Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook-41

ebook-41

Published by ju_sureerut, 2020-06-11 02:30:13

Description: ebook-41

Search

Read the Text Version

ปที ่ี 41 ฉบบั ที่ 2 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 41

ปีท่ี 41 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 26 สารบัญ บทความ 2 การเพ่มิ ผลผลิตและรายได้ของเกษตรกรจังหวัดตรัง จากการท�ำสวนยางตามมาตรฐาน GAP 13 สถานะความอดุ มสมบรู ณ์ของดินปลกู ยางในภาคใต้ 22 การวัดปริมาณโปรตีนทเ่ี กย่ี วข้องกับการไหลของน�้ำ ยาง (CS-HLLBP): วธิ กี ารหนึ่งที่นา่ จะน�ำ มาใช้ ในการคดั เลือกพนั ธย์ุ างเบ้ืองตน้ 36 สถานการณย์ างพาราปี 2562 และแนวโนม้ ปี 2563 40 สมบตั พิ น้ื ฐานของนำ้�ยางสดและยางแผน่ รมควัน ทีส่ อดรบั กับความต้องการของผูป้ ระกอบการ ภาพปก: น�ำ้ ยางสดทเี่ ก็บรวบรวมได้ ควรกรองเอาสิง่ สกปรกออก โดยเทผา่ นกรวย ทม่ี ีตะแกรง เป็นขนั้ ตอนหนึ่งของการท�ำสวนยางตามมาตรฐาน GAP

บทบรรณาธิการ ปัจจุบันการปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดี (Good รางรองรบั น�ำ้ ยาง กรองน้�ำยางเอาสง่ิ สกปรกออก และส่ง Agricultural Practices หรือ GAP) ส�ำหรับยางพารา น�้ำยางสดไปยังจุดรวบรวมหรือโรงผลิตก่อน 11.00 น. เป็นส่ิงท่ีมีความส�ำคัญ เน่ืองจากจะเป็นประโยชน์ทั้งต่อ ส่วนในกรณีของปริมาณแมกนีเซียมในน้�ำยาง ถ้าหาก ตัวเกษตรกรเอง และต่อผู้ประกอบการแปรรูป และท�ำ ดินมีปริมาณแมกนีเซียมเพียงพอต่อความต้องการของ ผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ ซ่ึงในวารสารยางพาราฉบับนี้ ได้ ตน้ ยางแลว้ ก็ไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งใส่เพิม่ อกี น�ำเสนอบทความท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติทางการ ท้ังสองเร่ืองเป็นเพียงตัวอย่างของการท�ำสวนยาง เกษตรท่ีดีส�ำหรับยางพารา หรือ GAP อยู่ 2 เร่ือง ตามมาตรฐาน GAP แตใ่ นนยั ของการการปฏิบตั ิทางการ เร่ืองแรก เป็น GAP ที่เน้นในเร่ืองของการเก็บเก่ียว เกษตรที่ดนี ั้น ครอบคลมุ ตัง้ แต่ พน้ื ทีป่ ลกู การดแู ลรกั ษา ผลผลิต โดยศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการปฏิบัติตาม การเก็บเกยี่ ว และการผลติ หลังเก็บเก่ียว เพ่อื ให้ผลผลิตมี มาตรฐาน GAP กับที่ปฏิบัติกันอยู่เดิม ของเกษตรกร คุณภาพ มีลกั ษณะตรงตามความต้องการ และปลอดภยั จังหวัดตรัง จ�ำนวน 5 ราย ผลปรากฏว่า การเก็บเกี่ยว ของผู้บริโภค ดังน้ัน จะต้องมีการบูรณาการระหว่าง ผลผลิตท่ีเน้นการปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP จะท�ำให้ นกั วิชาการสาขาต่าง ๆ เพอื่ ก�ำหนดรายละเอียดและผลท่ี ผลผลิตเพิ่มข้ึน หรือส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้น ได้จากการท�ำ GAP ในด้านตา่ ง ๆ รวมเข้าด้วยกนั ภายใต้ อย่างชัดเจน ซ่ึงจากกรณีศึกษาครั้งนี้ ถ้าหากได้น�ำไป ชื่อ การท�ำสวนยางตามมาตรฐาน GAP ซึ่งวารสาร ขยายผลไปใช้ท่ัวประเทศ ก็จะเป็นการยกระดับรายได้ ยางพาราจะทยอยน�ำเสนอให้ผู้อ่านได้รับทราบในโอกาส ของเกษตรกร และประเทศชาติ เรอ่ื งท่ีสอง เปน็ บทความ ตอ่ ไป ท่ียังมีความต่อเน่ืองจากเรื่องแรก ตรงที่ว่า ผลผลิตท่ีได้ สุดท้าย ในสถานการณ์ที่โรคโควิด-19 ก�ำลัง ควรมีสมบัติพื้นฐานที่สอดรับกับความต้องการของผู้ ระบาดไปท่ัวโลก รวมทั้งในประเทศไทย เกษตรกรท่ี ประกอบการ เช่น ในกรณีของน้�ำยางสด น�้ำยางที่จะน�ำ ประกอบอาชีพการท�ำสวนยาง รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ไปจ�ำหน่ายให้พ่อค้าคนกลาง หรือโรงงานผลิตน�้ำยางข้น ต้องปฏิบัติตัวตามมาตรฐานของการป้องกันโรค เช่น โดยตรง จะต้องคงความสด มีปริมาณเน้ือยางแห้งไม่ หม่ันล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ เว้นระยะห่างทางสังคม ต�่ำกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ มีค่ากรดไขมันระเหยได้ ไม่เกิน ใสห่ นา้ กากอนามยั ออกก�ำลงั กาย รัปทานอาหารให้ครบ 0.07 และควรมีปริมาณแมกนีเซียมไม่เกิน 50 ppm 5 หมู่ และพกั ผ่อนใหเ้ พยี งพอ ซงึ่ สมบตั พิ นื้ ฐานตา่ ง ๆ เหลา่ นี้สามารถควบคุมได้ถ้าหาก ได้ปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP เช่น ในกรณีความสดของ ดร.วิทยา พรหมมี น้�ำยาง เกษตรกรต้องหมั่นท�ำความสะอาดถ้วยและ บรรณาธกิ าร เจา้ ของ: สถาบนั วิจยั ยาง การยางแห่งประเทศไทย เขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร 10900 บรรณาธกิ ารบรหิ าร: ดร.กฤษดา สังขส์ งิ ห์ บรรณาธิการ: ดร.วิทยา พรหมมี กองบรรณาธกิ าร: ดร.ฐิตาภรณ์ ภูมไิ ชย,์ ดร.พิศมัย จนั ทมุ า, นางสาวภรภัทร สุชาตกิ ูล, นางปรดี ์เิ ปรม ทัศนกลุ , นางอารมณ์ โรจนส์ จุ ิตร, นางสาวอธิวณี ์ แดงกนษิ ฐ์ ผู้จัดการสอ่ื สิง่ พมิ พ:์ ดร.วิทยา พรหมมี ผูจ้ ัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส:์ นายชยั วัฒน์ ยศพมิ สาร ผ้ชู ่วยผู้จดั การสอื่ อิเล็กทรอนิกส:์ นายอาเดล มะหะหมัด พสิ ูจน์อักษร: นายวชิ า สงิ ห์ลอ

2 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 การเพม่ิ ผลผลิตและรายได้ของเกษตรกร จังหวัดตรัง จากการท�ำสวนยาง ตามมาตรฐาน GAP พศิ มยั จนั ทุมา ศนู ย์วิจัยยางฉะเชงิ เทรา สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย แนวโน้มการค้าขายระหว่างประเทศมักจะก�ำหนด การเก็บเก่ียว การบรรจุหีบห่อ และการขนส่งเพื่อ มาตรฐานต่าง ๆ เพ่ือกีดกันทางการค้าของประเทศผู้ซื้อ จ�ำหนา่ ย โดยค�ำนึงถงึ สขุ อนามยั และส่ิงแวดล้อม ผลกระทบที่ประเทศไทยส่งออกยางพาราเป็นอันดับหนึ่ง การน�ำ GAP มาปฏิบัติใช้กับสวนยางเพื่อเพิ่ม ของโลก จึงได้รับผลกระทบเช่นเดียวกับผลิตผลของพืช ผลผลิตและคุณภาพยาง ต้องเริ่มต้ังแต่การดูแลสวนยาง อน่ื ๆ มาตรฐานอยา่ งหนึ่งทนี่ �ำมาใชใ้ นการผลติ ยางตาม ทั้งก่อนเปิดกรีดและหลังเปิดกรีดตามค�ำแนะน�ำอย่าง ท่ีได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรของไทย คือ เครง่ ครดั ตลอดจนให้ความส�ำคัญกบั การเกบ็ รวบรวมน�้ำ การปฏบิ ัตทิ างการเกษตรทีด่ ี หรอื GAP (Good Agricul- ยางสด ยางกอ้ นถ้วย การขนส่งไปยงั โรงงานแปรรูป เพื่อ tural Practices) มาใช้ในการเพิ่มผลผลิตและควบคุม ใหไ้ ด้ยางดิบทม่ี ีคุณภาพ มสี มบตั คิ งที่ สมำ่� เสมอ ลดของ คุณภาพน้�ำยางต้ังแต่สวนยางจนถึงส่งน้�ำยางท่ีโรงงาน เสียที่เกิดจากกระบวนการแปรรูป จึงเป็นวิธีการจัดการ สร้างระบบการผลิตยางจากต้นน้�ำให้เป็นมาตรฐาน สวนยางพาราได้อย่างย่ังยืนและพัฒนาคุณภาพยางของ ปญั หาหลกั ของประเทศไทย เกษตรกรชาวสวนยาง รอ้ ยละ ไทยใหส้ ามารถแขง่ ขันทางการค้าในตลาดโลกได้ 90 เป็นเกษตรกรรายย่อย มพี น้ื ท่ถี อื ครองนอ้ ยกวา่ 15 ไร่ การปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดี หรือ GAP สามารถ ท�ำให้การจัดการเพื่อเพ่ิมผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต ปฏิบัติได้ทุกอายุของต้นยาง ตั้งแต่การเลือกพ้ืนท่ีท่ี เป็นไปได้ยาก รวมทั้งผลผลิตและคุณภาพของน้�ำยาง เหมาะสม การเลอื กพันธ์ยุ าง การใสป่ ยุ๋ การจัดการวชั พชื ค่อนข้างต�่ำ แนวทางหนึ่งในการปัญหาเพ่ือเพิ่มผลผลิต โรคและศตั รพู ชื จะช่วยให้ตน้ ยางเจรญิ เติบโตดี สามารถ ให้สูงขึ้น และน้�ำยางมีคุณภาพดี เพ่ือน�ำไปใช้เป็น เปิดกรดี ไดเ้ ร็ว และชว่ ยลดคา่ ใชจ้ ่ายในการดแู ลรักษา วัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ท่ีต้องการยาง สภาพพื้นที่ท่ีเหมาะสมต่อการปลูกยาง ควรเป็น คุณภาพดีต่อไป เช่น ท�ำยางล้อรถยนต์ ล้อเคร่ืองบิน พ้ืนท่ีราบ หรือมีความลาดชันต่�ำกว่า 35 องศา ถ้าความ เป็นตน้ ลาดชันเกิน 15 องศา ต้องท�ำขั้นบันไดเพ่ือป้องกันการ พังทลายของหน้าดิน และป้องกันการชะล้างของปุ๋ยท่ีใส่ GAP กบั การทำ� สวนยาง ให้กับสวนยาง ความสูงจากระดับน�้ำทะเลไม่ควรเกิน 600 เมตร หน้าดินควรมคี วามลึกไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร ไม่ การปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดี (GAP) เป็นระบบท่ี เป็นพื้นที่ท่ีมีน้�ำท่วมขัง หรือชั้นกรวดอัดแน่นในระดับต่�ำ สร้างผลผลิตตรงตามมาตรฐานคุณภาพ หรือได้คุณภาพ กวา่ ผวิ ดิน 1 เมตร ดนิ มกี ารระบายนำ�้ ดี คา่ ความเป็นกรด ตามที่ตลาดต้องการ โดยปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำท่ีถูกต้อง - ดา่ ง (pH) ระหวา่ ง 4.5–5.5 ไมเ่ ปน็ ดินเค็ม หรอื ดนิ เกลือ ตั้งแต่การเพาะปลูก จนถึงการเก็บเกี่ยว การจัดการหลัง

3 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 อุณหภูมิอากาศเฉล่ียอยู่ระหว่าง 26-30 องศาเซลเซียส ของรอยกรีด และควบคุมความสิน้ เปลืองเปลอื กตอ่ ปี ไม่ ปรมิ าณน�้ำฝนไมต่ ่ำ� กว่า 1,250 มิลลเิ มตรตอ่ ปี จ�ำนวนวนั เกิน 30 เซนติเมตร การท�ำมุมกรดี 30-35 องศากบั แนว ฝนตกเฉลี่ย 120-150 วัน และมีช่วงฤดูแล้งต่อเน่ืองไม่ ระดับ กรีดลึกแต่ไม่ท�ำลายท่ออาหารและเย่ือเจริญ เกิน 5 เดือน พันธุ์ยางต้องเป็นพันธุ์ที่สถาบันวิจัยยาง- การกรีดเปลอื กบางไมเ่ กิน 2-3 มิลลิเมตรต่อคร้ังกรีด การ แนะน�ำตง้ั แตป่ ี 2536 ถึงปัจจบุ ัน เชน่ พันธุ์ สถาบันวิจยั เวยี นหนา้ กรดี จากขวาไปซา้ ย การใชม้ ดี กรดี ยางทเ่ี หมาะสม ยาง 251, สถาบันวิจัยยาง 408, สถาบันวิจัยยาง 226, กับความหนาของเปลือกยางและการลับมีดที่ถูกวิธี และ BPM 24 และ RRIM 600 รวมถึงพันธย์ุ างทจี่ ะแนะน�ำใน มดี มคี วามคม อนาคต ควบคุมการปลูกและดูแลรักษา เช่น การก�ำจัด 4. การดูแลรกั ษาสวนยาง ไดแ้ ก่ ความสะอาดของ วัชพืช การใส่ปุ๋ยและอื่น ๆ ตามหลักวิชาการที่อยู่ใน สวนยาง เพื่อลดการแข่งขันกับวัชพืช สามารถใช้วิธีตัด ค�ำแนะน�ำของสถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย ถาก หรือใช้วิธีการฉีดพ่นสารเคมีก�ำจัดวัชพืช ไม่ควรไถ ในระหว่างแถวยาง เพราะรากยางเจริญเติบโตแผ่ขยาย การท�ำสวนยางตามมาตรฐาน GAP รากเตม็ พน้ื ท่ี โดยเฉพาะรากฝอยหรอื รากหาอาหาร ควร หยดุ การไถในระหวา่ งแถวยาง ต้ังแตอ่ ายุ 3-4 ปี เปน็ ต้น การท�ำสวนยางตามมาตรฐาน GAP เพอื่ เกบ็ เกีย่ ว ไป การไถท�ำให้ตน้ ยางมีการสรา้ งรากฝอยข้ึนมาใหม่ แต่ ผลผลติ ยาง มีขอ้ ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. การเปิดกรีดต้นยาง ต้องค�ำนึงถึงขนาดของต้น ในขณะเดียวกันก็ท�ำให้ต้นยางชะงักการเจริญเติบโตหรือ ยางมากกว่าอายุยาง โดยต้นยางต้องมีขนาดรอบล�ำต้น ผลผลิตลดลง เพราะเกิดการแก่งแย่งน�ำอาหารที่ควรจะ ไม่นอ้ ยกว่า 50 เซนติเมตร วดั ท่ีระดบั ความสงู 1.50 เมตร ใช้ในการเพ่ิมผลผลิตและการเจริญเติบโตไปใช้ในการ จากพ้ืนดิน และมีจ�ำนวนต้นท่ีได้ขนาดเปิดกรีดไม่น้อย สร้างราก กว่าร้อยละ 70 ของจ�ำนวนต้นทั้งหมดในแปลงปลูก 5. การใส่ปุ๋ยตามค�ำแนะน�ำของสถาบัน- การกรดี ยางตน้ เล็กท�ำใหผ้ ลผลติ ลดลง 30-50 เปอรเ์ ซ็นต์ วิจัยยาง ใส่ปุ๋ยได้ตามค่าวิเคราะห์ดิน ปุ๋ยสูตร 30-5-18 2. เลือกใช้ระบบกรีดท่ีเหมาะสม ไม่ท�ำลายต้น หรือ 29-5-18 อัตรา 0.5 กก./ครง้ั ใส่ปยุ๋ จ�ำนวน 2 ครั้ง/ปี ยาง ไดแ้ ก่ ระบบกรีด กรดี ครึ่งล�ำต้นและกรดี หน่งึ ในสาม ใส่ต้นฤดูฝนและปลายฤดูฝน ในช่วงท่ีดินมีความชื้นหรือ ของล�ำต้น ความถ่ีในการกรีด กรีดวันเว้นวัน หรือ กรีด ฝนตกติดต่อกนั ใส่หา่ งจากแถวยาง 2-3 เมตร โดยหว่าน สองวันตดิ ต่อกนั และหยดุ กรดี หน่ึงวนั เพอ่ื ใหต้ ้นยางไดม้ ี ระหวา่ งแถวหรอื โรยบรเิ วณก่ึงกลางแถว ควรเกลีย่ ใบยาง เวลาพักในการสร้างน้�ำยาง อย่างน้อย 48 ช่ัวโมง ท�ำให้ ใหเ้ ปน็ แนวกอ่ นใสป่ ยุ๋ แลว้ คราดกลบ ถ้าเปน็ พนื้ ที่ลาดชัน ได้ผลผลติ เตม็ ที่ เปน็ ระบบการจัดการสวนแบบ “ท�ำน้อย ให้ขุดหลุม หลังใส่ปุ๋ยให้กลบดิน เพื่อป้องกันการชะล้าง แต่ได้มาก” ลดละเลิกการกรีดยางแบบหักโหม คือ กรีด ปุย๋ หลายวันติดต่อกัน หรือกรีดทุกวันที่ฝนไม่ตก เพราะตาม ข้อควรระวังในการใสป่ ุ๋ย หลักสรีรวิทยาของต้นยาง การกรีดแบบหักโหม ต้นยาง 5.1 ไม่ควรใส่ปุย๋ บรเิ วณโคนต้นยาง หรอื ห่าง ไม่สามารถสร้างเนื้อยางได้ ท�ำให้น�้ำยางท่ีได้มีน้�ำ จากต้นยาง 1.0-1.5 เมตร เน่ืองจาก มากกว่าเนื้อยาง ปกติน�้ำยางมีปริมาณเนื้อยางแห้งโดย รากฝอยบริเวณใกล้ ๆ ล�ำต้นส่วนใหญ่ เฉลี่ย 35 เปอร์เซ็นต์ การกรีดถี่ท�ำให้มีปริมาณเนื้อยาง เป็นรากแก่มีศักยภาพในการดูดธาตุ แห้งต�่ำกว่า 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ ท�ำให้ผลผลิตท้งั น�ำ้ ยางและไม้ อาหารตำ�่ มาก ยาง ลดลง 30-60 เปอร์เซ็นต์ และท�ำให้วงจรชีวิตการ 5.2 การใส่ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยคอกให้มี กรีดยางลดลง 10-15 ปี สญู เสยี โอกาสทจ่ี ะได้รายได้จาก ประสิทธิภาพสูง กระท�ำโดยการผสม ผลผลติ ยาง คลุกเคล้ากับดิน หรือโรยเป็นจุด ๆ ห่าง 3. เทคนิคการกรดี ยางทถี่ กู ต้อง ได้แก่ การท�ำเส้น จากแถวยาง 2-3 เมตร ไม่ควรวางปุ๋ย หน้า-เสน้ หลงั ยาว 30 เซนตเิ มตร เพอื่ ควบคมุ ความยาว คอกทงั้ กระสอบ ถงึ แมว้ า่ จะกรดี กระสอบ

4 ฉบบั อิเล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 a bc d ef ภาพที่ 1 ตวั อย่างการทำ� สวนยางตามมาตรฐาน GAP เชน่ เปิดกรดี เมอ่ื ตน้ ยางมขี นาดรอบลำ� ตน้ ไม่นอ้ ยกว่า 50 ซม. โดยวัดท่ีความสงู 150 ซม. จาก พน้ื ดนิ (a) เมือ่ รอยกรดี ต�่ำใกล้พื้นดนิ ควรกลบั มดี แล้วกรีดขึ้น จากลา่ งขวา ขนึ้ มาซ้ายบน ช่วยให้กรีดไดต้ ำ�่ ถงึ พืน้ ดนิ และลดการปวดมอ่ื ย เมื่อเทยี บกบั การกรีดปกติ ซ่งึ ตอ้ งย่อเข่าลง (b) ในการตรวจว่ากรดี ได้ลึกจนเกือบถึงเยอ่ื เจรญิ หรอื ไม่ ใหใ้ ช้เหลก็ ปลายแหลมแทงเข้าไปในเปลือกหลังกรดี ถา้ ยงั มนี ้ำ� ยางไหลออกมา แสดงวา่ ยังกรดี ตื้นไป (c) การท�ำมุมรอยกรดี ที่ 30-35 องศา สามารถชว่ ยใหผ้ ลผลติ เพ่ิมขนึ้ ได้ (d) ถังเกบ็ น�้ำยางตอ้ งทำ� ความสะอาดทกุ ครงั้ หลงั ใชง้ าน และควำ่� ถงั บนไมท้ ปี่ กั ไวบ้ รเิ วณรมิ สวน (e) นำ�้ ยางทเ่ี กบ็ รวบรวมได้ ขณะเทลงในภาชนะบรรจุ ตอ้ งกรองผา่ นตะแกรงเอาสงิ่ สกปรกออก (f)

5 ฉบบั อิเลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 ภาพท่ี 2 สภาพสวนยางทปี่ ราศจากกง่ิ ไม้ และไมพ้ มุ่ ทำ� ใหส้ ะดวกตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน และถกู สขุ ลกั ษณะตอ่ คนทำ� งานในสวนยาง ให้ขาดก็ตาม เพราะไม่มีผลในการปรับ ช่วยให้เกษตรกรมีรายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ สภาพดิน ไม่ควรใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ย 7. การพัฒนาคุณภาพของยางก้อนถ้วย เพ่ือเป็น อินทรีย์อย่างเดียว ควรใส่ปุ๋ยเคมีร่วม วตั ถุดบิ ในอตุ สาหกรรมต่าง ๆ มหี ลักปฏิบัติ คือ เก็บยาง ด้วย เพ่ือให้ต้นยางได้ธาตุอาหารเพียง ก้อนถ้วยจ�ำนวน 4-6 มีด ใช้กรดฟอร์มิคความเข้มข้น 4 พอในการเพม่ิ ผลผลติ ยาง เปอร์เซ็นต์ เทนำ�้ กรดออกไปกลางแถวยาง เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ 5.3 การผสมปุ๋ยใช้เอง สูตร 30-5-18 มี ให้น�้ำกรดหกรดต้นยาง ซ่ึงอาจเป็นสาเหตุหนึ่งท�ำให้ต้น สัดส่วนการผสม 6:1:3 โดยใช้ปุ๋ยยูเรีย ยางแสดงอาการเปลอื กแหง้ ได้ มีระบบการจัดการไม่ใหม้ ี (46-0-0) จ�ำนวน 6 กระสอบ ปุ๋ยได- สง่ิ เจอื ปนในยางก้อนถว้ ย เชน่ เศษเปลือกยาง ใบไม้ เศษ แอมโมเนียมฟอสเฟต (18-46-0) พลาสติกจากกระสอบปุ๋ย เป็นต้น การป้องกันไม่ให้น้�ำ จ�ำนวน 1 กระสอบ และ ป๋ยุ โพแทสเซยี ม เซร่ัมหกราดไปบนถนนระหว่างการขนส่ง และการรักษา (0-0-60) จ�ำนวน 3 กระสอบ สูตรนี้ผสม สภาพแวดล้อมทั้งในสวนยางและชุมชน เป็นต้น ได้ครัง้ ละ 500 กโิ ลกรัม หรอื 10 กระสอบ 8. การปฏิบัติงานในสวนยางควรค�ำนึงถึงสภาพ ใส่ต้นยางได้ 1,000 ต้น หรือใส่ปุ๋ย 1 แวดล้อมและคุณภาพชีวิตของผู้ปฏิบัติงานในสวนยาง กระสอบตอ่ ไร่ เช่น การก�ำจัดวัชพืชเพ่ือไม่ให้เป็นแหล่งอาศัยของโรค 6. การพัฒนาคุณภาพน�ำ้ ยางสด ก�ำหนดเวลากรดี แมลง หรอื สตั วม์ พี ษิ ส�ำหรบั กิ่งก้านขนาดใหญ่ทร่ี ่วงหลน่ ยางหลังเท่ียงคืน เก็บและน�ำน้�ำยางไปส่งโรงงานภายใน ควรเก็บวางไว้กึ่งกลางระหว่างแถวยาง เพ่ือไม่ให้เกะกะ 6-8 ช่ัวโมง เพื่อป้องกันน้�ำยางจับตัวเป็นเม็ดพริก ในการปฏบิ ัติงาน เศษวสั ดุ ภาชนะบรรจภุ ณั ฑต์ า่ ง ๆ ที่ใช้ นอกจากนี้ การควบคุมความสะอาดของภาชนะใส่น้�ำ งานแล้ว ควรก�ำจัด หรือท�ำลายให้ถูกวิธี อุปกรณ์เคร่ือง ยางทุกขั้นตอนที่น้�ำยางสัมผัสจะต้องสะอาด ได้แก่ ลิ้น ใช้ต้องท�ำความสะอาด และเก็บให้เรียบร้อยหลังการใช้ และถ้วยรองรับน�้ำยาง ถังเก็บน้�ำยาง ถังรวบรวมน้�ำยาง งาน หากช�ำรุดควรซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ เป็นต้น การกรองน้�ำยางในสวนยางด้วยอุปกรณ์ รวมท้ังโรงเรือนหรือโรงงานท่ีใช้ในการผลิต แปรรูปยาง มาตรฐาน ช่วยเพิ่มปริมาณเนื้อยางแห้ง 1-2 เปอร์เซ็นต์ ต้องมบี อ่ รองรับน�ำ้ ทง้ิ จากกระบวนการผลติ

6 ฉบับอิเลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 9. คนกรีดและผู้ปฏิบัติงาน ต้องมีความรู้ความ 11.6 ประวัตกิ ารเกิดโรคและศัตรูพชื เข้าใจในเร่ืองสุขอนามัย มีอุปกรณ์และเคร่ืองมือป้องกัน 11.7จ�ำนวนต้นที่กรีดยางได้ ปริมาณ อันตรายจากการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ จะช่วยให้การ ผลผลติ ตอ่ วัน หรอื ตอ่ รอบการ ผลิตมีประสิทธิภาพและส่งผลต่อสุขภาพและความ จ�ำหนา่ ย ปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน และได้รับการฝึกอบรมที่ 11.8 การใช้สารรักษาสภาพ และภัยธรรม- เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดี (GAP) ชาตทิ ่อี าจเกดิ ขนึ้ (ถ้าม)ี เป็นตน้ นอกจากนี้ผู้ปฏิบัติงานต้องแต่งกายให้เหมาะสมต่อการ ปฏิบัติงานและมีการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดข้ึนจาก ตวั อย่างของเกษตรกรจงั หวดั ตรัง การท�ำงาน เช่น สวมรองเท้าบู๊ท สวมเสื้อผ้ามิดชิด มีไฟ ท่ีนำ� GAP มาใช้กบั สวนยาง ส่องสว่าง และห้ามดื่มสุราหรือของมึนเมาระหว่างการ ปฏิบตั ิงาน สวนยางนายสมพงษ์ ศรีนิม่ 10. วัตถุอันตรายทางการเกษตรท่ีใช้ ต้องข้ึน ปลกู ยางพนั ธุ์ RRIM 600 อายุ 13 ปี พนื้ ที่ 10 ไร่ ทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย มีเลขทะเบียนวัตถุ พบว่า ผลผลิตยางปี 2560 ตั้งแต่เดือน สิงหาคม- อันตราย และมีค�ำแนะน�ำบนฉลาก ไม่ใช้วัตถุอันตราย พฤศจิกายน 2560 ผลผลิตน้�ำยาง เพิ่มจาก 4.74 เป็น ทางการเกษตรท่หี ้ามผลติ น�ำเข้า ส่งออก หรอื การมไี วใ้ น 7.50 กก./ไร่/วัน และผลผลติ ยางแหง้ เพมิ่ จาก 1.55 เป็น ครอบครอง ตามพระราชบญั ญตั วิ ัตถอุ นั ตราย พ.ศ.2562 2.23 กก./ไร/่ วนั หรอื เพมิ่ ขึน้ 43 เปอรเ์ ซน็ ต์ เปรียบเทียบ และที่ระบุในรายการวัตถุอันตรายทางการเกษตรท่ี กับปี 2561 ผลผลิตน้�ำยาง เพ่ิมจาก 5.75 เป็น 10.57 ประเทศคู่ค้าห้ามใช้ หรือตามข้อก�ำหนดของประเทศคคู่ ้า กก./ไร/่ วนั หรอื ผลผลติ ยางแหง้ เพม่ิ จาก 1.72 เป็น 3.04 ท้ังน้ีต้องไม่เป็นสารห้ามใช้ในประเทศ และหยุดใช้วัตถุ กก./ไร/่ วนั หรอื เพิม่ ข้ึน 94 เปอร์เซน็ ต์ (ภาพท่ี 3 และ 4) อันตรายทางการเกษตรก่อนการเก็บเกี่ยวตามช่วงเวลาท่ี สวนยางเข้าร่วมโครงการปฏิบัติดูแลสวนยางตาม ระบุไว้ในฉลากก�ำกับการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร มาตรฐาน GAP ในเดือน ตลุ าคม 2561 เม่อื เปรียบเทียบ แต่ละชนิด หรือให้เป็นไปตามค�ำแนะน�ำของทางราชการ ผลผลิตยางแห้งในเดือนเดียวกันท้ัง 2 ปี พบว่า เดือน วัตถุอันตรายทางการเกษตรท่ีเก่ียวข้องกับการผลิต ตลุ าคมและพฤศจิกายน ในปี 2560 ได้ผลผลติ 2.05 และ ยางพารา ได้แก่ สารเคมีก�ำจัดวัชพืช สารเคมีป้องกัน 2.23 กก./ไร่/วัน ในขณะท่ีผลผลิตในปี 2561 เพิ่มข้ึน ก�ำจดั โรคและแมลง และน้�ำกรดส�ำหรบั การจบั ตัวของน้�ำ 2.82 และ 3.04 กก./ไร/่ วัน หรอื ผลผลิตในเดือนเดียวกัน ยาง เป็นต้น เพิ่มข้นึ 37 เปอรเ์ ซน็ ต์ 11. การบันทึกข้อมูล สามารถช่วยเสริม สวนยางนายพรชัย ชน้ั สกลุ ประสิทธิภาพของการวางแผนการผลิตและพัฒนา เจ้าของสวนเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้าน ปรับปรุงคุณภาพและผลผลิต รวมทั้งเป็นหลักฐานท่ีใช้ ป่ากอ อ. ปะเหลยี น จ. ตรงั ปลูกยางพนั ธุ์ สถาบันวิจยั - ในการตามสอบได้ ดงั น้ี ยาง 251 อายุ 15 ปี พืน้ ที่ 10 ไร่ จ�ำนวนต้นกรดี 620 ต้น 11.1 หากใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร ให้ หรือ 62 ต้น/ไร่ ก่อนท�ำ GAP ในเดือนมิถุนายน 2561 ระบชุ นดิ ปริมาณและวันทีใ่ ช้ ผลผลิตยางแหง้ 1.67 กก./ไร/่ วัน เปรียบเทียบกับหลงั เข้า 11.2 ต้นพันธุ์ ควรระบุพันธุ์และแหล่งที่มา รว่ มโครงการปฏิบัตดิ ูแลสวนยางตามมาตรฐาน GAP ใน 11.3 ปยุ๋ ใหร้ ะบชุ นดิ สตู ร อตั ราการใช้ และวนั ท่ี เดอื น กรกฎาคม 2561 ผลผลิตเพมิ่ เปน็ 3.03 กก./ไร/่ วัน ใช้ หรอื ผลผลติ เพิ่มข้ึน 81 เปอรเ์ ซน็ ต์ (ตารางที่ 1) จ�ำนวนวัน 11.4 แผนการจัดการในแปลงปลูกและ กรดี 139 วัน/ปี ผลผลิตนำ้� ยางสด 1,761.61 กก./ไร/่ ปี มี แผนการกรีดยาง ปริมาณเนื้อยางแห้ง (DRC) 27.56-45.59 เปอร์เซ็นต์ 11.5 การควบคุมก�ำจัดวัชพืช ผลผลิตยางแห้ง 587.80 กก./ไร่/ปี หรือผลผลิตต่อวัน

7 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ ุนายน 2563 12 10.57 เกษตรกรมรี ายได้ 29,884 บาท/ไร่/ปี หรือ 239,074 บาท/ 7.50 แปลงกรดี 8 ไร/่ ปี (ตารางท่ี 2) น.น. ้นำยางสด (กก./ไร/วัน) 10 ป 2560 9.49 สวนยางนางธรรศพกั ตร์ชณ รนั สงู เนนิ ป 2561 6.20 เจ้าของสวนเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้าน ป่ากอ อ. ปะเหลยี น จ. ตรัง ปลูกยางพนั ธุ์ RRIM 600 อายุ 8 6.59 11 ปี พ้นื ท่ี 12 ไร่ จ�ำนวนต้นกรดี 730 ต้น หรอื 61 ตน้ /ไร่ 5.65 ก่อนท�ำ GAP ในเดือนกันยายน 2561 ผลผลิตยางแห้ง 6 5.75 2.95 กก./ไร่/วัน เปรียบเทียบกับหลังเข้าร่วมโครงการ ปฏิบัติดูแลสวนยางตามมาตรฐาน GAP ในเดือน 4.74 ตุลาคม 2561 ผลผลิตเพิ่มเป็น 5.11 กก./ไร่/วัน หรือ ผลผลิตเพิ่มข้ึน 73 เปอร์เซ็นต์ (ตารางท่ี 3) มีจ�ำนวนวัน 4 กรีด 119 วัน/ปี ผลผลิตน้�ำยางสด 1,416.39 กก./ไร่/ปี มีปริมาณน�้ำยางแห้ง (DRC) 29.10-44.03 เปอร์เซ็นต์ 2 ผลผลิตยางแห้ง 470.68 กก./ไร่/ปี หรือผลผลิตต่อวัน 3.96 กก./ไร่/วัน หรือ ผลผลิต 7.74 กก./ต้น/ปี ท�ำให้ ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. เกษตรกรมีรายได้ 17,449 บาท/ไร/่ ปี หรือ 209,388 บาท/ แปลงกรดี 12 ไร/่ ปี (ตารางที่ 3) ภาพที่ 3 เปรยี บเทยี บผลผลติ นำ้� ยาง ปี 2560 และ ปี 2561 สวนยางของนาย สวนยางนางสวุ มิ ล พีรทพั ย์ สมพงษ์ ศรนี มิ่ ซ่ึงปลกู ยางพนั ธุ์ RRIM 600 อายุ 13 ปี พื้นท่ี 10 ไร่ เจ้าของสวนเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้าน ปา่ กอ อ. ปะเหลยี น จ. ตรงั ปลกู ยางพนั ธ์ุ สถาบันวิจยั - น.น. ยางแ หง (กก./ไร/วัน) 4 2.13 2,82 3.04 ยาง 251 อายุ 15 ปี พ้นื ที่ 15 ไร่ จ�ำนวนตน้ กรดี 1,056 ต้น ป 2560 1.68 2.05 2.23 หรือ 70 ต้น/ไร่ ก่อนท�ำ GAP ในเดือนกันยายน 2561 ผลผลติ ยางแห้ง 3.83 กก./ไร/่ วนั เปรยี บเทียบกบั หลงั เข้า 3 ป 2561 ร่วมโครงการปฏบิ ัตดิ แู ลสวนยางตามมาตรฐาน GAP ใน เดือน ตุลาคม 2561 ผลผลิตเพ่ิมเป็น 5.75 กก./ไร่/วัน 2 1.55 1.72 หรอื ผลผลติ เพิม่ ขึน้ 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ (ตารางที่ 4) มีจ�ำนวน 1 วนั กรดี 69 วนั /6 เดอื น ผลผลิตน้ำ� ยางสด 1,156 กก./ไร่/ 6 เดือน ผลผลิตยางแห้ง 390.07 กก./ไร่/6 เดือน หรือ ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ผลผลิตต่อวัน 5.65 กก./ไร่/วัน หรือ ผลผลิต 5.54 กก./ ต้น/6 เดือน ท�ำให้เกษตรกรมีรายได้ 13,797 บาท/ไร่/ ภาพที่ 4 เปรยี บเทยี บผลผลติ ยางแหง้ ปี 2560 และ ปี 2561 สวนยางของนาย 6 เดือน หรือ 206,952 บาท/แปลงกรีด 15 ไร่/6 เดือน สมพงษ์ ศรีนิ่ม ซึง่ ปลกู ยางพันธ์ุ RRIM 600 อายุ 13 ปี พ้ืนท่ี 10 ไร่ (ตารางท่ี 4) สวนยางนางพรทพิ ย์ เกียรตไิ พบูลย์ 4.23 กก./ไร่/วัน หรือ ผลผลิต 9.48 กก./ต้น/ปี ท�ำให้ เจ้าของสวนเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตร เกษตรกรมรี ายได้ 21,584 บาท/ไร่/ปี หรอื 215,842 บาท/ บา้ นปา่ กอ อ. ปะเหลยี น จ. ตรงั ปลกู ยางพนั ธ์ุ สถาบนั วจิ ยั - แปลงกรดี 10 ไร/่ ปี (ตารางที่ 1) สวนยางนายสรุ ชาติ ช้ันสกุล เจ้าของสวนเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้าน ป่ากอ อ. ปะเหลียน จ. ตรัง ปลูกยางพันธุ์ สถาบันวิจัย ยาง 251 อายุ 18 ปี พ้นื ท่ี 8 ไร่ จ�ำนวนต้นกรดี 436 ตน้ หรือ 54 ต้น/ไร่ ก่อนท�ำ GAP ในเดือนมิถุนายน 2561 ผลผลิตยางแห้ง 3.08 กก./ไร่/วัน เปรียบเทยี บกบั หลังเข้า ร่วมโครงการปฏิบัตดิ แู ลสวนยางตามมาตรฐาน GAP ใน เดือน กรกฎาคม 2561 ผลผลติ เพมิ่ เปน็ 3.98 กก./ไร่/วัน หรือผลผลิตเพิ่มขน้ึ 29 เปอร์เซ็นต์ (ตารางท่ี 2) มีจ�ำนวน วนั กรีด 129 วัน/ปี ผลผลติ น้�ำยางสด 2,310.81 กก./ไร/่ ปี มีปริมาณน�้ำยางแห้ง (DRC) 28.59-46.26 เปอร์เซ็นต์ ผลผลิตยางแห้ง 810.81 กก./ไร่/ปี หรือผลผลิตต่อวัน 6.29 กก./ไร่/วัน หรือ ผลผลิต 14.88 กก./ต้น/ปี ท�ำให้

8 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 ตารางท่ี 1 ผลผลิตและรายได้จากสวนยางนายพรชยั ช้ันสกุล1 เดอื น/ปี จำ� นวนวันกรดี น.น.น�ำ้ ยาง DRC น.น.ยางแห้ง ผลผลติ รายได้ (วนั ) (กก./ไร)่ (%) (กก./ไร่) (กก./ไร่/วนั ) (บาท/เดอื น) กอ่ นท�ำ GAP พ.ค. 61 12 29.60 44.59 13.20 1.10 612 40.31 23.36 1.67 977 ม.ิ ย. 61 14 57.95 38.85 45.45 3.03 1,765 หลงั ท�ำ GAP 35.74 87.77 4.88 3,312 34.04 40.24 5.03 1,503 ก.ค. 61 15 117.00 37.96 56.90 5.17 2,111 33.79 88.89 5.93 2,941 ส.ค. 61 18 245.60 31.80 72.26 6.02 2,489 29.50 111.27 5.30 4,024 ก.ย. 61 8 118.22 27.56 48.46 3.73 1,850 33.37 587.80 4.23 21,584 ต.ค. 61 11 149.88 พ.ย. 61 15 263.10 ธ.ค. 61 12 227.24 ม.ค. 62 21 377.18 ก.พ. 62 13 175.84 รวม/เฉลย่ี 139 1,761.61 1ปลูกยางพนั ธ์ุ สถาบันวจิ ยั ยาง 251 อายุ 15 ปี พ้ืนที่ 10 ไร่ ยาง 251 อายุ 15 ปี พ้ืนท่ี 8 ไร่ จ�ำนวนต้นกรีด 511 ตน้ การใส่ปุ๋ย การกรีดยางท่ีถูกวิธี และการรักษาคุณภาพ หรือ 64 ต้น/ไร่ ก่อนท�ำ GAP ไม่มกี ารบันทึกผลผลติ หลัง ของน�้ำยาง สุขอนามัยของผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อม เขา้ ร่วมโครงการปฏิบตั ดิ ูแลสวนยางตามมาตรฐาน GAP สามารถช่วยให้เกษตรกรมีผลผลิตเพิ่มข้ึน 29-81 ในเดอื น ตลุ าคม 2561 ผลผลติ 5.74 กก./ไร/่ ปี (ตารางท่ี เปอร์เซ็นต์ และรายได้เพิ่มข้ึนเช่นกัน นอกจากน้ี การ 5) มีจ�ำนวนวันกรีด 74 วัน/5 เดือน ผลผลิตน�้ำยางสด เปลยี่ นระบบกรดี จากความยาวของรอยกรดี 1 ใน 4 ของ 1,040.68 กก./ไร่/5 เดือน ผลผลติ ยางแห้ง 348.50 กก./ ล�ำตน้ กรีด 3-4 วนั ติดตอ่ กนั ปรับเปลี่ยนมากรดี 1 ใน 3 ไร่/5 เดือน หรือผลผลิตต่อวัน 5.38 กก./ไร่/วัน หรือ ของล�ำตน้ กรีด 2 วันหยุด 1 วัน และเนน้ เทคนิคการกรดี ผลผลิต 5.46 กก./ต้น/ปี ท�ำให้เกษตรกรมีรายได้ 12,368 ยางท่ีช่วยเพ่ิมอายุของต้นยางให้สามารถกรีดได้นานข้ึน บาท/ไร่/5 เดือน หรือ 98,945 บาท/แปลงกรีด 8 ไร่/5 เชน่ ความบางของเปลอื กท่ีกรดี แต่ละครัง้ มมุ กรีด ความ เดอื น (ตารางท่ี 5) คมของมีดกรีดยาง การท�ำเส้นแบ่งหน้าหลังที่ชัดเจน ความลกึ ของการกรีด กรีดไม่บาดหนา้ ยาง ท�ำใหส้ ามารถ สรปุ กรีดเปลือกใหม่ได้ นอกจากน้ี การดูแลคุณภาพของน�้ำ ยาง ที่มีการท�ำความสะอาดและกรองน้�ำยางในสวน ยัง การปฏิบัติดูแลสวนยางตามมาตรฐาน GAP ให้ ช่วยให้มีปริมาณเนื้อยางแห้ง (% DRC) เพิ่มข้ึน 1-2 ความส�ำคัญกับการดูแลรักษาสวนยางโดยปฏิบัติตาม เปอร์เซ็นต์ กล่าวได้ว่าการปฏิบัติดูแลสวนยางตาม ค�ำแนะน�ำของสถาบันวิจัยยาง ตั้งแต่การก�ำจัดวัชพืช

9 ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 ตารางที่ 2 ผลผลติ และรายไดจ้ ากสวนยางนายสุรชาติ ชั้นสกุล1 เดือน/ปี จ�ำนวนวันกรีด น.น.นำ้� ยาง DRC น.น.ยางแหง้ ผลผลิต รายได้ (วัน) (กก./ไร่) (%) (กก./ไร่) (กก./ไร่/วัน) (บาท/เดือน) ก่อนท�ำ GAP 4 15.38 46.26 7.11 1.78 338 พ.ค. 61 15 110.00 41.93 46.13 3.08 1,945 มิ.ย. 61 หลังท�ำ GAP 12 120.75 39.59 47.80 3.98 1,856 ก.ค. 61 14 185.25 40.30 74.66 5.33 2,808 ส.ค. 61 10 189.30 37.17 70.36 7.04 2,624 ก.ย. 61 12 212.90 39.65 84.41 7.03 3,132 ต.ค. 61 13 291.85 36.61 106.84 8.22 3,562 พ.ย. 61 13 305.00 35.05 106.90 8.22 3,690 ธ.ค. 61 19 499.44 31.58 157.70 8.30 5,714 ม.ค. 62 17 380.95 28.59 108.90 6.41 4,216 ก.พ. 62 129 2,310.81 35.09 810.81 6.29 29,884 รวม/เฉล่ยี 1ปลกู ยางพันธุ์ สถาบนั วิจัยยาง 251 อายุ 18 ปี พืน้ ที่ 8 ไร่ มาตรฐาน GAP ช่วยให้เกษตรกรเพ่ิมผลผลิตและรายได้ การยางแห่งประเทศไทย. 19 หนา้ . และยังช่วยลดความสญู เสียท่เี กิดขึน้ ตง้ั แตใ่ นสวนยางจน สถาบันวิจัยยาง. 2556. คู่มือค�ำแนะน�ำการจัดการสวน กระท่ังสง่ ถงึ โรงงานแปรรูป ยางอย่างย่ังยืน ปี 2556. สถาบันวิจัยยาง กรม- วชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ บรรณานุกรม สถาบนั วจิ ยั ยาง. 2561. ข้อมูลวิชาการยางพารา ปี 2561. การยางแห่งประเทศไทย กระทรวงเกษตรและ พิศมัย จันทุมา และ ปรีด์ิเปรม ทัศนกุล. 2561. สหกรณ.์ หลักปฏิบัติท่ีดีในการจัดการยางพาราและ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2559. สืบค้นจาก: www. การเก็บรวบรวมน�้ำยางสดในสวน. สถาบันวิจัย oae.go.th [16 มิถนุ ายน 2561] ยาง และฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง

10 ฉบบั อิเล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 ตารางที่ 3 ผลผลิตและรายได้จากสวนยางนางธรรศพักตร์ชณ รันสูงเนิน1 เดือน/ปี จ�ำนวนวนั กรดี น.น.นำ้� ยาง DRC น.น.ยางแห้ง ผลผลิต รายได้ (วนั ) (กก./ไร่) (%) (กก./ไร)่ (กก./ไร่/วัน) (บาท/เดอื น) กอ่ นท�ำ GAP พ.ค. 61 4 23.96 44.03 10.55 2.64 495 38.26 39.95 3.07 1,687 ม.ิ ย. 61 13 104.42 36.26 36.11 3.28 1,396 35.46 50.92 3.39 1,918 ก.ค. 61 11 99.58 34.19 23.60 2.95 880 ส.ค. 61 15 143.58 36.57 45.98 5.11 1,705 32.97 72.78 5.60 2,406 ก.ย. 61 8 69.03 31.79 53.27 4.84 1,845 30.19 86.83 4.82 3,143 หลังท�ำ GAP 29.10 50.69 2.98 1,976 39.34 470.68 3.96 17,449 ต.ค. 61 9 125.73 พ.ย. 61 13 220.73 ธ.ค. 61 11 167.56 ม.ค. 62 18 287.63 ก.พ. 62 17 174.18 รวม/เฉลย่ี 119 1,416.39 1ปลูกยางพันธ์ุ RRIM 600 อายุ 11 ปี พนื้ ท่ี 12 ไร่

11 ฉบับอิเลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ตารางท่ี 4 ผลผลิตและรายไดจ้ ากสวนยางนางสุวมิ ล พรี ทัพย์1 เดือน/ปี จำ� นวนวันกรดี น.น.น้ำ� ยาง DRC น.น.ยางแหง้ ผลผลติ รายได้ (วัน) (กก./ไร)่ (%) (กก./ไร่) (กก./ไร/่ วัน) (บาท/เดอื น) ก่อนท�ำ GAP 3 28.95 39.70 11.49 3.83 425 ก.ย. 61 หลังท�ำ GAP 9 130.57 39.61 51.72 5.75 1,913 ต.ค. 61 15 291.73 35.65 103.99 6.93 3,455 พ.ย. 61 12 240.33 33.15 79.67 6.64 2,747 ธ.ค. 61 19 342.72 31.30 107.28 5.65 3,884 ม.ค. 62 11 121.90 29.46 35.91 3.26 1,373 ก.พ. 62 69 1,156.20 33.74 390.07 5.65 13,797 รวม/เฉลีย่ 1ปลูกยางพนั ธุ์ สถาบนั วิจัยยาง 251 อายุ 15 ปี พื้นท่ี 15 ไร่ ตารางท่ี 5 ผลผลติ และรายได้จากสวนยางนางพรทพิ ย์ เกียรติไพบูลย์ 1 เดือน/ปี จ�ำนวนวนั กรีด น.น.นำ้� ยาง DRC น.น.ยางแหง้ ผลผลิต รายได้ (วนั ) (กก./ไร)่ (%) (กก./ไร)่ (กก./ไร/่ วัน) (บาท/เดอื น) หลงั ท�ำ GAP ต.ค. 61 10 128.48 39.10 50.24 5.74 1,864 พ.ย. 61 16 229.75 36.17 83.10 5.94 2,748 ธ.ค. 61 13 189.35 32.86 62.23 5.47 2,121 ม.ค. 62 21 323.84 32.05 103.79 5.65 3,751 ก.พ. 62 14 169.26 29.04 49.15 4.01 1,885 รวม/เฉลี่ย 74 1,040.68 33.49 348.50 5.38 12,368 1ปลกู ยางพันธ์ุ สถาบันวจิ ัยยาง 251 อายุ 15 ปี พนื้ ท่ี 21 ไร่

12 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 ตารางท่ี 6 ผลผลิตและรายได้ของเกษตรท่เี ข้าร่วมโครงการ GAP เดอื น/ปี เกษตรกร พนั ธุย์ าง รายท่ี 1 รายที่ 2 รายที่ 3 รายที่ 4 รายที่ 5 อายยุ าง (ป)ี พ้ืนท่ี (ไร่) สว.ย. 251 สว.ย. 251 RRIM 600 สว.ย. 251 สว.ย. 251 จ�ำนวนตน้ ยาง (ต้น/ไร่) 15 18 11 8 15 จ�ำนวนวนั กรดี (วนั /ป)ี 10 8 12 15 8 ผลผลติ (กก./ไร่/วนั ) 62 54 61 70 64 ผลผลติ (กก./ไร/่ ป)ี 139 129 119 69 74 ผลผลติ (กก./ต้น/ป)ี 4.23 6.28 3.96 5.65 5.38 ผลผลิต (กก./แปลง/ป)ี รายได้ (บาท/ไร่/ปี) 587.80 810.81 470.68 390.10 398.29 รายได้ (บาท/แปลง/ปี) 9.48 14.88 7.74 5.54 5.46 ราคายาง (บาท/กก.)1 5,878 6,487 5,648 5,851 2,788 ช่วงเวลาบนั ทึกข้อมูล2 21,584 29,884 17,449 13,797 14,135 215,842 239,074 209,388 206,952 98,945 38.00 36.86 37.07 36.00 35.75 1 ปี 1 ปี 1 ปี 6 เดือน 5 เดือน รายที่ 1 = นายพรชยั ชน้ั สกลุ , รายที่ 2 = นายสรุ ชาติ ชน้ั สกลุ , รายที่ 3 = นางธรรศพกั ตรช์ ณ รนั สงู เนนิ รายท่ี 4 = นางสวุ มิ ล พรี ทรพั ย,์ รายท่ี 5 = นางพรทพิ ย์ เกยี รตไิ พบลู ย ์ 1คา่ เฉลย่ี ราคายางพาราแตกตา่ งกนั ตามชว่ งระยะเวลาทข่ี ายยาง 2ชว่ งเวลา 1 ปกี รดี คอื กรดี ตงั้ แตเ่ ดอื นพฤษภาคม 2561-กมุ ภาพนั ธ์ 2562

13 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 สถานะความอุดมสมบรู ณ์ของดนิ ปลูกยาง ในภาคใต้ ภรภัทร สชุ าตกิ ลู ศนู ย์วิจัยยางสงขลา สถาบนั วิจัยยาง การยางแหง่ ประเทศไทย ปัจจุบันสวนยางหลายสวนในพื้นที่ภาคใต้ประสบ บางสวนก็ใสป่ ุ๋ยนอ้ ยลง บางสวนกใ็ ส่เฉพาะปยุ๋ คอกไมใ่ ส่ ปัญหาผลผลิตลดลง ต้นยางแสดงอาการเปลือกแห้ง ปุ๋ยเคมี โดยให้เหตุผลด้านราคายางตกต่�ำท�ำให้ไม่มีเงิน จ�ำนวนมาก และลุกลามเพมิ่ ข้ึนทุกปี ตน้ ยางมอี าการของ ซอ้ื ป๋ยุ บางรายเลิกท�ำสวนยางทงิ้ สวนไปเลยก็มี บางสวน โรคราแป้ง โรคใบจุดก้างปลา โรคใบจุดท่ีเกิดจากเช้ือ ปลกู พชื แซมแตก่ ลับไมใ่ ส่ปยุ๋ ใหพ้ ชื แซม ธาตุอาหารส่วน คอลเลโทตริกรัม และโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อราไฟทอฟ- หน่ึงจึงถูกพืชแซมดูดกินไปด้วย ส่งผลให้ต้นยางได้รับ ธอรา ซึ่งเป็นโรคทางใบที่เกิดจากเชื้อรารุนแรงมากขึ้น ธาตุอาหารน้อยลง บางสวนก็ใส่ปุ๋ยแบบผิดวิธี แทนที่จะ กว่าในอดีต จนท�ำให้ใบยางร่วงหล่นเป็นจ�ำนวนมาก หว่านใส่ในบริเวณระหว่างแถวยาง กลับใส่ปุ๋ยบริเวณ จนถึงร่วงเกือบหมดทั้งสวนก็มี หากสังเกตลักษณะต้น รอบ ๆ โคนต้นยาง เม่ือไม่ได้ใส่ปุ๋ยหรือใส่ปุ๋ยน้อย ธาตุ ยางท่ีประสบปัญหาเหล่านี้จะพบว่า ต้นยางส่วนใหญ่มี อาหารที่ต้นยางได้รับจึงไม่เพียงพอกับความต้องการ ต้น สขุ ภาพไม่สมบรณู ์ กล่าวคือ ใบยางมีขนาดเล็กมาก เมื่อ ยางจึงต้องพยายามหากินธาตุอาหารส่วนที่ขาดจากดิน เทียบกับใบปกติ ขนาดใบเมื่อเทียบแล้วใกล้เคียงกับ ซึ่งเป็นแหล่งท่ีให้ธาตุอาหารที่จ�ำเป็นส�ำหรับการเจริญ เหรียญสิบบาท หรือใหญ่กว่าเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ต้น เติบโตและการให้ผลผลิตของพืชมากข้ึน ในขณะท่ีดิน ยางมีทรงพุ่มโปร่งบาง จ�ำนวนใบน้อย ล�ำต้นและก่ิงก้าน เองก็มีปริมาณธาตุอาหารอยู่จ�ำกัด เม่ือดินไม่ได้รับการ แห้งกรา้ น กิง่ ก้านมีขนาดเล็ก เปราะ หักงา่ ย ในต้นยาง เพ่ิมเติมชดเชยธาตุอาหารส่วนที่สูญเสียไป ในที่สุด เล็กระยะก่อนเปิดกรีด มักพบว่าต้นยางไม่ค่อยเจริญ ปริมาณธาตุอาหารในดินก็ลดลงเรื่อย ๆ จนในท่ีสุดมีไม่ เติบโต แคระแกร็น แทนท่ีต้นยางจะโตได้ขนาดกรีดเมื่อ เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นยาง เมื่อในดินไม่มี อายุ 6 หรือ 7 ปี จะต้องขยายเวลาออกไปเป็นปีที่ 8-9 ธาตุอาหารให้พืชดูดกินเพียงพอ จึงส่งผลให้พืชขาดธาตุ หรือมากกว่านั้น จึงจะกรีดได้ ท�ำให้เกษตรกรขาดรายได้ อาหาร ส่งผลต่อสุขภาพของต้นยาง ต้นยางไม่แข็งแรง สถานะดังกล่าวเกิดจากหลายสาเหตุ ซึ่งจะได้กล่าวเป็น อ่อนแอต่อโรค หรือเป็นโรคง่าย และเม่ือเป็นแล้วมัก ประเด็น ๆ ไป แสดงอาการรุนแรง ในท่ีสุดส่งผลกระทบต่อผลผลิต ท�ำให้ผลผลิตลดลง จนกระทง่ั ไม่สามารถเกบ็ ผลผลิตได้ ขาดการใสป่ ุ๋ยท่เี พียงพอ ปลูกในพ้ืนทที่ ่ีไมเ่ หมาะสม และมี จากการส�ำรวจสวนยาง ในปี 2552 จนถึงปี 2562 ปัญหาเรอื่ งดิน พบว่า สวนยางหลาย ๆ สวนละเลยการใส่ปุ๋ยให้กับต้น ยางมาเป็นเวลาสองถึงสามปีแล้ว หรือใส่บ้างไม่ใส่บ้าง ปัญหาอีกส่วนหน่ึงท่ีพบก็คือ การปลูกสร้างสวน

14 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 ยางบนพื้นท่ีท่ีไม่เหมาะสม เช่น การปลูกยางบนพ้ืนท่ี เจริญเติบโตของพืชนั้น ความอุดมสมบูรณ์ของดินจึงไม่ ทรี่ าบต�ำ่ มีน�ำ้ แช่ขงั ในฤดูฝนเปน็ ระยะเวลานาน การปลกู ได้หมายเพียงถึงมีปริมาณธาตุอาหารต่าง ๆ อยู่เพียงพอ ยางบนพ้ืนที่ที่ดินเป็นดินเหนียวจัด ดินมีการระบายน�้ำ เท่านั้น แต่ต้องอยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ด้วย นอกจากนี้ เลว ดินมีการอุ้มน้�ำมากเกินไป มีการถ่ายเทอากาศไม่ดี ยังต้องมีอยู่ในสัดส่วนที่เหมาะสมและสมดุล กล่าวคือ ส่งผลต่อระบบการหายใจของรากพืช รากเน่าจากการ ไม่มีธาตุใดธาตุหนึ่งมากหรือน้อยเกินไปจนไปขัดขวาง แช่น้�ำเป็นเวลานาน เช่น ดินนา การปลูกยางบนพื้นที่ที่ การดดู ธาตอุ าหารอกี ธาตุหนง่ึ หรือมีปริมาณธาตอุ าหาร เนื้อดินมีอนุภาคทรายแป้ง (Silt) เป็นองค์ประกอบอยู่สูง มากเกินไปจนเกินความต้องการของพืช ท�ำให้เป็นพิษ ก็พบว่ามีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของต้นยางด้วย ต่อพืช อีกค�ำหนึ่งคือ “Soil productivity” หรือการให้ เช่นกัน ดินชนิดนี้เน้ือดินมีความละเอียดอ่อนนุ่มคล้าย ผลผลิตของดิน หรือบางต�ำราใช้ค�ำว่า ผลิตภาพของดิน แป้งมีความเหนียวเล็กน้อย หลังฝนตกและดินช้ืนจะพบ หมายถึง ความสามารถของดินในสภาพตามธรรมชาติที่ ลักษณะเหมือนคราบแผ่นแป้งบนผิวดิน เม่ือสัมผัสดูจะ จะให้ผลผลิตหน่ึง ๆ ภายใต้สภาพแวดล้อมและการ อ่อนน่มุ มือและลน่ื คลา้ ยแปง้ ดินสอพอง ดินประเภทนม้ี ัก จัดการปกติ ความหมายก็คอื เมอ่ื เราปลกู พืชใด ๆ ลงบน มีน�้ำแช่ขังในฤดูฝน เน่ืองจากช่องว่างระหว่างเม็ดดินจะ พ้ืนที่ใดพ้ืนที่หน่ึง ภายใต้สภาพแวดล้อมและการจัดการ ถูกอุดตันด้วยอนุภาคทรายแป้งท�ำให้น�้ำซึมผ่านลงไป ปกติ แล้วพืชจะมีการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตเท่าไร ล�ำบาก ท�ำให้มีนำ�้ สว่ นเกินขงั อยบู่ นผิวดิน แตเ่ ม่อื ดินแห้ง ซ่ึงเป็นผลมาจากหลาย ๆ ปัจจัย ได้แก่ ความอุดม จะจับกันเป็นก้อนแข็งต้องใช้แรงบีบหรือกดค่อนข้างมาก สมบูรณข์ องดนิ การจัดการดินท่ีดี ปรมิ าณนำ้� ท่พี ชื ดดู ไป จึงจะแตก ซึง่ ลักษณะเหล่าน้ีเป็นสมบัติทางกายภาพของ ใช้ได้ และภูมิอากาศที่เหมาะสม จากความแตกต่างของ ดินท่ีมีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของพืชมาก แต่ ความหมายทั้งสองค�ำนี้พอจะกล่าวได้ว่า ส�ำหรับดินที่จะ มักจะมีความสัมพันธ์ในทางอ้อม ได้แก่ การชอนไชของ ให้ผลผลิตสูง (Productivity soil) จ�ำเป็นต้องเป็นดินที่มี รากพืช การหายใจของรากพืช การดูดซับน้�ำของรากพืช ความอุดมสมบรู ณ์ดี แตไ่ มจ่ �ำเปน็ เสมอไปว่า ถ้าเปน็ ดินที่ เป็นตน้ นอกจากน้ี การปลกู ยางบนพ้ืนท่ที ม่ี ีความลาดชัน มีความอุดมสมบูรณ์ดีแล้วจะต้องเข้าลักษณะของดินที่ สูง ซง่ึ ดินมกั จะเป็นดนิ ตื้น มีหินปะปน มีช้ันดินน้อย มีการ ให้ผลผลิตสูงเสมอไป ยกตัวอย่างเช่น ดินท่ีมีความอุดม ชะล้างหน้าดินสูง ก็ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของต้นยาง สมบูรณ์ดีในแถบร้อนและแห้งแล้งเมื่อท�ำการปลูกยาง มากเช่นกัน ถ้าขาดการชลประทาน ดินน้ันจะเป็นดินท่ีให้ผลผลิตสูง ไม่ได้ เป็นต้น ดินที่มีความสามารถในการให้ผลผลิตสูง ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในเรื่อง ได้แก่ ดินที่ไถได้ง่าย มีธาตุอาหารที่จ�ำเป็นครบทุกธาตุ \"ความอุดมสมบรูณข์ องดนิ \" ในรูปท่ีพืชสามารถดูดน�ำไปใช้ได้ทันทีและในปริมาณท่ี การท่ีต้นยางให้ผลผลิตน้อย อ่อนแอต่อโรค เพยี งพอ มลี ักษณะทางกายภาพดเี พ่อื ค�้ำยนั พชื มนี ำ้� และ ปัจจุบันมีการมุ่งประเด็นให้ความส�ำคัญไปถึงเรื่องของ อากาศในปริมาณที่เหมาะสมต่อการเจริญของรากพืช ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ว่าเป็นเพราะดินมีความอุดม และดินต้องสามารถให้สิ่งที่จ�ำเป็นเหล่านี้ได้ทุกวันตลอด สมบรู ณต์ ่ำ� จนส่งผลต่อสขุ ภาพของต้นยาง ดงั น้นั ผเู้ ขียน ช่วงชีวิตของพืช (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2541; ขอท�ำความเข้าใจถึงความหมายของค�ำว่า “ความอุดม วิเชยี ร, 2550; มุกดา, 2544) สมบูรณ์ของดิน” ให้เข้าใจตรงกันดังนี้ “ความอุดม สมบูรณ์ของดิน” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Soil fertility” การลดลงของธาตอุ าหารในดินปลกู ยาง หมายถึง ความสามารถของดินที่จะให้แร่ธาตุอาหาร และผลกระทบในระยะยาว จ�ำเป็นต่าง ๆ รูปท่ีเป็นประโยชน์แก่พืชในปริมาณท่ีเพียง พอ มีสัดส่วนท่ีเหมาะสม และสมดุลต่อความต้องการ ยางพาราในพื้นที่ภาคใต้มีการปลูกกันมาเป็น ของพืชนั้น ๆ เม่ือปัจจัยอื่น ๆ ไม่เป็นอุปสรรคต่อการ เวลานาน โดยมีการปลูกคร้ังแรกที่จังหวัดตรังตั้งแต่ปี พ.ศ. 2443 และทีจ่ งั หวัดจนั ทบุรใี นปี พ.ศ. 2451 ต่อมา

15 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 พื้นที่ปลูกยางพาราได้ขยายเพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ โดยเฉพาะ สถานะความอุดมสมบูรณ์ของดิน พิศมัย (2551) กล่าว พื้นท่ีในภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศซึ่งมี ว่า การเติบโตของล�ำต้นมีผลต่อความหนาของเปลือก สภาพเหมาะสมตอ่ การปลกู ยาง ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 และจ�ำนวนวงของท่อน�้ำยาง ซ่ึงท่อน�้ำยางเป็นส่วนท่ีให้ ถึง 2555 ที่ราคายางพุ่งสูงขึ้นมากกว่า100 บาทต่อ ผลผลิตของต้นยาง โดยทั่วไปเพิ่มในอัตราค่อนข้างสูง กโิ ลกรมั ประกอบการสง่ เสรมิ จากภาครัฐ ยิง่ ท�ำให้ความ เม่ือต้นยางมีอายุน้อย หากดินขาดธาตุอาหารจะส่งผล ต้องการขยายพื้นที่ปลูกยางพาราเพิ่มสูงข้ึนมาก ในขณะ ใหก้ ารแบง่ ตวั ของเยอื่ เจรญิ ไมเ่ ปน็ ไปตามปกติ ท่ีพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมส�ำหรับปลูกยางมีจ�ำกัด การปลูกยาง นอกจากน้ี พื้นที่ภาคใต้อยู่ในเขตร้อนช้ืน ดินผ่าน จึงเป็นการเปล่ียนจากพืชอื่นมาเป็นยาง การปลูกยางซ�้ำ การสลายตัวผุพังมานาน และมีการชะละลายสูง บนท่ีดินเดิม รวมถึงการปลูกยางบนพื้นที่ท่ีไม่เหมาะสม เน่ืองจากฝนตกชุก ดินปลูกยางในภาคใต้ส่วนใหญ่จึงมี ท�ำให้ต้นยางไม่แข็งแรง น้�ำยางออกได้น้อยลง การปลูก ความอุดมสมบูรณ์ต�่ำถึงปานกลาง Cheng et al., ยางท่ีต่อเน่ืองเป็นเวลานานมากกว่า 40 ปี ส่งผลให้ธาตุ (2007) พบว่า ยิ่งมีการท�ำสวนยางติดต่อกันเป็นเวลา อาหารชนิดและปริมาณเดิม ๆ ถูกน�ำออกจากดินโดยติด นาน ความอุดมสมบูรณ์ของดินยิ่งลดลง โดยอินทรีย- ไปกับผลผลิตน�้ำยาง และส่วนต่าง ๆ ของต้นยางเมื่อมี วัตถุ, ไนโตรเจนทั้งหมด (Total N), โพแทสเซียมท่ีเป็น การโค่นอย่างต่อเนื่อง นุชนารถ (2551) รายงานว่า การ ประโยชน์ (Available K) และ ฟอสฟอรสั ท่เี ปน็ ประโยชน์ เก็บเกี่ยวผลผลิตน�้ำยาง 1 ตัน ท�ำให้ดินสูญเสียธาตุ (Avaiable P) ลดลง 48.2, 54.1, 56.7 และ 64.1 ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม เปอร์เซ็นต์ ตามล�ำดับ หลงั จากผ่านไป 41 ปี และกล่าว (Ca) แมกนเี ซียม (Mg) และ ก�ำมะถัน (S) จ�ำนวน 20, 5, ว่า ควรใส่ปุ๋ยเพื่อรักษาสมดุลของธาตุอาหาร ปลูกพืช 25, 4, 5 และ 2 กโิ ลกรัม ตามล�ำดับ สุนทรี และจนิ ตณา คลุมดินตระกูลถ่ัวระหว่างแถวยางเพ่ือปรับปรุงความ (2549) ศึกษาปริมาณธาตุอาหารรวมท้ังต้นในยางก่อน อุดมสมบูรณ์ของดิน ปรับปรุงคุณสมบัติดินให้เหมาะสม เปิดกรีด พบว่า มีปริมาณเพ่ิมขึ้นตามขนาดล�ำต้น โดยมี ปรับปรงุ ความเป็นประโยชนข์ องธาตฟุ อสฟอรัส เชน่ การ อตั ราค่าความเขม้ ขน้ ของ N, P, K, Ca และ Mg เพ่ิมขึ้น ใช้ CaCเวOท3 เฉลี่ย 250, 8.7, 210, 389 และ 26 กรมั ต่อตน้ ตอ่ ปี ตาม และคณะ (2534) ได้ท�ำการส�ำรวจการขาด ล�ำดับ นั่นคอื ตน้ ยางตอ้ งการธาตุอาหารในปริมาณทีม่ าก ธาตุอาหารของยางในภาคใต้จ�ำนวน 200 สวน พบว่า ขน้ึ ทกุ ปี ตน้ ยางแสดงอาการขาดธาตุอาหาร 68 สวน (34%) ธาตุ การปฏิบัติท่ีต่อเนื่องกันมาที่เน้นเฉพาะการใส่ปุ๋ย ท่ีพบอาการขาดมากท่ีสุด คือ ไนโตรเจน (N) รองลงมา ที่ให้ธาตุอาหารหลัก ไม่มีการแนะน�ำให้ใส่ปุ๋ยธาตุอาหาร คือ แคลเซียม (Ca) และ แมกนีเซียม (Mg) พ้ืนที่ซึ่งพบ รองและจุลภาคอาหาร ก็มีผลท�ำให้ธาตุอาหารรองและ อาการขาดมักมีเนื้อดินเป็นดินทรายหรือร่วนปนทราย จุลภาคอาหารสูญเสียไปจากดินอย่างต่อเน่ืองด้วยเช่น และพนื้ ท่ดี นิ เหนยี วท่เี คยท�ำนามาก่อน กัน นอกจากน้ี ธาตุอาหารในดินยังสามารถสูญเสียไป โดยการชะละลาย (Leaching) ไปพร้อมกับน้�ำ และการ การส�ำรวจสถานะธาตอุ าหารในดนิ ปลกู ยาง กร่อน (Erosion) เมือ่ ธาตุอาหารตา่ ง ๆ ทสี่ ูญเสยี ไป ไมไ่ ด้ และธาตอุ าหารในใบ รับการชดเชยอยา่ งเหมาะสมและสมำ่� เสมอ จงึ สง่ ผลกระ ทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินในระยะยาว ถึงแม้ว่า การส�ำรวจในปี 2552 ยางเป็นพืชท่ีสามารถปรับตัวได้ในดินท่ีมีความอุดม ผู้เขียนได้ท�ำการส�ำรวจสวนยางและเก็บตัวอย่าง สมบูรณ์ต่�ำหรือค่อนข้างต�่ำ แต่หากปลูกในดินท่ีมีความ ดินและตัวอย่างใบในพื้นท่ีจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี อุดมสมบูรณ์สูงหรือปานกลาง จะเติบโตได้ดี เปิดกรีดได้ และนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 43 สวน น�ำมาวิเคราะห์ เร็ว และใหผ้ ลผลติ สูง Krishnakumar and Potty (1992) สมบัติและความเข้มข้นของธาตุอาหาร เปรียบเทียบกับ กล่าวว่า การเติบโตของต้นยางใน 4 ปีแรก ขึ้นอยู่กับ ค่ามาตรฐานของดนิ ปลกู ยางและใบยางพนั ธุ์ RRIM 600 (สถาบันวิจัยยาง, 2548) พบว่า สวนยางส่วนใหญ่มีค่า

16 ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ ุนายน 2563 ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) และปริมาณอินทรียวัตถุใน เพียงพอต่อความต้องการของพืช และถ้าสูงมากเกินไป ระดับเหมาะสม แต่มีปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน (N) จะเป็นพิษและท�ำให้การเติบโตของพืชลดลง จากการ ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) อยู่ในระดับต่�ำ มี ศกึ ษาพบวา่ ในปี 2560 ปริมาณธาตุอาหารทั้งในดินและ ปรมิ าณแมงกานสี (Mn) อยใู่ นระดับสงู ถงึ สูงมาก (ตาราง ในใบมีปริมาณลดลงกว่าในปี 2552 โดยมีร้อยละของ ที่ 1) จ�ำนวนสวนยางที่มีปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุ อาหารรอง (ยกเวน้ S) อยูใ่ นระดบั ต่ำ� เพิ่มขน้ึ กล่าวได้วา่ สภาวะความอุดมสมบูรณ์ของดินปลูกยางและของต้น การสำ� รวจในปี 2559 - 2560 จากการส�ำรวจเก็บตัวอย่างดินปลูกยางและใบ ยางลดลงทุกปี ยกเวน้ ธาตุ Mn ทีพ่ บวา่ มปี ริมาณเพิม่ ขึน้ ยาง เพ่ือวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารพืช ในสวนยาง อยู่ในระดับสูงถึงสูงมากเพิ่มขึ้น อาจเนื่องจาก Mn เป็น ของเกษตรกรที่ขอทุนสงเคราะห์ปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ ธาตุโลหะที่ละลายออกมาอยู่ในสารละลายดินได้ดีใน RRIT 251 ในต�ำบลต่าง ๆ ของพื้นท่ีภาคใต้จ�ำนวน 7 สภาวะท่ีดินเป็นกรดรุนแรงถึงรุนแรงมาก และเป็นธาตุท่ี จงั หวดั ไดแ้ ก่ ประจวบคีรีขันธ์ ชมุ พร ระนอง พังงา กระบ่ี หากมมี ากจะไปยบั ยัง้ การดดู กนิ ธาตุ Fe ของพืชได้ เราจงึ ตรัง และสุราษฎร์ธานี รวมท้ังส้ิน 110 ตัวอย่าง เม่ือ พบวา่ ในดนิ ปลกู ยาง ถงึ แมม้ ี Fe อย่ใู นปริมาณมาก แต่ เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของดินปลูกยางและใบยาง ในใบยางกลบั พบ Fe ในปรมิ าณน้อย พันธุ์ RRIM 600 (สถาบันวิจัยยาง, 2548) ร่วมกับการ เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานเบื้องต้นของดินปลูกยาง สรปุ และข้อเสนอแนะ และใบยางพันธุ์ RRIM 251 ท่ีจัดท�ำโดย ภรภัทร และ จากการท่ีพ้ืนที่ปลูกยางมีความอุดมสมบูรณ์ของ คณะ (2562) พบว่า สวนยางส่วนใหญ่มีค่าความเป็น ดินต�่ำ และต�่ำลงที่ต้นยางได้รับทุกปี เกษตรกรจึงควร กรดเป็นด่าง (pH) และปริมาณอินทรียวัตถุในระดับ ใส่ใจจัดการท�ำให้ดินมีธาตุอาหารในปริมาณที่เพียงพอ เหมาะสม แต่มีปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัส (P) และสมดุล เหมาะสมกบั ความต้องการของตน้ ยาง ไดแ้ ก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) เหล็ก (Fe) ทองแดง การใช้ปุ๋ยสูตรและอัตราตามค�ำแนะน�ำของสถาบันวิจัย (Cu) และสงั กะสี (Zn) อยูใ่ นระดบั ตำ�่ สว่ นไนโตรเจน (N) ยาง ไม่ว่าจะเป็นค�ำแนะน�ำส�ำหรับต้นยางก่อนเปิดกรีด และโพแทสเซยี ม (K) พบว่า มีอยู่ในระดับตำ่� ทุกสวน ใน หรือหลังเปิดกรีด การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การใส่ ขณะที่ปริมาณแมงกานีส (Mn) พบว่า สวนยางจ�ำนวน ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์หากในดินมีปริมาณอินทรีย รอ้ ยละ 84 มอี ยู่ในระดบั สงู ถงึ สูงมาก (ตารางท่ี 2) วตั ถตุ ่ำ� การปลกู พืชคลุมดินตระกูลถัว่ การใส่ปุย๋ ท่ีให้ธาตุ นน้ั ๆ ในอัตราทีเ่ พิ่มขน้ึ หากดินมีปริมาณธาตุอาหารน้ัน ๆ ในระดับต�่ำ รวมถึงต้องใส่ปุ๋ยให้ถูกต้องและเหมาะสม สรปุ ผลการส�ำรวจทั้งสองครัง้ จากผลการส�ำรวจและวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน ด้วย ต้นยางที่เปิดกรีดแล้ว ไม่ใส่ปุ๋ยบริเวณรอบโคนต้น และในใบยางท้ังสองครงั้ (ปี 2552 และ ปี 2559-2560) ยาง แต่ควรใส่ปุ๋ยในระหว่างแถวยาง ซึ่งเป็นบริเวณที่มี พบว่า สวนยางที่ส�ำรวจส่วนใหญ่มีสถานะความอุดม รากฝอยที่เป็นรากดูดธาตุอาหารอยู่อย่างหนาแน่น และ สมบูรณ์ของธาตุอาหารบางธาตุในดินต่�ำ แต่เม่ือ ควรมีการเพิ่มเติมธาตุอาหารให้กับดินอย่างสม่�ำเสมอ วิเคราะห์ใบกลับพบว่า สวนยางทุกสวนมีปริมาณธาตุ เพื่อยกและรักษาระดับให้ดินมีธาตุเหล่านี้อยู่อย่างเพียง อาหารอยู่ในระดับต�่ำ บางสวนอยู่ในระดับต่�ำมาก ทั้งนี้ พอและยั่งยืน ควรให้ความสนใจต่อการจัดการธาตุ Ca ผลการวิเคราะห์พืชทางเคมีสามารถใช้เป็นแนวทางใน และ Mg ซ่ึงยางต้องการมาก โดยอาจเพ่ิมเติมด้วยปุ๋ย การวินิจฉัยและตรวจสอบสถานะของธาตุอาหารในพืช โดโลไมทซ์ ง่ึ เป็นปยุ๋ ทีใ่ ห้ทัง้ ธาตุ Ca และ Mg และยงั ช่วย นั้น ๆ ได้ดี เนื่องจากความเข้มข้นของธาตุอาหารในส่วน ยกระดบั pH ของดินให้สงู ข้นึ ดว้ ย ปยุ๋ ทีใ่ หธ้ าตุ Mn และ ตา่ ง ๆ ของพชื มผี ลกระทบตอ่ การเติบโตของพืช ถา้ ความ S ไม่จ�ำเป็นต้องใส่เพ่ิมเติม เนื่องจากพบว่ามีอยู่สูง และ เขม้ ขน้ ต�่ำ พืชจะมีการเติบโตลดลง ถา้ ความเข้มขน้ สูง จะ ควรมีการจัดการเพ่ิมเติมคลุกเคล้าดินด้วยปูนบ้าง เพื่อ

17 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 ตารางที่ 1 ผลการวเิ คราะหค์ วามเขม้ ข้นของธาตอุ าหารในดินและใบยางจากการสำ� รวจ ในปี 2552 ความเป็นกรดเปน็ ด่าง (pH) สถานะธาตุอาหารในดิน สถานะธาตุอาหารในใบ อนิ ทรียวตั ถุ (OM) 1. สวนยาง 7 แปลง (16%) มี ไนโตรเจน (N) 1. สวนยางทกุ แปลง (100%) ฟอสฟอรสั (P) pH อยู่ในระดับต�่ำกว่า มี N อยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะสม ระดับท่ีเหมาะสม (ระดับท่ี (ระดับท่ีเหมาะสมส�ำหรับ โพแทสเซียม (K) เหมาะสมส�ำหรับยาง คือ ยางคือ 3.3 - 3.7%) 4.5 - 5.5) 1. สวนยาง 17 แปลง (40%) 2. สวนยาง 36 แปลง (84%) มี มี P อยใู่ นระดับต่ำ� (ระดับ ท่ีเหมาะสมส�ำหรับยาง คือ pH อยใู่ นระดับท่ีเหมาะสม 0.20 - 0.25 %) 1. สวนยาง 13 แปลง (30%) 2. สวนยาง 19 แปลง (44%) มี OM อยู่ในระดับต�่ำ มี P อยู่ในระดับเหมาะสม (ระดับท่ีเหมาะสมส�ำหรับ 1. สวนยาง 41 แปลง (95%) ยาง คือ > 1.0%) มี K อยใู่ นระดบั ตำ�่ (ระดบั 2. สวนยาง 30 แปลง (70%) มี ท่ีเหมาะสมส�ำหรับยาง คือ 1.35 - 1.65%) OM อยูใ่ นระดบั ทีเ่ หมาะสม - 1. สวนยาง 35 แปลง (85%) มี P ที่เป็นประโยชน์อยู่ใน ระดบั ต�ำ่ (ระดบั ทีเ่ หมาะสม ส�ำหรับยาง คือ 11 - 30 มก./กก.) 2. สวนยาง 6 แปลง (15%) มี P ที่เป็นประโยชน์อยู่ใน ระดับต�่ำ 1. สวนยางทุกแปลง (100%) มี K ท่ีเป็นประโยชน์อยู่ใน ระดบั ตำ่� (ระดบั ทีเ่ หมาะสม ส�ำหรับยาง คอื 117 - 176 มก./กก.)

18 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ตารางที่ 1 (ตอ่ ) ผลการวเิ คราะหค์ วามเขม้ ขน้ ของธาตอุ าหารในดนิ และใบยางจากการสำ� รวจ ในปี 2552 สถานะธาตอุ าหารในดิน สถานะธาตุอาหารในใบ แคลเซียม (Ca) 1. สวนยาง 13 แปลง (30%) มี 1. สวนยาง 3 แปลง (7%) มี แมกนีเซยี ม (Mg) Ca อยู่ในระดบั ต�่ำ (ระดบั ท่ี Ca อยู่ในระดบั ต่ำ� (ระดบั ที่ ก�ำมะถัน (S) เหมาะสมส�ำหรับยาง คอื > คาดว่าน่าจะเพียงพอ แมงกานสี (Mn) 60 มก./กก.) ส�ำหรับยาง คอื 0.5 -0.7%) 2. สวนยาง 40 แปลง (93%) 2. สวนยาง 30 แปลง (70%) มี Ca อยู่สูงกว่าระดับที่ มี Ca อยใู่ นระดบั ทเี่ หมาะสม คาดวา่ นา่ จะเพียงพอ 1. สวนยาง 31 แปลง (72%) มี 1. สวนยาง 1 แปลง (2%) มี Mg อยู่ในระดับต่�ำ (ระดับ Mg อยู่ในระดับต่ำ� (ระดบั ที่ ท่ีเหมาสมส�ำหรับยาง คือ เหมาะสมส�ำหรับยาง คือ > 0.20 - 0.25 %) 36 มก./กก.) 2. สวนยาง 15 แปลง (35%) 2. สวนยาง 12 แปลง (28%) มี มี Mg อยู่ในระดับสูงกว่า Mg อยู่ในระดับที่เหมาะสม ระดับทเ่ี หมาะสม 1. สวนยาง 43 แปลง (100%) 1. สวนยาง 20 แปลง (47%) มี S* อยใู่ นระดับสงู มี S อยู่ในระดับตำ�่ 2. สวนยาง 23 แปลง (53%) มี S อยู่ในระดับเหมาะสม (ไมส่ ามารถวิเคราะห์ได้) ถงึ สูง 1. สวนยาง 11 แปลง (26%) มี M n อ ยู ่ ใ น ร ะ ดั บ ท่ี เหมาะสม 2. สวนยาง 32 แปลง (74%) มี Mn อย่ใู นระดบั สงู ถงึ สูง มาก * เนอื่ งจากไมม่ คี า่ มาตรฐานมาเปรยี บเทยี บ จงึ เปรยี บเทยี บกบั คา่ มาตรฐานของดนิ ทว่ั ไปแทน คอื 5 – 10 มลิ ลกิ รมั /กโิ ลกรมั (Jones, 2001)

19 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ตารางท่ี 2 ผลการวเิ คราะหค์ วามเขม้ ขน้ ของธาตอุ าหารในดนิ และใบยางจากการสำ� รวจ ในปี 2559 - 2560 ความเปน็ กรดเปน็ ดา่ ง (pH) สถานะธาตุอาหารในดิน สถานะธาตอุ าหารในใบ 1. สวนยาง 29 แปลง (26%) มี อินทรียวตั ถุ (OM) 1. สวนยางทกุ แปลง (100) มี ไนโตรเจน (N) pH อยูใ่ นระดบั ทีไ่ มเ่ หมาะ- N อยู่ในระดบั ต�ำ่ ฟอสฟอรัส (P) สม (มีท้ังที่อยู่ในระดับต่�ำ 1. สวนยาง 62 แปลง (56%) มี กว่าและสูงกว่าระดับท่ี P อย่ใู นระดับตำ�่ โพแทสเซยี ม (K) เหมาะสม) 2. สวนยาง 48 แปลง (44%) มี แคลเซียม (Ca) 2. สวนยาง 81 แปลง (74%) มี P อย่ใู นระดับที่เหมาสม 1. สวนยางทุกแปลง (100%) pH อยู่ในระดบั ท่ีเหมาะสม มี K อยใู่ นระดับตำ�่ 1. สวนยาง 15 แปลง (14%) มี 1. สวนยาง 80 แปลง (73%) มี OM อยู่ในระดับต�ำ่ Ca อยู่ในระดับต่�ำ 2. สวนยาง 95 แปลง (86%) มี 2. สวนยาง 80 แปลง (73%) มี OM อยู่ในระดับปานกลาง Ca อยู่ในระดบั ทเ่ี หมาะสม - 1. สวนยาง 83 แปลง (92%) มี P ท่ีเป็นประโยชน์อยู่ใน ระดับต�ำ่ 2. สวนยาง 27 แปลง (8%) มี P ท่ีเป็นประโยชน์อยู่ใน ระดบั ที่เหมาะสม 1. สวนยางทุกแปลง (100%) มี K ท่ีเป็นประโยชน์อยู่ใน ระดับตำ�่ 1. สวนยาง 34 แปลง (31%) มี Ca อยใู่ นระดับต�่ำ 2. สวนยาง 76 แปลง (69%) มี Ca อยู่ในระดับท่ีเหมาะสม

20 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ ุนายน 2563 ตารางที่ 2 (ตอ่ ) ผลการวเิ คราะหค์ วามเขม้ ขน้ ของธาตอุ าหารในดนิ และใบยางจากการสำ� รวจ ในปี 2559 - 2560 แมกนเี ซียม (Mg) สถานะธาตุอาหารในดิน สถานะธาตอุ าหารในใบ ก�ำมะถัน (S) 1. สวนยาง 70 แปลง (64%) 1. สวนยาง 58 แปลง (53%) เหลก็ (Fe) มี Mg อยู่ในระดบั ต�ำ่ มี Mg อยูใ่ นระดับต่�ำ ทองแดง (Cu) 2. สวนยาง 70 แปลง (64%) 2. สวนยาง 52 แปลง (47%) สังกะสี (Zn) มี Mg อยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะ- มี Mg อยใู่ นระดับทเี่ หมาะ- แมงกานีส (Mn) สม สม 1. สวนยางทุกแปลง (100%) 1. สวนยาง 32 แปลง (29%) มี S อยใู่ นระดบั ทเี่ หมาะสม มี S อยใู่ นระดับตำ�่ 2. สวนยาง 78 แปลง (71%) 1. สวนยาง 17 แปลง (15%) มี S อยู่ในระดับท่ีเหมาะ มี Fe อยใู่ นระดบั ตำ�่ สมถึงสูง 2. สวนยาง 93 แปลง (85%) 1. สวนยาง 91 แปลง (83%) มี Fe อยู่ในระดับทเ่ี หมาะ- มี Fe อยู่ในระดบั ตำ�่ สมถึงสูง 2. สวนยาง 19 แปลง (17%) 1. สวนยาง 85 แปลง (77%) มี Fe อยู่ในระดับที่เหมาะ มี Cu อยู่ในระดับต่�ำ สม 2. สวนยาง 25 แปลง (23%) 1. สวนยาง 104 แปลง (95%) มี Cu อยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะ- มี Cu อยู่ในระดับตำ่� สมถงึ สงู 2. สวนยาง 6 แปลง (5%) มี 1. สวนยาง 102 แปลง (93%) มี Zn อย่ใู นระดับตำ่� Cu อยใู่ นระดบั ที่เหมาะสม 2. สวนยาง 8 แปลง (7%) มี Zn อยู่ในระดับทเ่ี หมาะสม 1. สวนยาง 64 แปลง (58%) 1. สวนยาง 23 แปลง (21%) มี มี Zn อยใู่ นระดับต่ำ� 2. สวนยาง 46 แปลง (42%) Mn อยใู่ นระดบั ทเี่ หมาะสม มี Zn อยู่ในระดับท่ีเหมาะ 2. สวนยาง 87 แปลง (79%) สม มี Mn อยู่ในระดับสูง 1. สวนยาง 18 แปลง (16%) มี Mn อยู่ในระดับท่เี หมาะสม 2. สวนยาง 92 แปลง (84%) มี Mn อยใู่ นระดบั สงู ถงึ สงู มาก

21 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ยกระดับ pH ของดินให้สูงข้ึนมาอยู่ในระดับเหมาะสม มุกดา สุขสวสั ดิ.์ 2544. ความอดุ มสมบูรณข์ องดนิ (soil เพอื่ ลดการละลายของธาตุ Mn รวมถงึ ธาตุโลหะอืน่ ๆ ท่ี fertility). ส�ำนกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร:์ กรงุ เทพมหานคร. เป็นพิษกับต้นยางออกมาสู่สารละลายดินในปริมาณท่ีสูง สถาบันวิจัยยาง. 2548. เอกสารวิชาการ การใช้ปุ๋ยและ แต่การใส่ปูนต้องระวังไม่ใส่ในปริมาณท่ีเท่ากับหรือใกล้ การปรับปรุงดินในสวนยาง. สถาบันวิจัยยาง เคียงกับค�ำแนะน�ำในพืชอ่ืน เน่ืองจากยางเป็นพืชที่ชอบ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์: ดินท่ีเป็นกรดจัด ไม่ชอบดินท่ีเป็นกรดอ่อนหรือเป็นกลาง กรงุ เทพมหานคร. พบว่าหากดินมี pH สูงกว่า 5.8 ต้นยางจะแสดงอาการ สนุ ทรี ยิ่งชัชวาลย์ และ จนิ ตณา บางจนั่ . 2549. ปรมิ าณ ผดิ ปกติออกมาทนั ที ธาตุอาหารหลกั ในตน้ ยางพาราพนั ธ์ุ RRIM 600. ว. วิทยาศาสตร์การเกษตร. 37: 353-364. เอกสารอ้างอิง วิเชียร จาฏพุ จน.์ 2550. ความอุดมสมบูรณข์ องดนิ (soil fertility). คณะทรัพยากร-ธรรมชาติ มหาวิทยาลัย คณาจารยภ์ าควชิ าปฐพวี ทิ ยา. 2541. ปฐพวี ทิ ยาเบอื้ งตน้ . สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ.่ ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัเกษตรศาสตร์ :กรุงเทพ Cheng, C., R. Wang and J. Jiang. 2007. Variation of มหานคร. soil fertility and carbon sequestration by นุชนารถ กังพิสดาร. 2551. การใช้ปุ๋ยยางพาราตามค่า planting Hevea brasiliensis in Hainan Island, วเิ คราะหด์ นิ และพชื . สถาบนั วจิ ยั ยาง กรมวิชาการ- China. Journal of Environmental Science 19: เกษตร: กรุงเทพมหานคร. 348-352. พิศมัย จันทุมา. 2551. การกรีดยางและสรีรวิทยาที่ Jones, J. B. 2001. Laboratory Guide for Conducting เก่ียวข้อง. เอกสารประกอบการฝึกอบรมเจ้า Soil Test and Plant Analysis. CRC Press: London. หน้าที่กรมวิชาการเกษตร หลักสูตรวิชายาง. Krishnakumar, A. K. and S. N. Potty. 1992. Nutrition ส ถ า บั น วิ จั ย ย า ง ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร : of Hevea. In: Auzac, J., J. Jacob, and H. กรุงเทพมหานคร. Chrestin. (ed.) Natural Rubber: Biology, ภรภทั ร สุชาติกลู , อรพิน หนูทอง และ จติ ตลิ ักษณ์ เหมะ. Cultivation and Technology. Rubber 2562. การจัดท�ำค่ามาตรฐานเพ่ือการวินิจฉัย Research Institute of India: Netherlands. pp. สถานะธาตุอาหารในดินและใบ ส�ำหรับยางพารา 239-257. พนั ธ์ุ RRIT 251 ในระยะกอ่ นเปดิ กรดี . ว. ยางพารา 40(1): 13-38.

22 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ ุนายน 2563 ตารางที่ 10 เฉล่ยี ความแตกต่างของผลการทดสอบหลงั จากใส่ 4, 8 และ16 สปั ดาห์ กบั ก่อนใส่ การวดั ปรระหมิ ว่างากลณุ่มยางโป(PI)รแลตะกีนลุ่มทโฟม่ีเมกาตี่ยรฐวานขของ้อโรงงพยกาบับาลก(CIา) รไหล ของนำ�้ ยาง (CS-HLLBP): วิธกี ารหนึง่ ท่นี ่าจะ นำ� มาใช้ในการคัดเลอื กพนั ธุย์ างเบ้อื งต้น ภัทธาวุธ จิวตระกูล* 93/75 นพิ ัทธ์สงเคราะห์ 5 ต. หาดใหญ่ อ. หาดใหญ่ จ. สงขลา 90110 e-mail: [email protected] ในการปรับปรุงพันธุ์ยางโดยใช้วิธีผสมพันธุ์และ เอนไซม์ดังกล่าวค่อนข้างยุ่งยาก ต้องอาศัยสารเคมีท่ีผูก คัดเลือกพันธุ์ยาง ต้องผ่านขั้นตอนการคัดเลือกลูกผสมที่ ติดกับสารกัมมันตภาพรังสี (DL-314HMG CoA) และ ได้จากการผสมพันธุ์ (Hand pollination) ซ่ึงท่ีปฏิบัติกัน เครื่องมือส�ำหรับวัดกัมมันตรังสี (Liquid scintillation มาจะใช้ผลผลิตยางของต้นยางที่มีอายุ 3 ปี เป็นเกณฑ์ counter) อย่างไรก็ตาม ถ้าหากสามาถน�ำมาใช้ได้ จะ ในการคัดเลือกต้นลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูง วิธีดังกล่าว ช่วยให้งานปรับปรุงพันธุ์มีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน แต่ทั้งนี้ พบว่า การให้ผลผลิตน้�ำยางของลูกผสมท่ีปลูกในระยะ ต้องมีวิธีการตรวจวัดปริมาณเอนไซม์ในน้�ำยางท่ีง่าย ดังกล่าวจะมีความสัมพันธ์กับการให้ผลผลิตในระยะ รวดเร็ว และมีต้นทุนไม่สูงมาก เน่ืองจากลูกผสมที่ผลิต เปรียบเทียบพันธุ์ยางข้ันปลายเพียง 42 เปอร์เซ็นต์ ออกมาในแต่ละชุดมจี �ำนวนมาก (กรรณิการ,์ 2562) แสดงให้เห็นวา่ การวัดผลผลติ น�ำ้ ยาง ส�ำหรับในกรณีของโปรตีนท่ีเกี่ยวข้องกับการไหล ของลูกผสมที่ปลูกในระยะต้นกล้าเพียงอย่างเดียวไม่ ของน�้ำยาง (CS-HLLBP) ซ่ึงทผ่ี ่านมา ไดม้ ีการศึกษากนั เพียงพอที่จะแสดงถึงความสามารถในการให้ผลผลิต มามาก ทั้งในเรื่องของกลไกที่เก่ียวข้องกับการเกิดการ ของต้นยางที่โตเต็มที่แล้ว จึงสมควรท่ีจะมีตัวบ่งชี้อ่ืน ๆ อุดตันของท่อน�้ำยาง ความสัมพันธ์กับผลผลิตยาง และ เข้ามาเสริม โดยเฉพาะอย่างย่ิง ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับ วิธีการตรวจวัดที่ไม่ยุ่งยาก ดังนั้น บทความนี้จะน�ำมา การสังเคราะห์ยางภายในท่อน�้ำยาง และการไหลของน�้ำ เสนอเร่ืองราวต่าง ๆ เกี่ยวกับโปรตีน CS-HLLBP ท่ีได้ ยาง ซึ่งท้ังสองตัวเป็นท่ีเป็นปัจจัยหลักของการให้ผลผลิต จากการศึกษาคน้ คว้าวจิ ยั เพื่อใหน้ กั ปรบั ปรุงพันธยุ์ างน�ำ นำ�้ ยาง (Jacob et al., 1989 ) ไปพิจารณาใช้เป็นตัวบ่งชี้ในการคัดเลือกพันธุ์ยางข้ันต้น ในกรณีของการใช้ตัวบ่งช้ีที่เกี่ยวข้องกับการ ต่อไป สังเคราะหย์ างภายในท่อน�้ำยาง เชน่ เอ็มไซม์ HMG-CoA reductase ซ่ึงพบว่ามีความสัมพันธ์กับผลผลิตค่อนข้าง สูง (Wititsuwannakul et al.,1988) แต่การน�ำมาใช้ บทบาทของ CS-HLLBP ประโยชน์ในการคัดเลือกพันธุ์ยางเบ้ืองต้นยังมีข้อจ�ำกัด ในการน�ำมาใช้ในทางปฏิบัติเนื่องจากการวัด Activity เม่ือน�ำน�้ำยางสดใส่ในหลอดแก้ว แล้วน�ำมาปั่น ในเครือ่ งป่ันความเร็วสงู (Ultracentrifuge) ปรากฏวา่ น�้ำ ยางในหลอดแกว้ แยกออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ (Cook and * อดตี นกั วชิ าการศนู ยว์ จิ ยั การยาง และศนู ยว์ จิ ยั ยางสงขลา อ. หาดใหญ่ จ. สงขลา (ระหวา่ งปี 2517-2553)

23 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 Sekhar, 1953; Moir, 1959) คือ ชน้ั บนสดุ เป็นส่วนของ ส่ิ ง ท่ี เ กิ ด ค�ำ ถ า ม ต ่ อ ม า ก็ คื อ ชิ้ น ส ่ ว น ข อ ง ยาง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 โซน ล่างสุดหรือก้นหลอด เป็น อนุภาคลูทอยด์ที่แตกตัวน้ัน ช่วยให้อนุภาคยาง โดย อนภุ าคที่สามารถตกตะกอนได้ เรียกวา่ Bottom fraction เฉพาะอย่างยง่ิ อนภุ าคยางในโซน 2 (ภาพที่ 1) รวมตวั กัน ซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่ อนุภาคลูทอยด์ (Lutoid) และตรง เป็นกลุ่ม และไปขัดขวางการไหลของน�้ำยางในเวลาต่อ กลางหลอด เป็นของเหลวอยู่ในรูปของซีร่ัม เรียกว่า มาได้อย่างไร ในประเด็นนี้ Wititsuwannakul et al. C-serum (ภาพท่ี 1) สภาพดังกล่าวจะเกิดข้ึนในท่อน�้ำ (2008) ได้ให้ค�ำอธิบายไว้ว่า ที่ผิวของอนุภาคยางขนาด ยาง โดยที่อนุภาคต่าง ๆ จะแยกกันอยู่ เป็นอิสระต่อกัน เล็ก (โซน 2) จะมีไกลโคโปรตีน (ใช้ชื่อย่อว่า RP-HLLBP) และแขวนลอยอยู่ใน C-serum ตราบใดท่ีไม่มีสิ่งใด ๆ ซ่ึงมีน�้ำหนักโมเลกุลขนาด 24 KDa (วิเคราะหโ์ ดย SDS- มารบกวน แต่ถ้าเปลือกถูกกรีดเพ่ือเอาน้�ำยาง สถาวะ PAGE) จะท�ำหน้าที่เป็น Ligand ส�ำหรับโปรตีนท่ีอยู่ใน ต่าง ๆ ภายในท่อน้�ำยางจะเกิดการเปล่ียนแปลง เช่น เมมเบรมของอนุภาคลูทอยด์ซึ่งท�ำหน้าท่ีเหมือนเลคติน Turgor pressure จะลดลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะใต้ (ใชชื่อย่อวา่ HLL) และมนี ำ้� หนักโมเลกุลขนาด 17 KDa รอยกรดี ลงมาเลก็ น้อย ซ่ึงการสญู เสีย Turgor pressure (วเิ คราะหโ์ ดย SDS-PAGE) เพื่อกอ่ ให้เกิดรวมตัวกันของ ในท่อน้�ำยางจะไปรบกวนความสมดุลของระบบออสโม อนุภาคยาง ในขณะที่ไกลโคโปรตีนที่อยู่ใน C-serum ซิส ผลท่ีตามมาก็คือ ก่อให้เกิด Suction pressure ซึ่ง (ใชช้ ่ือย่อว่า CS-HLLBP) และมนี ำ�้ หนักโมเลกลุ ขนาด 40 เป็นสาเหตุท�ำให้มีการไหลของน�้ำจากเซลล์ข้างเคียงเข้า KDa (วิเคราะห์โดย SDS-PAGE) จะท�ำหน้าท่ีในการขัด ส่ทู ่อนำ้� ยาง เกดิ Osmotic shock ซ่ึงจะท�ำความเสียหาย ขวางการรวมตัวของอนุภาคยาง และรักษาไว้ซ่ึงความ ต่ออนภุ าคลูทอยด์ จากนน้ั ชิ้นสว่ นของอนภุ าคลทู อยด์จะ เสถยี รของสภาพท่เี ปน็ Colloid ของนำ้� ยาง คณะผวู้ จิ ยั ยัง รวมตวั กบั อนภุ าคยาง เกิดเป็น Flocs ซงึ่ จะไปสะสมตรง ได้แสดงให้เห็นว่า การอุดตันของท่อน�้ำยางซ่ึงต้องอาศัย ปลายท่อบริเวรรอยกรีด น่ันคือจุดเร่ิมต้นของขบวนการ การรวมตัวของอนุภาคยาง หลัก ๆ แล้ว ขึ้นอยู่กับ อดุ ตันของท่อนำ�้ ยาง (Pakianathan et al., 1966; Paki- ปฏิกิริยาระหว่าง HLL กับ RP-HLLBP ไม่ใช่ HLL กับ anathan and Milford, 1973) CS-HLLBP และความส�ำเร็จในการเกิดการจับตัวของ อนุภาคยางจนเกิดเป็นก้อนยางเม็ดเล็ก ๆ (Coagulum) ขึ้นมาได้ จ�ำนวนของ HLL binding sites ที่ยังไม่ถูกจับ ตัว ควรมีจ�ำนวนมากกว่าทถ่ี กู จับตวั ดว้ ย CS-HLLBP ดงั นนั้ ยงิ่ มีจ�ำนวนของ HLL binding sites ท่ียงั คงไมถ่ ูกจบั ตัวด้วย CS-HLLBP มากขนึ้ เทา่ ไหร่ กย็ ิ่งมีโอกาสส�ำหรับ การเกิดการจับตัวกันของอนุภาคยางจนเป็น Coagulum มากข้ึน หรือในทางตรงกันข้าม ถ้าหาก ย่ิงมีจ�ำนวนของ HLL binding sites ท่ีถูกจบั ตวั ดว้ ย CS-HLLBP มากข้นึ เท่าไหร่ โอกาสส�ำหรับการเกิดการจับตัวกันของอนุภาค ยางจนเปน็ Coagulum กย็ ง่ิ มีนอ้ ยลง สรุปกค็ อื ต้นยางท่ี มี CS-HLLBP ในน�้ำยางสูง ต้นยางหลังจากกรีดจะมี โอกาสให้ผลผลิตได้สูง เนื่องจากมีการไหลดีขึ้น หรือเกิด การอุดตนั ภายในทอ่ น�ำ้ ยางนอ้ ยลง ภาพที่ 1 นำ�้ ยางสดหลงั จากปน่ั ดว้ ยความเรว็ สงู อนภุ าคยางทอ่ี ยบู่ นสดุ ของ การวดั ปรมิ าณของ CS-HLLBP หลอด จะแยกตวั ออกเปน็ 3 โซน (ทม่ี า: Yeang et al., 1995) ในนำ�้ ยาง เน่ืองจาก CS-HLLBP เป็นโปรตีนที่อยู่ในส่วน

24 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 C-serum ของน้�ำยาง ดังน้ัน การวัดปริมาณของ CS- คอลัมน์ Gel infiltration เพื่อเกบ็ เฉพาะสารละลายโปรตนี HLLBP ต้องกระท�ำในขณะที่น้�ำยางยังไม่สูญเสียสภาพ ทม่ี ี Activity ของ CS-HLLBP สงู ๆ (วัดโดยใช้วิธี H.I.) มา ท่ีเป็น Colloid หรือเม่ือน�ำน้�ำยางมาปั่นในเครื่องปั่น แยกแถบโปรตีนด้วยวิธี SDS-PAGE จากน้ันถ่ายแถบ ความเรว็ สูง น�ำ้ ยางตอ้ งแยกออกเปน็ 3 ส่วน ดงั ภาพที่ 1 โปรตนี จาก Acrylamide gel ลงบนเมมเบรน Immobilion และที่ส�ำคัญคือ ส่วนของ C-serum ต้องใส ไม่ขุ่น ด้วยวิธี Electrblotting เพอ่ื ตดั เอาเฉพาะแถบโปรตีน CS- เนอ่ื งจากการเจอื ปนของผนังลูทอยดท์ ี่แตก HLLBP มาสกดั ใหไ้ ด้เป็นโปรตีนบรสิ ุทธ์ิ (ภาพที่ 3) การวัดปรมิ าณของ CS-HLLBP ทอ่ี ยู่ใน C-serum 2. น�ำโปรตีน CS-HLLBP ทบ่ี รสิ ทุ ธิ์ จากขอ้ 1 มา สามารถกระท�ำได้ 2 วิธี คือ วิธีแรก เป็นการวัดความ ฉีดเข้าไปในตัวกระต่าย โดยใช้กระต่ายพันธุ์ New Zea- สามารถในการยับยั้งการเกาะตัวของเม็ดเลือดแดง land (ตัวขาว ตาแดง) จ�ำนวน 5 ตัว ฉีดโปรตีน CS- (Haemagglutination inhibition, H.I.) ท่ีเกดิ จากเลคตนิ HLLBP 2 คร้ัง ท่ีกลางหลังและต้นคอตามค�ำแนะน�ำของ ซึ่งผลที่ได้แต่ละครั้งจะมีความแตกต่างกัน เนื่องจาก Dunbar and Schwoebel (1990) เพอื่ กระต้นุ ใหก้ ระตา่ ย ความไม่คงท่ีของคุณสมบัติเม็ดเลือดแดงของกระต่าย สรา้ งแอนตบิ อดี ฉีดครัง้ แรก และหลงั จากครัง้ แรก 21 วนั แต่ละตัวท่ีน�ำมาใช้ วิธีน้ีจึงไม่เหมาะกับตัวอย่างที่มี เม่ือครบ 30 วันหลังจากฉีดคร้ังแรก เก็บเลือดกระต่าย จ�ำนวนมาก วิธีท่ีสอง เป็นวิธีทางอิมมูโนวิทยา ซึ่ง แต่ละตัวมาตรวจหาแอนติบอดีท่ีจ�ำเพาะกับโปรตีน CS- เก่ียวขอ้ งกบั แอนติบอดแี ละเอ็มไซม์ (Enzyme immuno- HLLBP โดยใช้วธิ ี Indirect ELISA ผลปรากฏวา่ กระต่าย assay) วิธีนี้ให้ผลทแ่ี ม่นย�ำ และงา่ ยตอ่ การปฏิบตั ิ และที่ แต่ละตัวสร้างแอนติบอดีท่ีจ�ำเพาะกับโปรตีน CS- ส�ำคัญคือ สามารถใช้กับตัวอย่างที่มีจ�ำนวนมากได้ เช่น HLLBP ไดไ้ มเ่ ทา่ กนั โดยทีก่ ระต่ายตวั ที่1 มี Titer ต�ำ่ สดุ ในกรณีของการคัดเลอื กพันธ์ุเบ้ืองต้น ดังนั้น การฉีดโปรตีน CS-HLLBP ในคร้ังต่อไป (40 วัน วิธีทางอิมมูโนวิทยา ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วน หลังจากฉีดครั้งแรก) ซึ่งเป็นการฉีดเพื่อหวังผลในการ แรก ไดแ้ ก่ การสร้างแอนติบอดี (Polyclonal antibody) เก็บเกี่ยวแอนติบอดี จึงได้ตัดกระต่ายตัวท่ี1ออกไป ท่ีมีความจ�ำเพาะกับโปรตีน CS-HLLBP (Anti - CS- ผลจากการเก็บเลือดกระต่ายแต่ละตัว (ตัวที่ 2-5) มา HLLBP IgG) ในตัวกระต่าย ส่วนท่ีสอง เป็นการศึกษา ตรวจหาแอนตบิ อดีเมื่อ 7 และ 14 วันหลังจากฉดี โปรตนี ปัจจัยต่าง ๆ ที่เหมาะสมท่ีจะน�ำมาใช้กับเทคนิคการวัด CS-HLLBP ในครั้งสุดท้าย ผลปรากฏว่าซีร่ัมเลือด แบบ Indirect ELISA (ดขู ั้นตอนการปฏิบัตใิ นภาพที่ 2) กระตา่ ยตวั ท่ี 4 มี Titer ของแอนตบิ อดีสูงสดุ รองลงมาได้ ที่ส�ำคัญได้แก่ ความเจือจางของซีรั่มเลือดกระต่าย หรือ แก่ซีร่ัมเลือดกระต่ายตัวท่ี 3‚ 2 และ 5 ตามล�ำดับ ปรมิ าณของ IgG, ช่วงความเขม้ ข้นของโปรตนี ทีจ่ ะน�ำมา นอกจากนี้ยังพบว่า เลือดกระต่ายที่เก็บเมื่อ 7 และ 14 สร้างกราฟมาตรฐาน (Standard curve), ความเจือจาง วันหลงั จากฉดี คร้งั สดุ ทา้ ย มี Titer ในซีรัม่ โดยเฉลย่ี แลว้ ของ C-serum ที่จะน�ำมาเคลือบหลุมของ ELISA plate ไม่แตกต่างกนั แต่ก็มี Titer สูงกวา่ เลือดท่ีเก็บทดสอบใน รวมถึงระยะเวลาการเคลือบหลุมดว้ ยโปรตนี CS-HLLBP ครง้ั แรกคอ่ นข้างมาก (ภาพท่ี 4) และ C-serum หลังจากที่ทราบว่ากระต่ายตัวไหนสมควรท่ีจะ ในการวดั ปรมิ าณของ CS-HLLBP ทอ่ี ยใู่ น C-serum เล้ียงไว้เพื่อผลิตแอนติบอดีส�ำหรับใช้งาน ซึ่งสามารถ โดยวิธีทางอิมมูโนวิทยา ภัทธาวุธ และคณะ (2550) ได้ กระท�ำได้โดยการฉีดโปรตีนให้กระต่ายสร้างแอนติบอดี สรุปขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ และผลการศึกษาไวด้ งั นี้ เป็นระยะ ๆ เช่น ทุก ๆ 1 เดือน ก็จะได้แอนติบอดีใน 1. การเตรียมโปรตีนท่ีบริสุทธิ์เพ่ือน�ำไปฉีด ปริมาณมาก และสามารถเก็บรักษาในรูปของซีร่ัมท่ี กระต่าย หรือสร้างแอนติบอดีที่จ�ำเพาะกับโปรตีน CS- อุณหภมู ิ -20 องศาเซลเซยี ส ไดเ้ ปน็ เวลาหลายปี HLLBP เริ่มตั้งแต่น�ำ C-serum จากน�้ำยางสดมาตก เกี่ยวกับความจ�ำเพาะของแอนติบอดีท่ีมีต่อ โปรตีนด้วยเกลือแอมโมเนียมซัลเฟต และ Cold โปรตนี CS-HLLBP จากการทดสอบโดยใชว้ ิธี Western- acetone จากน้ันน�ำสารละลายโปรตีนท่ีได้ไปผ่าน blots ปรากฏว่า แอนติบอดีที่ผลิตได้จากกระต่ายในครั้ง

25 ฉบบั อิเลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 1. เคลือบโปรตีน CS-HLLBP 2. Block plate หรือโปรตีนจาก C-serum (Cs) ลงในหลมุ ของ ELISA plate เจือจาง Standard Incubation ลา ง plate 3 ครั้ง และตวั อยา ง แบบ (12 ชม. ท่ี 4º เซลเซียส) แลว ติมสารละลาย BSA Serial dilution Incubation (1 ชม. ที่ 37º เซลเซียส) 3. แอนตบิ อดตี ัวแรก ลา ง plate 3 คร้ัง แลว เตมิ Rabbit anti - Cs-HLLBP IgG Incubation 5. ปฏิกิริยาทีเ่ กิดสี (1 ชม. ท่ี 37º เซลเซยี ส) 4. แอนตบิ อดตี วั ทส่ี อง Incubation E ลา ง plate 3 ครัง้ (1 ชม. ท่ี 37º ลาง plate 5 ครง้ั แลวตมิ Goat anti- แลว ติมสารละลาย เซลเซยี ส) ทีเ่ ปน Developer rabbit IgG ท่มี เี อนไซม เปอรออกซเิ ดส เช่อื มติด 6. หยุดปฏกิ ริ ยิ า E Incubation แลว อานคา O.D. ที่อณุ หภมู หิ อ ง ที่ 492 nm 10-30 นาที E โปรตนี CS-HLLBP สำหรับทำ แอนติบอดีของกระตาย แอนติบอดขี องแพะทเี่ ชอ่ื มติด Standard curve หรอื โปรตนี ท่ีมคี วามจำเพาะตอ กบั เอนไซมเ ปอรอ อกซเิ ดส จาก C-serum ทจี่ ะนำมาวดั โปรตนี CS-HLLBP และมีความจำเพาะตอ แอนตบิ อดีของกระตา ย ปรมิ าณ CS-HLLBP ภาพท่ี 2 แผนภาพแสดงขน้ั ตอนการวดั ปรมิ าณ CS-HLLBP โดยวธิ ี Indirect ELISA

26 ฉบบั อิเลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ ุนายน 2563 kDa kDa kDa F8 F9 F10 F11 F12 kDa HLLBP 94 94 94 67 67 67 43 30 43 43 30 30 20 20 20 14 14 14 A BC ภาพท่ี 3 SDS-PAGE (12% Gel) ของโปรตนี ในขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ของการทำ� บรสิ ทุ ธโิ์ ปรตนี CS-HLLBP ตามลำ� ดบั ดงั น้ี (A) โปรตนี ทอี่ ยใู่ น C-serum ซงึ่ เปน็ โปรตนี ตง้ั ตน้ ในการทำ� บรสิ ทุ ธ,ิ์ (B) โปรตนี หลงั จากผา่ นคอลมั น์ Gel infiltration (Bio-gel P300) และเกบ็ เฉพาะ Fraction ทมี่ ี Activity ของ CS-HLLBP สงู ๆ (F8 - F10) และ (C) โปรตนี CS-HLLBP ทบ่ี รสิ ทุ ธิ์ ทไ่ี ดจ้ ากการตดั แถบโปรตนี ทอ่ี ยบู่ นเมมเบรม PVDF (Immobilion) แลว้ นำ� มาสกดั โปรตนี ออกจากนเมมเบรมโดยใชบ้ ฟั เฟอร์ Tris- HCl, pH 9.5 ทม่ี ี 1% Triton X-100 เปน็ สว่ นผสม (ทมี่ า: ภทั ธาวธุ และคณะ, 2550) 3.0 30 วัน หลงั จากฉีดคร้งั แรก 2.5 47 วนั หลังจากฉีดครงั้ แรก 52 วนั หลงั จากฉดี คร้ังแรก 2.0 O.D. 1.5 1.0 0.5 0.0 2 13:1,0040 5 2 13:5,0040 5 2 13:10,0040 5 กระตา ยตัวท่ี/ความเจอื จางของซรี ัม่ กระตา ย ภาพที่ 4 เปรยี บเทยี บ Titer ของแอนตบิ อดใี นซรี ม่ั เลอื ดกระตา่ ยตวั ที่ 2 - 5 ทเ่ี กบ็ แตล่ ะครงั้ (30, 47 และ 52 วนั หลงั จากฉดี ครงั้ แรก) ทดสอบโดยวธิ ี Indirect ELISA (ทม่ี า: ภทั ธาวธุ และคณะ, 2550)

27 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 37 องศาเซลเซียส จากน้ัน Incubate ด้วยซีร่ัมเลือด กระตา่ ย (ตัวที่ 4 เกบ็ เลือดครงั้ ที่ 3) ทเี่ จอื จางในบฟั เฟอร์ น้ีมีความจ�ำเพาะต่อโปรตีน CS-HLLBP ค่อนข้างสูง 2,000, 4,000 และ 8,000 เทา่ ผลจากการวัดปฏกิ ิริยาสที ี่ (ภาพที่ 5) เกิดข้ึนหลังจากได้ปฏิบัติครบขั้นตอนตามวิธีของ Indi- 3. ศึกษาปัจจยั ต่าง ๆ ท่เี หมาะสมที่จะน�ำมาใชก้ บั rect ELISA ปรากฏวา่ การใชซ้ รี มั่ เลือดกระตา่ ยที่เจือจาง เทคนิคการวัดแบบ Indirect ELISA ซึ่งจากการทดลอง ด้วยบัฟเฟอร์ 4,000 เท่า มีความเหมาะสมที่สุดในการ เคลือบหลุมด้วยโปรตีน CS-HLLBP และโปรตีนจาก C- สร้างกราฟมาตรฐานและการวัดปริมาณของ CS- serum ที่ระดับความเข้มข้นที่ลดลง 2 เท่า (Serial dilu- HLLBP ทอ่ี ยู่ใน C-serum เน่ืองจากผลทีไ่ ดอ้ ยู่ในช่วงของ tion) โดยความเข้มข้นสูงสุดเท่ากับ 16 ไมโครกรัมต่อ ค่า O.D. ที่ไม่สูงหรือต�่ำเกินไป นอกจากนี้ยังพบว่า การ หลุมของ ELISA plate และความเข้มข้นต่�ำสุดเท่ากับ เคลอื บหลุมของ ELISA plate ด้วยโปรตีนจาก C-serum 0.25 ไมโครกรัมต่อหลุม เป็นระยะเวลานาน 1ชั่วโมง ที่ ท่ีระดับความเข้มข้น 8 ไมโครกรัมต่อหลุม ให้ค่า O.D. สูงสุด ในทุกระดับความเจือจางของซีรั่มเลือดกระต่ายท่ี ภาพที่ 5 ความจำ� เพาะของ Polyclonal antibody ทผ่ี ลติ ไดจ้ ากกระตา่ ยตวั ใช้ (ภาพท่ี 6) ที่4ตอ่ โปรตนี HLLBPทอี่ ยใู่ นC-serum ของนำ้� ยางสด ปฏิบัติโดยนำ� โปรตนี เกี่ยวกับระยะเวลาที่ใช้ในการเคลือบหลุม จาก จาก C-serum มาแยกแถบโปรตีนโดยวิธี SDS-PAGE ที่ความเข้มข้น 3 การทดลองเคลือบหลุมด้วย C-serum ควบคู่กับโปรตีน ระดับ คอื 40 ไมโครกรมั (Lane 1 และ 4), 20 ไมโครกรัม (Lane 2 และ 5) CS-HLLBP ที่ระดับความเข้มข้นที่ลดลง 2 เท่า (Serial และ 10 ไมโครกรมั (Lane 3 และ 6) จากน้นั ยา้ ยโปรตีนที่อยใู่ น Gel ลง dilution) โดยความเข้มขน้ สูงสุดเท่ากับ 16 ไมโครกรัมตอ่ บน Nitrocellulose membrane (ภาพ 5A ยอ้ มดว้ ย Ponceau S solution) หลุม และความเข้มข้นต�่ำสุดเท่ากับ 0.25 ไมโครกรัมต่อ น�ำเมมเบรน มา Incubate ต่อด้วยซีร่ัมกระต่ายที่เจือจาง 2 ระดับ คือ หลุม เป็นระยะเวลานานต่างกัน 3 เวลา คือ 1 ช่ัวโมง 1:500 (Lane 1-3) และ 1:1000 (Lane 4-6) ตามดว้ ย Anti-rabbit IgG ที่ (ท่ี 37 องศาเซลเซียส) 4 ช่ัวโมง (ที่ 37 องศาเซลเซียส) มเี อนไซม์ Peroxidase เช่อื มตดิ ตรวจการจับระหวา่ งโปรตนี HLLBP กับ และ 24 ชัว่ โมง (ท่ี 4 องศาเซลเซียส) จากน้นั Incubate IgG โดยดูปฏิกิริยาสีที่เกิดข้ึนหลังจากเติม Substrate solution ท่ีมี ดว้ ยซรี มั่ เลอื ดกระตา่ ย (ตวั ที่ 4 เกบ็ เลอื ดครงั้ ที่ 3) ทเ่ี จอื จาง Diaminobenzidine (DAB) เป็นส่วนผสม (ภาพ 5B) (ท่ีมา: ภัทธาวุธ ด้วยบัฟเฟอร์ 4,000 เท่า ผลจากการวัดปฏิกริ ยิ าสที ่ีเกิด และคณะ, 2550) ข้ึนหลังจากได้ปฏิบัติครบข้ันตอนตามวิธีของ Indirect ELISA ปรากฏว่า ระยะเวลาการเคลือบหลุมท่ียาวนาน ข้ึนมีผลท�ำให้ปริมาณโปรตีนท่ีเกาะติดในหลุมมีมากข้ึน (มีค่า O.D. เพิ่มขึ้น) โดยเห็นได้ชัดเจนกับโปรตีน CS- HLLBP แตใ่ นกรณี C-serum พบวา่ การเคลอื บหลมุ นาน 1 และ 4 ชม. ให้ผลไม่แตกต่างกัน นอกจากน้ียังพบว่า การเคลือบหลุมด้วยโปรตีนจาก C-serum ท่ีระดับความ เข้มข้น 8 ไมโครกรัมต่อหลุม ให้ค่า O.D. สูงสุดในทุก ระยะเวลาทีใ่ ชเ้ คลอื บหลุม (ภาพที่ 7) จากการน�ำผลการวิเคราะห์ปริมาณ CS-HLLBP ท่ีตรวจวัดในรูปของกรัมต่อคร้ังกรีด (ส�ำหรับวิธี Indirect ELISA) และ H.I. activity/tapping (ส�ำหรับวธิ ยี บั ยง้ั การ เกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดง) ไปวิเคราะห์หาความ สัมพันธ์กับผลผลิตยางแห้งของต้นยางพันธุ์ RRIM 600 ปรากฏว่า นอกจากปริมาณ CS-HLLBP ท่ีวิเคราะห์ได้

28 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 C-serum 3.0 3.5 CS-HLLBP 2.5 111::: 824000000000 111::: 248000000000 2.0 1.5 2.5 1.0 2.0 0.5 1.5 1.0 0 0.25 0.5 1 2 4 8 16 0.5 ไมโครกรมั /หลุม 0 0.25 0.5 1 2 4 8 16 ไมโครกรัม/หลมุ O.D. O.D. O.D. O.D. ภาพท่ี 6 การตอบสนองของpolyclonalantibodyตอ่ โปรตนี HLLBP และโปรตนี จากC-serumทรี่ ะดบั ความเขม้ ขน้ ตา่ งๆในIndirectELISA(ทีม่ า: ภทั ธาวุธ และ คณะ, 2550) 2.5 CS-HLLBP 2.5 C-serum ขา มคืน ขา มคนื 4 ชัว่ โมง 4 ชั่วโมง 2.0 1 ชว่ั โมง 2.0 1 ช่ัวโมง 1.5 1.5 1.0 1.0 0.5 0.5 0 0 0.25 0.5 1 2 4 8 16 0.25 0.5 1 2 4 8 16 ไมโครกรมั /หลมุ ไมโครกรัม/หลุม ภาพที่ 7 ผลของระยะเวลาการเคลอื บหลมุ ดว้ ยโปรตนี HLLBP และโปรตนี จาก C-serum ใน Indirect ELISA โดยใชซ้ รี มั่ ของเลอื ดกระตา่ ยตวั ท่ี 4 (เกบ็ ครง้ั ที่ 3) เจอื จางดว้ ย Buffer 4000 เทา่ (ท่ีมา: ภัทธาวธุ และคณะ, 2550) จากท้ังสองวิธีจะมีความสัมพันธ์ในระดับสูงกับผลผลิต ใช้วิธียับยั้งการเกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดงซึ่งเป็นวิธีที่ ยางแล้ว (ภาพที่ 8A และ 8B) ยังพบว่าปริมาณ CS- ค่อนข้างยุ่งยาก สามารถเปลี่ยนมาใช้วิธีทางอิมมูโน HLLBP ท่ีวิเคราะห์ได้จากท้ังสองวิธีมีความสัมพันธ์กัน วิทยา เช่น Indirect ELISA ซึ่งเป็นวิธีที่ค่อนข้างสะดวก ในระดับสูงอีกด้วย (ภาพท่ี 8C) หรือกล่าวได้ว่าในการ และแมน่ ย�ำกว่ากวา่ วิเคราะห์ปริมาณ CS-HLLBP จาก C-serum แทนท่ีจะ

(H.I.X103) ตอคร้ังกรีด140 40 120 100 20 r = 0.88 80 29 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 กรมั /ตน/คร้งั กรีด 60 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 40 160 r = 0.88 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งปริมาณ CS-HLLBP กบั ผลผลติ ยาง A20 140 0 0 20120 40 60 80 100 120 140 160 180 ตน้ ยางในช่วงเก็บเกย่ี วผลผลติ (H.I.X103) ตอค ั้รงก ีรด 100 กรมั /ตน/คร้ังกรดี ในระยะแรกของการศึกษาเกี่ยวกับโปรตีน CS- HLLBP นอกจากมีการศึกษาถึงสมบัติโดยท่ัว ๆ ไปของ 80 โปรตีนดังกล่าว เช่น น�้ำหนักโเลกุล สมบัติของการเป็น 60 14 ไกลโคโปรตีน และกลไกในการยับย้ังการรวมตัวของ 40 12 CS-HLLBP (กรัม) ตอค ้ัรงก ีรด อนุภาคยางขนาดเล็ก Wititsuwannakul et al. (2008) ยงั 20 10 r = 0.88 ได้รายงานถึงความสัมพันธ์ระว่างปริมาณของโปรตีน CS-HLLBP (ใช้วิธียับยั้งการเกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดง 0 0 208 40 60 80 100 120 140 160 180 ของกระตา่ ย) กับผลผลิตของตน้ ยางพันธ์ุ RRIM 600 โดย 6 กรัม/ตน/คร้ังกรีด CS-HLLBP (กรัม) ตอครั้งกรีด B14 4 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสมั พนั ธ์ (r) ทส่ี งู (ภาพท่ี 9) และหลงั r = 0.91 จากท่ีได้พัฒนาวิธีวัดปริมาณโปรตีน CS-HLLBP โดยใช้ 12 2 10 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180วิธี Indirect ELISA กไ็ ดม้ ีการ ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระวา่ ง กรมั /ตน /ครงั้ กรดี ปริมาณของโปรตีน CS-HLLBP กับผลผลิตของต้นยาง 8 อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งผลการศึกษาได้แสดงไว้แล้วในภาพท่ี 6 8(B) นอกจากน้ี ภทั ธาวธุ และคณะ (2550) ยังไดศ้ กึ ษา 4 14 ความสัมพันธ์ระว่างปริมาณของโปรตีน CS-HLLBP กับ 2 12 r = 0.91 ผลผลิตของยางพนั ธุ์ยางพนั ธุ์ RRIM 600 เปรยี บเทียบกับ CS-HLLBP (กรัม) ตอครั้งก ีรด 0 2010 40 60 80 100 120 140 160 180 ยางพนั ธ์ุ BPM 24 พบวา่ ยางพนั ธุ์ RRIM 600 มคี วาม 0 8 กรัม/ตน/ครง้ั กรดี เขม้ ข้นของโปรตนี CS-HLLBP ในน้�ำยางสูงกวา่ ยางพันธุ์ C14 6 BPM 24 เปน็ อย่างมาก (ประมาณเกอื บ 3 เทา่ ) และยาง CS-HLLBP (ก ัรม) ตอค ้ัรงกรีด12 4 10 2 r = 0.91 180 8 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 ยางแหง (กรมั ) น้ำยางสด (มล.) 0 r = 0.95 r = 0.98 6 กรัม/ตน /คร้ังกรดี 140 4 (H.I.X103) ตอครั้งกรีด 14 2 r = 0.80 100 60 CS-HLLBP (กรัม) ตอครั้งกรีด12 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160 10 (H.I.X103) ตอครง้ั กรีด 8 ภาพท่ี 8 เปรยี บเทยี บความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผลผลติ ยางแหง้ (กรมั /ตน้ /ครง้ั กรดี ) 20 6 ของตน้ ยางพนั ธ์ุ RRIM 600 จำ� นวน 30 ตน้ กบั ปรมิ าณโปรตนี CS-HLLBP ที่ 0 ตรวจวดั โดยวธิ ี Hemagglutination inhibition (A) และ Indirect ELISA (B) และ 4 ความส1มั 4พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณโปรตนี CS-HLLBP ทตี่ รวจวดั โดยวธิ ที ง้ั สอง (C) 0 100 200 300 400 2 (ทม่ี า: 1ภ2ทั ธาวธุ และคณะ, 2550) CS-HLLBP (ก ัรม) ตอครั้งก ีรด r = 0.80 น้ำยางสด (มล.) หรอื นำ้ หนกั แหง (ก.) /ครัง้ กรีด 0 0 2010 40 60 80 100 120 140 160 8 (H.I.X103) ตอครัง้ กรดี ภาพที่ 9 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผลผลติ ของตน้ ยางพนั ธ์ุ RRIM 600 จำ� นวน 22 ตน้ และ Activity (H.I.) ของ CS-HLLBP ตอ่ ครงั้ กรดี (ทม่ี า: Wititsuwannakul et al., 2008) 6 4

30 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 พันธุ์ RRIM 600 ก็ให้ผลผลิตสูงกว่ายางพันธุ์ BPM 24 RRIM 600 และการวัดผลผลติ ในรปู ของผลผลิตยางแหง้ (ตารางท่ี 1) ในการศึกษาคร้ังนี้ ถึงแม้ว่าเป็นการเปรียบ ของยางท้ังสองพันธุ์ ให้ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์สูงกว่า เทียบแค่ 2 พันธุ์ แต่ปรากฏการณ์เช่นนี้น่าจะบ่งบอกได้ ในรูปของปริมาตรนำ้� ยาง (ตารางที่ 2) ว่า ยางแตล่ ะพนั ธุจ์ ะมีปริมาณโปรตีน CS-HLLBP ใน C- serum ส�ำหรับควบคุมการเกาะกลุ่มของอนุภาคยางใน ต้นยางออ่ น ปรมิ าณท่ีแตกตา่ งกัน และนา่ จะเป็นลักษณะประจ�ำพนั ธ์ุ อายุ 3 ปี จากการศึกษากับยางพันธุ์ RRIT 251 และ RRIM 600 อายุ 3 ปี โดยกรดี คร่งึ ล�ำตน้ วันเว้นวัน ในการศึกษาสหสัมพันธ์ระหว่างปริมาณโปรตีน พบว่า ในทัง้ 3 ครั้งกรีด ท่ีกรีดตดิ ตอ่ กนั (ตารางที่ 3 และ CS-HLLBP กับการให้ผลผลติ ยาง พบวา่ ยางทงั้ สองพนั ธ์ุ ภาพที่ 10) ยางพนั ธ์ุ RRIT 251 ให้ผลผลิตยางสงู กวา่ ยาง ให้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) สูงอย่างมีนัยส�ำคัญยิ่ง พันธุ์ RRIM 600 และเป็นไปตามคาดหมาย ยางพันธุ์ (P < 0.01) หรือหมายความว่า ปริมาณโปรตีน CS- RRIT 251 มีปริมาณโปรตีน CS-HLLBP ในน้�ำยางสูง HLLBP ใน C-serum มีผลต่อการให้ผลผลิตยาง โดยท่ี กว่ายางพันธ์ุ RRIM 600 จากขอ้ มูลที่ได้จากยางออ่ นอายุ ตน้ ยางท่มี ีโปรตีน CS-HLLBP ในน้�ำยางสูงจะใหผ้ ลผลติ 3 ปี ถึงแม้ว่าจะได้จากการกรีดเพียง 3 ครั้ง แต่ก็มีแนว ยางสูงตามไปด้วย ในการศึกษาครั้งน้ียังพบว่า ยางพันธุ์ โน้มท่ีจะคาดคะเนหรือท�ำนายการให้ผลผลิตของยางท้ัง BPM 24 ให้ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์สูงกว่ายางพันธุ์ 2 พนั ธเ์ุ ม่อื มอี ายมุ ากข้นึ ซึ่งเปน็ ทีท่ ราบกนั แล้ววา่ ในชว่ ง ตารางที่ 1 ลกั ษณะการใหผ้ ลผลติ และปรมิ าณโปรตนี CS-HLLBP ในนำ้� ยางของยางพนั ธ์ุ RRIM 600 และ BPM 24 ในชว่ งเกบ็ เกยี่ วผลผลติ 1 พนั ธุ์ ปรมิ าตร ปริมาณ ผลผลิต CS-HLLBP น�้ำยาง เนื้อยางแหง้ ยางแหง้ มก./มล.น�ำ้ ยาง กรัม/ต้น/คร้ังกรีด (มล./ต้น/ครั้งหรดี (กรัม/ต้น/ครั้งกรีด) (%) RRIM 600 141.0 42.8 59.8 32.2 4.2 BPM 24 101.5 43.0 41.2 13.9 1.5 1 ปลกู ยางพันธุ์ สถาบนั วิจัยยาง 251 อายุ 15 ปี พ้ืนท่ี 21 ไร่ ทมี่ า: ภทั ธาวธุ (2550) ตารางที่ 2 สหสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณโปรตนี CS-HLLBP กบั ปรมิ าตรนำ�้ ยางและผลผลติ ยางแหง้ ของยางพนั ธ์ุ RRIM 600 และ BPM 24 ในชว่ งเกบ็ เกย่ี วผลผลติ พนั ธ์ุ CS-HLLBP CS-HLLBP/ปริมาตรน้�ำยาง CS-HLLBP/ผลผลิตยางแห้ง RRIM 600 0.66** 0.70** BPM 24 0.78** 0.84** ** P < 0.01, ทมี่ า: ภทั ธาวธุ (2550)

31 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ตารางที่ 3 ลกั ษณะการใหผ้ ลผลติ และปรมิ าณโปรตนี CS-HLLBP ในนำ�้ ยางของยางพนั ธ์ุ RRIT 251 และ RRIM 600 อายุ 3 ปี เฉลย่ี 3 ครง้ั กรดี 1 พนั ธ์ุ ปริมาตร ปริมาณ ผลผลิต CS-HLLBP นำ้� ยาง เนอ้ื ยางแห้ง ยางแห้ง มก./มล.น�้ำยาง มก./ต้น/ครัง้ กรีด (มล./ต้น/ครงั้ หรีด (กรมั /ต้น/ครงั้ กรีด) (%) RRIT 251 20.2 20.0 4.1 34.3 668.0 RRIM 600 16.3 23.5 3.7 29.7 482.2 1 เฉลยี่ จาก 16 ต้น (ทมี่ า: ภทั ธาวธุ , 2550)__ กวา่ ยางพนั ธ์ุ RRIM 600 (ตารางท่ี 4 และภาพที่ 11) ใน การศกึ ษาครงั้ น้ีมขี ้อสงั เกตวา่ ต้นยางท่มี ีอายนุ ้อย ๆ เช่น 6 เดอื น มีปรมิ าณโปรตนี CS-HLLBP ในน�ำ้ ยางค่อนข้าง สงู มาก ท้ังนี้เมื่อเทียบกบั ต้นยางท่มี ีอายมุ ากข้นึ เชน่ 3 ปี (ตารางที่ 3) หรอื ตน้ ยางในชว่ งเกบ็ เกยี่ วผลผลติ (ตารางท่ี 1) ภาพท่ี 10 ตน้ ยางอายุ 3 ปี ทใ่ี ชศ้ กึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผลผลติ ยางและ การเตรยี มตัวอยา่ งส�ำหรบั วดั ปริมาณ ปรมิ าณ CS-HLLBP ในนำ้� ยาง CS-HLLBP โดยวธิ ี Indirect ELISA เก็บเก่ียวผลผลิต ยางพันธุ์ RRIT 251 จะให้ผลผลิตยาง การเกบ็ รกั ษานำ้� ยางกอ่ นป่ันแยกเอาส่วน C-serum สงู กวา่ ยางพนั ธ์ุ RRIM 600 (สถาบนั วิจัยยาง, 2549) ในกรณีที่มีตัวอย่างน้�ำยางจ�ำนวนมาก น�้ำยางสด อายุ 6 เดือน จากการศึกษากับยางพันธุ์เดียวกัน ในขณะทย่ี งั ไมไ่ ดน้ �ำไปปน่ั เพอื่ แยกเอาสว่ นของ C-serum คือ RRIT 251 และ RRIM 600 ทีม่ อี ายุ 6 เดือน (ตน้ ยางมี จะสูญเสียสภาพความเป็นน้�ำยางสดได้ถ้าหากไม่ได้เก็บ ฉัตรใบได้ 2 ฉัตร) โดยเจาะเอาน�้ำยางมาวิเคราะห์ รกั ษาไวอ้ ยา่ งถูกต้อง ดงั น้นั จึงไดศ้ ึกษาวธิ ีการเก็บรักษา ปริมาณโปรตีน CS-HLLBP ปรากฏว่า น้�ำยางจากยาง น�้ำยางโดยการเติม Isotonic buffer ผสมลงในน้�ำยางใน พนั ธ์ุ RRIT 251 กย็ ังคงมีปริมาณโปรตีน CS-HLLBP สงู ปริมาตรต่าง ๆ แล้วเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 4 องศา เซลเซียส ผลจากการศึกษาปรากฏว่า ในกรณีที่ไม่มีการ ผสม Isotonic buffer ลงไปในน้�ำยาง เพยี งแต่เกบ็ รกั ษา น้�ำยางที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส น�้ำยางยังคงรักษา สภาพความเป็นน�้ำยางสดไว้ได้ภายใน 24 ชม. โดยท่ี Bottom fraction ยังคงปรากฏให้เห็นท่กี ้นหลอด UC ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 2) ส�ำหรับน้ำ� ยางทเ่ี ติม Isotonic buffer พบว่า การเติม Isotonic buffer ในปริมาตร 10 เท่าของน�้ำยาง ให้ผลในการคงสภาพความเป็นน้�ำยาง สดไว้ได้นานท่ีสุด หรือนานถึง 72 ชั่วโมง ในขณะท่ีการ เตมิ Isotonic buffer ในปรมิ าตร 4 เทา่ ของน�้ำยาง ให้ผล ในการคงสภาพความเป็นน้�ำยางสดได้ใก้ลเคียงกับการ

32 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ตารางท่ี 4 ความเขม้ ขน้ ของโปรตนี CS-HLLBP ในนำ้� ยางของยางพนั ธ์ุ RRIT 251 และ RRIM 600 อายุ 6 เดอื น1 พันธุ์ CS-HLLBP (ไมโครกรมั /ไมโครลติ ร น�ำ้ ยาง) RRIM 600 198.9 BPM 24 108.0 1 เฉล่ียจาก 7 ต้น (ทม่ี า: ภทั ธาวธุ , 2550) ภาพท่ี 11 การเกบ็ ตวั อยา่ งนำ้� ยางจากตน้ ยางอายุ 6 เดอื น หรอื ตน้ ยางมฉี ตั รใบได้ 2 ฉตั ร โดยใชเ้ หลก็ ปลายแหลมเจาะทเ่ี ปลอื กบรเิ วณโคนลำ� ตน้ ใหน้ ำ้� ยางไหลลงใน อา่ งพาราฟนิ จากนน้ั ใช้ Autopipette ดดู นำ�้ ยางปรมิ าตร 20 ไมโครลติ ร เพอ่ื นำ� ไปวเิ คราะหป์ รมิ าณโปรตนี CS-HLLBP ไม่เตมิ แต่เป็นท่นี า่ สงั เกตว่า การเติม Isotonic buffer ใน ความเจือจางทีเ่ หมาะสมของ C-serum ปรมิ าตร 2 เทา่ ของนำ�้ ยาง กลบั สง่ ผลท�ำใหอ้ นภุ าคลทู อยด์ ในการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีน CS-HLLBP ที่อยู่ แตกเรว็ ขน้ึ กวา่ การไมเ่ ตมิ (ตารางท่ี 5) ใน C-serum ของนำ้� ยางโดยใช้วธิ ี Indirect ELISA โดย หลักการแล้ว ปริมาณของโปรตีน CS-HLLBP ท่ีอยู่ใน C-serum และแอนติบอดีท่ีมีความจ�ำเพาะกับโปรตีน

33 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 ตารางที่ 5 การเปลย่ี นแปลงของ Bottom fraction หลงั จากนำ� นำ�้ ยางทเี่ จอื จางดว้ ย Isotonic buffer มาเกบ็ รกั ษาทอี่ ณุ หภมู ิ 4 องศาเซลเซยี ส เปน็ ระยะเวลาตา่ ง ๆ ระยะเวลาทเี่ ก็บรกั ษา ไม่เจือจาง ส่วนทอี่ ย่กู น้ หลอด UC1 (%) เจอื จาง 10 เทา่ (ชม.) 100 เจือจาง 2 เท่า เจอื จาง 4 เท่า 100 0 90 100 6 80 100 100 100 24 0 90 100 90 30 10 90 90 48 5 70 90 54 80 60 50 80 72 50 10 5 1 หลงั จากปัน่ นำ�้ ยางด้วยเครือ่ ง Ultracentrifuge (UC) ทค่ี วามเรว็ 23,000 รอบต่อนาที เป็นเวลา 35 นาที (ทมี่ า: ภทั ธาวธุ , 2550) หมายเหต:ุ 100% หมายถงึ นำ�้ ยางสามารถแยกเปน็ 3 สว่ น ไดช้ ดั เจน และมสี ว่ นของ C-serum ทใ่ี ส 0% หมายถงึ นำ้� ยางแยกออกเปน็ 2 สว่ น โดยไมม่ สี ว่ นของ Bottom fraction CS-HLLBP ต้องมีปริมาณที่เหมาะสมกัน ในการ อีก และอาจมคี า่ เพม่ิ ขึน้ ไดใ้ นกรณที ป่ี ลอ่ ยให้ท�ำปฏกิ ริ ิยา วิเคราะห์ครั้งน้ีได้ก�ำหนดความเข้มข้นของแอนติบอดี กับสัปสเตรทยาวนานข้ึน (ภาพที 12) ดังน้ัน ใน โดยใชซ้ รี ั่มเลือดกระตา่ ยทร่ี ะดับความเจอื จาง 4,000 เท่า สถานการณ์ท่ีไม่มีตัวอย่างที่สามารถใช้เป็นตัวอ้างอิง แต่ยังไม่ทราบความเข้มข้นท่ีเหมาะสมของโปรตีน CS- ความเข้มขน้ ของโปรตนี CS-HLLBP ระดับความเจอื จาง HLLBP ที่อยู่ใน C-serum หรือความเจือจาง (Dilution) ทีเ่ หมาะสมของ C-serum ทจ่ี ะน�ำมาใชใ้ นการศึกษาครัง้ ของ C-serum ทีจ่ ะน�ำมาใช้วิเคราะห์ จากการศกึ ษาโดย นี้ก็ควรจะเป็นระดับความเจือจางกลาง ๆ ที่อยู่ระหว่าง ใช้ C-serum ของตน้ ยางพันธ์ุ RRIM 600 (แปลงยางแก่) 5,000 ถึง 17,500 เท่า ซ่ึงคือที่ระดับความเจือจาง ที่มรี ะดบั ความเจอื จางแตกต่างกนั 7 ระดับ ร่วมกบั ระยะ 10,000-12,500 เท่า ในท�ำนองเดียวกัน ระยะเวลาท่ี เวลาในการท�ำปฏิกิริยาระหว่าง Developer กับเอนไซม์ ปลอ่ ยใหท้ �ำปฏิกริ ิยากับสปั สเตรทควรอยู่ท่ี 10 นาที เปอร์ออกซิเดสที่ผูกติดกับแอนติบอดีตัวท่ีสองท่ีแตกต่าง กัน 3 เวลา หลังจากวัดและปรับปริมาณโปรตีน CS- สรุปและข้อเสนอแนะ HLLBP ใน C-serum ท่รี ะดับความเจอื จางตา่ ง ๆ ให้มา อยู่ที่ความเจือจางตั้งต้นของ C-serum ผลปรากฏว่า ในการคัดเลือกพันธุ์ยางท่ีได้จากการผสมพันธุ์ ที่ระดับความเจือจางระหว่าง 5,000 ถึง 17,500 เท่า โดยวิธี Hand pollination ซ่ึงจะได้ลูกผสมจ�ำนวนมาก ปริมาณโปรตีน CS-HLLBP ท่ีวิเคราะห์ได้ จะมีปริมาณ ปัจจุบันยังคงใช้การวัดผลผลิตยางของต้นยางที่มีอายุ 3 ลดลงเร่ือย ๆ เมื่อระดับความเจอื จางของ C-serum เพ่ิม ปี เป็นหลัก อย่างไรก็ตาม วิธีนี้ยังไม่สามารถสะท้อน ข้ึนในทุกระยะเวลาที่ปล่อยให้ท�ำปฏิกิริยากับสัปสเตรท ความสามารถท่ีแท้จริงของการให้ผลิต ดังนั้น การใช้ตัว แต่เม่ือระดับความเจือจางของ C-serum เพิ่มข้ึนเป็น บ่งช้ีทางด้านอ่ืน ๆ มาเสริม เช่น ตัวบ่งชี้ทางชีวเคมีท่ี 20,000 เท่า ปริมาณโปรตีน CS-HLLBP จะไม่ลดลงไป เกี่ยวข้องกับการให้ผลผลิตของน้�ำยางในช่วงท่ีเก็บเกี่ยว น�้ำยาง ซง่ึ ประกอบด้วยปจั จยั หลกั 2 ประการ ได้แก่ การ

34 ฉบบั อิเลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 30 5,000 เทา 7,500 เทา 10,000 เทา 12,500 เทา 25 15,000 เทา 17,500 เทา 20,000 เทา CS-HLLBP (มก./มล. ้นำยาง) 20 15 10 5 0 10 นาที 12 นาที 8 นาที ระยะเวลาท่ที ำปฏกิ ริ ิยากับสปั สเตรท ภาพที่ 12 ปรมิ าณโปรตนี CS-HLLBP ใน C-serum ทรี่ ะดบั ความเจอื จางตา่ ง ๆ โดยวดั หลงั จากทปี่ ลอ่ ยใหท้ ำ� ปฏกิ ริ ยิ ากบั สปั สเตรทเปน็ เวลานาน 8, 10 และ 12 นาที (ทม่ี า: ภทั ธาวธุ , 2550) สังเคราะห์ยางของต้นยางมาชดเชยส่วนของยางท่ีสูญ สามารถในการยับย้ังการเกาะตัวของเม็ดเลือดแดง เสียไปในแต่ละคร้ังกรีด ซึ่งที่ผ่านมาพบว่า เอนไซม์ (Haemagglutination inhibition) ของกระตา่ ย ตอ่ มาได้ HMG-CoA reductase เป็นปจั จัยที่มีบทบาทอยา่ งสูงใน พัฒนาการวดั ปริมาณโปรตนี CS-HLLBP ในน้ำ� ยาง โดย Pathway ของการสังเคราะห์ยาง และพบว่า มีความ ใช้วิธีท่ีเรียกว่า Indirect ELISA ซ่ึงจะใช้ IgG ของ สัมพันธ์กับการให้ผลผลิตของต้นยางสูงอีกด้วย แต่การ กระต่ายทม่ี ีความจ�ำเพาะกับโปรตีน CS-HLLBP (ผลติ ได้ วัด Activity ของเอมไซม์ดังกลา่ วยังไมม่ วี ิธีวัดทง่ี ่าย และ จากการน�ำโปรตีน CS-HLLBP ที่บริสุทธ์ิฉีดเข้าไปในตัว สะดวก จึงยังไม่สามารถน�ำมาใช้กับงานทางด้านการ กระตา่ ย) ไปจับกับโปรตีน CS-HLLBP ทมี่ ใี นนำ้� ยาง ต่อ ปรับปรุงพันธุ์ยาง โดยเฉพาะในข้ันตอนของการคัดเลือก จากนั้นจะใช้ IgG ของแพะท่ีผูกติดกับเอมไซม์ไปจับกับ พันธย์ุ างเบื้องตน้ ในปัจจุบัน IgG ตัวแรก ซ่ึงสามารถตรวจวัด IgG ตวั ทสี่ องได้โดยการ ส่วนอีกปัจจัยหนึ่งท่ีเก่ียวข้องกับการให้ผลผลิต ท�ำปฏิกิริยาระหว่างเอมไซม์กับสัปสเตรท ซึ่งจะมีสีเกิด คอื การไหลของน�้ำยาง ซ่งึ จากการศึกษาพบวา่ โปรตีนที่ ขึ้น โดยคา่ สีทเี่ กิดขน้ึ ดไู ด้จากค่า O.D. อยู่ในส่วน C-serum (CS-HLLBP) ของน้�ำยาง จะช่วย ในบทความนไี้ ดน้ �ำเสนอผลการศกึ ษาขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ชะลอหรือยับย้ังการรวมตัวของอนุภาคยางขนาดเล็ก ซ่ึง ของวธิ กี าร Indirect ELISA ซ่ึงสามารถใชเ้ ป็นแนวปฏบิ ตั ิ จะเป็นสาเหตุท่ีก่อให้เกิดการอุดตันของท่อน�้ำยาง และ ได้ แต่รายละเอียดในบางเร่ืองตอ้ งศกึ ษาเอง เช่น ในเรื่อง ส่งผลต่อการให้ผลผลิต โดยมีงานทดลองหลายการ ของความเจือจางของซีรั่มเลือดกระต่าย C-serum ของ ทดลองท่ีได้รายงานถึงความสัมพันธ์ที่สูงระหว่างปริมาณ นำ้� ยาง และความเข้มขน้ ของโปรตนี CS-HLLBP ทีจ่ ะน�ำ โปรตนี CS-HLLBP ในน้�ำยางกบั ผลผลติ ยาง มาเคลือบ plate เพ่ือท�ำ Standard curve ในการวัดปริมาณโปรตีน CS-HLLBP ในน้�ำยาง จากการศึกษาซ่ึงพบว่า ปริมาณโปรตีน CS- แรกเร่ิมที่มีการศึกษาในเรื่องน้ี ใช้วิธีการวัดความ HLLBP มีความสัมพันธ์อย่างสูงกับผลผลิตในกลุ่มต้น

35 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 ยางท่ีมีอายุมาก จึงได้สนใจที่จะน�ำโปรตีนดังกล่าวมา E. Serres, J. d ' Auzac, J. M. Eschbach ศึกษากบั ต้นยางออ่ น อายุ 3 ปี ซึ่งเปน็ เกณฑอ์ ายุของตน้ and H. Omont. 1989. Yield-limiting actors, ยางที่ใช้ในการคัดเลือกพันธุ์ยางเบ้ืองต้น ผลการศึกษา latex physiological parameters, latex diagno ถงึ แม้ว่าจะกระท�ำเพยี ง 2 พันธ์ุ (RRIM 600 และ RRIT sis and clonal typology. In: d ' Auzac, J., J. L. 251) และใช้ตัวอย่างจากการกรดี ตอ่ เนื่องกนั เพียง 3 คร้งั Jacob and Herv'e Chrestin (eds) Physiology กรีด แต่ก็มีแนวโน้มท่ีมีความเป็นไปได้สูงท่ีจะน�ำวิธีการ of Rubber Tree Latex, The Laticiferous Cell ดังกล่าวเข้ามาช่วยเสริมกับวิธีการวัดผลผลิตโดยตรง and Latex - A Model of Cytoplasm. CRC นอกจากนี้ ยงั ไดท้ ดสอบกบั ต้นยางออ่ นอายุ 6 เดอื น ซ่ึง Press, Inc.: Flolida. pp. 345-382. ให้ผลในทศิ ทางเดียวกบั ยางอายุ 3 ปี อีกดว้ ย Moir, G. F. J. 1959. Ultracentrifugation and staining of Hevea latex. Nature 184: 1626-1628. เอกสารอ้างองิ Pakianathan, S. W., S. G. Boatman and D. H. กรรณิการ์ ธีระวัฒนสุข. 2562. แนวการปฏิบัติงานด้าน Taysum. 1966. Particle aggregation การปรับปรุงพันธุ์ยาง. การประชุมวิชาการเชิง following dilution of Hevea latex. J. Rubb. ปฏบิ ัติการ เร่อื ง หลักการปรับปรุงพันธุ์ การใชป้ ยุ๋ Res. Inst. Malaya. 19: 259-271. และการประเมนิ โรคในยางพารา. ฉะเชิงเทรา 16- Pakianathan, S. W. and G. F. J. Milford. 1973. 20 ธนั วาคม 2562. Change in the bottom fraction contents of ภัทธาวุธ จิวตระกูล, นพแก้ว เจริญทิพากร, รพีพรรณ the latex during flow in Hevea brasiliensis. วิทิตสุวรรณกลุ และ ธีรยศ วทิ ติ สวุ รรณกลุ . 2550. J. Rubb. Res. Inst. Malaya. 23: 391-400. การตรวจวัดโปรตีนท่ีเก่ียวข้องกับการไหลของน้�ำ Wititsuwannakul, R., D. Wititsuwannakul, R. ยางโดยใช้วิธีทางอิมมูโนวิทยา. รายงานผลงาน Sothibandhu, W. Suvachithanont and W, วิจัยย่อยของโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาน�้ำ Sukonrat. 1988. Correlation studies on ยางพาราในระดับโมเลกุลส�ำหรับไบโอเทค 3-Hydroxy-3-Methyglutaryl Co-enzyme A ศักยภาพสูง” ส�ำนักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจัย. reductace activity and dry rubber yield in ภัทธาวุธ จิวตระกูล. 2550. การใช้โปรตีน CS-HLLBP Hevea brasiliensis. Compte-Rendu du เป็นตัวบ่งชี้การไหลของน้�ำยาง. รายงานผลวิจัย Colloque Exploitation- Physiologie et เรอื่ งเต็ม ปี 2550. สถาบันวจิ ัยยาง กรมวชิ าการ- Amelioration de l'Hevea. Paris, 2 au 7 เกษตร. November 1988: 161-172. สถาบันวิจัยยาง. 2559. ค�ำแนะน�ำพันธุ์ยาง ปี 2559. Wititsuwannakul, R., P. Pasitkul, P Jewtra- ว. ยางพารา 37(2): 3-38. goon and D. Wititsuwannakul. 2008. Cook, A. S. and B. C. Sekhar. 1953. Fractions from Hevea latex lectin binding protein in Hevea brasiliensis latex centrifuged at C-serum as an coagulating factor and its role 59,000 g. J. Rubb. Res. Inst. Malaya. 14: 163. in a proposed new model for latex coagula- Dunbar, B.S. and E.D. Schwoebel. 1990. Prepara- tion. Phytochemistry 69: 656-662. tion of polyclonal antibodies. In: Deutscher Yeang, H. Y., Esah Yip and Samsidar Hhazah. M.P. (ed.) Method of Enzymology. Vol. 182. 1995. Characterisation of zone 1 and zone 2 Academic Press, pp. 663-670. rubber particles in Hevea brasiliensis. J. nat. Jacob, J. L., J. C. Prevot, D. Roussel, R. Lacrotte, Rubb. Res. 10(2): 108-123.

36 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 สถานการณย์ างพาราปี 2562 และแนวโน้ม ปี 2563 จันจิรา พ่วงทอง และ อธิวีณ์ แดงกนิษฐ์ ฝ่ายวจิ ยั และพัฒนาเศรษฐกจิ ยาง การยางแห่งประเทศไทย สถานการณ์ราคายางในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาโดย จีน ญ่ีปุ่น และ ยูโรโซน รวมทั้งราคาน้�ำมันดิบปรับตัว ภาพรวมมีแนวโน้มปรับตัวสูงจนถึงปี 2560 ซ่ึงราคายาง ลดลง และนักลงทุนระมัดระวังการซ้ือขายในตลาดล่วง แผ่นรมควัน FOB. RSS 3 เฉลี่ยอยู่ที่ 63.61 บาทต่อ หนา้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ราคายางในปี 2562 เมื่อเทยี บกบั กิโลกรัม เนื่องจากเศรษฐกิจโลกเริ่มขยายตัว และการ ปี 2561 ยังคงปรับตัวสูงขึ้นทั้งในตลาดล่วงหน้าและ เกดิ อทุ กภยั ในพน้ื ทภ่ี าคใต้ แตห่ ลงั จากนน้ั ราคายางคอ่ ย ๆ ตลาดซือ้ ขายจริง ปรับตัวลดลง จากสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการ ส�ำหรับราคายางในประเทศไทยในปี 2562 ราคา เมอื ง ไดแ้ ก่ สงครามการค้าระหว่างสหรัฐ – จีน, การเมอื ง ยางแผ่นรมควัน RSS 3 เคล่ือนไหวอยู่ในกรอบราคา ในยูโรโซน – อังกฤษ (Brexit) ท�ำให้เศรษฐกิจโลกชะลอ 38.00 – 60.00 บาทต่อกิโลกรัม โดยราคายางยังคงไดร้ ับ ตัวลง โดยเฉพาะประเทศผู้ใช้ยางหลักทั้ง สหรัฐอเมริกา ปัจจัยกดดันจากสงครามการค้าระหว่างสหรัฐ – จีน ตารางท่ี 1 ราคายางไทยเปรยี บเทยี บตลาดลว่ งหนา้ ตา่ งประเทศ RSS 3 (หนว่ ย: บาท/กก.) ปี พ.ศ. ราคาประมลู ราคาประกาศเทีย่ งวัน เซยี่ งไอ้ โตเกียว สิงคโปร์ ตลาดกลาง F.O.B. กรุงเทพฯ (SHFE) (TOCOM) (SGX) 2558 51.39 54.18 65.92 52.56 52.35 2559 55.14 58.23 62.50 56.37 56.80 2560 63.61 69.22 70.93 71.94 67.08 2561 45.85 50.74 54.90 48.87 50.05 2562 46.89 51.73 51.35 52.98 51.16 ส่วนต่าง (+/-) จากปีกอ่ น 1.04 0.99 -3.55 4.11 1.11 อตั ราเพม่ิ /ลด (ร้อยละ) 2.27 1.95 -6.47 8.41 2.22 ทีม่ า: การยางแห่งประเทศไทย

37 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ตารางท่ี 2 ราคายางแทง่ TSR 20 ในประเทศผผู้ ลติ หลกั (หนว่ ย: บาท) ปี พ.ศ. ไทย อินโดนเี ซยี มาเลเซีย เวยี ดนาม 2559 49.25 48.12 48.53 47.06 2560 59.51 56.62 56.53 54.52 2561 44.94 44.55 44.28 42.37 2562 45.51 44.74 44.01 42.54 ส่วนตา่ ง (+/-) จากปีก่อน 0.57 0.19 -0.27 0.17 อตั ราเพมิ่ /ลด (รอ้ ยละ) 1.27 0.43 -0.62 0.40 ที่มา : IRCo, GRM หมายเหตุ: ราคายางแทง่ F.O.B ของแตล่ ะประเทศ แม้จะมีแนวโน้มทจี่ ะผ่อนปรนมากข้นึ รวมท้งั ราคาน�้ำมัน 5.8 ต�ำ่ กวา่ การขยายตัวปี 2562 ซึ่งขยายตัวรอ้ ยละ 6.1 ดิบปรับตัวลดลง จากความกังวลอุปทานน�้ำมันล้นตลาด ด้านการผลิต คาดว่าผลผลิตยางพาราของโลกจะ ประกอบกับค่าเงินบาทยังคงปรับตัวแข็งค่าเม่ือเทียบกับ ปรับตวั สูงข้นึ เล็กนอ้ ย จากประเทศ ในกลมุ่ CLMV ไดแ้ ก่ ดอลลาร์สหรัฐ แตจ่ ากผลผลติ ยางที่ลดลง จากผลกระทบ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม รวมท้ังจีนท่ีสามารถเก็บ จากภยั แล้งและโรคใบร่วง ท�ำใหป้ ริมาณผลผลิตยางของ เก่ียวผลผลิตจากการเปิดกรีดยางได้มากข้ึน ในขณะท่ี ไทยในปี 2562 มีจ�ำนวน 4.810 ล้านตัน ลดลงจากปกี ่อน ประเทศไทย อนิ โดนีเซยี และมาเลเซีย ยงั คงต้องเฝ้าระวงั ร้อยละ 7.6 จึงท�ำให้ราคายางท่ีซ้ือขายผ่านตลาดกลาง พ้ืนท่ีปลูกยางท่ีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ ในปี 2562 เพิม่ ข้ึนจากปีก่อน 1.04 บาท หรือร้อยละ 2.27 โรคยางใบรว่ งในช่วงปลายปีท่ีผ่านมา อยา่ งไรก็ตาม จาก การสภาพอากาศในปีนี้ในประเทศไทยแห้งแล้ง อาจส่ง แนวโน้มเศรษฐกจิ และสถานการณ์ ผลให้มีฤดูปิดกรีดที่ยาวนาน และท�ำให้ผลผลิตออกสู่ ยางพาราในปี 2563 ตลาดช้ากว่าปกติ ค่าเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่าลง เนื่องจากการ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า ปรับลดอัตราดอกเบ้ียนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จาก (โควิด-19) และการแพร่ระบาดไปท่ัวทุกภูมิภาคของโลก ร้อยละ 1.00 เป็นร้อยละ 0.75 ต่อปี ของคณะกรรมการ ปัจจุบันยังไม่สามารถควบคุมได้ในหลายประเทศ ท�ำให้ นโยบายการเงิน (กนง.) ท�ำให้ค่าเงินบาทที่คาดการณ์ เกิดผลกระทบต่อห่วงโซ่เศรษฐกิจท่ัวโลก ที่มีแนวโน้ม ก่อนน้ีว่าจะแข็งค่าปรับตัวอ่อนค่าลงท่ีระดับ 32.00 บาท ลุกลามและส่งผลกระทบรุนแรงต่อธุรกิจในวงกว้าง จาก ต่อดอลลาร์สหรัฐ ในขณะท่ีธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) การคาดการณ์การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโลก ซึ่งเดิม ประกาศลดอัตราดอกเบ้ียนโยบายฉุกเฉินร้อยละ 0.50 ธนาคารแห่งประเทศไทยคาดไว้ท่ีร้อยละ 2.9 ใกล้เคียง สง่ ผลให้มาอยู่ที่ระดบั ร้อยละ 0.00 - 0.25 ซึ่งเปน็ 2 คร้ัง กบั ปี 2562 ท่มี กี ารขยายตัวรอ้ ยละ 3.0 และไดป้ รบั คาด ของปีนี้ และเพิ่มนโยบายผ่อนคลายทางการเงิน (QE) การณ์ เมื่อเดือนมีนาคม 2563 มาอยู่ท่ีร้อยละ 0.7 โดย แบบไมจ่ �ำกดั วงเงนิ จงึ เปน็ ปัจจัยสนบั สนนุ ให้ค่าเงินบาท คาดวา่ ญ่ปี ่นุ ไทย และกล่มุ สหภาพยโุ รปสภาพเศรษฐกจิ มแี นวโนม้ ทีจ่ ะออ่ นคา่ จะถดถอย ในขณะสหรัฐอเมริกาคาดว่าจะทรงตัว ราคาน้�ำมันดิบมีแนวโน้มปรับตัวลดลง อยู่ที่ต�่ำ ส�ำหรับประเทศจีนคาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ

38 ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 ตารางท่ี 3 อตั ราการเจรญิ เตบิ โต GDP (%) ประจำ� ปี ของประเทศตา่ ง ๆ ประเทศ 2562 2563 (ณ ธ.ค. 62) 2563 (ณ มี.ค. 63) โลก 3.0 2.9 0.7 สหรฐั อเมริกา 2.4 1.8 0.0 จีน 6.1 2.7 5.8 ญป่ี ุ่น 0.9 0.3 -1.3 ไทย 2.4 1.5-2.5 -5.3 สหภาพยโุ รป 1.2 1.1 -1.9 ท่ีมา: ธนาคารแหง่ ประเทศไทย กวา่ 50 ดอลลารส์ หรฐั ตอ่ บารเ์ รล เน่อื งจากภาวะอุปสงค์ แนวโน้มปลายปี 2563 จากสถานการณ์การแพร่ระบาด ต�่ำ และการท�ำสงครามราคาระหว่างซาอุดีอาระเบียและ ของเชื้อไวรัส โควิด-19 ท�ำให้หลายประเทศออกมาตรการ รัสเซีย จะส่งผลให้ปริมาณน้�ำมันดิบในตลาดโลกปรับตัว ปิดเมือง (Lockdown) ส่งผลกระทบต่อระบบโลจิสติกส์ เพม่ิ ขนึ้ ท�ำให้ในเดือนมีนาคม 2563 ไทยส่งออกยางพาราลดลง และจากมาตรการการแก้ไขปัญหาราคายางจาก จากช่วงเดยี วกันปกี ่อนร้อยละ 0.21 ส�ำหรับประเทศจีนที่ หน่วยงานภาครัฐที่ยังคงด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้ง สถานการณ์เร่ิมทรงตัว แต่ก�ำลังการผลิตในภาค มาตรการที่เสริมสภาพคล่องเพื่อกระตุ้นการบริโภคภาค อุตสาหกรรมยังไม่ได้กลับมาฟื้นตัวอย่างเต็มท่ี โดยดัชนี ครัวเรือนเกษตรกร เช่น โครงการประกันรายได้ชาวสวน การผลติ ภาคอตุ สาหกรรมซงึ่ ในปี 2562 เฉลยี่ อยทู่ รี่ อ้ ยละ ยางเพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง หรือ โครงการ 5.62 ในเดือนมกราคม 2563 ขยายตัวร้อยละ 6.9 สนับสนุนสินเชื่อเงินทุนหมุนเวียนแก่สถาบันเกษตรกร แต่ในเดือนมีนาคม 2563 กลับติดลบร้อยละ 13.5 (ท่ีมา: เพ่ือรวบรวมยาง โครงการสนับสนุนสินเช่ือเป็นเงิน Investing.com) และส�ำหรับโรงงานการผลิตรถยนต์ ทุนหมุนเวียนแก่ผู้ประกอบกิจการยาง (ยางแห้ง) เพื่อ ท้ัง โตโยต้า ฮอนด้า มิตซูบิชิ มาสด้า ฟอร์ด ในหลาย เสริมสภาพคล่องให้กับธุรกิจกลางน�้ำ และโครงการ ประเทศปรับแผนการผลิตโดยปรับก�ำลังการผลิตตาม สนับสนุนสินเช่ือผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง และ ความต้องการของความต้องการของตลาด จึงคาดว่า โครงการส่งเสริมการใช้ยางของหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือ ปริมาณการใช้ยางในปี 2563 จะเพิ่มขึ้นในอัตราท่ีลดลง กระตนุ้ ใหเ้ กิดการใช้ยางในประเทศมากข้ึน อย่างไรก็ตาม ราคายางยังได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก อัตราแลกเปลยี่ นมีแนวโนม้ ออ่ นค่าลง คาดวา่ เคลื่อนไหว บทสรปุ อยู่ในกรอบ 32.00 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ และจากการ คาดการณ์ผลผลิตท่ีคาดว่าจะเพ่ิมข้ึนจากปีก่อนไม่มาก ราคายางพาราในปี 2562 ราคายางแผ่นรมควัน รวมทั้งมาตรการเยียวยาการแก้ปัญหาราคายางของ ชั้น 3 FOB. เฉล่ยี อยทู่ ่ี 51.73 บาทต่อกิโลกรัม เพม่ิ ข้ึน หน่วยงานภาครัฐในการกระตุ้นภาคการผลิต รวมท้ังใช้ 0.99 บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 0.99 ราคากลาง มาตรการการเงินเพื่อเสริมสภาพคล่องในตลาดเพื่อให้ ยางแผ่นรมควันไม่อัดก้อนในประเทศเฉลี่ยกิโลกรัมละ เกิดการหมุนเวียนของธุรกิจ ซ่ึงหากสถานการณ์แพร่ 46.89 บาท เพ่ิมขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 2.27 ส�ำหรับ

ใไหปทเั่วกโลิดกกแลาะรยังปไมด่สเามมาือรถงควปบดคุมดไดา้ในนระแยละสะั้นปอดีกโทั้งรกงารงเาฝ้านระกวาังกราผรกลลาิตยขพันอธุ์งขอหงลเชาื้อโยคควิสา-ย19รทถำยใหน้ ต เพจีนอ่ื ซึ่ใงเหป็นสผอู้ใชด้ยาคงลพาอรางรกายับใหภญา่ขวอะงโอลปุก สเนง้นคใช ้ยสางงใผนผลลใิตหผลผิตภปู ัณรฑะ์ยกาองทบางกกาารรแตพทอยง์มปากรกับว่าตผวัลิตใภหัณเฑข์อานื่ กับ สแภละาสวงคะรดามังกการลคา้ารวะหแว่าลงสะหปรฐั รฯับ-จลีนไดด้ยกตุ าจิ ารกสข้องตอกอลงกกายรคาา้ งเฟรสะแยรกะนี้ ซึ่งเปนปจจัยกดดันราคา 39ยางโดยตรง ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 ภาพทท่มี ่ี 1าเป: รกยี าบรเทยียาบงอแตั หรา่งแปลรกะเปเลท่ียศนไแทลยะ,ราธคนานา�้ำคมานั รดแบิ ห(ทง่ ่ีมปาร:ะกเาทรยศาไงทแหย่งปแรละเะทรศอไทยยเ,ตธอนราค์ ารแหง่ ประเทศไทย และรอยเตอร)์ บทสรปุ 2. ค่าเงินบาทมีแนวโนม้ ผนั ผวนท่ีระดับ 30.00 – 32.00 บาทตอ่ ดอลลาร์สหรัฐ เนือ่ งจากการปรับลด อัตราดอกเบย้ี นโยบายร้อยละ 0.25 ตอ่ ปจี ากร้อยละ 1.25 เป็นร้อยละ 1.00 ต่อปี ของคณะกรรมการนโยบาย การเงิน (กนง.) ทำให้ค่าเงินบาทที่คาดการณ์ก่อนนี้ว่าจะแข็งค่าปรับตัวอ่อนค่าลงที่ระดับ 31.80 บาทต่อ ดอลลาร์สหรัฐ ในรอบ 7 เดือน ในขณะที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ก็ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ฉกุ เฉนิ รอ้ ยละ 0.50 ส่งผลใหอ้ ตั ราดอกเบย้ี นโยบายของเฟดในต้นปี 2563 ปรบั ลดมาอยูท่ ีร่ ะดับร้อยละ 1.00 - 1.25 ทำให้ตลาดเงินอาจเกิดความผันผวน เนื่องจากการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนไปยังประเทศที่มีความเสี่ยงต่ำ และมีคาดการณว์ ่าเฟดจะปรบั ลดอัตราดอกเบย้ี นโยบาย 2 คร้ังในปนี ี้ 3. ราคาน้ำมันดิบมีแนวโน้มปรับตัวลดลง อยู่ที่ต่ำกว่า 50 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล เนื่องจากภาวะ อุปสงค์ต่ำ ในขณะที่กลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน (โอเปก) จะปรับลดกำลังการผลิตอีก 1.5 ล้านบาร์เรล/วัน รวมทั้งราคายางสังเคราะห์ที่ต่ำกว่าราคายางธรรมชาติ อาจทำให้ผู้ผลิตปรับลดสัดส่วนการผลิตในยาง สังเคราะห์เพ่ิมมากขน้ึ เพื่อลดต้นทนุ การผลติ ภาทพที่มี่ 2ารา:คกาย4าาง.รแผผยน่ ลรามผคงลวแิตนั ชยหน้ั า3งงพแปลาะรรตาะลขาเดอทลงว่ ศโงหลไนกา้ ททตา่ ี่คยงปารดะกเทาศร(ทณม่ี ์วา:่ากจาะรยปางรแับหตง่ ปัวรสะเูงทขศไึ้นทยโ)ดยเฉพาะในประเทศ ไดแ้ ก่ กมั พชู า ลาว ระบพามด่าไเมวีย่รดืดานยคาื้อมายรายววมานทงาั้งนพจีนแาทลรี่สะาากมใลารไนถกเปกกา็บ ร2เกด5ี่�ยำวเ6นผิ2ลนผกลราิตราจคากาเกศยารรษาเปฐงิดกแกิจรไผมีด่ชยนะางลรไอดมต้มคัวาลกวงขไันึ้นปมชในาก้ันขณจะ3ึงเคดาFียดวOวก่าันรBปาคร.ะาเยเทฉาศงลในี่ยปี ดา้ อนโลจยสิ ูตกิ ทสก์ ี่ ลับมาท�ำง5านได1้ตามป.กต7ิ จะท3�ำใหส้ ภาพบ า2563ทจะล/ดลงกจากปกี 256.2 เล็กนอ้เย พิ่ ม ข้ึ น

40 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ ุนายน 2563 สมบัติพน้ื ฐานของนำ้� ยางสดและยางแผน่ รมควนั ทส่ี อดรบั กบั ความตอ้ งการของผ้ปู ระกอบการ ปรดี ิเ์ ปรม ทศั นกลุ ศนู ย์บริการทดสอบรบั รองภาคใต้ ฝ่ายวิจัยและพฒั นาอตุ สาหกรรมยาง การยางแห่งประเทศไทย ปจั จบุ นั ผู้ประกอบการมคี วามต้องการสนิ คา้ ยางท่ี สมบตั ิของน้ำ� ยางสด มีคุณภาพและมีมาตรฐานสูงข้ึน เพ่ือการแข่งขันทางการ ค้าให้เป็นท่ียอมรับในระดับสากล ซ่ึงสอดรับกับกิจกรรม ดา้ นกายภาพ การรวบรวมน้�ำยางสดและการผลิตยางแผ่นรมควันตาม น้�ำยางจะต้องคงความสด ไม่จับตัวเป็นเม็ดหรือ หลักปฏิบัติที่ดีมาตรฐาน GAP และ GMP ที่เกษตรกร/ เป็นกอ้ น มกี ลิ่นหอมคล้ายน�้ำกระทิ ไม่มีกลนิ่ บูดหรอื กลน่ิ สถาบันเกษตรกรปฏิบัติ ดังนั้น การสร้างความตระหนัก เหม็นเปร้ียว ไม่มีสีอ่ืนใดนอกจากสีขาวหรือสีครีมของน�้ำ ในเร่ืองคุณภาพและมาตรฐานให้กับเกษตรกร/สถาบัน ยาง ดงั นั้น วธิ ีการปฏบิ ตั ิงา่ ย ๆ เพื่อใหน้ ำ้� ยางมีสมบตั ิดัง เกษตรกร และความต้องการของผู้ประกอบการในด้าน กล่าว เกษตรกรจะต้องปฏิบัติตามหลักปฏิบัติท่ีดีในสวน สมบัติของยางท่ีคงท่ี สม่�ำเสมอทุกครั้งในการส่งมอบ ยางพาราหรือตามมาตรฐาน GAP ด้วยการก�ำหนดกรีด สินค้า จะเป็นการลดปัจจัยเส่ียงที่เกิดข้ึนจาก ยางหลังเท่ียงคืน ถ้วยและรางรองรับน้�ำยางสะอาด คว่�ำ กระบวนการน�ำไปแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑ์ สามารถลดของ หรือตะแคงถ้วยทกุ ครัง้ หลงั เก็บเก่ียว กรองนำ�้ ยางสดจาก เสยี ลดมลภาวะ ลดตน้ ทนุ การผลติ มกี ารตรวจสอบและ สวน และส่งน้�ำยางสดยังจุดรวบรวมหรือโรงผลิตก่อน ทวนสอบกลับได้ ขณะเดียวกันท�ำให้ผู้ผลิตได้เล็งเห็น เวลา 11.00 น. ความส�ำคัญท่ีจะพัฒนายางให้มีคุณภาพมาตรฐานสูง ปริมาณเน้อื ยางแห้ง ข้ึนด้วย การให้ความรู้ ความเข้าใจสมบัติพ้ืนฐานน้�ำยาง น�้ำยางสดจากการกรีดมีปริมาณเน้ือยางแห้ง สด ยางแผ่นรมควัน เป็นเร่ืองท่ีส�ำคัญเก่ียวข้องกับ (Dry Rubber Content, DRC) ต้งั แต่ 25 – 40 เปอร์เซ็นต์ เกษตรกรและโรงรมควันที่ด�ำเนินการโดยสถาบัน ในช่วงของการเปิดกรีดครั้งแรกน�้ำยางสดจะข้นและค่อน เกษตรกรหรือผู้ประกอบกิจการ จากการท่ีน�้ำยางมีความ ขา้ งหนืด มี DRC เฉลีย่ 30 เปอรเ์ ซ็นต์ จะมีสารที่ไม่ใช่ แปรปรวนข้ึนอยู่กับแหล่งวัตถุดิบ ฤดูกาล พันธุ์ยาง อายุ ยางในปริมาณท่ีมากกว่าช่วงการกรีดปกติ ท�ำให้น้�ำยาง ต้นยาง วิธีการกรีดยาง สภาพอากาศ นอกจากนี้ ระยะ สดในช่วงการเปิดกรีดใหม่เสียสภาพได้ง่าย โดย DRC เวลาการจัดเก็บ แสง ความร้อน สารเคมีรักษาสภาพน�้ำ จะมคี า่ สูงหรอื ตำ่� ขนึ้ อย่กู บั อายุของตน้ ยาง วธิ ีการจัดการ ยาง การส่ันสะเทือนระหว่างการขนส่ง ท�ำให้ยาง ดูแลสวนยาง ระบบกรีด วิธีการกรีด และพันธุ์ยาง ธรรมชาตมิ ีสมบตั ิไม่เสถยี ร ดงั น้ัน จงึ ไดก้ �ำหนดสมบัตพิ น้ื ต้นยางท่ีมีระบบการจัดการที่ดีจะมี DRC ไม่ต่�ำกว่า 35 ฐานของน�้ำยางสดและยางแผ่นรมควัน เพื่อให้เป็นไป เปอรเ์ ซน็ ต์ ตน้ ยางท่อี ายมุ ากกวา่ 20 ปีขนึ้ ไปจะมี DRC ตามระบบควบคมุ คณุ ภาพมาตรฐาน เฉลี่ย 35 - 43 เปอร์เซ็นต์ ส�ำหรับในช่วงที่ยางผลัดใบ

41 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ ุนายน 2563 หรือช่วงปิดกรีด ต้นยางจะผลิตน�้ำยางลดลง เน่ืองจาก แมกนเี ซยี ม สารคาร์โบไฮเดรตท่ีอยู่ในใบซ่ึงเป็นตัวต้ังต้นในการผลิต โดยทั่วไปน้�ำยางสดมีปริมาณเเมกนีเซียมอยู่ท่ี น้�ำยางไม่สามารถสร้างน้�ำยางได้ ดังนั้น น�้ำยางสดมี ระดบั 100 – 300 สว่ นต่อปรมิ าณของแข็งทงั้ หมดของน�ำ้ ข้อก�ำหนดของปริมาณ DRC แต่ละรายไม่ต่�ำกว่า 28 ยาง 1 ลา นสว่ น (ppm on total solid) ในช่วงฤดูกาลปดิ เปอรเ์ ซน็ ต์ และปริมาณ DRC รวมกอ่ นสง่ โรงงานนำ�้ ยาง กรีด น�้ำยางสดจะมีปริมาณแมกนีเซียมสูงกว่าช่วง ข้นจะต้องไม่ต่�ำกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น เพื่อให้ ฤดูกาลเปิดกรีดปกติ ยิ่งกรีดในช่วงที่ต้นยางมีใบร่วง เกษตรกรมีรายได้เพิ่มข้ึนจากการท่ีมี DRC สูงข้ึน ควร มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ของจ�ำนวนใบทั้งหมดบนต้น ปฏบิ ัตติ ามมาตรฐาน GAP จะท�ำให้ปริมาณแมกนีเซียมสูงได้ เนื่องจากน�้ำยางมีเนื้อ ยางแห้งลดลง มีสารที่ไม่ใช่ยางหรือท่ีเรียกน้�ำเล้ียงสูงข้ึน แมกนีเซียมยังขึ้นอยู่กับปริมาณแร่ธาตุที่อยู่ในดินอีกด้วย ปรมิ าณแอมโมเนีย แอมโมเนียเป็นสารรักษาสภาพน�้ำยางสดท่ีมีฤทธิ์ ในการน�ำน้�ำยางสดมาปนเเยกเป็นน้�ำยางข้นมีข้อจ�ำกัด เป็นด่าง มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูก ใช้ป้องกันหรือ ของปริมาณแมกนีเซียมไม่เกิน 50 ppm น�้ำยางสดที่มี ยับยั้งจุลินทรีย์ไม่ให้มีปฏิกิริยากับสารอาหารในน้�ำยางท่ี ปริมาณแมกนีเซียมสูงจ�ำเป็นต้องใช้ไดแอมโมเนียม ท�ำให้น้�ำยางเสียสภาพ ปริมาณการใช้จะต้องใช้เท่าท่ี ไฮโดรเจนฟอสเฟต (Diammonium hydrogen phos- จ�ำเป็นและเหมาะสมกบั ชนิดของยาง เช่น ยางแท่ง STR phate, DAP) เพื่อตกตะกอนแมกนีเซียมในปริมาณท่ีสูง 5L หรือยางเครปขาว จะไม่แนะน�ำให้ใส่แอมโมเนีย ตามไปด้วย ปริมาณแมกนีเซียมยังส่งผลต่อค่าความ เน่ืองจากมีผลต่อค่าสีของยาง แต่หากน�ำน�้ำยางสดไป เสถียรเชงิ กล (Mechanical stability time, MST) ของนำ�้ ผลิตเป็นยางแผ่นรมควัน หรือยางแผ่นอบแห้ง อัตราที่ ยาง ถ้าปริมาณแมกนีเซียมสูงจะท�ำให้ค่า MST ลดลง แนะน�ำคือไม่เกิน 0.03 เปอร์เซ็นต์ ต่อน้�ำหนักน้�ำยางสด น้�ำยางที่มีความเสถียรต�่ำจะจับตัวเป็นก้อนได้ง่าย ส่วนน้�ำยางสดท่ีน�ำไปผลิตเป็นน้�ำยางข้นปริมาณ นอกจากนี้จะส่งผลต่อการน�ำน�้ำยางข้นไปแปรรูปเป็น แอมโมเนียท่ีแนะน�ำคือ 0.2 - 0.3 เปอร์เซ็นต์ต่อน้�ำหนัก ผลิตภัณฑ์ เช่น ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย น้�ำยางข้นที่มี น�้ำยางสด อย่างไรก็ตาม หากใช้ไม่ถูกต้อง นอกจากจะ แมกนีเซียมสูงจะท�ำให้ผลิตภัณฑ์เกิดต�ำหนิและรูรั่วได้ ได้คุณภาพยางต่�ำกว่ามาตรฐานแล้วยังส่งผลให้ต้นทุน ง่าย ข้อก�ำหนดของน�้ำยางสดปริมาณแมกนีเซียมไม่ควร การผลิตเพมิ่ ขึน้ อีกดว้ ย เกินกว่า 300 ppm ดังนั้น สามารถควบคุมปริมาณ แมกนีเซียมได้ดว้ ยการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน GAP กรดไขมันระเหยได้ สมบตั ิของยางแผ่นรมควนั ปริมาณกรดไขมันระเหยได้ (Volatile Fatty Acid, VFA) หมายถึง จ�ำนวนกรัมของโพแตสเซียม ไฮดรอกไซด์ ผู้ประกอบการจะให้ความส�ำคัญกับค่าความหนืด ท่ีท�ำปฏิกิริยาพอดีกับ VFA ซ่ึงอยู่ในน้�ำยางท่ีมีปริมาณ มูนนี่ (Mooney Viscosity) มาก ยางที่มีค่าความหนืด ของแข็ง 100 กรัม ซึ่ง VFA ท่ีอยูใ่ นนำ้� ยางเป็นกรดอะซตี กิ มูนนี่สูง จะน�ำไปผลิตล้อยานพาหนะ ยางกันสะเทือน กรดฟอร์มคิ และ โพรไพโอนกิ (Propionic) นำ�้ ยางท่ีมคี า่ เปน็ ต้น ส่วนยางทม่ี คี ่าความหนืดมูนนี่ต�่ำ จะน�ำไปขึน้ รูป VFA สูง แสดงว่าน�้ำยางมีคา่ ความบูดมากกวา่ น้ำ� ยางทีม่ ี โดยใช้แม่พิมพ์แบบฉีด เช่น ท่อยาง ชิ้นส่วนท่ีความ ค่า VFA ต่�ำ ในการซ้ือขายน้�ำยางสด ณ จุดรวบรวมน�้ำ ซับซอ้ น ส�ำหรบั สมบตั ิอ่ืน ๆ ได้แก่ ความออ่ นตวั เร่ิมแรก ยางสดค่า VFA ไม่ควรเกิน 0.05 และเมือ่ น�ำน�ำ้ ยางสดไป (Initial Plasticity, Po) ดัชนีความอ่อนตัว (Plasticity ส่งยงั โรงงานน้�ำยางขน้ ค่า VFA ไมค่ วรเกนิ 0.07 ดงั น้ัน Retention Index, PRI) ความสกปรก (Dirt) ปริมาณ เกษตรกรสามารถควบคุมปริมาณ VFA ได้ด้วยการ สิ่งระเหย (Volatile Matter, VM) เป็นสมบัติพ้ืนฐานของ ปฏบิ ัติตามมาตรฐาน GAP ยางแผ่นรมควันเช่นเดียวกับสมบัติยางแท่ง มีราย ละเอยี ดดงั น้ี

42 ฉบบั อิเล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 ตารางที่ 1 สมบตั พิ น้ื ฐานของนำ้� ยางสดทส่ี อดรบั กบั ความตอ้ งการของผปู้ ระกอบการ ขอ้ กำ� หนด เกณฑ์ที่กำ� หนด ไมจ่ บั ตวั เป็นเมด็ หรอื เป็นเกอ้ น ไม่มีกลนิ่ บดู หรือกลิ่น ลักษณะทางกายภาพของน�้ำยางสด เหมน็ เปรยี้ ว มีสีขาวหรอื สีครีม ปรมิ าณเน้อื ยางแหง้ , ไมต่ ่ำ� กว่า (%) - จดุ รวบรวม 28 - โรงงานน้�ำยางข้น 30 ปรมิ าณแอมโมเนยี (%) - ผลิตยางแผ่นรมควนั <0.03 - ผลติ นำ�้ ยางข้น 0.20 - 0.30 ปริมาณกรดไขมันระเหยได,้ ไม่เกนิ กว่า - จุดรวบรวม 0.05 - โรงงานน้ำ� ยางขน้ 0.07 ปรมิ าณแมกนเี ซียม, ไม่เกนิ กวา่ (ppm) 300 ปริมาณสงิ่ สกปรก เปอรเ์ ซ็นต์ ดงั นั้น ปัจจยั ต่าง ๆ ในการควบคมุ ปริมาณ ปรมิ าณสิ่งสกปรก (Dirt content) หมายถึงสง่ิ ปน สง่ิ สกปรก มดี ังน้ี เปื้อนท่ีอยู่ในเน้ือยาง ยางที่มีสิ่งสกปรกสูงจะส่งผลต่อ 1. ต้นยางท่ีกรีดจนถึงบริเวณโคนต้นแล้ว ให้ท�ำ คุณภาพของผลิตภัณฑ์และเกิดความเสี่ยงในการน�ำยาง ลวดรัดต้นยางเพ่ือแขวนถ้วยรองรับน�้ำยางอีกระดับหน่ึง ไปใช้งาน สิ่งสกปรกที่ติดอยู่ในเน้ือยางจะมีผลต่อแรงดึง ที่ความสูงจากพ้ินดินไม่ต่�ำกว่า 100 เซนติเมตร เพื่อ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ชนิดยางล้อรถยนต์ สายพาน ยาง ป้องกันฝนหรือลมที่อาจพัดพาเม็ดทราย ดิน กระเด็น รองคอสะพาน สายยางยึด ยางรัดของ และที่ปัดน�้ำฝน ตกลงในถว้ ยรองรับน�้ำยางได้ นอกจากปรมิ าณสิง่ สกปรก ส่ิงสกปรกอาจได้แก่ เม็ดดนิ หนิ ทราย ยางท่ีมสี ง่ิ เหล่านี้ จะสูงแลว้ ยงั สง่ ผลตอ่ ปริมาณเถ้าที่สูงขน้ึ อกี ด้วย จะเกิดรอยแตกหากมีการดึงหรือหักงอและจะเกิดรอยฉีก 2. หลังจากที่เก็บน�้ำยางสดเรียบร้อยแล้ว ให้คว�่ำ ออกทีละน้อย บางครั้งเกิดความร้อนสะสมจากการเสียด หรือตะแคงถ้วยรองรับน้�ำยางเพ่ือป้องกันส่ิงปนเปื้อน ทานของล้อกับถนนท�ำให้บริเวณนั้นเกิดการขยายตัว ตกลงในถ้วยรองรับน�้ำยาง นอกจากน้ีรางรองรับน้�ำยาง บวมขน้ึ และเกิดการระเบิดได้ และถ้วยรองรับน้�ำยางต้องสะอาด หากสกปรกจะเป็น ยางแผ่นรมควันจะมีสมบัติท่ีดีกว่ายางชนิดอื่น สาเหตุให้น้�ำยางจับตัวเปน็ เม็ดและบดู ไดเ้ รว็ ข้ึน เมื่อเทียบกับยางแท่งหรือยางเครป ผลิตภัณฑ์บางอย่าง 3. น�้ำยางจะต้องผ่านการกรองต้ังแต่อยู่ในสวน จึงเน้นความสะอาด และยางท่ีมีคุณภาพมาตรฐานได้ ยาง และจะต้องกรองอีกครั้งเมื่อมาถึงโรงงานจนมั่นใจ ก�ำหนดปริมาณส่ิงสกปรกอยู่ท่ีระดับไม่เกิน 0.02 ว่าไม่มีส่ิงปนเปื้อนในขั้นตอนการท�ำแผ่น หากปริมาณ

43 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 41 เมษายน-มิถุนายน 2563 สิ่งสกปรกสูงสามารถต้ังข้อสังเกตว่าน�้ำยางมีการ 3. ใช้แอมโมเนียเป็นสารรักษาสภาพน�้ำยาง ปนเปื้อนจากเม็ดดิน ทราย หรือข้ันตอนการกรองน�้ำยาง นอกจากจะท�ำให้แผ่นยางเหนียวเย้ิมแล้ว ยังส่งผลต่อ ไม่สะอาด ยางแผ่นมีสคี ลำ�้ อีกดว้ ย 4. น้�ำท่ีใช้ในกระบวนการผลิต จะต้องผ่านตัว 4. ใช้อุณหภูมิในการรมควันช่วงวันแรกสูงเกินไป กรองหรือมีระบบการกรองน้�ำท่ีมีประสิทธิภาพ น้�ำต้องมี ท�ำให้ผิวหน้าแผ่นยางปิด น�้ำที่อยู่ในแผ่นยางไม่สามารถ ใส สะอาด ปราศจากตะกอนใด ๆ หากน�้ำใช้ในการท�ำ ระเหยออกไปได้ ความร้อนจะดันน�้ำจนเป็นโฟรงอากาศ แผ่นสกปรกหรือมีตะกอนจะท�ำให้ยางแผ่นทึบ แข็ง ค่า อยภู่ ายในจนท�ำให้เกดิ ยางฟอง ความยืดหยุ่นต่�ำ และส่งผลให้ปริมาณสิ่งสกปรกและ 5. ใช้น�้ำชะล้างขณะรีดยางน้อยเกินไป หรือบาง ปริมาณเถา้ สูงตามอีกด้วย คร้ังไม่ใช้น้�ำชะล้างแผ่นยาง ท�ำให้มีปริมาณสารท่ีไม่ใช่ 5. ภาชนะในการผลิตยาง เช่น ตะกง แผ่นเสียบ ยางหรือน้�ำกรดตกค้างในแผ่นยาง ยางจึงมีปริมาณ ไม้ราว รถตากยาง เคร่ืองจักรรดี ยาง เปน็ ต้น ต้องสะอาด สง่ิ ระเหยสงู และอยูใ่ นสภาพพร้อมใชง้ าน ปริมาณสิ่งระเหย ปริมาณเถา้ ปริมาณสิ่งระเหย (Volatile matter content) ปรมิ าณเถา้ (Ash content) หมายถงึ สารอนนิ ทรีย์ บ่งบอกถึงความชื้นที่อยู่ในยาง เกิดจากการอบยางไม่ หรือแร่ธาตุต่าง ๆ ท่ีต้นยางน�ำไปใช้ในการสร้างน้�ำยาง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยฟอสเฟตของโพแทสเซียม แห้ง รวมถึงการใช้กรดท่ีไม่เหมาะสมในการจับตัว ยางท่ี แมกนีเซียม แคลเซียม และธาตุอื่น ๆ นอกจากนี้ เป็น มีปริมาณส่ิงระเหยสูงจะท�ำให้การบดยางกับสารเคมี พวกซิลิกาหรอื ซิลิเกต รวมท้ังสารเจอื ปนอ่นื ๆ จากปจั จัย ผสมเข้ากันยาก ยางจะล่ืนและต้องใช้ระยะเวลาในการ ภายนอก เชน่ หิน ดนิ ทราย และการใชก้ รดซัลฟวิ รกิ จบั บดยางยืดออกไปอีก ในขณะบดยางเครื่องบดผสมจะมี ตวั ยาง ซ่ึงกรดจะไปท�ำปฏกิ ริ ิยากับโลหะในยางท�ำให้เกดิ ความร้อนสูงข้ึน ความช้ืนจึงระเหยออกจากยาง ท�ำให้ เป็นสารประกอบเชิงซ้อน ผลท่ีตามมาท�ำให้สมบัติเชิงกล ยางเกิดพันธะระหว่างโมเลกุลเป็นสายโซ่ยาวส่งผลให้น�้ำ ด้านความแข็งแรง และความทนทานของยางลดลง หนกั โมเลกลุ เพม่ิ ขนึ้ ยางจะมคี วามเปน็ อลี าสตกิ (Elastic) ปริมาณเถ้าจะเป็นตัวบ่งช้ีถึงสารตัวเติมในการท�ำ เพ่ิมขึน้ คา่ ความอ่อนตัวเรมิ่ แรก (Po) และความหนืดสงู ผลิตภัณฑ์อีกด้วย โดยทั่วไปในยางแผ่นรมควันคุณภาพ ข้ึนเร่ือย ๆ จนความช้ืนหายไป เม่ือบดต่อไปโมเลกุลยาง ดีจะจ�ำกัดปริมาณเถ้าสูงสุดไม่เกิน 0.40 เปอร์เซ็นต์ จะค่อย ๆ ฉกี ขาดท�ำใหน้ ้�ำหนกั โมเลกุลลดลง ยางจะเร่ิม ปจั จัยท่ที �ำให้มปี รมิ าณเถ้าสงู มีดงั น้ี มีความเป็นพลาสตกิ (Plastic) จนอ่อนน่ิม ณ จดุ นีย้ างจะ 1. ใช้กรดอนินทรีย์ในการจับตัวยาง เช่น กรด สามารถบดผสมกับสารเคมไี ด้งา่ ยข้ึนมีการกระจายตวั ได้ ซัลฟิวริก หรือกรดก�ำมะถัน กรดชนิดน้ีมีสารซัลเฟต ดีข้ึนจนสารเคมีผสมเขา้ กนั ไดด้ ี ดังนน้ั ยางทม่ี คี ุณภาพดี ตกค้างรวมถงึ สารประกอบเชิงซอ้ น ตอ้ งจ�ำกดั ปรมิ าณสง่ิ ระเหยสูงสดุ ไมเ่ กนิ 0.60 เปอร์เซ็นต์ 2. น้�ำยางสดมีส่ิงเจือปน เช่น ดิน ทราย หรือสาร ปจั จัยทท่ี �ำใหม้ ีปริมาณสง่ิ ระเหยสงู มีดงั น้ี ปนเปอื้ นท่ีจงใจเตมิ ลงไปในขณะที่รวบรวมนำ�้ ยางสด 1. ใช้ระยะเวลาในการรมควันน้อยเกินไปหรือ 3. ไม่ใช้น�้ำชะล้างแผ่นยางขณะรีดยาง ท�ำให้มี อณุ หภมู ิต�่ำเกนิ ไป ปริมาณสารที่ไม่ใช่ยางตกค้างในแผ่นยาง ส่งผลให้ 2. ใช้น�้ำกรดโดยเฉพาะกรดซัลฟิวริกในปริมาณ ปริมาณเถ้าสูง ความเข้นข้นสูงเกินไป ท�ำให้เกิดปริมาณกรดตกค้างใน แผ่นยาง และยางจะรัดตัวแน่น นอกจากจะท�ำให้ยางมี ปริมาณไนโตรเจน ปริมาณสิ่งระเหยสูงแล้ว ยังท�ำให้ค่าความหนืดของยาง ปริมาณไนโตรเจน (Nitrogen content) บ่งบอกถึง สูงข้ึนด้วย โปรตีนที่อยู่ในยาง หากปริมาณไนโตรเจนสูงจะส่งผลต่อ

44 ฉบบั อิเลก็ ทรอนิกส์ 41 เมษายน-มถิ ุนายน 2563 มากเกินไป สง่ ผลให้ค่า Po ต่ำ� กวา่ เกณฑ์ทก่ี �ำหนด ดชั นคี วามอ่อนตัว กระบวนการข้ึนรูป ยางท่ีเกิดการคงรูปเร็วก่อนก�ำหนด ดัชนีความอ่อนตัว (Plasticity Retention Index, โอกาสที่ยางจะสุกและไหลไม่เต็มเบ้าพิมพ์เกิดขึ้นได้มาก PRI) เป็นตัววัดค่าความเส่ือมสภาพของยางจากการใช้ ท�ำให้ผลิตภัณฑ์มีรอยแหว่ง ยางแผ่นรมควันที่มีคุณภาพ งานเป็นระยะเวลานาน หรือส่วนท่ีเป็นโมเลกุลยางถูก ดีจ�ำกัดปริมาณไนโตรเจนสูงสุดไม่เกิน 0.50 เปอร์เซ็นต์ ท�ำลาย ยางที่มี PRI ต�่ำ จะท�ำให้สมบัติเชิงกลของยาง ปจั จยั ที่ท�ำใหม้ ปี รมิ าณไนโตรเจนสงู มีดงั น้ี เสียไป อายุการใช้งานต่�ำ ยางท่ีมีดัชนีความอ่อนตัวสูง 1. ผลติ ในช่วงฤดกู าลยางเร่ิมเปดิ กรีด หรือชว่ งตน้ สามารถต้านทานต่อการเส่อื มสภาพความรอ้ น ออกซิเจน ยางผลัดใบ ในช่วงดังกล่าวจะมีสารท่ีไม่ใช่ยางอยู่ใน หรือโอโซนไดเ้ ป็นอย่างดี ดงั นน้ั ยางที่มคี ุณภาพดีคา่ PRI ปรมิ าณที่สูง อยู่ในช่วง 80 – 100 ปจั จยั ทีส่ ง่ ผลต่อค่า PRI จะมคี วาม 2. มีส่วนผสมของน้�ำยางสกิมท่ีเป็นผลพลอยได้ สัมพันธ์เชน่ เดยี วกบั ความออ่ นตวั เรม่ิ แรก จากการผลติ นำ้� ยางข้น ความหนดื มนู น่ี ความหนืดมูนน่ี (Mooney Viscosity) เป็นค่าที่ ความอ่อนตัวเรม่ิ แรก แสดงถึงน�้ำหนักโมเลกุลยาง บ่งบอกถึงความแข็งแรง ความอ่อนตวั เร่ิมแรก (Plasticity origin, Po) เปน็ ของเนอื้ ยาง ตน้ ยางทีม่ อี ายุมากข้นึ จะให้คา่ ความหนืดสงู ค่าความยืดหยุ่นของยาง เป็นสมบัติพิเศษของยาง ตามล�ำดับ น�้ำยางท่ีใกล้ปิดกรีดหรือก่อนเปิดกรีดจะให้ ธรรมชาติที่มีความยืดหยุ่นดี สามารถกระเด้งกระดอนได้ ค่าความหนืดต�่ำ ยางบางพันธุ์มีน้�ำหนักโมเลกุลสูงจะให้ ดี ซ่ึงเป็นสมบัติที่ลูกค้าต้องการ ยางแผ่นรมควันท่ีดีเม่ือ ค่าความหนดื สูง เช่น RRIT 251 คา่ ความหนดื จงึ เป็นค่าที่ จับยืดด้วยแรงกระท�ำหน่ึงแล้วปล่อยหดกลับจะสามารถ ช้ีบ่งถึงระยะเวลาในการบดยางของเน้ือยางล้วน ๆ หาก กลบั สสู่ ภาพเดมิ ไดโ้ ดยไม่เสยี รูปร่าง แสดงวา่ มีค่า Po สูง ค่าความหนืดมูนนี่สูง แสดงว่าต้องใช้เวลาและพลังงาน และเป็นค่าท่ีบ่งบอกน�้ำหนักโมเลกุลของยางได้อีกด้วย ในการบดยางนานข้ึน โดยท่ัวไปยางแผ่นรมควันจะมีค่า ถ้ายางมี Po สูง แสดงว่ายางนั้นมีน้�ำหนักโมเลกุลมาก ความหนืดมูนนี่สูงกว่ายางแท่ง STR 20 ซ่ึงยางแผ่น และในทางตรงกันข้ามยางมี Po ต�่ำ แสดงว่ามีน�้ำหนัก รมควันคุณภาพดีอยู่ในช่วง 70 – 80 ML(1+4)100oC โมเลกลุ ตำ่� ดงั นัน้ ค่า Po ของยางแผ่นรมควันท่ีมคี ุณภาพ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์บางอย่างเช่นที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะอยู่ในชว่ ง 40 - 50 ปจั จยั ท่ีท�ำให้ค่า Po ไมอ่ ย่ใู นชว่ งท่ี ผู้ประกอบการก็ต้องการค่าความหนืดมูนนี่ต่�ำในช่วง ก�ำหนด มดี งั น้ี 60 - 70 ML(1+4)100oC 1. สัดส่วนการเจือจางน้�ำกับน�้ำยางไม่ถูกต้อง น�้ำ ยางทมี่ กี ารเจือจางมากเกินไปจะท�ำใหค้ า่ Po ต�ำ่ ในทาง สรุป กลับกัน น�้ำยางท่ีมีการเจือจางเน้ือยางแห้งมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ขึ้นไปจะท�ำให้ยางแข็ง ค่า Po สูง เกินกว่า สมบัติพ้ืนฐานของยางเป็นเรื่องท่ีผู้ประกอบการ ก�ำหนด ให้ความส�ำคัญอย่างมาก เพ่ือช่วยในการพิจารณา 2. ใช้กรดอะซีติกหรือกรดชนิดอ่ืนที่ไม่ใช่กรด การน�ำยางไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดให้เหมาะสม ฟอร์มิกในการจับตัว ยางจับตัวไม่สมบูรณ์สังเกตจากน�้ำ กับการใช้งาน การควบคุมระยะเวลาการบดผสมยางกับ ซีรม่ั ขนุ่ สง่ ผลให้คา่ Po ต่ำ� กว่าเกณฑ์ หรืออาจใช้กรดใน สารเคมี รวมถึงระยะเวลาการข้ึนรูปยาง โดยธรรมชาติ อัตราไมพ่ อดตี อ่ การจบั ตวั เนื้อยาง ก็สง่ ผลตอ่ ค่า Po ดว้ ย ของยางท่ีมีสมบัติพิเศษด้านความยืดหยุ่นสูง การรับน้�ำ เช่นกนั หนัก การรับแรงกระแทก ความต้านทานต่อการสึกหรอ 3. ระยะเวลาการจับตัวยางยังไม่สมบูรณ์ ท�ำให้ การสะสมความร้อน และการถ่ายเทความร้อนได้ดี เนื้อยางออ่ น ค่า Po ต�่ำกว่าเกณฑ์ ซ่งึ โดยปกตยิ างทีผ่ ลติ ในตะกงตับจะจบั ตัวสมบูรณ์ในเวลา 2 - 3 ชว่ั โมง 4. ใช้ระยะเวลาในการรมควันหรือใช้อุณหภูมิสูง

45 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มถิ นุ ายน 2563 a b c ภาพที่ 1 การทดสอบสมบัตติ ่าง ๆ ของยางแผน่ รมควัน เช่น ความออ่ นตวั เริม่ แรก (a) ปริมาณสิ่งสกปรก (b) และ ปรมิ าณส่งิ ระเหย (c)

46 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 41 เมษายน-มิถนุ ายน 2563 ตารางท่ี 1 สมบตั พิ นื้ ฐานของยางแผน่ รมควนั ทสี่ อดรบั กบั ความตอ้ งการของผปู้ ระกอบการ ขอ้ ก�ำหนด เกณฑท์ ีก่ ำ� หนด ปรมิ าณส่งิ สกปรก, ไมเ่ กิน (%) 0.02 ปริมาณสิ่งระเหย, ไม่เกนิ (%) 0.60 ปรมิ าณเถ้า, ไม่เกิน (%) 0.40 ปรมิ าณไนโตรเจน (%) 0.50 ความอ่อนตัวยางเรม่ิ แรก, ช่วง Po 40 - 50 ดัชนคี วามอ่อนตัว, ช่วง PRI 80 - 100 ความหนืดมูนน,่ี ชว่ ง (ML1+4)100o C 70 - 80 เป็นต้น สมบัติพื้นฐานของยางจึงเป็นแนวทางให้ผู้ผลิต บรรณานกุ รม สามารถผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้ ปัจจุบันบริษัทผลิตภัณฑ์รายใหญ่มี โกศล จรงิ สงู เนิน. 2560. สมบัตทิ างวิทยาศาสตร์ของยาง ระบบการจัดการด้านคุณภาพที่ต้องทราบรายละเอียด ก้อนถ้วย ยางเครป และยางแท่ง. เอกสาร แหล่งทมี่ าของวัตถุดิบ มกี ารตรวจสอบ ทวนสอบกลับได้ ประกอบการบรรยายหลักสูตรการผลิตยางก้อน เ พ่ื อ เ ป ็ น เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ข อ ง ถ้วยคุณภาพดีมาตรฐาน GAP ระหว่างวันที่ 23- กระบวนการผลิต และสนับสนนุ ด้านการควบคุมคุณภาพ 24 สิงหาคม 2560 และ 25-26 สิงหาคม 2560 ของวัตถุดิบให้มีมาตรฐาน เป็นการลดความแปรปรวน อ.เมอื ง จ.บรุ รี ัมย.์ ลดของเสยี ลดต้นทุนการผลติ และที่ส�ำคัญเปน็ แนวทาง ปรีดเ์ิ ปรม ทัศนกุล. 2560. การแปรความหมายสมบตั ิเชิง หนึ่งในการสร้างความย่ังยืนให้กับพ่ีน้องเกษตรกร วิทยาศาสตร์ยางแผ่นรมควัน Premium grade ชาวสวนยาง มาตรฐาน GMP. สืบค้นจาก: https://www.face book.com/ศนู ย์บรกิ ารทดสอบรบั รองภาคใต.้




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook