มี ส ม บั ติ ท า ง ก า ย ภ า พ ต่� ำ ก ว ่ าแคลเซียมคลอไรด์เป็นสารจับตัวแพร่หลายทางภาค มาตรฐานยางแท่ง STR20 โดยเฉพาะค่าความอ่อนตัวอีสาน ยิ่งกลับท�ำให้คุณภาพยางก้อนถ้วยต�่ำลง ยางขาด เริ่มแรก (Po) ต�่ำกว่าการใช้กรดฟอร์มกิ ประมาณ 8 หน่วยความยืดหยุ่น ความแข็งเพ่ิมข้ึน ส่งผลเสียหายต่อ มคี า่ ความหนืดตำ�่ กวา่ ประมาณ 10 หนว่ ย และมีปริมาณผลิตภัณฑ์ยางในภาพรวม (ปรีดิ์เปรม, 2555 ก) ในขณะ ความชื้นท่ีเกินกว่ามาตรฐานท่ีระบุในมาตรฐานยางแท่งเดียวกันเมื่อผลผลิตยางพาราทางภาคตะวันออกเฉียง STR นอกจากน้ี ยังไม่มีความสามารถในการดึงปริมาณเหนอื มปี ริมาณเพ่มิ ข้ึนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ย่งิ ท�ำใหม้ ผี ู้วิจัยจาก แคลเซียมออกจากเน้ือยางทั้งๆ กรดออร์แกนิคตามท่ีอ้างสถาบันการศึกษาบางแห่งมีการศึกษาและแนะน�ำให้ใช้ พบว่ามีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบซึ่งเป็นสาเหตุให้ยางน�้ำหมักชีวภาพหรือน�้ำส้มควันไม้เพื่อเป็นสารจับตัว เกิดการเส่ือมสภาพเร็วขึ้นกว่าปกติ และสีของยางก้อนเนื่องจากมีกรดอะซีติกเป็นองค์ประกอบและมีสาร ถ้วยยังคงขาวขุ่นท้ังๆ ท่ีต้ังทิ้งไว้นานนับเดือน นอกจากนี้ป้องกันเช้ือรา โดยไม่ได้ศึกษาสมบัติเชิงลึกของการน�ำ ยางแผ่นดิบท่ีใช้กรดออร์แกนิคชนิดนี้ในการจับตัวยางไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ และยิ่งเป็นการให้เกษตรกร เน้ือยางไม่แข็งแรง ส่งผลให้แผ่นยางเกิดการย้อยตัว ซึ่งเข้าใจว่าเป็นสารอินทรีย์ปลอดภัยต่อผู้ใช้ ซ่ึงเร่ืองดัง สรุปได้ว่าไม่แนะน�ำให้ใช้กรดออร์แกนิคตามท่ีอ้างในการกลา่ ว ปรดี ิเ์ ปรม (2554 ; 2555 ข) ไดศ้ กึ ษาพบว่า หาก ผลิตยางดิบทุกประเภท รวมทั้งสารอื่นๆ ท่ีมักพบทั้งในผสมน้�ำส้มควันไม้ในอัตราที่สูงขึ้นจะท�ำให้ยางมีความ รูปสารละลายและท่ีเป็นผง ซึ่งมักจะส่งผลต่อการน�ำสกปรกเพิ่มขึ้น ปริมาณความช้ืนมากขึ้นแล้วยังท�ำให้ ยางก้อนถ้วยไปผลิตเป็นยางแท่ง โดยเฉพาะสารซัลเฟตตน้ ทุนการผลิตสงู ข้นึ เม่อื เทยี บกบั กรดฟอรม์ กิ นอกจากนี้ ทตี่ กคา้ งกอ่ ใหเ้ กิดผลเสยี หายตอ่ กระบวนการผลิต ท�ำให้หากสภาพอากาศมีความช้นื สมั พทั ธเ์ กนิ กว่า 42% จะพบ เครื่องจักรสึกกร่อนเร็วข้ึน ส่วนน�้ำเสียท่ีเกิดขึ้นมีสีคล้�ำเชื้อราบนยางแผ่น แสดงว่าน�้ำส้มควันไม้ไม่สามารถ ยากต่อการบ�ำบัด และส่งกลิ่นเหม็น กระทบต่อสิ่งยับยั้งการเกิดเช้ือราบนแผ่นยางได้โดยตรง นอกจากน้ี แวดล้อม และผลิตภัณฑ์จากยางแห้งที่ท�ำให้เกิดการยังพบว่า ยางก้อนถ้วยท่ีจับตัวด้วยน�้ำหมักชีวภาพจะมี เสอื่ มสภาพได้เร็วข้นึปริมาณสิ่งสกปรกสูงกว่ายางก้อนท่ีจับตัวด้วยกรดฟอร์มิ สถาบันวิจัยยางได้จัดท�ำค�ำแนะน�ำการผลิตยางค ส่วนค่าความอ่อนตัวมีค่าที่ไม่แตกต่างกัน แต่ปริมาณ แผ่นดิบคุณภาพดีและยางก้อนถ้วยคุณภาพดีด้วยการส่ิงระเหย ปริมาณเถ้า และปริมาณไนโตรเจน จะมีค่าที่ ใช้สารจับตัวยางคือกรดฟอร์มิค หรือที่เรียกกรดมดสูงกว่ายางท่ีจับตัวด้วยกรดฟอร์มิก แสดงว่ายางจะมี เน่ืองจากเป็นสารอินทรีย์ที่ระเหยได้ง่าย มีสูตรโครงสร้างความช้ืนหลงเหลือในปริมาณที่มากกว่า เนื่องจากมี ทางเคมีขนาดเล็กคือ HCOOH มีคาร์บอนเพียงตัวเดียวน�้ำตาลเป็นองค์ประกอบ และมีสารอนินทรีย์ในปริมาณ จึงนับว่าเป็นกรดอ่อนท่ีมีความแรงของกรดไม่มากนักที่มากกว่าด้วยเชน่ กัน เมื่อเปรียบเทียบกับกรดชนิดอ่ืน ในทางการค้ามีความ ภัยมืดของสารจับตัวยางท่ีจ�ำหน่ายในท้องตลาด เข้มขน้ 94% หรอื 90% ขน้ึ อยู่กบั บรษิ ัทผู้ผลติ (ปรดี ิ์เปรม,อีกชนิดหน่ึงคือกรดออร์แกนิคตามที่อ้างถึงยี่ห้อหน่ึงระบุ 2558 ข) ซึ่งกรดฟอร์มิกนับว่าเป็นกรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งท่ีว่า \"สามารถใช้แทนกรดน�้ำส้มได้เป็นอย่างดี มีราคาถูกกว่า ปลอดภัยกว่า น้�ำยางสามารถจับตัวแข็งตัวไวกว่า

22 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 เวลาการจับตัวนานกว่าปกติประมาณ 4 เท่า ซึ่งหาก เกษตรกรจะใช้ระยะเวลาในการจับตัวเท่ากับที่เคยใช้จับตัวเนื้อยางได้อย่างสมบูรณ์ อีกท้ังไม่ส่งผลกระทบต่อ กรดฟอร์มิกจับตัวยางแล้วเนื้อยางจะจับตัวไม่สมบูรณ์สิ่งแวดล้อมและไม่ตกค้างในยาง มีความปลอดภัยค่อน น้�ำเซรั่มยังคงขาวขุ่นจะได้เนื้อยางอ่อน ส่วนสีของแผ่นข้างสูง ซ่ึงในวงการอุตสาหกรรมยางพารา กรดฟอร์มิก จะมีสีเหลืองใสเช่นเดียวกับฟอร์มิก แต่น้�ำเสียที่เกิดจากเป็นสารจับตัวที่นิยมใช้ในการผลิตยางแผ่นดิบ ยางก้อน การใช้กรดอะซีติกมีกล่ินเหม็นฉุนจากกรดน�้ำส้มที่ยังถ้วย และยางแท่ง STR 5L เนื่องจากท�ำให้สีของยางที่ คงตกค้างอยู่แห้งแล้วเหลืองสวย ไม่คล้�ำ ยางแห้งเร็ว ไม่เหนียว ส�ำหรับวิธีการตรวจสอบสารจับตัวยางว่าเป็นสารเหนอะหนะ เน้ือยางยืดหยุ่นดี และในปัจจุบันพบว่ามีผู้ เคมีชนิดใด มีองค์ประกอบทางเคมีอะไรบ้าง มีระดับวิจัยหลายรายได้พยายามศึกษาวิจัยสารจับตัวยางที่ ความเข้มข้นเท่าไร ต้องใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ชั้นสูงทดแทนกรดฟอร์มิกและกรดซัลฟิวริกใช้จับตัวยางและ ซึ่งมีราคาแพง และใชเ้ วลาในการตรวจสอบค่อนข้างนานหางน�้ำยาง ซึ่งพบว่าต้นทุนการผลิตยังสูงมากจึงไม่คุ้ม ปัจจุบันโรงงานยางแท่งบางแห่งได้ซ้ืออุปกรณ์ในการทนุ ในการผลติ ระดบั อุตสาหกรรม ตรวจสอบหาปริมาณซัลเฟตอย่างง่ายจากต่างประเทศ แต่ยังพบเกษตรกรรายย่อยยังคงใช้กรดซัลฟิวริก ซ่ึงยังคงมีราคาค่อนข้างแพงเช่นกัน สามารถตรวจสอบหรือท่ีเรียกกรดก�ำมะถัน ซ่ึงมีสูตรโครงสร้างทางเคมีคือ ปริมาณซัลเฟตได้ในน�้ำเซรั่ม แต่เป็นปริมาณแบบหยาบHค่อ2SนOข4้างใอนันกตารราทย�ำยมาีกงลแิ่นผเ่นหมซ็น่ึงแกสรบดชจนมิูกดนหี้เปาก็นจกะรใดชแ้ใกน่ ท�ำให้โรงงานยางแท่งต้องเพิ่มต้นทุนการผลิตสูงข้ึนการท�ำยางก้อนถ้วยจะส่งผลกระทบต่อหนา้ ยาง เกดิ สีด�ำ อย่างไรก็ตาม สามารถตรวจสอบปริมาณซัลเฟตท่ีคล�้ำ เพราะไอของกรดมเี กลอื ซัลเฟตจะเปลยี่ นสภาพเป็น ตกค้างในยางที่แห้ง แล้วค�ำนวณหาปริมาณซัลเฟอร์ท่ีซัลไฟด์ท่ีมีสีคล�้ำ และยังพบว่าเกษตรกรมักใช้ในอัตรา ตกค้างได้ แต่มีการต้ังข้อสังเกตในการศึกษาลักษณะที่มากกว่าก�ำหนดซ่ึงส่งผลให้แผ่นยางมีสีคล�้ำ เกิดฟอง ยางก้อนถ้วยได้บ้างซึ่งจะสังเกตได้ง่ายในยางก้อนถ้วยอากาศ แผ่นยางเหนียว แห้งช้า เน้ือแข็งกระด้าง โดย สดอายุ 1 - 3 วัน เท่านั้น โดยใช้มือหรือเท้าสัมผัส ยางเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือเกษตรกรน�ำยางไปตากแดด ย่ิงท�ำให้ ก้อนถ้วยที่ใช้กรดฟอร์มิกจับตัว ยางเน้ือยางจะแน่น เม่ือยางเส่ือมคณุ ภาพเรว็ ข้ึน จดั เป็นยางคณุ ภาพคละ ซง่ึ ขาย กดลงจะยืดหยุ่นดี หากใช้กรดซัลฟิวริก หรือเกลือได้ราคาต�่ำกวา่ ยางคณุ ภาพดเี ฉลยี่ กิโลกรมั ละ 1.20 บาท แคลเซียมคลอไรด์จับตัว เน้ือยางจะแข็งกระด้าง และในท้องตลาดมักพบสารละลายกรดซัลฟิวริกท่ีเจือจาง หากต้ังก้อนยางท้ิงไว้นานกว่า 10 วันขึ้นไป สีของยางแล้วเข้มข้น 5 - 10% พร้อมใช้ บรรจุในขวดขนาด ก้อนถ้วยท่ีใช้กรดซัลฟิวริก หรือแคลเซียมคลอไรด์จะมี750 ซีซี ราคาจ�ำหน่ายขวดละ 15 - 20 บาท หากจะ สีด�ำคล้�ำกวา่เปรียบเทียบกับกรดฟอร์มิกเกรดทางการค้าแล้วพบว่ามี ดังน้ัน หากเกษตรกรต้องการซ้ือสารจับตัวยาง จะราคาสงู กว่าถงึ 5 เทา่ เลยทีเดยี ว ต้องศึกษาองค์ประกอบของสารเคมี และความเข้มข้น ส่วนกรดอะซีติก หรือที่เรียกกรดน้�ำส้ม สูตร ที่ระบุข้างขวดเท่าน้ัน แต่หากไม่แน่ใจก็ไม่ควรใช้ และเโชค่นรงกสันร้าแงตท่กางรดเคชมนีคิดือนี้เCปH็น3กCรOดOอ่อHนสกาวม่าากรรถดจฟับอตรัว์มยิกามงาไดก้ จากการที่ใช้สารจับตัวยางชนิดท่ีไม่เหมาะสมจะส่งผลมีกล่ินฉุน กรดอะซีติกทางการค้า ความเข้มข้น 99.85% กระทบต่อการน�ำยางก้อนถ้วยไปแปรรูปยางแท่งและแกลลอนขนาด 30 กิโลกรัม ราคา 900 บาท ส่วนกรด ผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงผลิตภัณฑ์ยางยานฟอร์มิก ความเข้มข้น 94% แกลลอนขนาด 35 กิโลกรัม พาหนะที่มีปริมาณการใช้จากยางแห้งมากท่ีสุด และราคา 1,300 บาท แต่ในการท�ำแผ่นต้องใช้ปริมาตรของ ควรรณรงค์มาใช้กรดฟอร์มิกซ่ึงปัจจุบันยังไม่พบว่ามีสารกรดอะซีติกมากกว่าฟอร์มิกถึง 3 เท่า จึงท�ำให้ต้นทุน จับตัวยางท่ีมีราคาถูกกว่าและคุณภาพดีกว่า นอกจากนี้การผลิตสูงกว่า และในการจับตัวยางยังต้องใช้ระยะ ควรนึกถึงภาพลักษณ์ของประเทศไทยท่ีข้ึนช่ือว่าเป็น

23 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 23 ตุลาคม-ธันวาคม 2558 ที่อ้างว่าเป็นกรดออร์แกนิคยี่ห้อหน่ึง ในการ ผลิตยางก้อนถ้วยและยางแผ่นดิบ. ว. ยางพาราผู้ผลติ และจ�ำหน่ายยางทีม่ ีคุณภาพดีที่สดุ ในโลก 36 (3) : 3-10. ปรดี เ์ิ ปรม ทศั นกุล. 2558 ข. การท�ำยางดบิ ใหเ้ หมาะสม เอกสารอ้างองิ กบั สถานการณป์ ัจจบุ นั . ว.ยางพารา 36 (1) : 11- 30.ปรีด์ิเปรม ทัศนกุล. 2554. น้�ำส้มควันไม้ และน�้ำหมัก Harris, E.M. and Chang Wai Pong. 1979. Rubber ชีวภาพ : ผลกระทบต่อคุณภาพยางดิบ. ว. Processing. Lecture Notes for Diploma of ยางพารา 32 (1) : 54-56. Natural Rubber Processing. Training,ปรีด์ิเปรม ทัศนกุล. 2555 ก. มหันตภัยร้ายเกลือ Personnel and Staff Development Division, แคลเซียมในการผลิตยางก้อนถ้วย. ว.ยางพารา Rubber Research Institute of Malaysia, 33 (2) : 23-27. Kuala Lumpur.ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล. 2555 ข. ผลเสียของการใช้น้�ำหมัก ชีวภาพและน�้ำส้มควันไม้ในการจับตัวยาง. ว. ยางพารา 33 (2) : 4-22.ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล. 2558 ก. ผลกระทบของสารจับตวั ยาง

24 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 23 ตุลาคม-ธันวาคม 2558 ภาคผนวกท่ี 1 สรุปผลของการใช้กรดแต่ละชนดิ ในการจบั ตวั ยาง กรดฟอร์มิก กรดซัลฟิวรกิ กรดอะซติ กิ (สถาบนั วจิ ัยยางแนะน�ำ) ผลตอ่ คุณภาพยาง ผลต่อคุณภาพยางผลตอ่ คณุ ภาพยาง - เป็นกรดอนินทรีย์ กรดแก่ ท�ำ - เปน็ กรดอินทรยี ์ กรดออ่ นกวา่ กรด- เป็นกรดอินทรีย์ กรดอ่อน สลาย ปฎิกิริยารุนแรงกับน้�ำ สลายตัวยาก ฟอร์มิก การท�ำแผ่นต้องใช้ปริมาณตัวง่าย ไม่ตกค้างในยาง มีความ มีปริมาณซัลเฟตตกค้างในยาง ส่ง มากกว่ากรดฟอร์มิก 3 เท่า ท�ำให้ปลอดภัยค่อนขา้ งสูง ผลใหย้ างเสือ่ มสภาพเร็ว ตน้ ทุนสูงกวา่- จบั ตวั เนอ้ื ยางไดส้ มบูรณ์ นาน 45 - ใช้เวลาการจับตัวสมบูรณ์นาน 1 - ใช้เวลาในการจับตัวนานกว่ากรดนาที ชว่ั โมง ฟอร์มิก 4 เทา่- สขี องยางทแ่ี หง้ เหลอื งสวยไมค่ ลำ้� - สีของยางที่แห้งแล้วคล�้ำ เหนียว - สีแผ่นยางทแี่ ห้งแลว้ จะมสี เี หลอื งแหง้ เร็ว เกดิ ฟองอากาศ ใส- เนอ้ื ยางแนน่ ยดื หยุ่นดี - เน้ือยางแข็งกระด้าง ความยืด - เนื้อยางยืดหยนุ่ ดี- สมบัตทิ างกายภาพอยู่ในเกณฑ์ หยนุ่ ต่�ำ - สมบัตทิ างกายภาพอยใู่ นเกณฑ์ - มีค่าความหนีดต�่ำ ปริมาณความ ผลตอ่ เกษตรกรผลต่อเกษตรกร ชน้ื เกินกวา่ มาตรฐาน - มกี ลนิ่ เหม็นฉนุ- ไม่ส่งผลกระทบต่อมนุษย์และ ผลต่อเกษตรกร ผลต่ออุตสาหกรรมการผลติสตั ว์ - ค่อนข้างอันตราย มีกล่ินเหม็น - ไม่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม แสบจมูก ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ การผลิตผลตอ่ อุตสาหกรรมการผลติ ของแรงงาน ผลตอ่ สิง่ แวดล้อม- ไม่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม ผลต่ออตุ สาหกรรมการผลิต - น้�ำเสยี มกี ล่ินเหม็นฉนุการผลิต - ส่งผลกระทบต่อเครื่องจักร สึก ราคา กรอ่ นเรว็ ขึ้น - ความเข้มข้น 99.85% แกลลอนผลต่อสิง่ แวดล้อม ผลตอ่ สงิ่ แวดล้อม 30 กโิ ลกรมั ราคา 900 บาท- ไมส่ ่งผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม - น�้ำเสียมีสีด�ำคล้�ำจากตะกอน ซัลไฟด์ราคา - ผลกระทบตอ่ หนา้ ยางมสี ีคล�้ำ- ความเข้มข้น 94% แกลลอน 35 ราคากิโลกรัม ราคา 1,300 บาท - มักจ�ำหน่ายส�ำเร็จรูปพร้อมใช้ ความเข้มข้น 5-10% ขนาด 750 ซีซี ราคา 15 - 20 บาท - ขายได้ในราคายางคละ ต�่ำกว่า ราคายางคุณภาพดี กิโลกรัมละ 1.20 บาท

ใชก้ รดซลั ฟวิ ริกในการท�ำยางกอ้ นถ้วย✘ซลั ฟิวริก ✔ฟอร์มกิ1. โรงงานผู้ผลติ ยางลอ้ ไม่รบั ซอื้ 1. เปน็ ทตี่ อ้ งการของโรงงาน2. ได้ยางคณุ ภาพต่ำ� 2. ได้ยางคุณภาพดี3. ท�ำให้เคร่อื งจกั รเสยี หาย 3. ไมท่ �ำใหเ้ ครอ่ื งจกั รเสยี หาย4. หนา้ กรีดยางเสียหาย 4. ไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ หน้ากรดี ยาง5. อนั ตรายต่อสุขภาพ 5. ไมส่ ่งผลกระทบตอ่ สุขภาพ6. สร้างมลพิษตอ่ ส่ิงแวดล้อม 6. ไม่ส่งผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มสอบถามขอ้ มูลได้ท่ีสถาบนั วิจยั ยาง การยางแห่งประเทศไทยโทร. 0-2940-6653, 0-2579-1576

26 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2558ผลการศกึ ษาเทคโนโลยสี ำ�หรบั การปลกูยางพาราเพ่ือเนอ้ื ไม้ ในช่วง 7 ปี หลังจากปลกูกฤษดา สงั ข์สิงห์1 และ นภิ าภรณ์ ชูสนี วน21 ศนู ย์วิจยั ยางหนองคาย สถาบันวจิ ยั ยาง การยางแห่งประเทศไทย2 ศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาการเกษตรสรุ าษฎรธ์ านี ส�ำ นกั วิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 กรมวิชาการเกษตร จากสถานการณ์ราคายางพาราท่ีเคยสูงสุดในปี แปลงขยายพันธุ์ยางเพ่ือการค้าเป็นจ�ำนวนมาก จึงน่าจะพ.ศ. 2554 ยางแผ่นดิบมีราคาเฉล่ียที่ 132 บาทต่อ เป็นแนวทางหนึ่งในการตัดสินใจของเกษตรกรในการกิโลกรัม หลังจากน้ันราคาก็ลดลงอย่างต่อเนื่อง คือใน ปลูกยางพาราเพื่อเน้นปริมาณเนื้อไม้เป็นหลักโดยมีการปี พ.ศ. 2555, 2556, 2557 และ 2558 มีราคาเฉล่ีย ตัดสางไมข้ ายตง้ั แตใ่ นระยะก่อนเปิดกรดี ดว้ ย94, 77, 58 และ 49 บาทต่อกโิ ลกรัม ตามล�ำดบั ผลจาก มวลชีวภาพจากไม้ยังมีความต้องการมากในราคายางท่ีตกต่�ำท�ำให้เกษตรกรชาวสวนยางได้รับ หลายๆ อุตสาหกรรม ไม้ยางพาราถือว่าเป็นไม้ที่ได้จากความเดือดร้อน นโยบายของรัฐบาลและหน่วยงานท่ี การปลูก จึงถือเป็นผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green product)เกี่ยวข้องกับยางพาราทุกภาคส่วนจึงพยายามท่ีจะ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีหรือค�ำแนะน�ำต่างๆ ส�ำหรับรณรงค์ให้มีการลดต้นทุนในส่วนของการผลิต และ การปลูกยางหรือการดูแลรักษาสวนยาง เช่น ระยะปลูกส่งเสริม สนับสนุนการเสริมรายได้ในสวนยาง ซ่ึงการ การใส่ปุ๋ย ยังคงอิงฐานข้อมูลมาจากการปลูกเพื่อเสริมรายได้ในสวนยาง ท�ำได้ต้ังแต่การปลูกพืชแซมยาง วัตถุประสงค์ที่ต้องการน�้ำยางเป็นหลัก ยังไม่มีการวิจัยในระยะยางอ่อน การปลูกพืชยืนต้นร่วมกับยาง หรือแม้ เทคโนโลยีการปลูกยางเพ่ือเน้นเนื้อไม้โดยเฉพาะกระทั่งการเลี้ยงสัตว์ในสวนยาง แต่ท้ังนี้สิ่งส�ำคัญท่ีต้อง โครงการนี้จึงได้ศึกษาและทดสอบเทคโนโลยีส�ำหรับค�ำนึงถึงคือความต้องการของตลาด ต้นทุนในการผลิต การปลูกยางเพ่ือต้องการเน้ือไม้เป็นวัตถุประสงค์หลักและความเป็นไปได้ในเชิงวิชาการในการเลือกพืชหรือ และได้เลือกศึกษาในยางพันธุ์ใหม่ๆ ตามค�ำแนะน�ำของสตั วแ์ ตล่ ะชนิดทจี่ ะน�ำมาผลิตในพน้ื ทีป่ ลูกยางพารา สถาบันวิจยั ยาง การปลูกยางในระยะถี่กว่าค�ำแนะน�ำปกติ (ระยะปลูกท่ีแนะน�ำตามปกติส�ำหรับการปลูกยางเพื่อวัตถปุ ระสงคต์ ้องการน�้ำยางเปน็ หลกั คอื ระยะปลกู 2.5 × รายละเอยี ดของโครงการ8 หรือ 3 × 7 เมตร) เพ่อื ตอ้ งการมวลชีวภาพจากเนือ้ ไม้ก็เป็นอีกรูปแบบหน่ึงที่มีความเป็นไปได้และน่าสนใจใน โครงการน้ีด�ำเนินการทดลองท่ีศูนย์วิจัยและการสร้างรายได้ให้เพิ่มขึ้นในพ้ืนที่สวนยาง เหตุผลคือ พัฒนาการเกษตรสรุ าษฎรธ์ านี อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎรธ์ านีความต้องการของตลาดในด้านไม้ยางพาราก็ยังคงมีอยู่ ระหว่างปี พ.ศ. 2550 – 2557 โดยวางแผนการทดลองเพราะโรงงานไม้ยางพาราได้ต้ังกระจายตามพื้นที่ปลูก แบบ Split-plot จ�ำนวน 3 ซ�้ำ 3 ปัจจัย โดยจัดปัจจัยยางอยู่แล้ว ด้านต้นทุนการผลิตโดยเฉพาะในเร่ืองของ หลักแบบ Randomized complete block (RCB) และกล้ายางพาราท่ีต้องใช้จ�ำนวนมากขึ้นก็ไม่น่ามีปัญหา จัดปัจจัยรองซ่ึงมี 2 ปัจจัย แบบ Factorial ปัจจัยหลักเพราะในปัจจุบันกล้ายางมีราคาไม่แพงและเหลืออยู่ใน คือ ความหนาแน่นของจ�ำนวนต้นปลูกต่อพ้ืนที่ (Planting density, D) มี 3 ระดบั ไดแ้ ก่ D1 = 178 ต้น ต่อไร่ (ระยะปลูก 3 × 3 เมตร), D2 = 133 ต้นต่อไร่

27 ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2558 ทดลองยงั พบวา่ ปรมิ าณอินทรยี วัตถุในดินลดลงในปีท่ี 7 เมื่อเทียบกับปีที่ 1 หลังการปลูกยาง (ตารางท่ี 1) อาจ(ระยะปลกู 3 × 4 เมตร) และ D3 = 100 ตน้ ตอ่ ไร่ (ระยะ เป็นเพราะสูตรปุ๋ยและอัตราปุ๋ยนี้ได้แนะน�ำส�ำหรับปลูก 4 × 4 เมตร) ปัจจัยรองท่ี 1 คือพันธุ์ยาง* ระบบของการปลูกยางแบบปกติที่ต้องการน�้ำยางเป็น(Clone, C) ใช้ยาง 5 พันธุ์ ได้แก่ C1 = RRIT 403, วัตถุประสงคห์ ลกั (มีจ�ำนวนตน้ 76-80 ตน้ ตอ่ ไร)่ ปริมาณC2 = RRIT 404, C3 = RRIT 408, C4 = RRIT 412 และ ธาตุอาหารจึงไม่เพียงพอต่อการปลูกแบบจ�ำนวนต้นที่C5 = ฉะเชิงเทรา 50 ส่วนปัจจัยรองท่ี 2 คือสูตรปุ๋ย หนาแน่นเพิ่มขึ้นในระยะยาว อย่างไรก็ตาม ปริมาณที่มีปรมิ าณไนโตรเจนต่างกนั (Fertilizer at differencing อินทรียวัตถุในดินที่พบในการทดลองนี้ในภาพรวมแล้วnitrogen level ratio, N) มี 3 สูตรได้แก่ N1 = สูตร ยังถือว่ายังอยู่ในระดับปานกลางตามเกณฑ์มาตรฐาน50 % ของปริมาณไนโตรเจนท่แี นะน�ำ (10-8-20), N2 = คอื อยใู่ นชว่ ง 1- 2.5%สูตร 100 % ของปริมาณไนโตรเจนท่ีแนะน�ำ (20-8-20) ขนาดเสน้ รอบวงและความสูงของล�ำต้นและ N3 = สตู ร 150 % ของปริมาณไนโตรเจนท่ีแนะน�ำ เมื่อยางอายุ 7 ปี พบว่า มีความแตกต่างกัน(30-8-20) ใส่ตามอัตราค�ำแนะน�ำของสถาบันวิจัยยาง ทางสถิติในระหว่างความหนาแน่นของจ�ำนวนต้นปลูกมีหนว่ ยการทดลองท้งั หมด 135 หนว่ ยการทดลอง แตล่ ะ ท่ีต่างกัน โดยความหนาแน่นของต้นปลูกที่มากท�ำให้หน่วยการทดลองมีจ�ำนวนต้นยาง 49 ต้น ใช้พื้นท่ีการ ขนาดเส้นรอบวงล�ำต้นน้อยกว่าการปลูกที่มีความทดลองประมาณ 80 ไร่ (ขั้นตอนการด�ำเนินงานตาม หนาแน่นของต้นน้อย (ตารางที่ 2) ซึ่งสอดคล้องกับแผนการทดลอง ดภู าคผนวกที่ 1) การทดลองของ Aris (2005), Dey and Pal (2006) และ การบันทึกข้อมูล เก็บตัวอย่างดินเพ่ือวิเคราะห์ Menz and Grist (1996) แต่อยา่ งไรกต็ าม Devakumarปริมาณสารอนิ ทรยี ์ เมอ่ื ยางอายุ 1 และ 7 ปี บันทึกการ et al. (1995) กลับพบผลในทางตรงกันข้าม กล่าวคือเจริญเติบโตของต้นยางโดยการวัดเส้นรอบวงของล�ำต้น จ�ำนวนต้นปลูกท่ีเพ่ิมข้ึนท�ำให้ต้นยางพาราเจริญเติบโตท่ีระดับความสูง 170 เซนติเมตร เหนือพื้นดิน ปีละ 2 ในช่วงแรกดีขึ้นเน่ืองจากได้รับผลกระทบจากอิทธิพลครั้ง วัดความสูงล�ำต้นจากพ้ืนดินถึงคาคบ (จุดท่ีแตกกิ่ง ของวัชพืชน้อยกว่าเม่ือเทียบกับจ�ำนวนต้นปลูกที่น้อยแรก) หรือทเี่ รียกว่า Clear bole trunk เม่ือยางอายุ 7 ปี นอกจากน้ีข้อมูลการเจริญเติบโตของระบบการปลูกยางและประเมินปริมาณเนอ้ื ไมใ้ นสว่ นล�ำตน้ ตอ่ พ้นื ท่ี ที่มีจ�ำนวนต้นปลูก 100 ต้นต่อไร่ ในการทดลองนี้ อาจ ใช้เป็นฐานข้อมูลส�ำหรับการปรับค�ำแนะน�ำการปลูกยาง ผลการศกึ ษาและวจิ ารณ์ ในเขตพ้ืนที่ท่ีมีปัญหาเรื่องลม เพราะในประเทศจีนได้ แนะน�ำความหนาแน่นของจ�ำนวนต้นปลูกระบบน้ีในปริมาณอนิ ทรยี วัตถใุ นดนิ พ้นื ทีท่ ี่มีปญั หาเรอ่ื งลม (Zongdao and Xaegin, 1983) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ไม่มีความแตกต่างกัน การทดลองนี้พบว่า ขนาดเส้นรอบวงล�ำต้นไม่ทางสถิติในระหว่างแต่ละปัจจัยท้ังความหนาแน่นของ แตกต่างกันในระหว่างพันธุ์ยาง เนื่องจากเลือกพันธุ์ดีจ�ำนวนต้นปลูก พันธุ์ยาง และสูตรปุ๋ยที่ต่างกัน และไม่ ที่อยู่ในค�ำแนะน�ำทั้งหมดมาท�ำการทดลอง แต่อย่างไรพบปฏิสัมพันธ์ของปริมาณอินทรียวัตถุในดินระหว่าง ก็ตาม กลับพบว่าลักษณะทรงต้นมีความแตกต่างกันจ�ำนวนต้นปลูกกับพันธุ์ยาง และสูตรปุ๋ย แต่อย่างไร ระหว่างพันธุ์ยางเนื่องจากพฤติกรรมการท้ิงกิ่ง เป็นผลก็ตาม ในหน่วยทดลองที่ใส่ปุ๋ยสูตรไนโตรเจนสูงมี ให้ความสูงในส่วนของล�ำต้น (วัดจากพื้นดินถึงจุดท่ีแตกแนวโน้มว่าพบปริมาณอินทรียวัตถุในดินสูงกว่าหน่วย กิ่งแรก หรือท่ีเรียกว่าล�ำต้น; trunk) แตกต่างกัน โดยทดลองที่ใส่ปุ๋ยสูตรไนโตรเจนต่�ำ นอกจากนี้ ในการ ยางพันธุ์ RRIT 404 มีค่าเฉลี่ยของส่วนล�ำต้นสูงที่สุด ขณะท่ียางพันธุ์ RRIT 412 และฉะเชิงเทรา 50 มีค่า* ยางพันธ์ุ RRIT 403, RRIT 404 และ RRIT 412 เป็นพันธ์ยุ างแนะน�ำใน กลุ่มเพ่ือผลผลิตน้�ำยางและเน้ือไม้, RRIT 408 เป็นพันธุ์ยางแนะน�ำใน กลมุ่ เพ่ือผลผลิตนำ้� ยาง และฉะเชงิ เทรา 50 เป็นพันธ์ุยางแนะน�ำในกลุม่ เพื่อผลผลติ เนือ้ ไม้

28 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 ตารางที่ 1 ปรมิ าณอินทรยี วตั ถุในดนิ ขณะต้นยางมีอายุ 1 ปี และ 7 ปี กรรมวธิ ี ปริมาณอินทรียวัตถุ (%) ต้นยางอายุ 1 ปี ต้นยางอายุ 7 ปีความหนาแนน่ ของจ�ำนวนตน้ ปลูก (D)D1 (178 ตน้ /ไร่) 1.37 1.15 1.46 1.18D2 (133 ต้น/ไร)่ 1.35 1.12D3 (100 ตน้ /ไร)่ 1.40 1.20 1.34 1.19พันธย์ุ าง (C) 1.34 1.10 1.42 1.11RRIT 403 1.47 1.24RRIT 404 1.35 1.10 1.42 1.18RRIT 408 1.42 1.19RRIT 412 ns ns ns nsฉะเชิงเทรา 50 ns nsสตู รปุ๋ยท่ปี รมิ าณไนโตรเจนตา่ งกนั (N)N1 (10-8-20) N2 (20-8-20) N3 (30-8-20) ความแตกต่างในทางสถติ ิ ที่ระดับความเชอ่ื มน่ั 95%ความหนาแนน่ ของจ�ำนวนตน้ ปลกู (D) พนั ธุย์ าง (C) สตู รปุ๋ยที่ปรมิ าณไนโตรเจนต่างกนั (N) ns = ไมม่ คี วามแตกตา่ งกนั ในทางสถิติเฉล่ียของส่วนล�ำต้นเตี้ยท่ีสุด ยางพันธุ์ท่ีมีส่วนล�ำต้นสูง ความหนาแน่นของต้นปลูกที่มากให้ปริมาณเน้ือไม้ต่อก็ส่งผลถึงค่าการประเมินปริมาณเนื้อไม้ในส่วนล�ำต้น พื้นท่ีที่มาก เมื่อเทียบกับจ�ำนวนต้นปลูกท่ีหนาแน่นน้อยท่ีมากขึ้นไปด้วย โดยพบความสัมพันธ์ในรูปเส้นตรง กว่า อย่างไรก็ตาม ต้องไม่ลืมว่าการปลูกด้วยจ�ำนวนต้นเชิงบวกระหว่างความสูงล�ำต้นกับค่าการประเมิน ท่ีมากขึ้น ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายก็ต้องเพ่ิมขึ้นด้วย ซึ่งจะปริมาณเน้ือไม้ในส่วนล�ำต้น (R2=0.96) ดังภาพที่ 1 ซ่ึง ต้องมีการวิเคราะห์ต้นทุนตอ่ ไปยางพันธุ์ RRIT 404 แสดงผลการให้ค่าการประเมิน จากผลการทดลองน้ียังพบว่า สูตรปุ๋ยท่ีมีปริมาณปริมาณเนื้อไม้สูงท่ีสุดในการทดลองนี้ (1.66 ลูกบาศก์ ไนโตรเจนต่างกัน ไม่ท�ำให้ขนาดเส้นรอบวงล�ำต้น ความเมตรตอ่ ไร)่ เมื่อเทียบกบั ยางพันธ์ุอืน่ (ตารางท่ี 2) สูงของส่วนล�ำต้น และปริมาณเน้ือไม้แตกต่างกันทางอิทธิพลของความหนาแน่นของตน้ ปลูกและสูตรปยุ๋ สถิติ อาจเป็นผลมาจากท่ีการใส่ปุ๋ยตามกรรมวิธีในการ ผลการทดลองเบ้ืองต้นขณะที่ยางอายุ 7 ปี พบว่า ทดลองนี้ไม่ท�ำให้ปริมาณอินทรียวัตถุแตกต่างกัน ระหวา่ งหน่วยทดลอง (ตารางที่ 1) สอดคลอ้ งกับรายงาน

29 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558ตารางท่ี 2 ขนาดเส้นรอบวงลำ�ตน้ ความสูงของล�ำ ตน้ และค่าการประเมินปรมิ าณเนอื้ ไม้ ขณะต้นยางมอี ายุ 7 ปีกรรมวิธี เส้นรอบวงลำ�ต้น ความสูงลำ�ตน้ ปริมาณเนอื้ ไม้ (ซม.) (ม.) (ม.3/ไร)่ความหนาแน่นของต้นปลกู (D) 40.9 c 3.8 1.55 a D1 (178 ต้น/ไร่) 45.7 b 3.5 1.30 b D2 (133 ต้น/ไร่) 48.3 a 3.5 1.06 c D3 (100 ต้น/ไร)่ 45.6 3.9 b 1.39 bพนั ธ์ยุ าง (C) 47.8 4.2 a 1.66 a RRIT 403 45.9 3.6 bc 1.30 bc RRIT 404 44.7 3.2 c 1.10 bc RRIT 408 42.6 3.2 c 1.02 c RRIT 412 ฉะเชงิ เทรา 50 44.5 3.7 1.28 45.6 3.6 1.31สตู รปยุ๋ ท่ีปรมิ าณไนโตรเจนตา่ งกัน (N) 45.9 3.5 1.30 N1 (10-8-20) N2 (20-8-20) ** ns ** N3 (30-8-20) ns ** ** ns ns ns ความแตกตา่ งในทางสถติ ิ ท่ีระดับความเชื่อมน่ั 95% ความหนาแนน่ ของตน้ ปลูก (D) พันธยุ์ าง (C) สูตรปยุ๋ ท่ปี รมิ าณไนโตรเจนตา่ งกนั (N) ค่าเฉลี่ยในคอลมั นเ์ ดียวกันทต่ี ามดว้ ยตวั อักษรเหมอื นกันไมม่ คี วามแตกต่างกันทางสถิตทิ ร่ี ะดับความเชื่อมน่ั 95 เปอร์เซน็ ต์ โดยวิธีDuncan’s Multiple Range Test (DMRT)** หมายถงึ แตกต่างในทางสถติ ิอย่างมีนยั ส�ำคัญย่งิns = ไมม่ คี วามแตกต่างในทางสถติ ิของ Dey and Pal (2006) ท่ีพบว่าอัตราปุ๋ยที่ต่างกันไม่ แม้ขนาดเส้นรอบวงล�ำต้นไม่แตกต่างกันทางสถิติท�ำให้การเจริญเติบโตและผลผลิตของยางพาราแตกต่าง ระหว่างสูตรปุ๋ย แต่สูตรปุ๋ยท่ีมีไนโตรเจนสูงกว่าก็แสดงกัน นอกจากนี้ ผลการทดลองยังเป็นไปในท�ำนอง แนวโน้มให้การเจริญเติบโตด้านเส้นรอบวงล�ำต้นโดยเดยี วกันกับรายงานของ Tangmitcharoen et al. (1999) เฉล่ียสูงกวา่ สูตรปุ๋ยทมี่ ไี นโตรเจนตำ�่ท่ีพบว่าการใส่ปุ๋ย 0.5 กิโลกรัมต่อต้น ไม่ท�ำให้การเจริญ ความสัมพันธ์ระหว่างปจั จยั ทีศ่ ึกษาเติบโตของต้นกระถินเทพา ช่วงอายุ 2-5 ปี แตกต่างกัน ผลการทดลองเบื้องต้นยังไม่พบปฏิสัมพันธ์ในเม่ือเทยี บกับการไมใ่ ส่ปยุ๋ อยา่ งไรก็ตาม ในการทดลองน้ี

30 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 2.01.5 y = 0.5667x - 0.7553 R² = 0.96531.00.50.0 2 2.5 3 3.5 4 4.5 ภาพท่ี 1 ความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของล�ำต้นกบั คา่ การประเมินปริมาณเนื้อไมใ้ นสว่ นลำ� ตน้ภาพที่ 1 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความสูงของลาตน้ กบั คา่ การประเมินปริมาณเน้ือไมใ้ นส่วนลาตน้ เอกสารอ้างองิAris, M.N.M. 2005. The study of clones, planting density, and rubber wood recovery for rubber forest plantation in Malaysia. Workshop on rubber wood, cropping and research, May 25-27, 2005, Bangkok, Thailand.Devakumar, A.S., S.N. Potty, D. Chaudhuri, D. Mandal, M. Varghese, J. Pothen and M.R. Sethuraj. 1995. Influence of plant density on growth and canopy architecture in Hevea brasiliensis. India J. of Nat. Rubb. Res. 8 (1): 57-62.Dey, S.K. and T.K. Pal. 2006. Effect of planting density on growth and yield of rubber (Hevea brasiliensis) in north eastern India. International Natural Rubber Conference, Ho Chi Min City, 13-14 November 2006 : 268-274.ภาพท่ี 2 สภาพท่ัวไปของแปลงทดลอง ในขณะตน้ ยางมีอายุ 7 ปี

31 ฉบบั อิเลก็ ทรอนิกส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 ต้นปลูกตอ่ พน้ื ท่ีกบั พันธ์ยุ างและสตู รปุย๋ )ระหว่าง 3 ปัจจัยในการทดลองน้ีขณะที่ยางมีอายุ 7 ปี เอกสารอ้างองิ(ได้แก่ปัจจัยของความหนาแน่นของต้นปลูกต่อพ้ืนท่ีพันธุ์ยาง และสูตรปุ๋ย) งานวิจัยต่อไปจึงควรเลือกพันธุ์ Aris, M.N.M. 2005. The study of clones, plantingยางท่ีมีความแตกต่างกันทางพันธุกรรมหรือลักษณะท่ี density, and rubber wood recovery forแสดงออกทางฟีโนไทป์ และควรเพ่ิมความแตกต่างของ rubber forest plantation in Malaysia.สูตรปุ๋ยหรืออัตราปุ๋ยที่มีช่วงกว้างมากข้ึน อาจท�ำให้มี Workshop on rubber wood, cropping andโอกาสพบการตอบสนองของพนั ธย์ุ างกบั การใหป้ ยุ๋ research, Bangkok, 25-27 May 2005. Devakumar, A.S., S.N. Potty, D. Chaudhuri, D. สรปุ Mandal, M. Varghese, J. Pothen and M.R. Sethuraj. 1995. Influence of plant density on จากการศึกษาเทคโนโลยีส�ำหรับการปลูก growth and canopy architecture in Heveaยางพาราเพ่ือเนื้อไม้ ผลการศึกษาเบื้องต้นขณะยาง brasiliensis. India J. of Nat. Rubb. Res. 8 (1):อายุ 7 ปี พบวา่ 57-62. 1. ปริมาณอินทรียวัตถุในดินไม่มีความแตกต่าง Dey, S.K. and T.K. Pal. 2006. Effect of plantingกันทางสถิติในระหว่างแต่ละปัจจัย ทั้งในเร่ืองของความ density on growth and yield of rubber (Heveaหนาแน่นของจ�ำนวนต้นปลูก พันธุ์ยาง และสูตรปุ๋ยท่ี brasiliensis) in north eastern India.ต่างกนั International Natural Rubber Conference, 2. ขนาดเสน้ รอบวงล�ำตน้ เมอื่ ยางอายุ 7 ปี พบวา่ Ho Chi Min City, 13-14 November 2006 :มีความแตกต่างกันทางสถิติในระหว่างความหนาแน่น 268-274.ของต้นปลูกที่ต่างกัน โดยความหนาแน่นของต้นปลูกท่ี Menz, K.M. and P. Grist. 1996. Increasing rubberมากท�ำให้ขนาดเส้นรอบวงล�ำต้นน้อยกว่าการปลูกใน planting density to shade Imperata: aความหนาแนน่ ของต้นปลูกท่นี อ้ ย bioeconomic modeling approach. 3. ขนาดเส้นรอบวงล�ำต้นไม่แตกต่างกันระหว่าง Agroforestry System 34: 291-303.พันธุ์ แต่พบว่าลักษณะทรงต้นมีความแตกต่างกัน Tangmitcharoen, S., P. Sornsathapornkul andระหว่างพันธุ์ยาง โดยยางพันธุ์ RRIT 404 มีส่วนล�ำต้น S. Visutithapkul. 1999. Effect on spacing,สูงทสี่ ุด จงึ สง่ ผลให้ไดป้ ริมาณไม้ต่อพ้ืนท่มี ากท่สี ดุ thining, fertilizer application and weeding on 4. พบความสัมพันธ์ในรูปเส้นตรงเชิงบวกระหว่าง seed production and growth of 2-5 yearsความสูงล�ำต้นกับค่าการประเมินปริมาณเน้ือไม้ในส่วน old Acacia auriculiformis. Journal of Thaiของล�ำต้น Forestry Research 1 (2): 113-123. 5. ขณะที่ต้นยางอายุ 7 ปี พบว่า ความหนาแน่น Zongdao, H. and Z. Xaegin. 1983. Rubberของต้นปลูกท่ีมาก จะให้ปริมาณเน้ือไม้ต่อพ้ืนที่ท่ีมาก cultivation in China. Proceedings of RRIMดว้ ย เม่อื เทยี บกับความหนาแนน่ ของตน้ ปลกู ท่นี ้อย planter’s conference 1983 : 31-44. 6. ผลการทดลองเบ้ืองต้นยังไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหวา่ ง 3 ปัจจยั ทใ่ี ช้ในการทดลอง (ความหนาแน่นของ

32 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 23 ตลุ าคม-ธันวาคม 2558 ภาคผนวกที่ 1 ขนั้ ตอนการด�ำเนินงานตามแผนการทดลองแบบ Split-plot in Randomized complete block (RCB) 1. แบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 แปลง ให้มีขนาดเท่าๆ กัน โดยแต่ละแปลงหมายถึงซ้�ำของการทดลอง (Block หรือReplication) 2. ในแต่ละซ�้ำ แบ่งพนื้ ทีอ่ อกเปน็ 3 แปลงหลกั (Mainplot) ใหม้ ขี นาด เท่าๆ กนั จากน้นั สุ่มความหนาแนน่ ของจ�ำนวนตน้ ปลูก ซ่ึงมี 3 ระดับ (D1, D2 และ D3) ลงใน 3 แปลงหลกั โดยวธิ ี Randomized complete block designดังแสดงในภาพท่ี 3 D1 D2 D2 D2 D1 D3 D3 D3 D1 ซ�้ำที่ 1 ซ้ำ� ท่ี 2 ซ้�ำที่ 3ภาพที่ 3 แผนผงั การแบง่ แปลงหลกั (Mainplot) ในแต่ละซำ�้ และการสุม่ ระดบั ความหนาแนน่ ของจำ� นวนต้นปลูก ซึ่งมี 3 ระดับ (D1, D2 และ D3) ลงในแตล่ ะแปลงหลัก 3. ในแต่ละซ้�ำ แบ่งแปลงหลักออกเป็น 15 แปลงย่อย (Subplot) ให้มีขนาดเท่าๆ กัน (ภาพท่ี 4) จากน้ันสุ่มวิธีการซ่งึ เปน็ combination ระหวา่ งพนั ธ์ยุ าง จ�ำนวน 5 พนั ธ์ุ (C1, C2, C3, C4 และ C5) กับป๋ยุ ทมี่ ปี รมิ าณไนโตรเจนต่างกัน 3 สูตร (N1, N2 และ N3) ซ่ึงได้ 15 กรรมวิธี ลงในแต่ละแปลงย่อย ของแต่ละแปลงหลัก โดยใช้วิธีการสุ่มเชน่ เดียวกับขอ้ 2 ดังตวั อย่างแผนผงั แปลงทดลองของซำ�้ ที่ 1 ซึ่งแสดงในภาพที่ 5 D1 D2 D2 D2 D1 D3 D3 D3 D1 ซ�้ำที่ 1 ซำ้� ที่ 2 ซำ้� ท่ี 3ภาพที่ 4 แผนผังการแบง่ แปลงหลัก (Mainplot) ในแตล่ ะซ้ำ� ออกเป็นแปลงทดลองย่อย (Subplot) จ�ำนวน 15 แปลงยอ่ ยตอ่ แปลงหลกั

ปCัจจ4ยNั ห1ลกั D1 C3N1 C1N2 ยกตวั อยา่ งซ้าฉทบี่ับ1อเิ ล็กทรอนิกสป์ 2CCCCCั3จจ52342ตยNNNNNัลุ าห33111คลม-กธั ันวDาค1ม C4N2 C5N133 CC31NN11 CC21NN22 255CC8 24NN23 CC55NN21 CCC334NNN123 CCC431NNN131 CCC211NNN232 ปCCCCัจจ3352ยNNNNั ห1323ลกั D2 CC42NN32 CC55NN12 D1 CC14NN13 CC12NN23 ปCCCCัจจ3545ยNNNNั ห1123ลกั D2 CCCC2241NNNN3133 CCCC5153NNNN3122 ปCCCCัจจ2415ยNNNNั ห1321ลกั D2 CC23NN32 CC23NN11 CC13NN13 CC54NN12 D2 CCC144NNN331 CCC321NNN322 CCC352NNN311 ปCCCCัจจ2415ยNNNNั ห1233ลกั D3 CCCC1313NNNN2312 CCCC5524NNNN1231 ปCCCCัจจ4412ยNNNNั ห1132ลกั D3 CCCC4213NNNN2323 CCCC3541NNNN1323 D3 ปCCCCัจจ5314ยNNNNั ห1131ลกั D3 CC21NN23 CC51NN31 CC54NN22 CC32NN22 CCC433NNN113 CCC212NNN231 CCC514NNN133 1N2หลแงั ลCCCCจะา5133กNNNNNส3มุ่)1133 ก ลรงรใมนวแธิ ตีซล่ึง่ เะปแ็นCCCCปcล5214oงNNNNยmอ่2212bยinขaอtiงoแnตร่ละะหแวCCCCปา่ งล2543พงNNNNนัห2213ธล์ยุักางจำ� นวนภาพท่ี 5 ตัวอย่างแผนผังการทดลองในซ้�ำที่ 5 พันธ์ุ (C1, C2, C3, C4 และ C5) กบัปยุ๋ ทีม่ ีปรมิ าณไนโตรเจนตา่ งกัน 3 สูตร (N1, C5N3 C5N2 C2N2 C3N3 C2N1 C4N3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook