Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook-42

ebook-42

Published by ju_sureerut, 2020-10-05 23:46:52

Description: ebook-42

Search

Read the Text Version

ปที ่ี 41 ฉบบั ที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 42

ปีที่ 41 ฉบบั ที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 26 สารบญั บทความ 2 โรคใบรว่ งชนดิ ใหมข่ องยางพารา: เชอ้ื สาเหตุ Pestalotiopsis sp. หรือ Colletotrichum sp.? 17 หอ้ งรมควนั ยางพาราชนดิ ใชเ้ ตาเผาแบบประหยดั เชอื้ เพลงิ 27 การจัดต้ังธนาคารเมลด็ พืชคลมุ ตระกลู ถว่ั 33 การบรหิ ารจดั การดา้ นโรค และอาการผดิ ปกตขิ อง ต้นยางพารา ของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการเกษตรแปลงใหญ่ เขตพน้ื ท่ภี าคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 39 คำ� แนะนำ� สำ� หรบั ผเู้ ขยี น ภาพปก: โคนิเดีย (conidia) เชื้อรา Colletotrichum sp. สาเหตโุ รคใบรว่ งชนดิ ใหม่ ของยางพารา ลักษณะอาการของโรค มีกล่มุ เชือ้ ราสสี ้ม (conidiomata) เจรญิ จากการทดสอบความสามารถในการทำ� ใหเ้ กิดโรคหลงั ปลกู เช้อื 4 วนั

บทบรรณาธกิ าร วารสารยางพาราฉบับนี้มีบทความทัง้ หมด 4 เรือ่ ง ยางแผ่นที่ผลิตได้จึงไม่มีการเกิดฟองอากาศ เกษตรกร เป็นบทความวิจัย 1 เรอ่ื ง ทเ่ี หลืออกี 3 เรอ่ื ง เปน็ บทความ ทา่ นใดทต่ี อ้ งการสรา้ งหอ้ งรมควนั แบบทไ่ี ดก้ ลา่ วมาขา้ งต้น ทั่วไปที่มุ่งเน้นการพัฒนางานวิจัยเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ ตดิ ตอ่ ได้ท่ี ศนู ยบ์ รกิ ารทดสอบรบั รองภาคใต้ อ.หาดใหญ่ ได้จริงของเกษตรกร เป็นการสนับสนุนให้มีการจัดการ จ. สงขลา โทรศพั ท์ 0 7489 4307 ได้ในเวลาราชการ สวนยางให้มีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน นอกจากบทความท้ัง เรื่องท่ี 3 เกี่ยวข้องกับเรื่องพืชคลุมดินในสวนยาง 4 เร่ืองแล้ว วารสารยางพาราฉบับนี้ ยังมีค�ำแนะน�ำ ซงึ่ ปัจจุบนั เกษตรกรไมค่ ่อยนยิ มปลูกกัน เนื่องจากสาเหตุ ส�ำหรบั ผเู้ ขียน เพ่มิ เติมอีก 1 เร่อื ง หลายประการ หนึ่งในน้ันเป็นเรื่องของการขาดแคลน บทความวิจัยท่ีน�ำเสนอในวารสารฉบับน้ี นับว่า เมล็ดพันธุ์ที่จะน�ำไปปลูก ดังนั้น ทางศูนย์วิจัยยาง- เป็นความก้าวหน้าอีกขั้นหน่ึงของการศึกษาเก่ียวกับโรค หนองคายจึงได้มีโครงการจัดตั้ง ธนาคารเมล็ดพืชคลุม ใบร่วงชนิดใหม่ท่ีระบาดในภาคใต้ของประเทศไทยเมื่อปี ตระกูลถั่ว โดยในปีงบประมาณ 2563 มีเป้าหมายผลิต ทผ่ี า่ นมา ประเดน็ สำ� คญั ของโรคน้กี ็คือ เชื้อราสาเหตทุ กี่ อ่ เมล็ดพืชคลุมตระกูลถ่ัวจ�ำวน 4 ชนิด ได้แก่ คาโลโปโก- ให้เกิดโรคยังไม่เป็นท่ีแน่ชัดว่าเกิดจากเชื้อราชนิดใดกัน เนียม เซ็นโตรซีมา เพอราเรีย และซีรูเลียม ชนิดละ 250 แน่ โดยท่ีผ่านมา มีนักวิชาการทั้งในและต่างประเทศ กิโลกรัม ส่วนถ่ัวอีกชนิดหนึ่ง (มูคูนา แบร็คเทียตา) เป็น รายงานผลการศึกษาที่ไม่ตรงกัน ดังนั้น บทความที่น�ำ ถ่ัวที่ออกดอก แต่ไม่สร้างฝักและเมล็ดในภาคอีสาน แต่ เสนอโดยนักวิชาการของสถาบันวิจัยยางครั้งนี้ได้พิสูจน์ ทางศูนย์วิจัยยางหนองคายก็มีบริการในรูปของต้นช�ำถุง ให้เห็นว่า เชื้อราสาเหตุที่ท�ำให้เกิดโรคใบร่วงชนิดใหม่คือ ท่านใดสนใจสามารถส่ังจองได้ที่ศูนย์วิจัยยางหนองคาย Colletotrichum sp. การค้นพบครั้งน้ีถือว่ามีประโยชน์ ในเวลาราชการ อย่างมากในการแก้ปัญหาการระบาดของโรคชนิดใหม่ เรื่องสุดท้าย เป็นเรื่องของโครงการเกษตรแปลง เปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ งและมีประสทิ ธิภาพ ใหญ่ โดยเกษตรกรหรอื สถาบนั เกษตรกรทจ่ี ะเข้ารว่ มตอ้ ง ถัดมาเป็นเรื่องของห้องรมควัน โดยที่ส่วนของเตา มพี ้นื ท่รี วมกันไม่น้อยกวา่ 300 ไร่ มีเกษตรกรไม่นอยกวา่ เผาเป็นแบบอุโมงค์ชนิดประหยัดพลังงาน ออกแบบให้ 30 ราย การท�ำการเกษตรในรูปแบบนี้ จะเอื้อต่อการ สามารถลดการสูญเสียเชื้อเพลิงและความร้อน สามารถ พัฒนาสวนยางให้มีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน ดังเช่น การ รมควันได้คร้ังละ 3-4 ตัน ข้อดีของเตาเผาแบบนี้ไม่ต้อง บริหารจัดการด้านโรคและอาการผิดปกติของยางพารา ใช้พลังงานไฟฟ้า อาศัยการไหลของความร้อนและควัน ทศ่ี นู ย์วิจยั ยางหนองคายก�ำลังด�ำเนนิ การอย่ใู นขณะน้ี จากเตาเผาไปยังห้องรมควัน ซ่ึงเป็นการผลิตท่ีประหยัด ได้ยางแผ่นรมควันที่ดี มีคุณภาพ การเคลือบของควัน สม่�ำเสมอ มีการดึงน�้ำออกจากแผ่นยางได้อย่างรวดเร็ว ดร.วทิ ยา พรหมมี บรรณาธิการ เจา้ ของ: สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร 10900 บรรณาธิการบริหาร: ดร.กฤษดา สงั ข์สิงห์ บรรณาธิการ: ดร.วทิ ยา พรหมมี กองบรรณาธิการ: ดร.ฐติ าภรณ์ ภมู ิไชย,์ ดร.พิศมัย จนั ทุมา, นางสาวภรภัทร สุชาตกิ ูล, นางปรดี ิ์เปรม ทัศนกุล, นางอารมณ์ โรจนส์ จุ ติ ร, นางสาวอธวิ ณี ์ แดงกนษิ ฐ์ ผู้จัดการสอ่ื ส่ิงพมิ พ:์ ดร.วทิ ยา พรหมมี ผู้จดั การสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส:์ นายชัยวัฒน์ ยศพิมสาร ผู้ชว่ ยผจู้ ัดการส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส:์ นายอาเดล มะหะหมดั พิสจู น์อักษร: นายวิชา สิงหล์ อ

2 ฉบบั อิเล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 โรคใบร่วงชนดิ ใหมข่ องยางพารา: เชือ้ สาเหตุ Pestalotiopsis sp. หรอื Colletotrichum sp.? อารมณ์ โรจน์สจุ ิตร, ชัชมนฑ์ แดงกนิษฐ์ นาถาวร, ศัลยา ยตุ มิ ิตร, สุปรยี า เทือกสุบรรณ, พงศกร เครอื เขือ่ นเพชร และ พนารัตน์ จู้ทนิ่ ศูนย์วจิ ยั ยางสุราษฎร์ธานี สถาบนั วิจยั ยาง การยางแห่งประเทศไทย โรคใบร่วงชนิดใหม่เริ่มพบการระบาดในประเทศ เดียวกันเปน็ สีเหลอื งกลม (chlorosis) ต่อมาเปน็ สีคลำ้� ด�ำ อินโดนีเซียในปี พ.ศ. 2559 และปัจจุบันแพร่ระบาดใน (bruise) และเนื้อเยอื่ แห้งตาย (necrosis) ลกั ษณะกลม ประเทศมาเลเซีย อินเดีย ศรีลังกา และประเทศไทยในปี ขนาดใหญ่ สีน้�ำตาลถึงสีขาวซีด เน้ือเย่ือรอบแผลไม่เป็น พ.ศ. 2562 ซ่ึงยังมีความสับสนในด้านเช้ือราสาเหตุของ สีเหลือง (no yellow halo) ในสภาวะอากาศเหมาะสม โรคดังกล่าว จากการสรุปรายงานประจ�ำปี ค.ศ. 2019 ท�ำใหใ้ บยางเหลอื ง และรว่ งท้ังต้นอยา่ งรวดเรว็ (อารมณ,์ ของกลุ่มอารักขาพืช (Plant Protection Specialist 2562) ประเทศอินโดนีเซียรายงานว่าในปี พ.ศ. 2562 Group) ของ IRRDB (Nguyen, 2020) รายงานวา่ ปี พ.ศ. การระบาดของโรคน้ีท�ำให้ผลผลิตยางในภาพรวมของ 2559 มีโรคใบร่วงชนิดใหม่ระบาดอย่างรุนแรงท่ีเกาะ ประเทศลดลง 15 เปอรเ์ ซน็ ต์ (Nguyen, 2020) ลักษณะ สุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย ซ่ึงในปี พ.ศ. 2561 อาการและลักษณะความรุนแรงของโรคดังกล่าวยังไม่มี กลุ่มผู้เชี่ยวชาญลงความเห็นว่าเกิดจากเชื้อรา Neofusi- รายงานการพบโรคมาก่อนในยางพารา ซึ่งลักษณะ coccum sp. ต่อมาปี พ.ศ. 2562 ตรวจเจอเชื้อรา Pesta- อาการของโรคมีความแตกต่างจากโรคใบของยางพารา lotiopsis sp. และ Colletotrichum sp. จากอาการโรค ชนิดอื่น ๆ อยา่ งชัดเจน เชน่ โรคใบจดุ กา้ งปลาจากเชื้อรา บนใบ แต่ไม่พบเช้ือ Neofusicoccum sp. ซ่ึงท�ำให้เชื่อ Corynespora cassiicola ระบาดในสภาพอุณหภูมแิ ละ กันว่าอาการของโรคนี้อาจมีสาเหตุร่วมกันโดยระยะแรก ความชื้นสูง มีลักษณะอาการของโรคหลายแบบต้ังแต่ เป็นเชื้อชนิดหน่ึง และต่อมาเป็นเชื้ออีกชนิดหน่ึงที่ท�ำให้ แผลจุดกลมจนถึงแผลไหม้ขนาดใหญ่ ท�ำให้เกิดโรคได้ ใบยางร่วง แต่ประเทศมาเลเซียซ่ึงได้รับผลกระทบจาก ทั้งบนใบอ่อน ใบแก่ กิ่ง และยอดอ่อน ท�ำให้ใบยางร่วง โรคใบร่วงชนดิ ใหม่นใี้ นปี พ.ศ. 2560 รายงานว่าเกิดจาก เช่นกัน โรคใบจุดนูนท่ีเกิดจากเชื้อ Colletotrichum เช้ือรา Pestalotiopsis sp. ประเทศศรีลังกาสรุปว่าเกิด gloeosporioides ซึ่งแสดงอาการรุนแรงในระยะใบยาง จากเชอ้ื รา 2 ชนดิ รว่ มกนั คือ Neofusicoccum sp. และ อ่อนท�ำให้ใบอ่อนร่วงแต่ใบแก่ไม่ร่วงเป็นแผลขนาดเล็ก Pestalotiopsis sp. ส�ำหรับประเทศไทยโดยผู้เขียนได้ โรคใบจดุ ตานกจากเช้อื รา Drechslera heveae และโรค ตรวจสอบและศึกษาเบ้ืองต้น รายงานว่า เกิดจากเช้ือรา แอนแทรกโนสจากเชือ้ Colletotrichum sp. ซ่ึงรุนแรงใน Colletotrichum sp. (Arom, 2020) เช่นเดียวกับการ ยางขนาดเล็ก ในสภาพดินขาดความอุดมสมบูรณ์ หรือ รายงานของประเทศอนิ เดีย (Nguyen, 2020) โรคใบที่เกิดจากเช้ือรา Phytopthora botryosa หรือ ลักษณะอาการของโรคท่ีแสดงอาการบนใบยาง P. palmivora ซึ่งท�ำให้ใบยางแก่ร่วงในช่วงฤดูฝนท่ีมีฝน แก่ มีอาการเริ่มแรกเป็นรอยช�้ำกลมใต้ใบผิวใบบริเวณ ตกหนักต่อเน่อื ง ลกั ษณะช�้ำดำ� ท่ีก้านใบ แผน่ ใบช้�ำ และ

3 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 สีซีด อาการแผลไม่มีขอบเขตที่แน่นอน หรือแม้กระทั่ง การพสิ จู น์โรคใบรว่ งชนิดใหมข่ องยางพารา โรคใบไหม้ละตนิ อเมรกิ ันสาเหตจุ ากเชื้อรา Microcyclus ตามหลกั เกณฑข์ อง Robert Koch ulei หรือปจั จบุ นั ใช้ชือ่ Pseudocercospora ulei (Hora (Koch’s Postulates) Junior et al., 2014) ซงึ่ จดั เป็นโรคใบที่ร้ายแรงทสี่ ดุ ของ ยางพารา ท�ำให้ยางพาราต้ังแต่ใบระยะอ่อนมากจนถึง จากท่ีรายงานมาข้างต้น จะเห็นว่าในเรื่องเช้ือ ใบแก่เกิดโรค ท�ำให้ใบร่วงอย่างรุนแรง แพร่ระบาด สาเหตุของโรคยังมีความสับสนแม้ว่าโรคน้ีได้อุบัติขึ้นมา เฉพาะในแหล่งก�ำเนิดยางเดิม ทวีปอเมริกากลางและ เป็นระยะเวลา 4 ปี แล้ว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ดังนั้น อเมริกาใต้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2454 ซึ่งเร่ิมปลูกยางใน ประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศปลูกยางและเป็นแหล่งผลิต ระบบการปลูกเพื่อการค้าเป็นคร้ังแรกในประเทศซูรินาม ยางที่ส�ำคัญอันดับ 1 ของโลกได้รับผลกระทบอย่าง เพียงระยะหลังปลูก 7 ปี ได้เกิดโรคระบาดอย่างรุนแรง รุนแรงจากโรคชนิดนี้เช่นกัน เพื่อค้นหาสาเหตุท่ีแท้จริง เป็นคร้ังแรกในปี พ.ศ. 2461 และไม่ว่าจะเร่ิมปลูกใน ส�ำหรับการหามาตรการการควบคุมโรคให้มีประสิทธิ- แหล่งใดก็ถูกท�ำลายด้วยโรคอย่างรุนแรงก่อนถึงระยะ ภาพและประสิทธิผล อย่างถูกทิศทาง จึงต้องทราบ เก็บเกี่ยว ท�ำให้การปลูกยางในประเทศแถบนี้ไม่ประสบ สาเหตุท่ีแท้จริง การพิสูจน์โรคตามหลักการพิสูจน์โรค ความส�ำเร็จจนถงึ ปจั จุบนั (Lieberei, 2007) ประเทศจนี ของ Robert Koch จึงจ�ำเป็นตอ้ งด�ำเนนิ การตามข้นั ตอน ได้ศึกษาโรคใบของยางพาราที่มีสาเหตุจากเช้ือรา ดังน้ี Colletotrichum spp. ใน Hainan, Guangdong, 1) ความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อโรคและพืชอาศัย Guangxi และ Yunnan วิเคราะห์เช้ือโดยใช้วิธีการทาง ส่วนของพืชที่แสดงอาการโรคท่ีเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ จะ multi-locus phylogenetic analysis และ phenotypic พบเชือ้ จุลินทรีย์ทเ่ี ป็นสาเหตุโรคนั้น characteristics พบว่ามี 4 ลักษณะอาการ คอื 1) อาการ 2) การแยกเชื้อ สามารถแยกเช้ือจุลินทรีย์จาก แผลจดุ ไมเ่ รยี บ (raised spot) สาเหตจุ ากเชอ้ื C. acutatum สว่ นของพชื ท่ีเป็นโรค ให้เป็นเชื้อบรสิ ุทธ์ิ species complex 2) อาการแอนแทรกโนส (anthrac- 3) การปลูกเชื้อกลับเข้าพืชอาศัย นำ� เชื้อบริสุทธ์ิท่ี nose) และ 3) อาการแผลเป็นวง ๆ (papery lesion) แยกได้ ใสก่ ลบั เขา้ ไปกบั พชื ชนิดเดิมแล้วพชื แสดงอาการ สาเหตุจากเชื้อ C. gloeosporioides species complex โรคเหมอื นกับทพี่ บคร้งั แรก และ 4) อาการแผลสนี �้ำตาลไม่เรยี บในใบยางออ่ น (dark 4) การแยกเช้อื และปลกู เช้อื ซ้ำ� อกี ครงั้ เม่ือท�ำการ brown shrinking lesions) สาเหตุจากเชือ้ C. acutatum แยกเช้ือจากพืชที่เป็นโรค ในข้อ 3 ให้เป็นเชื้อบริสุทธิ์อีก species complex (Xianbao et al., 2018) คร้ัง และเม่ือปลูกเชื้อกลับเข้าสู่พืชอีกครั้ง พืชจะแสดง เช้ือสาเหตุโรคต่างชนิดเป็นสาเหตุท�ำให้เกิดโรคที่ อาการโรคเชน่ เดิม แตกต่างกันอาจเป็นลักษณะอาการ ระยะใบ สภาพภูมิ ในสภาพความเป็นจริง นอกจากยางพาราจะเป็น อากาศและสง่ิ แวดล้อม พนั ธ์ทุ ่ีอ่อนแอหรือตา้ นทาน หรอื โรครุนแรงแล้ว จะพบว่ามีพืชชนิดอื่นท้ังที่เป็นวัชพืชใน แม้กระทั่งพืชอาศัยอื่น ๆ ของตัวเช้ือสาเหตุ โรคใบร่วง สวนยาง พืชปลูกที่ใกล้เคียงแปลงโรคยางระบาดก็พบ ชนิดใหม่ก็เช่นกัน ในเบ้ืองต้นมีลักษณะอาการของโรคที่ แสดงอาการโรคท่ีมีลกั ษณะอาการใกลเ้ คียงกบั ยางพารา แตกต่างอย่างชัดเจนจากโรคใบที่กล่าวมา จึงจ�ำเป็น ในช่วงเวลาเดียวกัน บางชนิดเป็นโรคอย่างรุนแรง จึงได้ เก็บตัวอยา่ งมาศึกษาเชอ้ื สาเหตุดว้ ยเชน่ กัน อย่างยิ่งท่ีจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาสาเหตุของโรคท่ีแท้จริง เพ่ือการพัฒนาการควบคุมโรคและการจัดการได้อย่าง ความสัมพันธ์ระหว่างเช้ือโรคและพืชอาศัยส่วนของ ถูกทิศทางและมีประสิทธิภาพ ซึ่งในหลักการของโรคพืช พืชท่ีแสดงอาการโรคที่เกิดจากเช้ือจุลินทรีย์ จะพบ วิทยาใช้หลักการพิสูจน์โรคตามหลักเกณฑ์ของ Robert เชอ้ื จุลนิ ทรยี ท์ เ่ี ป็นสาเหตุโรคนั้น Koch (Koch’s Postulates) การตรวจสอบเชื้อสาเหตจุ ากสว่ นของพืชท่เี ป็นโรค กระท�ำโดยน�ำตัวอย่างใบยางที่เป็นโรคมาตรวจสอบเชื้อ

4 ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 จุลนิ ทรยี ท์ แ่ี สดงอาการโรคโดยใช้เทคนคิ เฉพาะการตรวจ ก�ำจัดเช้ือราแล้ว อาจพบเช้ือราท้ัง Cercospora, Co- สอบเช้ือรา เน่ืองจากลักษณะอาการบ่งบอกว่าเกิดจาก rynespora และเช้ือราลักษณะรูปกระสวย (fusiform) สี เช้ือจุลินทรีย์ประเภทรา (fungi) โดยน�ำมาบ่มในกล่อง น�้ำตาลทั้งชนิดเซลล์เดยี ว และ 2 เซลล์ (ภาพท่ี 2) พลาสติกใสใหค้ วามช้นื 1-2 วัน (moist chamber) ตรวจ สอบลักษณะของเช้ือราที่เจริญบริเวณแผลภายใต้กล้อง การแยกเช้ือ สามารถแยกเชื้อจุลินทรีย์จากส่วนของ สเตอริโอไมโครสโคป และตรวจสอบลักษณะสปอร์ พืชที่เปน็ โรค ให้เปน็ เชอ้ื บริสุทธ์ิ (spore) หรือ โคนเิ ดีย (conidia) และลกั ษณะอน่ื ๆ เพื่อ เก็บตัวอย่างใบยางพาราที่แสดงอาการโรคจาก แยกชนิดของเชื้อราเบ้ืองต้นภายใต้กล้องจุลทรรศน์กำ� ลัง พ้ืนที่ระบาดจากต่างพื้นท่ีและต่างเวลาการเก็บตัวอย่าง ขยายสูง จาก จังหวัดนราธิวาส ยะลา ตรัง พังงา สุราษฎร์ธานี จากใบยางที่ร่วงใหม่ ๆ หรือใบยางเป็นโรคที่เก็บ กระบ่ี และ พัทลุง และจากพืชอ่ืน ๆ ที่พบอาการโรคใน จากต้น เม่ือน�ำมาบ่มเช้ือในกล่องท่ีให้ความชื้น 1-2 วัน สวนยางและใกล้เคียงแปลงยางท่ีเป็นโรค ตั้งแต่เดือน และตรวจสอบเช้ือราที่เจริญทั้งบนอาการเนื้อเยื่อตาย กันยายน 2562 จนถึงเดือนมีนาคม 2563 มาแยกเลี้ยง และบริเวณผิวใบรอบแผลสามารถตรวจพบกลุ่มเชื้อรา เชื้อบนอาหารเล้ียงเช้ือ PDA ในห้องปฏิบัติการ โดยวิธี Colletotrichum (ภาพที่ 1) ซ่ึงมีทั้งกลุ่มเชื้อใหม่ มี tissue transplanting technique โดยน�ำส่วนของพืชท่ี ลักษณะกลุม่ โคนเิ ดีย (conidiomata) เปน็ หยดสสี ้ม และ เป็นโรคมาตัดเป็นช้ินส่ีเหล่ียมขนาด 2 x 2 มิลลิเมตร กลุ่มเช้ือท่ีเกิดอยู่เดิมบนแผลเก่า มีลักษณะเป็นกลุ่ม บริเวณขอบแผลให้คาบต่อส่วนท่ีเป็นโรคและไม่เป็นโรค ขนาดเล็ก สีด�ำ มี setae กระจายอยู่บนเนื้อเย่ือแผล ซ่ึง ท�ำความสะอาดผิว (surface disinfectant) ด้วยการแช่ มักพบในใบยางที่ร่วง และเป็นแผลเก่าที่ได้รับความชื้น ล้างในสารละลายคลอรอกซ์ 10 เปอร์เซ็นต์ (sodium หากตดั เนอื้ เยอ่ื ตามขวาง (cross section) จะเหน็ fruiting hypochlorite 10%) เป็นเวลา 0.5-1 นาที จากน้ันล้าง body หรอื acervulus เจรญิ โผลจ่ ากช้นั ผวิ ใบ เม่อื ตรวจ ด้วยน้�ำกลั่นนึ่งฆ่าเชื้อแล้ว 2 ครั้ง แล้วนำ� ช้ินพืชท่ีได้วาง สอบโคนเิ ดียภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พบวา่ โคนเิ ดีย เปน็ บนอาหารเล้ียงเช้ือ PDA ในจานทดลองขนาดเส้นผ่าน เซลล์เดียว ใส ลักษณะหัวท้ายมน (cylindrical shape) ศนู ย์กลาง 10 เซนติเมตร ต้ังบ่มไวใ้ นสภาพอณุ หภูมิห้อง สามารถตรวจพบ setae คลา้ ยเสน้ ขนสีน้ำ� ตาลเข้มปลาย เป็นเวลา 3-5 วัน แยกเช้ือราท่ีเจริญออกมาจากชิ้นส่วน แหลมมผี นงั กั้น (septate) ซ่งึ เปน็ เชือ้ รา Colletotrichum พืชให้บริสุทธิ์บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA ตรวจสอบ (Sutton, 1980) นอกจากนี้ ยงั พบลกั ษณะนใี้ นอาการโรค ลักษณะเส้นใย โคโลนี และการสร้างสปอร์ หรือโคนิเดีย ของพืชชนิดอื่นในแปลงยางท่ีเป็นโรคอย่างรุนแรงหรือ เพ่อื ตรวจสอบชนดิ ของเชือ้ ในเบอ้ื งต้น บริเวณใกล้เคียง ท้ังประเภทพืชใบเล้ียงเด่ียว ใบเลี้ยงคู่ จากการแยกเลี้ยงเช้ือราบนอาหารเล้ียงเชื้อ PDA รวมทงั้ เฟิร์นบางชนดิ ซงึ่ จะรายงานในโอกาสตอ่ ไป หลังการเพาะบ่ม 2-3 วัน เช้ือราเจริญออกมาจากชิ้นพืช ส�ำหรับใบยางที่ร่วงมานานเป็นระยะเวลาหนึ่งท่ี สามารถแยกเชื้อราบริสุทธิ์ท่ีเจริญออกมาได้ เช้ือราที่ ยังไม่ถูกย่อยสลาย สามารถตรวจพบเชื้อรา Colletotri- เจริญออกมามักมีเพียง 1-2 ชนิดที่มีความแตกต่าง chum ซึ่งมีลักษณะจุดด�ำกระจายบนแผลเก่า และกลุ่ม เท่าน้ัน โดยเช้ือราที่เจริญออกมาจากช้ินส่วนโรคส่วน โคนเิ ดียสีส้ม บรเิ วณเนอื้ เยอื่ รอบแผลเกา่ แล้วยังมเี ชอื้ รา ใหญ่ 81 เปอรเ์ ซน็ ต์ เปน็ เชือ้ รา Colletotrichum ลักษณะ อ่นื ๆ ปะปนมากกวา่ 2 ชนิด ซึง่ บางครง้ั พบกลุ่มเช้ือราสี โคโลนีสีขาวเทา มีกลุ่มสปอร์สีส้ม และร้อยละ 18 เป็น ด�ำเข้ม ตรวจสอบลักษณะภายใต้กล้องก�ำลังขยายสูงมัก เช้ือราที่ มีลักษณะโคโลนีสีขาว เส้นใยละเอียดถึงหยาบ พบกลมุ่ เชอื้ ราทม่ี โี คนเิ ดยี คลา้ ย Cercospora, Corynespora ตรวจสอบกลมุ่ โคโลนเี บอ้ื งต้น เปน็ เช้อื รา Pestalotiopsis และกลุ่มเช้ือ Lasiodiplodia และจากการตรวจสอบ นอกจากนี้เป็นเชื้อราอื่น ๆ ซง่ึ นอ้ ยมาก (ตารางท่ี 1) จาก เน้ือเยื่อใบบนอาการโรคเดิมมีลักษณะเปื่อยถูกย่อย การแยกเล้ียงเชื้อพบว่า ส่วนใหญ่จะแยกได้เช้ือรา สลาย และจากใบร่วงที่ผ่านการฉีดพ่นสารเคมีป้องกัน Colletotrichum sp. บริสุทธิ์เพียงชนิดเดียว (ภาพที่ 3)

5 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 และจากการเพาะแยกเลี้ยงเช้ือทุกตัวอย่างจะไม่พบเชื้อ การเก็บรักษาก่อนการแยกเล้ียงเชื้อแล้ว ยังพบว่า ระยะ รา Pestalotiopsis เจริญออกมาจากเน้ือเยื่อพืชเพียง ของอาการของโรคมีผลต่อชนดิ ของเชอ้ื ราที่เจริญออกมา ชนิดเดียวต้องมีเช้ือรา Colletotrichum ที่มีลักษณะ ซึ่งมักพบว่า การแยกเลี้ยงเช้ือจากอาการของโรคท่ี โคโลนสี ขี าวเทารว่ มด้วยเสมอ พัฒนาเต็มท่ีแล้ว ส่วนใหญ่จะแยกได้เชื้อ Colletotri- เป็นที่สังเกตว่า การแยกเลี้ยงเช้ือจากอาการโรคที่ chum ลักษณะโคโลนีสีขาวเทาเพียงชนิดเดียว หากแยก เก็บใหม่ทั้งจากใบสดจากต้นและใบท่ีร่วง หากแยกเล้ียง เล้ียงเช้ือจากอาการระยะก�ำลังพัฒนามักได้เช้ือราเจริญ เชื้อภายใน 1 สัปดาห์ มีโอกาสแยกได้เชื้อรา Colletotri- ออกมามากกว่า 2 genus (ภาพที่ 4) ได้แก่ Colletotri- chum บริสุทธ์ิเพียงชนิดเดียวมากกว่าใบยางเก่า หรือ chum, Pestalotiopsis, Phomopsis และ Phyllosticta ตัวอย่างท่ีเก็บไว้เป็นระยะเวลานาน นอกจากระยะเวลา ซึ่งแสดงให้เห็นว่านอกจากเช้ือสาเหตุโรคเจริญออกมา ตารางท่ี 1 การแยกเชอื้ ราบรสิ ทุ ธจ์ิ ากชนิ้ สว่ นพชื ทเ่ี ปน็ โรคของยางพาราจากแหลง่ ระบาด เดอื นกนั ยายน 2562-มนี าคม 2563 สถานที่ สว่ นของพืช วันทเ่ี ก็บ/แยกเลีย้ งเช้อื จำ� นวนตัวอยา่ ง Colletotrichum: Pestalotiopsis: นราธิวาส ใบสด 13 ก.ย. 62/26 ก.ย. 62 6 เชือ้ ราอื่น ๆ1 ใบสดและใบรว่ ง 14 พ.ย. 62/18 พ.ย. 62 5 13 พ.ย. 62/18 พ.ย. 62 1 35:42:6 ยะลา ใบสด 18 -19 พ.ย. 62/ 29 พ.ย. 62 9 30:15 พังงา ใบสดและใบร่วง 18 พ.ย. 62/29 พ.ย. 62 1 3:2 17-18 ม.ี ค. 63/24 มี.ค. 63 9 61:8 กงิ่ เขียว 30 ต.ค. 62/4 พ.ย. 62 6 7:3 ใบสด (แปลงก่ิงตา) 21-22 พ.ย. 62/26 พ.ย. 62 2 42:2 ตรัง ใบสดและใบร่วง 18 ม.ี ค. 63/24 ม.ี ค. 63 1 58:2 19 พ.ย. 62/29 พ.ย. 62 1 18:1:1 ใบรว่ ง 12 ธ.ค. 62/13 ธ.ค. 62 4 5:0 ใบรว่ งเกา่ 7 ม.ค. 63/8-9 ม.ค.63 2 9:0 สุราษฎร์ธานี ใบสด 11 ม.ี ค. 63/13 มี.ค. 63 2 15:2 ใบสดและใบรว่ ง 11-12 ม.ี ค.63/13 ม.ี ค. 63 3 8:1 19 มี.ค .63/24 ม.ี ค. 63 1 15:0 ใบสด 26:3 ใบรว่ งอาการใหม่ 5:0 กระบี่ ใบสด พัทลงุ ใบเกา่ ทีร่ ่วงกอ่ นพ่น สารเคมี จำ� นวนชน้ิ ตวั อยา่ งทแี่ ยกไดเ้ ชอ้ื Colletotrichum sp. : Pestalotiopsis sp. : อน่ื ๆ เทา่ กบั 408 : 89 : 7 (81 : 18 : 1) 1หมายถงึ จำ� นวนโคโลนเี ชอ้ื ราทีเ่ จริญตามชนิ้ เนอ้ื เยื่อพชื ท่ีนำ� มาเพาะเล้ียงบนอาหารเลี้ยงเชอื้ PDA

6 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 แล้ว อาจมีเชื้อชนิดอื่นซ่ึงอาจจะเป็นเช้ือชนิดท่ีอาศัยร่วม บรสิ ทุ ธไ์ิ ดท้ ง้ั หมด 45 ไอโซเลท ทง้ั นไ้ี มร่ วมไอโซเลทเชอื้ รา อยใู่ นเนือ้ เยื่อพืชปกติ (endophytic fungi) เจริญออกมา ที่แยกได้จากพืชชนิดอ่ืนอีกหลายชนิดในแหล่งระบาด ด้วยเช่นกัน ท้ังน้ีสันนิษฐานว่า เน้ือเย่ือใบที่เป็นโรคใน โรคชนดิ ใหม่ของยางพาราทส่ี ามารถแยกเช้อื รา Colleto- ระยะก�ำลังพัฒนานั้น เชื้อสาเหตุท่ีท�ำให้เกิดโรคสามารถ trichum บริสุทธิ์ลักษณะเดียวกับที่แยกได้จากยางพารา เข้าครอบครองและพัฒนาในเนื้อเย่ือพืชไม่เต็มท่ีน่ันเอง ซ่ึงจะรายงานในเรื่องพืชอาศัยของโรคใบร่วงชนิดใหม่ ซ่ึงเชื้อราทั้ง 4 ชนิดดังกล่าวมีคุณสมบัติเป็นได้ทั้งท�ำให้ ของยางพาราและการพิสูจน์โรคในครัง้ ตอ่ ไป เกิดโรค (pathogen) และอาศัยอยู่ในเนื้อเย่ือพืชปกติ ลักษณะของเชอ้ื รา Pestalotiopsis โคโลนสี ขี าว มี (endophyte) ไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ โรค (Amirita et al., 2012) ทง้ั ไอโซเลทท่ีมีเสน้ ใยสีขาวละเอียด สขี าวหยาบ เส้นใยฟู ลักษณะของเชื้อ Colletotrichum โคโลนีมีสีขาว เส้นใยละเอียดไม่ฟู บางไอโซเลทสร้างกลุ่มโคนิเดียสีด�ำ เทา เส้นใยฟูเล็กน้อย สร้างโคนิเดียได้อย่างรวดเร็ว จะ เข้มปริมาณมาก และบางไอโซเลทสร้างน้อยมาก ซึ่งจะ เหน็ กลมุ่ โคนเิ ดยี สีสม้ ชัดเจนภายใน 3-4 วนั หลงั โคโลนีมี พบการเจริญของเชื้อจากช้ินพืชที่เพาะเลี้ยงเพียง 18 ลักษณะสีเทาเข้มและจางเป็นวง ๆ ซ่ึงหากเพาะเลี้ยงใน เปอร์เซ็นต์ และไม่พบเชื้อรา Pestalotiopsis เจริญออก ช่วง 1-5 วัน หลังการเก็บตัวอย่าง มักจะได้เช้ือรา มาเพียงชนิดเดียวจากชิ้นพืชที่เพาะเลี้ยงบน PDA ใน Colletotrichum เพียงชนิดเดียว จากน้ันแยกบริสุทธ์ิโดย แต่ละตัวอย่าง ส่วนใหญ่ใบยางที่เก็บตัวอย่างมาแล้ว ใช้เข็มเขี่ยเช้ือตัดขอบโคโลนีตัดเส้นใยอ่อนน�ำไปเพาะ ท�ำการแยกเล้ียงเชื้อช้าหากเก็บรักษาในตู้เย็นนานกว่า เล้ียงบนอาหารเลี้ยงเช้ือ PDA ในจานทดลอง ตรวจสอบ 10 วัน มักจะแยกได้เชื้อ Pestalotiopsis ปะปนมากับเชือ้ ลักษณะเชื้อรา และย้ายเก็บใน PDA slant ในหลอด Colletotrichum เสมอ ทดลอง เพ่ือเก็บไว้ศึกษาในขัน้ ต่อไป เชื้อราชนดิ อ่นื ๆ เชน่ Phomopsis ลกั ษณะเส้นใย ลักษณะโคโลนีบนอาหารเล้ียงเช้ือ PDA ในจาน และโคโลนีคล้าย Pestalotiopsis ลักษณะเส้นใยฟูขาว ทดลอง ลักษณะโคโลนีเช้ือราเป็นสีขาวเทาจนถึงสีเทา สร้างกลุ่มโคนิเดียสดี ำ� ตรวจพบลกั ษณะโคนิเดยี 2 แบบ เข้ม เส้นใยฟูเล็กน้อย-ปานกลาง สร้างกลุ่มโคนิเดียสีส้ม คือ แบบเบต้าโคนิเดีย (beta conidia) มีลักษณะแบบ (conidiomata) และ conidiogenous cells สีด�ำ ใต้ เส้นโค้งคล้ายคิ้ว ใส และแบบแอลฟาโคนิเดีย (alpha โคโลนเี ปน็ วงสเี ทาเขม้ จางสลบั กนั และสามารถเห็นกลุม่ conidia) ลักษณะเซลล์เดียว ใส คล้ายโคนิเดียของ conidiogenous cells สีด�ำ และกลุม่ โคนเิ ดียสีสม้ เชือ้ รา Colletotrichum แต่มีขนาดเล็กกว่า เช้ือราคล้าย สามารถเจริญเต็มจานทดลองขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง Phyllosticta ลักษณะโคโลนีสีเทาเข้มถึงสีด�ำ เจริญเป็น 9.0 เซน็ ติเมตร ภายใน 8-10 วนั ในสภาพอุณหภูมปิ กติ โคโลนีแนน่ มาก เจรญิ ช้า อาหารเลีย้ งเช้อื ใตโ้ คโลนีมรี อย เมื่อโคโลนีเชื้อราอายุมากข้ึน กลุ่มโคนิเดียสีส้ม อาจ แตก ซึ่งเช้ือราในกลุ่มน้ีมักได้จากใบยางสดในระยะเร่ิม เปลี่ยนเป็นสีคล�้ำด�ำ มี setae และมีกลุ่ม conidioge- ต้น คืออาการเป็นรอยช้�ำเป็นวง ๆ หรือระยะเร่ิมเปล่ียน nous cells สีด�ำในอาหาร PDA ลักษณะโคนิเดีย เป็น เป็นสเี หลอื ง (chlorosis) (ภาพที่ 4) ซง่ึ อาจจะเปน็ เช้อื รา ลักษณะเซลล์เดียว ใส ทรงกระบอกตรง หัวท้ายมน จำ� พวก endophyte (cylindrical shape) ซึ่งจะท�ำการศึกษารายละเอยี ดทาง ด้านสัณฐานวิทยาเปรียบเทียบของแต่ละไอโซเลท และ การปลูกเชื้อกลับเข้าพืชอาศัย น�ำเช้ือบริสุทธ์ิท่ีแยก ลักษณะทางพันธุกรรม เพ่ือศึกษาค้นหาชนิด (specie) ไดใ้ สก่ ลบั เขา้ ไปกบั พชื ชนิดเดิมแล้ว พืชแสดงอาการ ของเช้อื ราตอ่ ไป โรคเหมอื นกบั ท่ีพบครัง้ แรก ต้ังแต่เร่ิมพบโรคระบาดเม่ือเดือนกันยายน 2562 วิธีการทดสอบความสามารถในการท�ำให้เกิดโรค จนถึงเดือนมีนาคม 2563 ได้เก็บตัวอย่างโรคจากใบยาง โดยใช้เชื้อรา Colletotrichum sp. ท้ังท่ีแยกได้จาก ทั้งจากพ้ืนที่ระบาดในจังหวัดต่าง ๆ และในระยะเวลาท่ี ยางพาราและพชื ชนิดอน่ื เชือ้ Pestalotiopsis sp. ทแ่ี ยก แตกต่าง สามารถแยกเกบ็ เชอื้ รา Colletotrichum ที่แยก ไดจ้ ากยางพารา เพาะเลยี้ งบน PDA เปน็ เวลา 10-15 วัน

7 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 จากนั้นท�ำสารแขวนลอยสปอร์ให้มีความเข้มข้น จากอาการโรคจากใบยางพารา (ภาพท่ี 5) และพืชชนิด ประมาณ 105-106 โคนิเดียต่อมิลลิลิตร ปลูกเชื้อบนใบ อื่นบางไอโซเลท พบว่า ทุกไอโซเลทท่ีท�ำการทดสอบ ยางพันธุ์ RRIM 600 ท�ำความสะอาดผิวโดยจุ่มล้างใน สามารถท�ำให้เกิดโรคและลักษณะอาการคล้ายโรคท่ีเกิด แอลกอฮอล์ 75 เปอร์เซน็ ต์ 1 ครง้ั และจุ่มล้างในน้ำ� กลน่ั ในธรรมชาติ ท้ังการปลูกเชื้อกับใบยางโดยวิธีท�ำแผล ทน่ี ง่ึ ฆ่าเชือ้ แลว้ 2 ครง้ั โดยในระยะแรกการทดสอบความ หยดสารแขวนลอย และวิธีไม่ท�ำแผลโดยการจุ่มลงใน สามารถท�ำให้เกิดโรคของเช้ือราบางไอโซเลท ปลูกเชื้อ สารแขวนลอยโคนิเดีย ซ่ึงในท่ีน้ีจะแสดงเฉพาะเช้ือท่ี กับใบยาง 2 ระยะคือ ระยะใบยางค่อนข้างแก่ อายุใบ แยกได้จากยางพาราเท่าน้นั ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 2 ประมาณ 1 เดือน และใบแก่ อายุใบประมาณ 1.5-2 โดยใบยางแสดงอาการของโรคอย่างรวดเร็ว เร่ิมแสดง เดอื น อาการ 1-2 วันหลังการปลูกเชื้อลักษณะแผลช้�ำด�ำกลม การปลูกเชื้อใบย่อยบ่มในกล่องพลาสติกใสให้ จากน้ันขยายออกเป็นเน้ือเยื่อตาย (necrosis) สีน�้ำตาล ความชนื้ ถงึ ขาวซีด ขนาดแผลใหญ่กลม ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 1) ปลูกเช้ือโดยท�ำแผลผิวใบด้านบนด้วยปลาย มากกวา่ 1 เซนตเิ มตรภายในระยะเวลาเพยี ง 4 วนั หลัง เข็มเข่ียเช้ือท่ีเผาฆ่าเชื้อแล้ว และหยดสารแขวนลอย ปลูกเช้ือ เนื้อเยื่อใบรอบแผลช้�ำด�ำ ซ่ึงเป็นระยะลุกลาม โคนิเดียด้วยหลอดหยดฆ่าเชื้อ 1 หยด บ่มในกล่อง แตไ่ มม่ ีสเี หลอื งลอ้ มรอบ (no yellow halo) แสดงอาการ พลาสติกใสที่รองด้วยกระดาษทิชชู่น่ึงให้ความช้ืนด้วย เด่นชัดคล้ายกับอาการโรคในธรรมชาติ สร้างกลุ่ม น้�ำกลั่นท่นี ่ึงฆ่าเชื้อแล้ว กลอ่ งละ 4 ใบ ปดิ ฝากลอ่ ง ตงั้ ไว้ โคนิเดียสีสม้ อยา่ งรวดเรว็ และปรมิ าณมาก โดยใบยางใน ในสภาพอณุ หภมู หิ อ้ ง ระยะที่ยังแก่ไม่เต็มที่ ลักษณะอาการโรคช้�ำด�ำ ลุกลาม 2) ปลูกเชื้อโดยวิธีการจุ่มใบลงในสารแขวนลอย อย่างรวดเร็วกว่าใบแก่กว่า ส่วนการปลูกเชื้อทั้งพุ่มใบ โคนิเดียโดยไม่ท�ำแผล (soaking) วางบ่มในกล่อง โดยวิธีการจุ่มลงในสารแขวนลอยเช้ือ พบว่า ใบยาง พลาสติกใสรองด้วยกระดาษทิชชู่ให้มีความชื้นเช่นเดียว แสดงอาการรวดเรว็ เชน่ เดียวกนั และพบว่า ใบยางท่เี ปน็ กับข้อ 1 กล่องละ 4 ใบ ปิดฝากล่อง โรคเริ่มร่วงภายใน 3-4 วันหลังการปลูกเชื้อ นอกจากนี้ การปลูกเช้ือโดยการใช้พุ่มใบฉัตรบนสุด อายุ เชอื้ ราสามารถเข้าทำ� ลายบริเวณกา้ นใบ ส่วนลำ� ตน้ ทเี่ ปน็ ประมาณ 1.5-2 เดือน สีเขียว และบริเวณข้อต่อของก้านใบกับส่วนต้น ท�ำให้ 3) ตัดพมุ่ ใบยางฉตั รบนสดุ อายใุ บประมาณ 1.5- กา้ นใบ ล�ำตน้ มีลักษณะช�ำ้ ด�ำ อาจพบหยดน�ำ้ ยาง คลา้ ย 2 เดือน นำ� มาปลูกเชอ้ื โดยวิธีการจุม่ ลงในสารแขวนลอย การเขา้ ทำ� ลายของโรคใบรว่ งทเ่ี กดิ จากเชอื้ ราไฟทอบธอรา สปอร์ จากน้ันเลี้ยงพุ่มใบโดยแช่ก่ิงในน�้ำกลั่นนึ่งในขวด ท�ำให้ใบยางร่วงทั้งก้าน และหากปล่อยให้มีความชื้นสูง น้�ำ และคลุมพุ่มใบด้วยถุงพลาสติกใสท่ีให้ความช้ืนด้วย ต่อเนือ่ งใบยางรว่ งหมดหลังปลูกเช้ือภายใน 8 วันเท่านั้น น้�ำกลั่นนึ่งฆ่าเช้ือ มัดปากถุงกับขวดให้แน่น วางไว้ใน บริเวณท่ีเป็นโรคจะสร้างกลุ่มสปอร์สีส้มอย่างรวดเร็ว สภาพอุณหภูมหิ อ้ ง และในปรมิ าณมาก เน่ืองจากเชื้อราที่น�ำมาใช้ในการปลูกเช้ือเป็นเชื้อ ผลการทดสอบความสามารถในการท�ำให้เกิดโรค ราจากโรคใบร่วงชนิดใหม่ท่ีเพิ่งพบอาการของโรคและ ของเช้อื รา Pestalotiopsis จากการใช้เชือ้ ราท่แี ยกไดจ้ าก ระบาดอย่างรุนแรงครั้งแรก ยังไม่พบอาการของโรคใน ใบยาง 5 ไอโซเลท คือ จากจังหวัดนราธิวาส ตรัง และ พื้นท่ีศูนย์วิจัยยางสุราษฎร์ธานีและบริเวณใกล้เคียง สรุ าษฎร์ธานี จงั หวัดละ 2, 2 และ 1 ไอโซเลท ตามล�ำดบั ดังน้ัน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือรา จึงท�ำการ ผลการปลูกเช้ือพบว่า ไม่แสดงอาการของโรค ยกเว้น ทดลองเฉพาะในห้องปฏิบัติการ และไม่ปลูกเช้ือโดยวิธี เชอ้ื ราไอโซเลท 10/2 ทแี่ ยกไดจ้ ากใบยาง จงั หวดั ตรงั พบวา่ การฉดี พ่น ใบยางบางใบแสดงอาการแผลเน้ือเยื่อตายสีขาวซีดกลม ผลการทดสอบความสามารถในการท�ำให้เกิดโรค หลังปลูกเช้ือ 3-4 วัน แต่มีขนาดแผลเล็กมาก ประมาณ ของเช้ือรา Colletotrichum จากการใช้เชื้อราที่แยกได้ 2-3 มิลลิเมตร และรอบแผลเน้ือเยื่อใบเป็นสีช�้ำเล็กน้อย

8 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ตารางท่ี 2 การทดสอบความสามารถในการทำ� ใหเ้ กดิ โรคของเชอ้ื Colletotrichum ทแี่ ยกจากยางพาราบางไอโซเลท ไอโซเลท สถานท่ี วธิ ีการปลกู เชือ้ หมายเหตุ 1 3.2 นราธวิ าส ท�ำแผล จุ่ม ฉตั รใบ 4.1.3 (ครงั้ ที่ 1) นราธิวาส 2 4.1.3 (ครง้ั ท่ี 2) นราธิวาส √√ √ 4.1.3 (ครงั้ ที่ 3) นราธิวาส XX 10/2 ตรัง XX 11 ตรงั #X 12/1 ตรัง √√ √ 42-2 พังงา √√ √ 71/1 สรุ าษฎรธ์ านี √√ √ 82 สุราษฎร์ธานี √ เน่าช้ำ� 86 สุราษฎร์ธานี √√ √ 101 พังงา √√ √ 115 สุราษฎร์ธานี √√ √ 124 กระบี่ √√ √ 130 กระบี่ √√ 138 กระบี่ √√ √ 144 พัทลุง √√ √ 145 ตรัง √√ √ √√ √ √√ √ √ หมายถงึ แสดงอาการโรค ลกั ษณะช้ำ� ดำ� และเนือ้ เยือ่ ตายสขี าวซีด แผลกลมขนาดใหญ่ รอบแผลไม่เปน็ yellow halo X หมายถึง ไมแ่ สดงอาการโรค # ลกั ษณะอาการเป็นจดุ เลก็ มี yellow halo หมายเหตุ 1 หมายถึง เช้อื รา Colletotrichum ทแี่ ยกไดเ้ ปน็ โคโลนสี ีขาวไม่ฟู สรา้ งกลมุ่ สปอรส์ สี ม้ เข้มตง้ั แตข่ นั้ ตอน การแยกเชือ้ ซ่ึงมีความแตกตา่ งทางลกั ษณะโคโลนีเพียงไอโซเลทเดียวของ Colletotrichum ที่แยกได้ หมายเหตุ 2 หมายถงึ เช้อื ทแ่ี ยกไดจ้ ากการปลกู เชอื้ Colletotrichum ไอโซเลท 86 และพบว่า แผลที่เกิดไม่ขยายลุกลาม แม้ว่าจะบ่มเชื้อ แสดงอาการขยายขนาด และสร้างส่วนขยายพันธุ์ ต่อเน่ืองเป็นเวลาหลายวัน และสามารถมองเห็นการ (conidia) อยา่ งรวดเรว็ เจริญของเช้ือในบริเวณท่ปี ลกู เชอื้ กต็ าม (ภาพที่ 6) ซงึ่ จะ แตกต่างกับอาการของโรคท่ีปลูกเช้ือ Colletotrichum ท่ี

9 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ตารางที่ 3 การทดสอบความสามารถในการทำ� ใหเ้ กดิ โรคของเชอ้ื Pestalotiopsis ทแี่ ยกจากยางพาราบางไอโซเลท ไอโซเลท สถานท่ี วิธีการปลกู เชื้อ หมายเหตุ ทำ� แผล จมุ่ 1 อ. ระแงะ จ. นราธิวาส X X 2.1.3 อ. ระแงะ จ. นราธวิ าส X X 10.1 อ. ยา่ นตาขาว จ. ตรงั อ. X X 10.2 ยา่ นตาขาว จ. ตรงั ตรงั √ X แผลขนาดเล็ก เกิดนอ้ ยมาก และไม่พฒั นา 84 อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี X X √ หมายถึง แสดงอาการเน้อื เยอ่ื ตาย สซี ีด ขาวกลม รอบแผลไมเ่ ปน็ yellow halo X หมายถึง ไมแ่ สดงอาการโรค การแยกเช้ือและปลูกเช้ือซ้�ำอีกครั้ง ท�ำการแยกเชื้อ ศึกษาหาสาเหตุของโรคตามหลัก Koch’s Postulates จากพชื ทเ่ี ป็นโรค ในข้อ 3 ใหเ้ ปน็ เชือ้ บริสทุ ธิ์อกี ครง้ั สามารถสรุปได้ว่า เช้ือรา Colletotrichum sp. เป็นเชอื้ รา และเมื่อปลูกเช้ือกลับเข้าสู่พืชอีกคร้ัง พืชจะแสดง สาเหตุของโรคชนิดใหม่ สรุปได้ตามขน้ั ตอนดงั นี้ อาการโรคเช่นเดิม 1. ตรวจสอบเชือ้ บนส่วนของพชื ทแ่ี สดงอาการโรค ได้ท�ำการแยกเช้ือจากส่วนล�ำต้นสีเขียวที่แสดง พบเชื้อราที่สร้างกลุ่มโคนิเดียสีส้ม หากอายุมาก จะเห็น อาการของโรคจากการปลูกเชือ้ ราไอโซเลท 86 บนอาหาร เป็นกลุ่มเชื้อสีด�ำ มี setae บริเวณที่เป็นเนื้อเย่ือตาย เลย้ี งเช้อื PDA พบวา่ เชื้อรา Colletotrichum เจริญออก ลักษณะโคนเิ ดียเดี่ยว ใส รปู ร่างทรงกระบอก หวั ท้ายมน มาจากช้ินพืชตัวอย่างที่ท�ำการแยกเชื้อทุกช้ินอย่าง ซ่ึงเป็นลักษณะของเชื้อรา Colletotrichum โดยไม่พบ รวดเรว็ ภายใน 1-2 วนั และเมอื่ ปลกู เช้ือกบั ใบยางอกี คร้งั เช้ือราชนิดอ่ืน ตามหลัก Koch’s Postulates ข้อที่ 1 ก็แสดงอาการโรคลกั ษณะเช่นเดยี วกัน ดงั แสดงในภาพที่ ความสมั พันธ์ระหวา่ งเชอื้ โรคและพชื อาศยั สว่ นของพชื ที่ 7 แตใ่ นขั้นตอนนไี้ มท่ �ำการพสิ ูจน์เชอ้ื โดยการแยกจากใบ แสดงอาการโรคที่เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ จะพบเช้ือ ทปี่ ลูกเชือ้ Colletotrichum เน่อื งจากบนอาการโรคที่ปลูก จุลินทรียท์ เี่ ป็นสาเหตโุ รคนน้ั เชือ้ มีเชื้อราเจรญิ เปน็ จ�ำนวนมาก ซงึ่ แสดงใหเ้ ห็นชดั เจน 2. สามารถแยกบรสิ ทุ ธเ์ิ ช้ือรา Colletotrichum ซึ่ง ตามหลักโรคพชื วทิ ยาข้อที่ 1 ของ Robert Koch มีลกั ษณะเบอื้ งต้นบนอาหาร PDA คล้ายกนั จากชิ้นสว่ น ของพืชท่ีเป็นโรคได้ถึงร้อยละ 81 ในขณะท่ีแยกได้เชื้อ สรปุ Pestalotiopsis และอ่นื ๆ เพยี งรอ้ ยละ 18 เท่านนั้ และ เชื้อรา Colletotrichum ท่ีเจริญมาจากช้ินพืชแต่ละ เน่ืองจากโรคยางพาราที่พบระบาดอย่างรุนแรงใน ตัวอย่างส่วนใหญ่พบเจริญออกมาเพียงชนิดเดียวโดย พน้ื ที่ภาคใตข้ องประเทศไทยในช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 ที่ ไมม่ เี ชื้อราอืน่ ในขณะทีห่ ากมเี ช้ือ Pestalotiopsis เจรญิ ผ่านมา มีลักษณะอาการโรคแตกต่างจากโรคเดิมที่มี ออกมา ต้องมีเช้ือรา Colletotrichum เจริญออกมาด้วย รายงานในประเทศไทย และยังไม่เคยมีการรายงานโรค เสมอ จึงยืนยันเช้ือสาเหตุตามหลัก Koch’s Postulates ยางพาราท่ีมีลักษณะอาการแบบน้ีมาก่อน เมื่อมีการ ข้อที่ 2 สามารถแยกเช้ือจุลินทรีย์ท่ีเป็นสาเหตุโรค ระบาดของโรคคร้ังแรกในประเทศไทย จึงจ�ำเป็นต้อง

10 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 A BC DE FG ภาพที่ 1 ตรวจสอบเชอ้ื ราจากอาการโรคจากธรรมชาติ A: ลักษณะกลุม่ โคนเิ ดยี (conidiomata) สสี ม้ บนแผลใบสด, B: conidiomata สสี ม้ บรเิ วณขอบ แผล และ conidiomata อายมุ าก มี setae สดี ำ� , C: acervulus ภายในมโี คนเิ ดยี (conidia), D-E: โคนเิ ดยี และโคนเิ ดยี ทงี่ อก (germinated conidia), F: setae ทเี่ จรญิ ออกมาจาก conidiomata และ G: conidiogenous cell และ setae จากสว่ นของพชื ที่เป็นโรค ใหเ้ ป็นเชอ้ื บรสิ ุทธ์ิ ล�ำต้นหรือกิ่งยอดท่ีเป็นสีเขียวเป็นโรคได้เช่นเดียวกับใน 3. เชื้อรา Colletotrichum ท่ีแยกบริสุทธ์ิได้ทุก ธรรมชาติด้วยเช่นกัน ยืนยันเช้ือสาเหตุตามหลัก Koch’s ไอโซเลททท่ี ดสอบ เมอื่ ปลูกใสก่ ลบั เข้าไปกับใบยางระยะ Postulates ขอ้ ท่ี 3 ใบแก่เช่นเดียวกับธรรมชาติท่ีเกิดโรคแล้ว พบว่า แสดง 4. เมื่อท�ำการแยกเช้ือจากอาการท่ีปลูกเช้ือในข้อ อาการโรคและพัฒนาอย่างรวดเร็ว สามารถท�ำให้เกิด 3 ให้เป็นเชื้อบริสุทธิ์ และเม่ือปลูกเช้ือกลับเข้าสู่ใบยาง โรคได้แม้ไม่ได้ชักน�ำให้เกิดโรคโดยการท�ำแผลก็ตาม อกี คร้ัง พบว่า แสดงอาการโรคเช่นเดิม ยืนยนั เช้อื สาเหตุ และท�ำให้ใบยางร่วงภายใน 4 วัน หลังได้รับเชื้อ ซ่ึง ตามหลัก Koch’s Postulates ข้อที่ 4 ลักษณะอาการของโรคท่ีปลูกเช้ือบนใบยางแก่เหมือนกับ สำ� หรบั เช้ือรา Pestalotiopsis จะเหน็ วา่ ไม่พบเชื้อ ท่ีพบระบาดในธรรมชาติ และเชื้อสามารถท�ำให้ส่วน บนอาการโรคจากธรรมชาติ แยกเล้ียงเช้ือจากตัวอย่าง

11 ฉบบั อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 A BC D EF GH ภาพท่ี 2 เชื้อราบนอาการโรคจากใบยางรว่ งเก่า, A: ใบยางท่รี ว่ งหล่นบนพ้นื เปน็ ระยะเวลาหน่งึ มีกลุ่มเชอื้ ราสีด�ำขนาดเลก็ และกลมุ่ สีสม้ เจริญหลังบ่ม เชอื้ เปน็ เชอ้ื รา Colletotrichum (ลกู ศรชส้ี แี ดง) และกลมุ่ เชอื้ ราสดี ำ� ขนาดใหญ่ (ลกู ศรชส้ี เี หลอื ง) เปน็ กลมุ่ เชอื้ รา Cercospora (B) และ Lasiodiplodia (C), D: ใบยางร่วงหลงั การฉดี พน่ สารเคมี มกี ลุ่มเช้อื ราสดี �ำเจรญิ บนแผล, E: ใบยางรว่ งเกา่ แสดงบรเิ วณอาการโรคเกา่ ถกู ยอ่ ยสลาย, F-H: เชอ้ื ราทตี่ รวจพบใน D และ E เป็นกลุ่มโคนิเดียเช้ือรา Cercospora และเชื้อราโคนิเดียคล้าย Corynespora, กลุ่มเช้ือราที่มีลักษณะสปอร์สีน�้ำตาล 1 septate และกลุ่ม สปอรล์ กั ษณะ fusiform เซลล์เด่ยี วสีน้ำ� ตาล โรคได้นอ้ ยมาก ตวั อย่างพชื ทแี่ ยกเลี้ยงเชอื้ บน PDA พบ คร้ังแรกในประเทศอินโดนีเซียในปี พ.ศ. 2559 และพบ ว่า ไม่มีการเจริญของเชื้อ Pestalotiopsis ออกมาเพียง ระบาดในประเทศไทยคร้ังแรกช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 ชนดิ เดยี ว ซ่ึงต้องเจริญรว่ มกบั เช้อื Colletotrichum เสมอ จึงยืนยันได้ว่าเป็นโรคชนิดใหม่ของยางพาราที่มีเชื้อรา และมีความสามารถท�ำให้ใบยางทดสอบเกิดโรคน้อย Colletotrichum เป็นเชื้อสาเหตุของโรค ซ่ึงจะท�ำการ มาก ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา และพันธุกรรมอย่าง จากการรายงานการศึกษาโรคยางพาราที่เกิดจาก ละเอียดทุกไอโซเลท ทั้งท่ีแยกได้จากยางพาราและพืช เชื้อ Colletotrichum spp. ในประเทศจีน (Xianbao อาศยั อืน่ ๆ เพอื่ ศึกษาชนิด (species) ของเช้ือราตอ่ ไป et al., 2018) ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ก็ไม่มีรายงาน อาการโรคที่มีลักษณะที่รายงานการระบาดอย่างรุนแรง

12 ฉบบั อิเล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 A BC D EF GH ภาพที่ 3 ผลการแยกเลย้ี งเชือ้ ราจากตัวอย่างโรคท้ังใบสด และใบทีร่ ่วง บนอาหารเลีย้ งเชอ้ื PDA (tissue transplanting) หลงั การเกบ็ ตวั อยา่ งภายใน 5 วนั จะไดเ้ ชอ้ื รา Colletotrichum เสน้ ใยออ่ นสขี าว จากนน้ั เปน็ สเี ทา สรา้ งกลมุ่ conidiomata สีส้ม, A-B: ตัวอย่างโรคจาก จ. ตรัง, C-D: ตัวอย่างโรคจาก จ. นราธวิ าส, E-F: ตัวอย่างโรคจาก จ. กระบี,่ และ G-H: ตวั อยา่ งโรคจาก จ. ตรงั เอกสารอา้ งอิง experts on Pestalotiopsis leaf disease. 13-15 January 2020, Surat Thani (Power point pre- อารมณ์ โรจน์สุจิตร. 2562. โรคใบร่วงชนิดใหม่ของ sentation). ยางพารา. ว. ยางพารา 40 (4): 3-19. Hora Junior, B. T. d., D. M. de Macedo, R. W. Amirita, A., P. Sindhu, J. Swetha, N. S. Vasanthi and Barreto, H. C. Evans, C. R. R. Mattos, L. A. K. P. Kannan. 2012. Enumeration of endophytic Maffia and Eduardo S. G. Mizubuti. 2014. fungi from medicinal plants and screening of Erasing the past: A new identity for the damo- extracellular enzymes. World Journal of clean pathogen causing South American Science and Technology 2(2): 13-19. Leaf Blight of rubber. Plos ONE 9(8): Arom Rodesuchit. 2020. Currently situation of the e104750.doi: 10.10.1371/Jounapone. new leaf fall disease in Thailand. Meeting of

13 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 A BC D EF G HI JK ภาพที่ 4 การแยกเช้ือราจากตัวอย่างโรคบนอาหารเล้ียงเช้ือ PDA (tissue transplanting) หลังการเก็บตัวอย่างเช้ือ 12 วัน A-B: จากอาการระยะที่ 3 (necrosis) ได้เชื้อรา Colletotrichum และ Pestalotiopsis, C-D: จากอาการระยะท่ี 2 (bruise) ไดเ้ ชอ้ื รา Colletotrichum, Pestalotiopsis, Phomopsis, E-F: จากอาการระยะที่ 1 (chlorosis) ไดเ้ ชอ้ื รา Colletotrichum, Pestalotiopsis, Phyllosticta, G: Colletotrichum เสน้ ใยเทา, H: Colletotrichum เสน้ ใยขาวไม่ฟ,ู I: Pestalotiopsis, J: Phomopsis และ K: Phyllosticta

14 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 AB CD EF GH ภาพที่ 5 อาการของโรคจากการปลกู เช้ือรา Colltotrichum ไอโซเลท 11 จาก จ.ตรัง, A: หลังปลูกเชอ้ื 4 วนั โดยการท�ำแผล (ซ้าย) ไม่ทำ� แผล (ขวา), B: หลงั ปลูกเชอ้ื 4 วนั โดยไม่ท�ำแผล จุ่มใบในสารแขวนลอยโคนเิ ดีย, C: หลงั ปลูกเชอ้ื 4 วัน กบั ใบยางบนพ่มุ ใบ, D: หลงั ปลูกเช้ือ 5 วนั แสดงใบร่วงหมด แสดงอาการท่ีล�ำต้นสีเขียว, E: อาการโรคหลังปลูกเชื้อพุ่มใบโดยไม่ท�ำแผล แสดงอาการท่ีก้านใบ, F-H: แสดงกลุ่มโคนิเดีย (conidiomata) สีส้มบน อาการ และลักษณะโคนเิ ดีย

15 ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 AB CD EF GH ภาพที่ 6 ทดสอบความสามารถในการท�ำให้เกิดโรคของเช้ือรา Pestalotiopsis แสดงผลการปลูกเช้อื โดยการท�ำแผลก่อนปลกู เช้อื , A: ไอโซเลท 1 จาก จ. นราธิวาส, B: ไอโซเลท 2.1.3 จาก จ. นราธิวาส, C: ไอโซเลท 10.1 จาก จ. ตรัง, D: ไอโซเลท 84 จาก จ. ตรัง, E และ F: ไอโซเลท 10/2 จาก จ. ตรงั , G-H: ภาพขยายลักษณะจดุ แผลทปี่ ลกู เช้อื ไอโซเลท 10/2 (ลกู ศรสีดำ� ) หลังปลูกเชือ้ 11 วนั แสดงกลุ่มเส้นใย (ลูกศรสีขาว) และกลมุ โคนิเดีย (ลูกศรสีด�ำ) ของเชือ้ รา Pestalotiopsis, H: โคนเิ ดีย

16 ฉบบั อิเลก็ ทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 AB CD ภาพท่ี 7 พสิ จู น์โรคตามหลกั Koch’s Postulates ขอ้ ที่ 4, A: กา้ นใบและสว่ นตน้ สีเขียวท่เี ป็นโรคจากการปลูกเช้อื โดยไมท่ ำ� แผลจากเชอ้ื รา Colletotri- chum ไอโซเลท 86, B: เพาะแยกเชื้อราจากอาการสว่ นต้น A แสดงเชือ้ รา Colletotrichum ทเี่ จรญิ จากเน้อื เยือ่ บนอาหารเลีย้ งเชอื้ PDA, C-D: ลกั ษณะ โรคจากการทดสอบความสามารถในการท�ำใหเ้ กดิ โรคของเชื้อราท่แี ยกได้ หลงั ปลกู เชื้อ 5 และ 6 วนั 0104750. with Pynidia Acervuli and Stromata. Com- Lieberei, R. 2007. South american leaf blight of the monwealth Agricultural Bureaux, England. rubber tree (Hevea spp.): New steps in plant 696 p. domestication using physiological features Xianbao Liu, Boxun Li, Jmiao Cai, Xiaolan Zheng, and molecular markers. Annals of Botany Yanli Feng and Guixiu Huang. 2018. Colleto- 100: 1125-1142. trichum species causing anthracnose of rubber Nguyen, A. N. 2019. Draft Annual Report 2019 of trees in Chaina. Scientific Report 8: 10435. Plant Protection Specialist Group. 8 p. Publishes online: 11 July 2018. Sutton, B. C. 1980. The Coelomycetes Fungi Impefect

17 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ห้องรมควันยางพาราชนิดใชเ้ ตาเผา แบบประหยดั เชอื้ เพลงิ ปรีด์เิ ปรม ทัศนกุล และ สทุ ัศน์ คงการ ศูนยบ์ ริการทดสอบรับรองภาคใต้ ฝา่ ยวิจัยและพฒั นาอุตสาหกรรมยาง การยางแหง่ ประเทศไทย การจัดช้ันคุณภาพยางแผ่นดิบนอกจากจะ แผ่นยางและให้เกิดการเคลือบของควันอย่างเพียงพอ ประเมินความสะอาด ความหนาบางของแผ่น ความ และสม่�ำเสมอ ดังนนั้ เทคนิคการรมควันจะสอดคลอ้ งกบั กว้าง ความยาวตามมาตรฐานแล้ว ปริมาณความช้ืนใน การสร้างห้องรมควันที่มีประสิทธิภาพ เพื่อท่ี จะท�ำให้ ยางแผ่นจะเป็นตัวก�ำหนดคุณภาพของยางได้ การยาง- แผ่นยางแห้งเร็วทส่ี ดุ ใช้ระยะเวลารมควนั นอ้ ยทีส่ ุด และ แห่งประเทศไทย จึงได้ก�ำหนดคุณภาพยางแผ่นดิบที่ ได้ยางแผน่ รมควันท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐานท่ีก�ำหนด จ�ำหน่ายยังตลาดกลางยางพารา จะต้องมีความช้ืน ห้องรมควันที่เสนอในบทความน้ี ส่วนของเตาเผา ระหว่าง 1 – 3, 3 – 5 และ 5 – 7 เปอร์เซน็ ต์ สว่ นยางแผน่ เป็นแบบอุโมงค์ชนิดประหยัดพลังงาน และออกแบบให้ ดิบทมี่ คี วามชื้นมากกวา่ 7 เปอรเ์ ซน็ ต์ จะเป็นยางท่ีมีแผน่ สามารถลดการสูญเสียเช้ือเพลิงและความร้อน สามารถ หนา ความช้ืนสูง ยางแผ่นลักษณะนี้จะไม่สามารถจัด รมควันได้คร้ังละ 3 - 4 ตัน หรือจะท�ำการลดขนาดหรือ เป็นยางแผ่นดิบคุณภาพดีได้ จึงมักน�ำไปผสมกับเศษ ขยายทั้งเตาและห้องรมควันให้มีปริมาตรตามความ ยางเพื่อผลิตเป็นยางแท่ง อย่างไร-ก็ตาม แม้ยางท่ีมี ต้องการได้ ข้อดีของเตาเผาแบบนี้ไม่ต้องใช้พลังงาน ความช้นื สงู เกนิ กวา่ 1เปอรเ์ ซ็นต์ จะสง่ ผลให้เกดิ ความยุ่ง ไฟฟา้ ใด ๆ อาศยั การไหลของความร้อนและควันจากเตา ยากต่อการบดผสมยางกับสารเคมี เนื่องจากข้ันตอนการ เผาไปยังห้องรมควัน ซึ่งเป็นการผลิตท่ีประหยัดได้ยาง บดยางผิวหน้าลูกกล้ิงท่ีมีอุณหภูมิสูงประมาณ 70 องศา แผ่นรมควันที่ดีมีคุณภาพ การเคลือบของควันสม่�ำเสมอ เซลเซียส ท�ำให้ความช้ืนในยางค่อย ๆ ระเหยออกไป มีการดึงน�้ำออกจากแผ่นยางได้อย่างรวดเร็ว ท�ำให้ยาง โมเลกุลของยางจะเกิดการเชื่อมต่อหรือเกิดพันธะ แผ่นแห้งได้ภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 วัน ยางแผ่นท่ี ระหวา่ งกนั ในขณะเดยี วกนั ยางจะมนี ำ�้ หนกั โมเลกุลเพิม่ ผลิตได้ไม่มีฟองอากาศแต่ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับการควบคุม ข้ึน จนกระทั่งความชื้นในยางหมดจึงหยุดการเชื่อมต่อ อุณหภูมิจากการเผาไหม้ของไม้ฝืน ห้องรมควันชนิดใช้ พนั ธะโมเลกลุ สง่ ผลใหค้ า่ ความหนดื (mooney viscosity) เตาเผาแบบอุโมงค์ (ภาพที่ 1) นับว่าเป็นห้องรมควนั แบบ ของยางสูงข้ึน อีกท้ังยังต้องเสียเวลา และเพิ่มต้นทุนการ โบราณหรือแบบด้ังเดิมท่ีใช้มาต้ังแต่แรกเริ่มจนถึง ผลิตอีกด้วย ดังน้ัน ข้ันตอนการท�ำให้ยางแห้งจะต้อง ปจั จุบัน มสี ว่ นประกอบส�ำคัญ 6 สว่ น ได้แก่ 1. เตาเผา ก�ำหนดใหย้ างมคี วามช้นื น้อยกวา่ 1เปอร์เซน็ ต์ ซงึ่ กระทำ� 2. ชดุ ดกั สะเก็ดไฟ 3. รอ่ งน�ำความรอ้ น 4. หอ้ งรมควนั 5. ได้ 2 วิธี คือ ใช้พลังงานความร้อนจากพลังงานแสง ชดุ ระบายความช้ืนและควนั และ 6. รถตากยาง อาทิตย์ และพลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิง หรือจาก ระบบไฟฟ้า สำ� หรับการผลติ ยางแผ่นรมควันจะใช้เทคนิค เตาเผา ของการท�ำให้ยางแผ่นแห้งด้วยการไล่ความช้ืนออกจาก ท�ำหน้าท่ีให้ความร้อนและควันจากการเผาไหม้

18 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ภาพท่ี 1 หอ้ งรมควนั ยางพาราชนดิ ใชเ้ ตาเผาแบบอโุ มงค์ ของไมฟ้ ืน ตวั เตากอ่ ดว้ ยอฐิ ทนความร้อนโดยให้สว่ นด้าน ร่องน�ำความรอ้ น บนโค้งลักษณะคล้ายอุโมงค์ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพใน การส่งความร้อนและควัน ผนังก่ออิฐฉาบปูนเฉพาะด้าน เป็นสว่ นท่ีต่อจากเตาเผาและชดุ ดกั สะเกด็ ไฟ โดย นอก พ้ืนของเตามีความลาดเอยี งประมาณ 5 องศา เพื่อ จะขุดเป็นร่องเข้าไปบริเวณใต้ห้องรมควัน ท�ำด้วยท่อ ให้มวลอากาศร้อนไหลขึ้นไปยังด้านบนตรงรูหรือช่องที่ เหลก็ หรอื รอ่ งซเี มนต์ ขนาดกว้าง 30 เซนตเิ มตร ทา้ ยห้อง เจาะไวท้ รี่ ะดบั ความสงู ¾ ของความสงู ทา้ ยเตา (ภาพท่ี 2) ลึก 70 เซนติเมตร หน้าห้องลึก 30 เซนติเมตร ส่วนนี้มี ภายในเตาเผามขี นาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร ความลาดเอยี งขนึ้ จากชดุ ดกั สะเกด็ ไฟ 5 องศา (ภาพท่ี 6) สูง 1 เมตร พร้อมติดตั้งประตูเตา โดยให้เว้นปลายด้าน โดยท�ำทอ่ กระจายความรอ้ นขนาด 6 น้ิว แล้วลดขนาด 4 ล่างสูงจากพื้นเตาข้ึนมาประมาณ 15 เซนติเมตร เพ่ือให้ น้วิ ให้เช่อื มต่อกับร่องน�ำความรอ้ นบริเวณพ้ืนดา้ นขา้ งท้งั อากาศจากภายนอกท�ำปฏิกิริยาสันดาปให้เกิดการลุก สองด้านขนานตามแนวของห้อง (ภาพที่ 7-8) ลักษณะ ไหม้ได้สะดวก และเป็นตัวช่วยส่งความร้อนจากภายใน เช่นนี้จะท�ำให้ควันและความร้อนภายในห้องรมควัน เตาเข้าสู่ห้องรมควันได้ง่าย เป็นการหมุนเวียนอากาศ กระจายได้อย่างสม่�ำเสมอท่ัวทั้งห้อง ควันจะเคลือบแผ่น รอ้ นตามหลกั การไหลของอากาศ (ภาพที่ 3 และ 4) ยาง ส่วนความร้อนจะช่วยดึงน้�ำออกจากแผ่นยางท�ำให้ แผ่นยางแห้งได้อย่างสม่�ำเสมอท่ัวทุกแผ่นภายในระยะ ชุดดักสะเกด็ ไฟ เวลาทกี่ ำ� หนด เป็นส่วนท่ีต่อจากเตาเผา มีหน้าท่ีดักสะเก็ดไฟไม่ หอ้ งรมควัน ให้ผ่านไปยังร่องหรือท่อน�ำความร้อน โดยจะท�ำเป็นผนัง กน้ั ท�ำมุมประมาณ 45 องศา ท้งั สองด้าน และใหต้ วั ทอ่ เป็นส่วนท่ีบรรจุยางแผ่นส�ำหรับใช้ในการรมควัน นำ� ความรอ้ นมคี วามลาดเอียง 15 องศา เช่อื มตอ่ ยงั ท้าย มขี นาดกวา้ ง 5 เมตร ยาว 7.10 เมตร สูง 4 เมตร ผนงั กอ่ ห้องรมควัน ชุดดักสะเก็ดไฟนี้นับว่าเป็นส่วนท่ีมีความ อฐิ ฉาบปนู มคี วามหนาประมาณ 10 เซนติเมตร ส�ำคัญในการป้องกันไฟไหม้โรงรมควันยางได้เป็นอย่างดี บรเิ วณพ้นื ด้านข้างหา่ งจากฝาผนัง 55 เซนติเมตร (ภาพที่ 5) ให้เซาะร่องเป็นรูปตัววีขนาด กว้าง 5 เซนติเมตร ลึก 5 เซนตเิ มตร และใหม้ ีความลาดชนั จากหน้าหอ้ งรมควนั ไป ยงั ท้ายห้อง แล้วต่อด้วยทอ่ เหล็กขนาด 3 นิ้ว ให้น้ำ� ไหล

19 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ภาพที่ 2 เตาเผาแบบอโุ มงค์ ภาพท่ี 3 ขนาดของเตาเผา และประตเู ตา (ดา้ นหนา้ ) ระบายออกได้สะดวก ในขณะท่ีรมควันความร้อนจะไหล ความช้ืนได้อยา่ งรวดเรว็ ในชว่ งของการรมควันในวันแรก ผ่านยางแผ่นจากช้ันล่างผ่านไปยังชั้นบน ท�ำให้ความช้ืน การออกแบบห้องรมควันจะต้องให้สัมพันธ์กับ ของยางแผ่นลดลงเรื่อย ๆ ยางจะถูกรีดน้�ำออกแล้วหยด ขนาดของรถตากยางและปริมาณยางท่ีผลิตได้ เพื่อให้ ลงตามพื้นไหลออกไปตามร่องท่ีเซาะไว้ ขณะเดียวกัน สามารถใช้พื้นที่ของห้องได้มากท่ีสุด ห้องรมควัน ความชื้นและควันส่วนหนึ่งจะออกไปทางปล่องระบาย ที่ออกแบบน้ีสามารถวางรถตากยางได้จ�ำนวน 6 คัน

20 ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ภาพท่ี 4 ขนาดเตาเผา (ดา้ นขา้ ง) ภาพท่ี 5 ชดุ ดกั สะเกด็ ไฟ เปน็ สว่ นทต่ี อ่ จากเตาเผา ภาพที่ 6 รอ่ งนำ� ความรอ้ นกำ� หนดใหม้ คี วามลาดเอยี งจากชดุ ดกั สะเกด็ ไฟ 5 องศา

21 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ภาพที่ 7 ทอ่ กระจายความรอ้ น (ดา้ นลา่ ง) ภาพท่ี 8 ทอ่ กระจายความรอ้ น (ดา้ นบน)

22 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ตามความกวา้ งของห้องได้ 2 คนั และตามความยาวของ กระโจมได้ และก�ำหนดให้มีความลาดเอียงไปยังท่อน�้ำ ห้องได้ 3 คัน แต่ละคันจะสามารถพาดแผ่นยางได้ราว ทิ้งท่อี ยู่บริเวณดา้ นข้างฝาผนงั ภายในห้องรมควนั โดยนำ้� 500 – 600 แผ่น หรือคิดเป็นน�้ำหนัก 3 – 4 ตันต่อห้อง ที่อยู่ในรางน�้ำรอบกระโจมจะระเหยออกได้เองอย่าง (ภาพท่ี 9) รวดเรว็ จากความรอ้ นท่ีอยใู่ นห้องรมควนั (ภาพท่ี 12) ในกระบวนการผลิตยางแผ่นรมควัน หลังจากรีด ชุดระบายความชื้นและควนั แผ่นยางผ่านเคร่ืองจักรรีดยางและผ่ึงให้สะเด็ดน�้ำแล้ว เป็นส่วนส�ำคัญในการไล่ความช้ืนท่ีอยู่ในแผ่นยาง ยางแผ่นจะมีปริมาณความช้ืนสูงถึง 27 เปอร์เซ็นต์ การ ออกจากหอ้ งรมควัน หากไม่มสี ่วนน้ีในขณะท่ีรมควนั น้�ำ จะให้ความช้ืนลดลงเหลือน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ ภายใน จะถูกรีดออกจากแผ่นยางแล้วหยดลงตามพ้ืนของห้อง ระยะเวลา 3 วัน หากไม่มีชุดระบายความช้ืนและควัน รมควัน อุณหภมู ิภายในหอ้ งจะลดลง เป็นการยากตอ่ การ (ภาพที่ 13) ยางจะแห้งไดช้ ้ามาก จึงต้องอาศัยความรอ้ น ควบคุมอุณหภูมิ ส่งผลให้ต้องใช้ไม้ฟืนในปริมาณท่ีเพิ่ม ที่อยู่ในห้องรมควันช่วยพาความช้ืนออกจากปล่องน้ีได้ ขึ้น ต้นทุนไม้ฟืนสูง และส่งผลกระทบต่อผู้ปฏิบัติงาน อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยลมท่ีพัดผ่าน เน่ืองจากควันที่อยู่ภายในห้องส่วนหนึ่งจะดันออกตาม บริเวณปากปล่องจะเป็นตัวดึงความช้ืนออกจากแผ่นยาง ช่องประตูและฝาเพดาน กระจายคละคลุ้งทั่วบริเวณการ ได้เร็ว ยางสามารถแห้งได้ภายในระยะเวลาไมเ่ กนิ 3 วนั ผลิต ชุดระบายความชน้ื และควนั ประกอบด้วย รถตากยาง 1. ปล่องระบายความชื้น ท�ำด้วยท่อเหล็กด�ำหนา เป็นอุปกรณ์เสริมของห้องรมควันเพื่อใช้ส�ำหรับ 2 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 30 เซนติเมตร ตากยางแผ่นท่ีน�ำเข้าห้องรมควันจนยางแห้ง สามารถ ก�ำหนดให้มีความสูงเหนือสันจั่วของหลังคา ตรงปาก ตากยางได้ต้งั แต่ 500 – 600 แผ่น การออกแบบรถตาก ปล่องมีฝาปิด-เปิด ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 32 ยางจะต้องให้สัมพันธ์กับขนาดห้องรมควัน ตัวอย่าง เซนติเมตร ใช้ลวดสลิงบังคับการเปิด-ปิด ของฝาปล่อง ขนาดรถตากยาง มรี ายละเอียดดงั น้ี (ภาพท่ี 10) 1. รถตากยาง มีขนาดกว้าง 1.9 เมตร ยาว 2.0 2. หมวกกันน�้ำฝน ท�ำหน้าที่ครอบเพื่อป้องกันไม่ เมตร สงู 3.30 เมตร โครงสรา้ งท�ำด้วยเหล็กฉากขนาด 50 ให้น�้ำฝนเข้าสู่ปล่องประบายความชื้น มีลักษณะเป็นรูป x 50 มิลลิเมตร หนา 4 มิลลิเมตร เช่ือมประกอบเป็น กรวยเสน้ ผ่านศูนย์กลาง 80 เซนติเมตร สงู 15 เซนติเมตร สี่เหลี่ยมผืนผ้า เช่ือมก้ันเป็นชั้น ก�ำหนดให้แต่ละช้ันมี ยึดด้วยขาเหล็ก 3 ขา สูง 45 เซนตเิ มตร โดยทำ� ใหป้ ลาย ระยะห่าง 0.55 เมตร จ�ำนวน 6 ช้ัน โดยใช้เหล็กฉาก หมวกยืน่ ให้คลุมปลอ่ งระบายความช้ืนได้ (ภาพที่ 11) ขนาด 25 x 25 มิลลิเมตร หนา 4 มิลลิเมตร โดยรอบ 3. กระโจม เป็นส่วนท่ีท�ำหน้าที่รวบควันและ (ภาพท่ี 14) ความชื้นเพ่ือส่งต่อไปยังปล่องระบายความชื้นให้ออก 2. ล้อ ท�ำด้วยเหล็กเหนียวเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 จากห้องรมควัน วัสดุท�ำด้วยสังกะสีแผ่นเรียบหนา 1.5 นิ้ว ติดต้ังตรงฐานของรถตากยางท้ัง 4 มุม หากใช้รถยก มิลลิเมตร โดยตวั กระโจมมขี นาด 1.2 x 2.0 เมตร เชือ่ ม ใหท้ ำ� เป็นขาเหลก็ แทนได้ ต่อโดยตรงกับปล่องระบายความช้ืน ใช้ส�ำหรับห้องรม 3. กระดูกงู ท�ำด้วยเหล็กแบน ขนาดกว้าง 10 ควนั ขนาด 5 เมตร ยาว 7.10 เมตร แต่หากหอ้ งรมควันท่ี มิลลิเมตร หนา 2 มิลลิเมตร ดดั ให้เป็นลอนคล้ายกระดกู งู มีขนาดเล็กกว่าน้ี ให้ท�ำกระโจมขนาด 0.8 X 1.2 เมตร ก�ำหนดให้มีระยะห่างแต่ละช่อง 5 เซนติเมตร สูง 3.5 ส่วนขอบรอบกระโจมให้ท�ำรางรับน�้ำขนาด กว้าง 5 เซนติเมตร ท�ำเป็นช้ันวางราวตากยาง อาจทำ� เป็นรูปตัววี เซนตเิ มตร ลึก 5 เซนติเมตร เพือ่ ปอ้ งกนั การหยดของน้ำ� หรอื ตวั ยูกไ็ ด้ (ภาพท่ี 15 A และ ภาพที่ 15 B) แลว้ น�ำมา ท่ีติดอยู่ตามชุดระบายความช้ืนซึ่งเกิดจากการควบแน่น เช่ือมติดกับเหล็กฉากของรถตากยางเพ่ือวางราวไม้ไผ่ ของไอน�้ำ หากมีน�้ำหยดจะไหลลงรางน�้ำรอบขอบ ชนิดรวกตัน ท่ีมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 1.5 นิ้ว

23 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ภาพที่ 9 หอ้ งรมควนั ภาพท่ี 10 ปลอ่ งระบายความชนื้ ส�ำหรบั ใชต้ ากแผ่นยางได้จ�ำนวน 38 ราว แต่ละราวตาก ซง่ึ อาจเป็นสาเหตทุ �ำให้ไฟไหม้ห้องรมควันได้ (ภาพที่ 17) ยางได้ 3 แผ่น (ภาพที่ 16) ส่วนเทคนิคในการรมควันจะต้องอาศัยคนงานท่ีมี 4. ตาข่ายถัก ขนาด 2 x 2 น้วิ หนา 3.2 มลิ ลเิ มตร ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในการรมควัน ใน ปชู น้ั ลา่ งสดุ เพอ่ื ปอ้ งกนั แผน่ ยางหลน่ ลงบนพน้ื หอ้ งรมควัน การน�ำยางเข้ารมควันจะต้องอุ่นเตาให้ร้อนที่อุหณหภูมิ

24 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ภาพท่ี 11 ขนาดและองศาของหมวกครอบกนั ฝนของปลอ่ งระบายความชนื้ ภาพท่ี 12 ภาพตดั ดา้ นขา้ ง แสดงโครงสรา้ งภายในของกระโจม ภาพท่ี 13 ภาพสามมติ ขิ องชดุ ระบายความชน้ื และควนั (มมุ เงย)

25 ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ภาพท่ี 14 รถตากยางขนาดกวา้ ง 1.9 เมตร ยาว 2.0 เมตร สงู 3.30 เมตร A B ภาพที่ 15 กระดกู งรู ปู ตวั วี (A) และ กระดกู งรู ปู ตวั ยู (Bฺ ) ภาพที่ 16 กระดกู งเู ชอ่ื มตดิ กบั เหลก็ ฉากของรถตากยางเพอื่ วางราวไมไ้ ผ่

26 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ภาพท่ี 17 ตาขา่ ยถกั ขนาด 2 x 2 นวิ้ ปชู นั้ ลา่ งสดุ ของรถตากยาง ประมาณ 45 องศาเซลเซียส ก่อนใส่ยางเสมอ และเมื่อ ลักษณะน้ีจะมีสัดส่วนการใช้ไม้ฟืนต่อยางแห้ง 0.5 : 1 น�ำยางเข้าห้องรมควันแล้วจะต้องควบคุมอุณหภูมิห้อง กิโลกรัม ทั้งนี้เทคนิคการรมควันให้ยางแห้งได้ภายใน รมควันไม่ให้เกิน 50 องศาเซลเซียส ในวันแรกให้เปิดฝา ระยะเวลาไม่เกิน 3 วัน จะต้องควบคุมคุณภาพทุกข้ัน ของปล่องระบายความช้ืนตลอดระยะ 24 ชั่วโมงแรก ตอนตง้ั แต่กระบวนการรวบรวมนำ�้ ยางสด การกรอง การ ส่วนวันท่ีสองปรับฝาปิด-เปิดของปล่องระบายความช้ืน เจอื จาง การรีด ระยะเวลาการผงึ่ และการรมควนั จะช่วย ใหเ้ หลือครง่ึ หนงึ่ ควบคุมอณุ หภูมิระหว่าง 50 - 55 องศา ให้สามารถประหยัดไม้ฟืนและลดปริมาณควันท่ีอาจก่อ เซลเซียส จากน้ันในวันท่ีสามให้ปิดฝาของปล่องระบาย ให้เกิดมลพิษทางอากาศและผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณ ความชื้นและควบคุมอุณหภูมิที่ระดับ 45 – 50 องศา ใกล้เคียง เพียงแค่เข้าใจหลักการการท�ำให้ยางแห้งซึ่ง เซลเซียส ตลอดระยะการรมควนั จนกระท่ังยางแหง้ เป็นข้ันตอนที่ส�ำคัญ ดังนั้นเทคนิคการสร้างห้องรมควัน ส�ำหรับไม้ฟืนในวันแรกให้ผสมกันระหว่างไม้สด จะสามารถผลิตยางแผ่นรมควันท่ีมีคุณภาพ ใช้ระยะ กับไม้หมาด เพ่ือให้ควันไปเคลือบกับแผ่นยางได้ดี และ เวลาการรมควันส้ัน ลดต้นทุนการผลิตและสามารถ เป็นการควบคุมอุณหภูมิไม่ให้สูงเกินไป ส่วนวันที่สองให้ ป้องกนั ไฟไหม้โรงรมควนั ไดอ้ ีกดว้ ย ใช้ไม้หมาดในการควบคุมควันและความร้อน และใช้ไม้ ท่านใดที่มีความประสงค์ขอข้อมูลเพ่ิมเติม แห้งผสมไม้หมาดในวันสุดท้ายของการรมควัน จะช่วย สามารถติดต่อได้ที่ ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้ ให้สามารถควบคุมได้ทั้งความร้อนและควันได้อย่างมี อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทรศัพท์ 0 7489 4307 ประสิทธิภาพ ในการควบคุมอุณหภูมิห้องรมควัน ได้ในเวลาราชการ

27 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ตารางที่ 10 เฉลย่ี ความแตกตา่ งของผลการทดสอบหลงั จากใส่ 4, 8 และ16 สัปดาห์ กับกอ่ นใส่ ระหว่างกลุ่มยาง (PI) และกลมุ่ โฟมมาตรฐานของโรงพยาบาล (CI) การจัดต้ังธนาคารเมล็ดพืชคลุมตระกลู ถว่ั สมศกั ด์ิ สพั โส และ เกษตร แนบสนทิ ศูนย์วิจัยยางหนองคาย สถาบันวจิ ัยยาง การยางแห่งประเทศไทย ในปัจจุบันเป็นท่ีทราบกันดีว่าราคาสารเคมีปราบ ยางหนองคาย ได้จัดท�ำโครงการ “การจัดต้ังธนาคาร วัชพชื คา่ น้ำ� มัน ตลอดจนคา่ แรงงานได้ปรับตัวสูงขนึ้ มาก เมล็ดพืชคลุมในสวนยางของการยางแห่งประเทศไทย รวมถึงพ้ืนที่ในเขตปลูกยางใหม่พื้นท่ีกึ่งแห้งแล้งน้ัน เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน” โดยได้งบ เดิมทีได้ผ่านการปลูกพืชไร่มาอย่างยาวนาน ไม่มีการคืน ประมาณจากกองทุนพัฒนายางตามมาตรา 49 (3) โดย ธาตุอาหารกลับสู่ดินเลย ท้ังมีการใส่ปุ๋ยเคมีมากเกินไป โครงการนี้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของการยาง มีการไถพรวนทุกฤดูปลูก ท�ำให้หน้าดินมีการชะล้างสูง แห่งประเทศไทย คือ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนา และดินเสียสภาพโครงสร้าง การปลูกพืชคลุมดินตระกูล ยางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทาน และห่วงโซ่คุณค่า การ ถ่ัวในสวนยางพารา เป็นวิธีการหนึ่งท่ีจะสามารถควบคุม เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตกลยุทธ์ที่ 2 การสร้างความ วัชพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ิมธาตุอาหารให้แก่ดินท่ี เขม้ แข็งเพิ่มขีดความสามารถในการแข็งขัน ปลูกยาง ซ่ึงได้จากการตรึงไนโตรเจนจากอากาศ และ จากการย่อยสลายตัวของเศษซากพืชคลุมเป็นอินทรีย ความหมายของ วัตถุ เหล่านี้ เป็นผลท�ำให้การท�ำสวนยางสามารถได้รับ \"ธนาคารเมลด็ พืชคลุมฯ\" ผลผลิตเรว็ ข้ึนกว่าปกติ ประมาณ 6-12 เดือน เป็นการลด ต้นทุนการผลิตได้อีกทางหน่ึง แต่ปัจจุบันเกษตรกรยังหา ธนาคารเมล็ดพืชคลุมฯ คือ การผลิต เก็บเกี่ยว ซ้ือเมล็ดพืชคลุมตระกูลถ่ัวในสวนยางได้ยาก เน่ืองจาก รวบรวม คัดแยก ท�ำความสะอาด และเก็บรักษา เมล็ด การยางแหง่ ประเทศไทยและหนว่ ยงานรฐั อ่นื ๆ ไมม่ กี าร พืชคลุมดินในสวนยางที่สถาบันวิจัยยาง การยางแห่ง- ผลิตเมล็ดพืชคลุมตระกูลถั่วส�ำหรับใช้ปลูกในสวนยาง ประเทศไทย แนะน�ำใช้ปลูก ตามค�ำแนะน�ำวิชาการปี ซ่ึงการใช้นโยบายลดต้นทุนปัจจัยการผลิตของเกษตรกร 2560 หรือเมลด็ พืชคลุมดินอื่น ๆ ท่มี ีประสทิ ธภิ าพในการ ชาวสวนยาง คอื ลดการใช้สารเพ่อื เคมีก�ำจัดวัชพชื ลดคา่ ใช้ร่วมในสวนยาง รวมถึงการขยายผลสู่การสงเคราะห์ จ้างในการด�ำเนินการ ซึ่งปัจจุบันเกษตรกรชาวสวนยาง ปลูกแทนเนื่องจากในการสงเคราะห์ปลูกแทนของการ ใช้สารเคมีก�ำจัดวัชพืชจากบริษัทเอกชนที่เข้ามาผูกขาด ยางแห่งประเทศไทยนั้น เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯจะ ทางการตลาดและประชาสมั พันธว์ า่ เป็นวิธีการทดี่ ี ดงั นั้น ได้รบั คา่ เมล็ดพชื คลมุ ในสวนยางอัตราไร่ละ 150 บาท ซึ่ง ถ้าเกษตรกรสามารถลดต้นทุนในส่วนดังกล่าวข้างต้นได้ เกษตรกรอาจสามารถเลือกรับเป็นเมล็ดพืชคลุมแทนได้ จะส่งผลให้เกษตรกรชาวสวนยางสามารถก�ำหนด หรอื อาจอย่ใู นรูปการจ�ำหน่ายและรบั ซือ้ คืนเมลด็ พันธุ์พืช แนวทางในการบริหารต้นทุนการผลิต และน�ำข้อมูลไป คลุมจากเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร ซึ่งสามารถ ประกอบการวางแผนทางการผลิต และตัดสนิ ใจเก่ยี วกบั สร้างรายได้ให้กับการยางแห่งประเทศไทย และ การลงทนุ ปลูกสรา้ งสวนยางได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เกษตรกร นอกจากเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ดังน้ัน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 น้ี ศูนย์วิจัย- ชาวสวนยางสามารถได้รับการถ่ายทอดงานวิจัยด้านพืช คลุมดินตระกูลถั่วในสวนยาง จนสามารถลดต้นทุนและ

28 ฉบบั อิเลก็ ทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในสวนยางตนเองแล้ว แต่ พืชคลุมตระกูลถ่ัวที่มีอายุส้ัน เจริญเติบโตคลุมดินได้เร็ว ปัญหาปัจจุบันคือ เกษตรกรยังหาซ้ือเมล็ดพืชคลุม สามารถปลูกร่วมกับพืขคลุมเพอราเรีย หรือซีรูเลียม ตระกูลถ่ัวชนิดต่าง ๆ เหล่านี้ได้ยาก เน่ืองจากการยาง- อย่างใดอย่างหนึ่ง และเหมาะกับพ้ืนท่ีชุ่มชื้นมากกว่า แห่งประเทศไทย และหน่วยงานรัฐอ่ืน ๆ ไม่มีการผลิต พื้นท่ีแห้งแล้ง ส่วนในพื้นที่แห้งแล้งเหมาะกับการปลูก เมล็ดพืชคลุมตระกูลถั่วแบบเป็นรูปธรรม ส่งผลให้ เพื่อผลิตเมล็ด และจะให้ผลผลิตสูงมาก (ภาพท่ี 1) มี ประสิทธิภาพการผลิตต่อพื้นท่ีต่�ำ และเพ่ิมต้นทุนการ ลักษณะเป็นเถาเล้ือย มีขนสีน�้ำตาล ในช่วง 2-3 เดือน ผลติ จากการใส่ปุย๋ เคมีเกินความจ�ำเปน็ หลังจากปลูก เจริญเติบโตรวดเร็วมากและโทรมตาย ไป จนหมดหลังจากติดฝัก จ�ำนวนเมล็ดต่อกิโลกรัม การด�ำเนินงาน ประมาณ 68,380 เมล็ด มีเป้าหมายการผลิตเมล็ด สถานที่ จำ� นวน 250 กิโลกรัม ในปีงบประมาณ 2563 จัดต้ังธนาคารเมล็ดพืช เซ็นโตรซมี า (Centrosema pubescens) พชื คลมุ คลุมในสวนยางของการยางแห่งประเทศไทย เขตภาค ตระกูลถ่ัวที่มีอายุหลายปี มีความทนทานต่อความแห้ง ตะวันออกตอนบน 2 แหง่ ไดแ้ ก่ที่ศูนยว์ ิจยั ยางหนองคาย แล้งและร่มเงาได้พอสมควร ให้ปริมาณชีวมวลน้อย ไม่ อ�ำเภอรัตนวาปี จังหวัดหนองคาย และท่ีศูนย์เรียนรู้ ควรปลูกเด่ียว ๆ โดยเฉพาะในพื้นที่แห้งแล้ง มีลักษณะ ยางพาราจังหวัดนครพนม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม เป็นเถาเลื้อยพัน ท่ีข้อมีราก ขณะยังอ่อนมีขนท่ีล�ำต้น โดยใชพ้ ืน้ ท่ีแห่งละ 5 ไร่ โดยทศ่ี ูนยว์ จิ ัยยางหนองคายอยู่ มาก เจริญเตบิ โตช้าในช่วง 1-2 เดอื น หลังจากปลูก ทน ในระหวา่ งจดั เตรียมพ้ืนที่ และเมลด็ พันธุ์ ต่อสภาพร่มเงาได้ดีกว่าคาโลโปโกเนียมและเพอราเรีย ในปีงบประมาณ 2564 จะจดั ตงั้ ธนาคารเมลด็ พชื นิยมเรยี กว่า “ถ่ัวลาย” จ�ำนวนเมล็ดต่อกโิ ลกรมั ประมาณ คลุมในสวนยางของการยางแห่งประเทศไทย เขตภาค 39,740 เมล็ด มีเป้าหมายการผลิตเมล็ดจ�ำนวน 250 ตะวันออกตอนบน เพิ่มขึ้นอีก 1 แห่ง คือที่ ศูนย์เรียนรู้ กิโลกรมั ยางพาราจังหวัดขอนแก่น อ�ำเภอเขาสวนกวาง จังหวัด เพอราเรีย (Pueraria phaseoloides) พืชคลุม ขอนแกน่ ตระกูลถั่วที่มีอายุหลายปี จัดเป็นพืชคลุมหลัก สามารถ ท้ัง 2 แห่ง มีความเหมาะสมในการผลิตเมล็ดพืช ปลกู เดีย่ ว ๆ หรือปลกู ร่วมกับพืชคลมุ ชนิดอื่น ๆ เพือ่ ช่วย คลมุ เนอื่ งจากมฤี ดูฝนแยกจากฤดูแลง้ อยา่ งชดั เจน และ ยืดเวลาของการคงอยู่ในสวนยาง แนะน�ำว่าควรปลูกใน ท่ีส�ำคัญคือมีความสั้นของกลางวันท่ีเหมาะสมอีกด้วย พ้ืนที่ท่ีมีความช้ืนดี เช่น ในแหล่งปลูกยางเดิมซ่ึงอยู่ทาง ต่างจากภาคใต้ มีสภาพอากาศไม่ค่อยเหมาะสม ภาคใต้ มากกว่าในแหล่งปลูกยางใหม่ เนื่องจากในช่วง ถึงแม้ว่า พืชคลุมบางชนิด เช่น คาโลโปโกเนียม หน้าแล้ง ถ่ัวไม่ต้องหาอาหารและน�้ำไปเลี้ยงฝักและ เพอราเรีย และ เซน็ โตรซมี า สามารถให้เมล็ดได้ แต่ยังให้ เมล็ดมาก ถ่ัวจึงยังมีใบและล�ำต้นที่ไม่โทรมมากนัก แต่ ผลผลิตน้อยมากเมื่อเทียบกับการปลูกในภาคตะวันออก ในแหล่งปลูกยางใหม่ เช่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉียงเหนือ ย่ิงเป็นพืชคลุมซีรูเลียม ถ้าปลูกทางภาคใต้ ควรเป็นแหล่งส�ำหรับผลิตเมล็ดพันธุ์มากกว่าที่จะปลูก แทบจะไม่ให้ผลผลิตเมล็ด แต่จะให้ผลผลิตมากในภาค เปน็ พืชคลมุ ในสวนยาง เนือ่ งจากในหน้าแล้งจะออกดอก ตะวันออกเฉียงเหนอื ถา้ หากมกี ารจัดการท่ีถกู ตอ้ ง และติดฝักเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้ต้นโทรม ใบและเถา แห้งเหยี่ ว (ภาพท่ี 2) ลำ� ต้นมลี ักษณะเปน็ เถาเล้อื ย มีขน เปา้ หมายในการผลติ มาก ปล้องยาว คลุมดินหนาทึบภายใน 5-6 เดือน หลัง คาดว่าสามารถผลิตเมล็ดพืชคลุมฯ ในปีเก็บเก่ียว จากปลูก ปีแรกเจริญเติบโตควบคุมวัชพืชได้ดีกว่า ผลผลิตที่ 1 และปีเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ 2 รวมกันไม่น้อย คาโลโปโกเนียม และเซนโตรซีมา จ�ำนวนเมล็ดต่อ กว่า 1,000 กโิ ลกรมั โดยแบ่งเป็น กิโลกรัมประมาณ 82,500 เมล็ด มีเป้าหมายการผลิต คาโลโปโกเนียม (Calopgonium mucunoides) เมลด็ จำ� นวน 250 กิโลกรัม

29 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ภาพที่ 1 การตดิ ฝกั ทด่ี กของถวั่ คาโลโปโกเนยี ม พรอ้ มกบั การแหง้ ของใบและลำ� ตน้ เปน็ สนี ำ� ต้ าลในหนา้ แลง้ เมอื่ ปลกู ในภาคตะวนั อกเฉยี งเหนอื ภาพที่ 2 การตดิ ฝกั ทด่ี กของถวั่ เพอราเรยี พรอ้ มกบั การเหย่ี วเฉาของใบและลำ� ตน้ ในหนา้ แลง้ เมอ่ื ปลกู ในภาคตะวนั อกเฉยี งเหนอื

30 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ซีรูเลียม (Calopogonium caeruleum) พืชคลุม ช่วั โมง) เพาะเล้ยี งไวก้ ลางแจง้ เมือ่ ตน้ ถัว่ มอี ายุประมาณ ตระกูลถั่วท่ีล�ำต้นมีลักษณะเป็นเถาเล้ือย เห็นขนไม่ชัด 6-7 สัปดาห์ สามารถน�ำไปปลูกในแปลงได้ (ภาพที่ 4) เถาแก่จะมีรากเป็นปุ่มเล็ก ๆ สีขาวเกือบทุกข้อ และราก วิธีน้ี เมล็ด 1 กิโลกรัม สามารถเพาะในถุงได้ประมาณ เหล่านี้จะงอกได้เมื่ออยู่ติดพ้ืนดิน ในระยะแรกหลังจาก 2,000 ถุง ต้นทุนเมลด็ ต่อถุงเทา่ กบั 1.44 บาท (คิดทรี่ าคา ปลูก จะเจริญเติบโตค่อนข้างช้า ให้ผลผลิตเมล็ดค่อน เมล็ด 3,000 บาทต่อกิโลกรัม หรือหน่ึงเมล็ดมีราคา ข้างสูงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาพที่ 3) จ�ำนวน เท่ากับ 0.48 บาท) ซึ่งเมล็ด 1 กิโลกรัม เม่ือเพาะในถุง เมล็ดต่อกโิ ลกรมั ประมาณ 28,000 เมล็ด มเี ปา้ หมายการ สามารถนำ� ไปปลูกได้ 50 ไร่ (ใช้ต้นช�ำถงุ 40 ถุงตอ่ ไร่ โดย ผลิตเมลด็ จำ� นวน 250 กิโลกรมั ปลูกแถวเดียว ตรงกลางระหว่างแถวยาง ห่างกัน 6 มูคูนา แบร็คเทียตา (Mucuna bracteata) พืช เมตร) คดิ เป็นตน้ ทุนคา่ เมล็ดประมาณ 57.6 บาทต่อไร่ คลุมตระกูลถ่ัวที่มีอายุหลายปี มีถ่ินก�ำเนิดแถบเทือกเขา หิมาลัย ประเทศอินเดีย น�ำเข้ามาปลูกในสวนยางของ การจัดการหลังเกบ็ เกยี่ ว ประเทศไทยหลายปีแล้ว แต่ยังมีจ�ำนวนสวนยางที่ปลูก เมล็ดพืชคลุมทุกชนิดที่ผลิตได้ในแต่ละปี จะผ่าน พืชคลุมชนิดน้ีน้อยมาก ท้ัง ๆ มีคุณสมบัติในการเป็นพืช การทำ� สะอาดใหป้ ราศส่งิ เจือปน เชน่ เศษฝัก และ ดิน มี คลุมในสวนยางดีกว่าพืชคลุมพันธุ์เก่าที่เคยปลูกกันมา การคัดแยกเมล็ดลีบ หรือเมล็ดไม่ได้ขนาดออก เก็บ ในหลาย ๆ ด้าน ท่ีส�ำคัญได้แก่ มีการเจริญเติบโตขยาย รกั ษาเมลด็ ในทีม่ อี ากาศแห้งและเยน็ รวมถงึ การทดสอบ พน้ื ท่คี ลมุ ดินไดเ้ ร็ว ท�ำให้สามารถใชจ้ �ำนวนตน้ ปลกู ตอ่ ไร่ ความงอกของเมล็ดแต่ละชนิดเป็นระยะ ๆ เช่น ทุก ๆ 6 น้อยมาก (ประมาณ 40 ต้นต่อไร่) ให้ปริมาณซากพืชสูง เดือน หลังจากเก็บเก่ียว ท้ังนี้เพ่ือเป็นหลักประกันว่า กว่าพชื คลุมเพอราเรยี 2-3 เทา่ และทนตอ่ ร่มเงาได้ดกี วา่ เกษตรกรจะได้รับเมล็ดพืชคลุมท่ีมีคุณภาพ มีความงอก พชื คลุมซรี เู ลียม ดว้ ยคุณสมบัตทิ ่ีดีของถ่วั มคู ูนา ส่งผลให้ ไม่ต�่ำกวา่ 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ พรอ้ มกับคำ� แนะนำ� การท�ำลาย เมล็ดที่น�ำเข้าจากต่างประเทศ (มาเลเซีย) มีราคาสูงกว่า การพักตัวของเมล็ดแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ รวมท้ัง พืชคลุมพันธุ์อื่น ๆ หรือตกประมาณกิโลกรัมละ 3,000 วิธกี ารปลกู และดูแลรักษาแบบไมย่ งุ่ ยาก บาท (เมลด็ 1 กโิ ลกรมั มปี ระมาณ 6,250 เมล็ด) เน่ืองจากถั่วมูคูนาไม่สามารถติดเมล็ดได้ใน สรุปและวจิ ารณ์ ประเทศไทยเพราะสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ โครงการ “ธนาคารเมล็ดพืชคลุมฯ” มเี ป้าประสงค์ ไม่เหมาะสม จึงต้องใช้วัสดุปลูกอย่างอื่นเข้ามาแทน เพื่อให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางใน เมล็ด คือ ต้นช�ำถุง โดย มีเป้าหมายการผลิตจ�ำนวน เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 10 จังหวัด ของ 1,000 ต้นช�ำถุง การยางแห่ง-ประเทศไทย มีความเข้มแข็ง เพ่ิมขีดความ วธิ กี ารปฎบิ ตั ิ สามารถทำ� ได้ 2 วธิ ี สามารถในการแข่งขันในด้านการลดต้นทนุ การผลติ และ วิธีแรก น�ำล�ำต้นมาปักช�ำในกะบะทรายที่อยู่ใน เพิ่มผลผลิตต่อไร่ การผลิตยางพาราของประเทศตั้งแต่ โรงเรือนที่สามารถควบคุมความช้ืนได้ และน�ำล�ำต้นท่ี ระดับตน้ น�้ำ กลางน�ำ้ และปลายน้�ำมปี ระสทิ ธภิ าพ เขา้ ถึง แตกรากปลกู ลงในถงุ ดำ� บรรจดุ นิ ขนาด 10x15 น้ิว เลย้ี ง เทคโนโลยีพืชคลุมดินในสวนยางของการยางแห่ง- ไว้ในเรือนเพาะช�ำเป็นเวลา 4 สัปดาห์ โดยที่ 2 สัปดาห์ ประเทศไทย ซ่ึงสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุน หลังก่อนน�ำไปปลูกในแปลง ให้ใบที่แตกออกมาใหม่ได้ พัฒนายางตามมาตรา 49(3) ว่าเป็นค่าใช้จ่ายในการ รบั แสงแดดมากขึ้นเพ่ือเพิม่ ความแขง็ แรงใหต้ น้ ชำ� ถุง ส่งเสริม สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือเกษตรกร วิธีที่สอง น�ำเมล็ด (ความงอกประมาณ 80 ชาวสวนยาง สถาบันเกษตรกรชาวสวนยางและผู้ เปอร์เซ็นต์) ซึ่งได้จากการจัดซ้ือ มาเพาะในถุงด�ำบรรจุ ประกอบกิจการยางในด้านการปรับปรุงคุณภาพผลผลิต ดิน ขนาด 5X7 น้ิว ใช้ 3 เมล็ดต่อถุง (ก่อนเพาะต้องน�ำ การผลติ การแปรรูป การตลาด และการดำ� เนนิ การอื่นท่ี เมลด็ มาขดั เปลอื กหุ้มเมลด็ ด้วยกรดซัลฟรู ิกเข้มข้นนาน 2 เกี่ยวข้องกับยางพาราและอุตสาหกรรมแปรรูปยางข้ัน

31 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ภาพท่ี 3 การออกดอกและตดิ ฝกั ของถวั่ ซรี เู ลยี มในชว่ งหนา้ แลง้ เมอ่ื ปลกู ในภาคตะวนั อกเฉยี งเหนอื ภาพที่ 4 ต้นถั่วมูคูนา แบร็คเทียตา (อายุประมาณ 6 สัปดาห์ พร้อมย้ายปลูกลงแปลง) เพาะในถุงโดยใช้เมล็ดท่ีขัดผิวเมล็ดด้วยกรดซัลฟูริกเข้มข้น นาน 2 ชว่ั โมง เพอ่ื เพมิ่ เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารงอกของเมลด็ ใหไ้ ดส้ งู สดุ

32 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ต้น อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง อุตสาหกรรมไม้ สวนยาง: ประโยชน์ท่ถี ูกมองข้าม. ว. ยางพารา 38 ยาง การพัฒนายางพาราทั้งระบบ และการรักษา (1): 3-23. เสถียรภาพราคายาง รวมถึงขยายผลต่อเกษตรกรใน ภทั ธาวธุ จวิ ตระกลู . 2560. มคู นู า แบรค็ เทยี ตา (Mucuna ภมู ภิ าคอ่ืน ๆ ต่อไป ซึง่ จากประโยชน์ของพืชคลุมตระกูล bracteata): ซูเปอร์พชื คลุมตระกลู ถ่วั . ว.ยางพารา ถั่วท่ีได้กล่าวมาทั้งหมด นับว่ามีประโยชน์และยังคง 38 (1): 24-42. สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมในแต่ละพ้ืนที่ของ ภัทธาวุธ จิวตระกูล. 2560. แนวทางส่งเสริมและพัฒนา ประเทศไทยซ่ึงมีความแตกต่างกันในเร่ืองของภูมิอากาศ การปลกู พชื คลมุ ในสวนยางแบบยง่ั ยนื . ว. ยางพารา โดยเฉพาะอย่างย่ิง การเลือกใช้ชนิดของพืชตระกูลถ่ัวท่ี 38 (1): 43-52. จะน�ำมาใช้ปลูกในสวนยาง ซ่ึงหากในอนาคตมีงานวิจัย ภัทธาวุธ จิวตระกูล. 2561. ผลของระยะเวลาการขัดผิว เร่อื งการพฒั นาในเรอื่ งพนั ธุ์ของพืชคลมุ ดนิ ยอ่ มสง่ ผลถงึ เมล็ดโดยใช้กรดซัลฟูริกเข้มข้น ต่อความงอกของ ปริมาณของผลประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการปลูกพืชคลุม เมล็ดถั่วมคู ูนา แบร็คเทยี ตา. ว. ยางพารา 39 (1): ตระกลู ถั่วในสวนยาง 13-22. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร. 2556. เอกสารค�ำ ค�ำขอบคณุ แนะน�ำการปลูกพืชซีรูเลียมในสวนยาง และการ ผู้เขยี นขอขอบคุณ คณุ วชิ ิต ล้ปี ระเสริฐ ทไ่ี ด้กรณุ า ผลิตเมล็ดพันธุ์ซีรูเลียม. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ มอบเมล็ดพนั ธุพ์ ืชคลุม มคู ูนา แบรค็ เทยี ตา จำ� นวน 200 การเกษตรแหง่ ประเทศไทย: กรุงเทพมหานคร. กรัม ให้โครงการฯ ได้ดำ� เนนิ การขยายผลสเู่ กษตรกร และ สถาบนั วจิ ยั ยาง การยางแหง่ ประเทศไทย. 2560. คำ� แนะนำ� สถาบนั เกษตรกรต่อไป การปลกู พชื คลมุ ดนิ ตระกลู ถวั่ ในสวนยาง ปี 2560. บริษัทนิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย)จ�ำกัด: บรรณานกุ รม กรงุ เทพมหานคร. ภัทธาวธุ จวิ ตระกูล. 2560. การปลกู พืชคลมุ ตระกลู ถ่ัวใน

33 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 การบรหิ ารจัดการดา้ นโรค และอาการผดิ ปกติ ของตน้ ยางพารา ของเกษตรกรและสถาบัน เกษตรกร ท่ีเขา้ ร่วมโครงการเกษตรแปลงใหญ่ เขตพ้นื ท่ภี าคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน วลยั พร อิม่ สุวรรณโณ และ เกษตร แนบสนิท ศูนย์วจิ ัยยางหนองคาย สถาบนั วจิ ัยยาง การยางแหง่ ประเทศไทย ศูนย์วิจัยยางหนองคาย สถาบันวิจัยยาง ซึ่งเป็น ผิดปกติของยางพาราเพ่ือแก้ไขปัญหาโดยบริการตรวจ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบงานด้านวิจัยและพัฒนายางพารา และวินิจฉัยโรคในแปลงเกษตรกร รวมทั้งให้ค�ำแนะน�ำ ในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของการยาง- การป้องกันและก�ำจัดโรคให้กับเกษตรกรท่ีร่วมโครงการ แห่งประเทศไทย ได้ตระหนักถึงปัญหาโรคและศัตรูยาง เกษตรแปลงใหญ่ และเกษตรกรสวนยางอ่นื ๆ โดยเขา้ ถึง ทม่ี ผี ลกระทบต่อการเจริญเติบโต และการใหผ้ ลผลิตของ ตัวเกษตรกรและสวนยางของเกษตรกร ซ่ึงการด�ำเนิน ต้นยาง ซ่ึงจะส่งผลต่อโดยตรงต่อเศรษฐกิจระดับครัว การตามโครงการน้ี สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การยาง- เรอื น เพอ่ื ทจี่ ะแกไ้ ขจุดออ่ นดงั กล่าว และให้ความสำ� คญั แหง่ ประเทศไทย ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การพฒั นายางพารา การสร้างความเข้มแข็ง เพ่ิมขีดความสามารถในการ ตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่คุณค่า การเพิ่ม แข่งขัน โดยการลดต้นทุน และเพิม่ ประสิทธภิ าพของการ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ในกลยทุ ธท์ ี่ 2 การสรา้ งความเข้ม ผลิตต่อไร่ของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรในโครงการ แขง็ เพิ่มขีดความสามารถในการแขง็ ขัน โดยเปา้ ประสงค์ เกษตรแปลงใหญ่ จากการลดอาการผิดปกติของต้นยาง เพื่อให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางใน ทำ� ให้ไดผ้ ลผลติ ยางเตม็ ก�ำลังผลิต และลดค่าใช้จ่ายทไี่ ม่ โครงการเกษตรแปลงใหญ่ในพ้ืนท่ีเขตภาคตะวันออก จ�ำเป็นในการป้องกันก�ำจัดโรคและอาการผิดปกติ โดย เฉียงเหนือตอนบน 10 จังหวัด ของการยางแห่ง- ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นี้ ศูนย์วิจัยยางหนองคาย ประเทศไทย มีความเข้มแข็ง เพิ่มขีดความสามารถใน ได้ด�ำเนินการในโครงการ “การบริหารจัดการด้านโรค การแข่งขันในด้านการลดต้นทุนการผลิต และเพ่ิม ยางพาราของเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรชาวสวน ผลผลิตตอ่ ไร่ การผลิตยางพาราของประเทศ ตัง้ แตร่ ะดับ ยาง ที่เข้าร่วมโครงการเกษตรแปลงใหญ่ เขตพ้ืนท่ีภาค ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำมีประสิทธิภาพจ�ำนวน ตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน” โดยได้รับงบประมาณจาก เกษตรกรชาวสวนยางและสถาบันเกษตรกรท่ีได้รับการ กองทุนพัฒนายางตามมาตรา 49 (3) ส่วนรูปแบบท่ีใช้ ตรวจวินิจฉัยโรคและศัตรูยางพารา รวมทั้งแนะน�ำการ เป็นการบริหารจัดการโดยการต้ังเป็นหน่วยปฏิบัติการ ป้องกันและก�ำจัดโรค ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรู้ เคล่ือนที่ทางวิชาการโดยเข้าไปวิเคราะห์โรค และอาการ ใหแ้ ก่เกษตรกรชาวสวนยางในชุมชนอน่ื ๆ

34 ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ยางพารา กับโครงการ ตัวแทนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางที่เข้าร่วมใน เกษตรแปลงใหญ่ โครงการเกษตรแปลงใหญ่ด้านยางพาราในความรับผิด ปัจจุบันการสนับสนุนนโยบายภาครัฐโดย ของ ชอบของการยางแห่งประเทศไทยจังหวัดในพ้ืนที่เขตภาค กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการจัดโครงการเกษตร ตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน 10 จังหวดั จะได้รบั บรกิ าร แปลงใหญ่ในพืชยางพาราในหลายพื้นที่ โดยเกษตรกร ตรวจวินิจฉัยโรคและศัตรูยางพารา และได้รับค�ำแนะน�ำ หรือสถาบันเกษตรกรที่จะเข้าร่วมน้ันต้องมีพ้ืนที่รวมกัน แก้ไขปัญหาการป้องกันก�ำจัดโรคและศัตรูยางไม่น้อย ไม่น้อยกว่า 300 ไร่ มีจ�ำนวนเกษตรกรไม่น้อยกว่า 30 กวา่ 600 ราย ใน 2 ปงี บประมาณ โดยแบ่งเปน็ โดยแบง่ ราย ซ่ึงแนวโน้มเกษตรกรรมของไทยควรมุ่งไปสู่การรวม เปน็ ปีงบประมาณ 2563 ต้องได้เปา้ หมายจำ� นวนไม่น้อย ผืนที่ดินเป็นเกษตรแปลงใหญ่ โดยรวมเกษตรกรรายยอ่ ย กว่า 300 รายต่อปี ด�ำเนินการในพื้นที่ 5 จังหวัด เป็น ใหเ้ ปน็ “วสิ าหกิจเกษตรแปลงใหญ่” โดยวิสาหกิจเกษตร โครงการแปลงใหญ่ของการยางแห่งประเทศไทยจังหวัด แปลงใหญ่ หรือ Mega Farm Enterprise (MFE) เป็น หนองคาย อุดรธานี สกลนคร เลย และหนองบัวล�ำภู โครงการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ขยายผลมา สว่ นในปีงบประมาณ 2564 เปา้ หมายจำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ จากนโยบายเกษตรแปลงใหญ่ โดยจะเปน็ ความหวังใหม่ 300 รายตอ่ ปี ในพื้นท่ี 5 จงั หวัด โดยเป็นโครงการแปลง ท่ีจะน�ำมาเป็นกลไกปฏิรูปภาคการเกษตรของไทย ช่วย ใหญ่ของการยางแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น ให้เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการมีช่องทางการ กาฬสินธุ์ มกุ ดาหาร บงึ กาฬ และ นครพนม จ�ำหน่ายผลผลิตท่ีแน่นอนขึ้น ช่วยลดต้นทุนการผลิต และยังช่วยเพิ่มอ�ำนาจต่อรองในการซ้ือปัจจัยการผลิต ขั้นตอนการดำ� เนนิ การ และขายผลผลิตอีกด้วย โดยเมื่อมีขนาดพื้นที่วิสาหกิจ เกษตรแปลงใหญ่ ก�ำหนดให้มีขนาดพ้ืนที่ติดกันรวมกัน 1. ติดต่อหน่วยงานการยางแห่งประเทศ- แลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 300 ไร่ ข้นึ ไป จะก่อใหเ้ กิดการประหยดั ไทยจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบในพื้นท่ีเขตภาคตะวันออก ต่อขนาดจากการผลิต (economies of scale) ซึ่งจะ เฉียงเหนือตอนบน เพื่อขอข้อมูลเบ้ืองต้นของเกษตรกร ท�ำให้ตน้ ทนุ การผลิตลดลง โดยภาครัฐและเอกชนจะรว่ ม และสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางที่เข้าร่วมโครงการ กันสนับสนุนองค์ความรู้และวิทยาการจัดการสมัยใหม่ เกษตรแปลงใหญ่ด้านพืชยางพาราของการยางแห่ง- แบบเกษตรแมน่ ย�ำ (precision agriculture) จัดหลักสูตร ประเทศไทย ทป่ี ระสบปญั หาเร่ืองโรคและศัตรยู าง อบรมให้กับเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ ตลอดจนให้การ 2. นัดวันและจุดท่ีหน่วยปฏิบัติการเคลื่อนท่ีจะ แนะน�ำวิธีการผลิตและการจัดการวิสาหกิจเกษตรแปลง เข้าไปบริการตรวจวินจิ ฉัย ใหค้ ำ� ปรึกษาและแกไ้ ขปัญหา ใหญ่ท่ีใช้ต้นทุนต�่ำแต่ให้ผลผลิตสูงพร้อมคุณภาพท่ีดี เบ้ืองต้น โดยดูที่จ�ำนวนสวนยาง และประวัติการเกิดโรค ส�ำหรับในส่วนของโครงการเกษตรแปลงใหญ่ใน ในพ้นื ท่ี พืชยางพาราในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 3. จัดเตรียมอุปกรณ์ และเคร่ืองมือในการเก็บ การยางแห่งประเทศไทยได้มอบหมายให้การยางแห่ง- ตัวอย่างเข้าตรวจวินิจฉัยในสวนเกษตรกรพร้อมให้ ประเทศไทยจังหวัดต่าง ๆ รวม 10 จังหวัด ได้แก่ คำ� แนะน�ำการป้องกนั และกำ� จดั โรคยางพารา หนองคาย บึงกาฬ อุดรธานี เลย หนองบวั ล�ำภู ขอนแก่น 4. จัดส่งหน่วยปฏิบัติการเคลื่อนที่เข้าให้บริการ กาฬสินธุ์ มุกดาหาร สกลนคร และนครพนม ได้จัดท�ำ กับเกษตรกร และสถาบนั เกษตรกร ทร่ี ่วมโครงการเกษตร โครงการเกษตรแปลงใหญ่ในพืชยางพารา จังหวัดละ 2 แปลงใหญ่ของการยางแห่งประเทศไทย โดยใช้หลัก แปลงใหญ่ วินิจฉัยจากค�ำแนะน�ำโรคและอาการผิดปกติของ ยางพารา ปี 2555 ของ สถาบนั วจิ ัยยาง คู่มอื การประเมนิ เปา้ หมายของโครงการ โรคในแปลงยางของสถาบันวิจัยยางปี 2544 และคู่มือ ปฏิบัติงานวิจัยโรคยางพาราของสถาบันวิจัยยางปี 2544 เป้าหมายของโครงการน้ี คือ เกษตรกร และ รวมถึงมีการเก็บตัวอย่างโรค หากจ�ำเป็นต้องน�ำตัวอย่าง

35 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ส่งวิเคราะห์ผลแบบละเอียดในห้องปฏิบัติการโรคพืช เกษตรกรจากหมู่ท่ี 5 หมู่ท่ี 6 และหมู่ที่ 7 บ้านโพธิ์ตาก พร้อมบันทึกข้อมูลอื่น ๆ ท่ีจ�ำเป็น เพ่ือให้เกษตรกรและ เป็นเกษตรกรแปลงใหญ่ปลูกยางพาราปี 2548 อายุยาง สถาบนั เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการฯ สามารถวนิ ิจฉยั โรค เฉลยี่ ประมาณ 15 ปี สว่ นใหญ่ปลกู ยางพนั ธ์ุ RRIM 600 เบ้ืองต้นได้ด้วยตัวเอง พร้อมสามารถแก้ไขปัญหาจาก ปลูกยางพันธุ์ RRIT 251 เพียง 2 ราย ใช้ระบบกรีดยาง การระบาดของโรคได้ รวมถึงสามารถเก็บตัวอย่างพืชที่ หน่ึงในสามของล�ำต้น สองวันเว้นวัน เก็บผลผลิตในรูป เกดิ อาการผิดปกติตามหลกั วิชาการยางพารา แบบของยางก้อนถว้ ย ปัญหาทพี่ บในแปลงเกษตรกร คอื ส่วนใหญ่ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนทราย และการจัดการ ผลการดำ� เนินการ สวนยางยังขาดการดูแลรักษา กรีดยางต้นเล็ก รอยกรีด ในไตรมาสท่ี 1-2 ปีงบประมาณ 2563 ศูนย์วิจัย ท�ำมุมไม่ได้ 30-35 องศา และไม่ท�ำรอยแบ่งหน้ากรีด ยางหนองคาย ไดด้ ำ� เนนิ การในกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่ ท�ำให้หน้ากรีดเสียหาย การใส่ปุ๋ยยางไม่ถูกสูตร ต้นยาง ด้านยางพาราจ�ำนวน 5 จงั หวัด โดยเรมิ่ จากใช้ขอ้ มลู จาก แคระแกรน ใบยางมีขนาดเล็ก พบอาการเปลือกแห้ง การคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่จากการยางแห่ง- เปลือกแตกล่อนจากเทา้ ช้างจนถึงรอยกรีด ประเทศไทยจงั หวดั ในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบ จากนน้ั นกั วชิ าการ- เกษตรของศูนย์ฯได้เข้าพื้นที่เพ่ือท�ำเวทีเสวนา เพื่อการ จังหวดั อดุ รธานี เก็บข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) ชี้แจงวัตถุประสงค์ คร้ังที่ 1 วนั ท่ี 24-25 ธนั วาคม 2562 ทีศ่ าลากลาง และบันทึกข้อมูลเกษตรกร จากน้ันมีการเข้าตรวจอาการ บ้านหยวก หมู่ท่ี 1 ต�ำบลบ้านหยวก อ�ำเภอน�้ำโสม ผิดปกติในสวนยางของเกษตรกรเพ่ือให้ค�ำแนะน�ำการ จังหวดั อุดรธานี เกษตรกรเข้าร่วมโครงการจ�ำนวน 32 คน แก้ไขปญั หาเปน็ รายบคุ คล โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี จ�ำนวนพื้นท่ีปลูกยางรวม 647 ไร่ ที่เวทีเสวนาเกษตรกร ชาวสวนยางของอ�ำเภอนำ�้ โสม จงั หวัดอุดรธานี สว่ นใหญ่ เป็นเกษตรกรในโครงการเกษตรแปลงใหญ่ ปลูกยางปี จังหวดั หนองคาย ครง้ั ที่ 1 วนั ที่ 26-27 พฤศจกิ ายน 2562 ทศี่ าลา 2547- 2548 อายุยางเฉลยี่ 15-16 ปี ส่วนใหญใ่ ช้ระบบ กลางบ้านสามัคคีชัย หมู่ท่ี 5 ต�ำบลพระบาทนาสิงห์ กรีดหน่ึงในสามของล�ำต้น สองวันเว้นวัน เก็บผลผลิตใน อำ� เภอรตั นวาปี จงั หวัดหนองคาย มีเกษตรกรเขา้ รว่ ม 30 รูปแบบของยางก้อนถ้วย ส่วนปัญหาท่ีพบในแปลงยาง ราย จ�ำนวนพ้ืนที่ปลูกยางรวม 370 ไร่ เกษตรกรเป็น คือ ส่วนใหญ่ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนเหนียวและร่วน สมาชิกโครงการเกษตรกรแปลงใหญ่ ส่วนใหญ่ปลูก ทราย เคยปลูกมันส�ำปะหลังและปลูกอ้อยก่อนที่จะมา ยางพาราปี 2540 และปี 2546 อายุยางเฉล่ียเป็น 2 รุ่น ปลูกยาง ในแปลงยางพบราแป้ง (แผลเก่า) ระดับ 2-3 ประมาณ 17 และ 23 ปี ส่วนใหญ่ปลูกยางพันธุ์ RRIM และมีอาการเปลือกแห้ง เปลือกแตกล่อนใต้รอยกรีด 600 และ RRIT 251 ใชร้ ะบบกรีดยาง ครงึ่ ล�ำตน้ สองวนั หรือตลอดรอยกรีด เกษตรกรใช้ยาทาเร่งน้�ำยาง เช่น รีด เว้นหนึ่งวัน เก็บผลผลิตในรูปแบบของยางก้อนถ้วย โฟลด์ 5, เงาะแดง และกังฟู ใช้ทาเหนือรอยกรีด ปัญหาท่ีพบเม่ือส�ำรวจแปลงเกษตรกร คือ สวนยางส่วน ประมาณ 2 เดือนตอ่ ครง้ั ใหญ่ ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนเหนียว เคยเป็นป่ารกร้าง คร้ังท่ี 2 วันท่ี 26-27 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ท่ีศาลา ตน้ ยางแสดงอาการเปลอื กแห้ง เปลอื กแตกล่อนจากโคน กลางบ้านสามหมอ หมู่ท่ี 7 ต�ำบลผาสุก อ�ำเภอ ถึงรอยกรีด และพบรอยกรีดแห้งเป็นสีน�้ำตาลเปลือกใต้ วงั สามหมอ มีเกษตรกรเขา้ ร่วม 31 คน จำ� นวนพน้ื ที่ปลกู รอยกรดี แตก ใบเริ่มทยอยรว่ ง ยางรวม 633 ไร่ โดยที่เวทีเสวนาเกษตรกรชาวสวนยาง คร้งั ที่ 2 วนั ที่ 28-29 พฤศจิกายน 2562 ทศ่ี าลา ของอ�ำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ส่วนใหญ่พบว่า กลางบ้านโพธ์ิตาก หมู่ที่ 5 ต�ำบลโพธิ์ตาก อ�ำเภอโพธ์ิ เป็นเกษตรกรในโครงการเกษตรแปลงใหญ่ ส่วนใหญ่ ตาก จังหวัดหนองคาย มีเกษตรกรเข้าร่วม 30 ราย ปลกู ยางปี 2547 และปี 2550 อายุตน้ ยาง 16 และ 13 ปี จ�ำนวนพื้นท่ีปลูกยางรวม 337 ไร่ ประกอบไปด้วย พันธุ์ RRIM 600 ส่วนใหญ่ใช้ระบบกรีดหนึ่งในสามของ

36 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ลำ� ต้น สองวันเวน้ วนั เกบ็ ผลผลิตในรปู แบบของยางก้อน เก็บผลผลิตในรูปแบบของยางก้อนถ้วย ปัญหาท่ีพบใน ถ้วย สวนยางส่วนใหญ่ ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนทราย แปลงยางเกษตรกร ได้แก่ โรคใบจดุ ก้างปลา ระดับ 1-2, เคยปลูกมันส�ำปะหลังและปลูกอ้อยก่อนที่จะมาปลูก โรคราแป้ง (แผลเก่า) ระดับ 2-3 อาการเปลือกแห้ง ยางพารา ตน้ ยางแคระแกรน ใบยางมขี นาดเลก็ กรดี ยาง เปลือกแตกจากโคนถึงรอยกรีด รอยกรีดแห้งเป็นสี ต้นเลก็ ทำ� มมุ กรดี ไมไ่ ด้ 30-35 องศา ใสป่ ยุ๋ ยางไมถ่ ูกสูตร น้�ำตาล มีเปลือกแตกใต้รอยกรีดถึงโคนต้นและล่อนหลุด ต้นยางไมส่ มบูรณ์ พบโรคราแปง้ (แผลเก่า) ระดบั 3-4 มี ง่าย เกษตรกรใช้ยาทาเร่งบริเวณรอยกรีด และมี อาการเปลือกแห้ง เปลือกแตกลอ่ นที่โคนถึงรอยกรีด เกษตรกรกรดี ในฤดูแลง้ จำ� นวน 4-5 ราย จังหวดั หนองบวั ลำ� ภู จังหวัดเลย ครั้งที่ 1 วนั ที่ 20-25 มกราคม 2563 ทีศ่ าลากลาง คร้ังที่ 1 วนั ท่ี 4-5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ท่ศี าลา บ้านเกศมณี หมู่ท่ี 4 ต�ำบลดงสวรรค์ อ�ำเภอนากลาง กลางบ้านน�้ำพร หมู่ท่ี 2 ต�ำบลปากตม อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดหนองบัวล�ำภู มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 44 จังหวดั เลย มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 32 คน จำ� นวน คน จ�ำนวนพ้ืนที่ปลูกยางรวม 589 ไร่ ที่เวทีเสวนา พื้นที่ปลูกยางรวม 431 ไร่ที่เวทีเสวนาเกษตรกรชาวสวน เกษตรกรชาวสวนยางของอ�ำเภอนากลาง จังหวัด ยางของอำ� เภอเชียงคาน จังหวดั เลย ส่วนใหญพ่ บว่าเป็น หนองบัวล�ำภู ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรสวนยางแปลง เกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่ ปลูกยางพาราปี 2547 และ ใหญ่ ส่วนใหญ่ปลูกยางพาราปี 2547 พันธุ์ยาง RRIM ปี 2548 เป็นยางพันธุ์ RRIM 600 อายยุ าง 15 และ17 ปี 600 อายุยาง 16 ปี ส่วนใหญ่ใช้ระบบกรีดยาง หนึ่งใน ใช้ระบบกรีดยาง หน่ึงในสามของล�ำต้น สองวันเว้นวัน สามของลำ� ต้น สองวนั เวน้ วนั เกบ็ ผลผลิตในรปู แบบของ เก็บผลผลิตในรปู แบบของยางกอ้ นถว้ ย ลักษณะดนิ ปลกู ยางก้อนถ้วย ลักษณะดินในสวนยางเป็นดินร่วนเหนียว ยางเป็นดินร่วนเหนียว เคยปลูกมันส�ำปะหลัง มะขาม เป็นสว่ นใหญ่ และร่วนทราย พนื้ ท่เี คยปลกู มันส�ำปะหลงั หวาน และกล้วย การจัดการสวนยางขาดการดูแลรักษา และขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ การจัดการสวนยางไม่ดี ทำ� ใหต้ ้น ต้ังแต่เริ่มปลูก กรีดยางต้นเล็ก รอยกรีดมีความลาดชัน ยางตายแคระแกรนไม่สมบูรณ์ การใสป่ ๋ยุ ไม่ถกู สูตร หรือ มาก ไม่ได้ระดับตามที่ก�ำหนด หน้ากรีดเสียหาย การใส่ ใส่ปุ๋ยอินทรีย์อย่างเดียว พบโรคใบจุดก้างปลา ระดับ 1 ปุ๋ยไม่ถูกสูตร หรือบางรายใส่แต่ปุ๋ยอินทรีย์อย่างเดียว โรคราแป้ง (แผลเก่า ) ระดับ 3-4 อาการเปลือกแห้ง ท�ำให้ต้นยางแคระแกรน ใบยางเล็ก ไม่สมบูรณ์ และ เปลือกแตกจากโคนถึงรอยกรีด รอยกรีดแห้งเป็นสี เกษตรกรมบางรายใช้สารเคมีทาเร่งน้�ำยางขนาด 1.5 – น้�ำตาล มีเปลือกแตกใต้รอยกรีด ปัจจุบันแปลงยาง 2.5 เปอรเ์ ซ็นต์ ทาเดอื นละคร้ัง เกษตรกรบางรายกรดี ใน เกษตรกรแปลงใหญ่บางราย หยุดกรีดยางเพราะสภาพ ฤดูแล้ง พบโรคราแป้ง (แผลเก่า) ระดับ 2-3 มีอาการ พน้ื ที่แห้งแล้งมาก เปลอื กแห้ง เปลอื กแตกจากเท้าชา้ งถึงรอยกรดี คร้ังที่ 2 วันที่ 22-25 มกราคม 2563 ทศ่ี าลากลาง ครั้งท่ี 2 วันท่ี 6-8 กมุ ภาพันธ์ 2563 ทีศ่ าลากลาง บ้านบุญทัน หมู่ที่ 4 ต�ำบลบุญทัน อ�ำเภอสุวรรณคูหา บ้านใหมศ่ รีอบุ ล หมู่ท่ี 6 ตำ� บลหนองหญา้ ปลอ้ ง อำ� เภอ จงั หวดั หนองบัวล�ำภู มีเกษตรกรเขา้ ร่วมโครงการ 63 คน วังสะพุง จังหวัดเลย มีเกษตรกรเขา้ รว่ มโครงการ 34 คน จ�ำนวนพื้นท่ีปลูกยางรวม 697 ไร่ โดยท่ีเวทีเสวนา จ�ำนวนพ้ืนท่ีปลูกยางรวม 453 ไร่ โดยท่ีเวทีเสวนา เกษตรกรชาวสวนยางของอ�ำเภอสุวรรณคูหา จังหวัด เกษตรกรชาวสวนยางของอ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย หนองบัวลำ� ภู เปน็ เกษตรกรจากบ้านบญุ ทนั หมู่ที่ 4 และ เป็นเกษตรกรที่มาจาก บา้ นใหม่ศรอี บุ ล หมูท่ ่ี 6 และหมทู่ ี่ หมทู่ ี่ 9 ต�ำบลบุญทนั และบ้านโคก หมทู่ ่ี 2 และหมู่ท่ี 15 20 ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่ เร่ิมมีการ ต�ำบลบ้านโคก ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรสวนยางแปลง ปลูกยางพารา แบ่งเป็น 2 ชว่ ง คอื ช่วงแรก ในปี 2538 - ใหญ่ ปลูกยางพาราปี 2547 พันธุ์ RRIM 600 อายุยาง 2540 และช่วงที่ 2 ปี 2547 - 2548 ส่วนใหญใ่ ชร้ ะบบกรีด 16 ปี ใชร้ ะบบกรีด หนึง่ ในสามของลำ� ต้น สองวันเว้นวัน หน่งึ ในสามของล�ำตน้ สองวันเวน้ วนั จำ� หนา่ ยผลผลิตใน

37 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 รูปแบบของยางก้อนถ้วย และน้�ำยางสด ดินเป็นดินร่วน ลักษณะดิน เป็นดินร่วนทราย เคยปลูกมันส�ำปะหลัง เหนียว เคยปลูกอ้อย มันส�ำปะหลัง และข้าวโพดเลี้ยง และเป็นที่นา พบโรคราแป้ง ระดับ 2-3 ส่วนอาการ สัตว์ พบโรคราแป้ง ระดับ 2-3 ส่วนอาการเปลือกแห้ง เปลอื กแหง้ เปลอื กแตกจากโคนถงึ รอยกรีด รอยกรีดแห้ง เปลือกแตกจากโคนถึงรอยกรีด รอยกรีดแห้งเป็นสี เปน็ สีน้�ำตาล เปลือกใต้รอยกรีดแตกขยายเป็นแผ่นกว้าง น�้ำตาล เปลือกใต้รอยกรีดแตกขยายเป็นแผ่นกว้าง เกษตรกรทายาเร่งเปน็ ส่วนมาก โดยฉดี พน่ หน้ายางเดอื น สรปุ และวจิ ารณ์ ล่ะ 2 ครั้ง และทาบริเวณเหนือรอยกรีด 1-2 เซนติเมตร และทาบรเิ วณรอยกรีด 2 เดือนต่อครั้ง การด�ำเนินการในกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่ด้าน ยางพารา จ�ำนวน 5 จังหวัด ในความรับผิดชอบของ จังหวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ใน ไตรมาสท่ี 1-2 ปีงบประมาณ 2563 มีเกษตรกรเข้าร่วม จังหวดั สกลนคร โครงการฯ ท้งั สนิ้ 359 ราย พนื้ ทปี่ ลูกยางรวม 5,475 ไร่ ครั้งที่ 1 วันที่ 24-25 กุมภาพันธ์ 2563 ที่ศาลา ส�ำหรับสวนยางเกษตรกรในโครงการฯ ในพื้นท่ี กลางบ้านตาดโพนไผ่ หมู่ท่ี 6 ต�ำบลวาริชภูมิ อ�ำเภอ เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พบว่า ส่วนใหญ่ วาริชภมู ิ จงั หวดั สกลนคร มีเกษตรกรเขา้ รว่ มโครงการ 30 คน มีพื้นท่ี 680 ไร่ โดยท่ีเวทีเสวนาเกษตรกรชาวสวน พบโรคราแป้ง ร้อยละ 85.7 ที่ความรุนแรงของโรคระดับ ยางของอ�ำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร เป็นเกษตรกร 2-3 ส่วนอาการผดิ ปกติในสวนยาง พบอาการเปลือกแห้ง จากบา้ นตาดโพนไผ่ หม่ทู ี่ 6 หมู่ท่ี 10 หมทู่ ่ี 18 สว่ นใหญ่ ทุกสวน แตจ่ �ำนวนตน้ ไมม่ ากนกั ส่วนใหญพ่ บในยางอายุ เป็นเกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่ ปลูกยางพาราหลาย มากกว่า 15 ปี และในสวนยางที่เปิดกรีดในขณะที่ต้น ชว่ งอายุ ตง้ั แต่ ปี 2535, 2542, 2544 และ 2545 สว่ นใหญ่ ยางยงั เล็กอยู่ ปัญหาเกดิ จากการขาดการดแู ลรักษาสวน ใช้ระบบกรีดยาง หนึ่งในสามของล�ำต้น สองวันเว้นวัน ยางท่ีถูกต้องทางวิชาการ การใช้ระบบกรีดถี่และใช้สาร เก็บผลผลิตในรูปแบบยางก้อนถ้วย ดินปลูกยางเป็นดิน เคมีเร่งน�้ำยางร่วม รวมทั้งปัญหาท่ีเกิดจากสภาพ ร่วนทราย เคยปลูกมันส�ำปะหลัง มะขามหวาน และเป็น แวดล้อมไม่เหมาะสม ซึ่งศูนย์วิจัยยางหนองคายจะได้ ท่นี า สวนยางพาราของเกษตรกรประมาณ 5-6 แปลง อยู่ เข้าตรวจและแนะน�ำเกษตรกรทุกรายซ�้ำอีกคร้ังในช่วง ในระยะที่รอโค่น การจัดการสวนยางขาดการดูแลรักษา ฤดูฝนไตรมาสท่ี 3-4 ของปีงบประมาณ 2563 รวมถึงมี มีการใสป่ ุย๋ ไมถ่ กู สตู ร และกรีดยางทำ� มมุ ไมไ่ ดร้ ะดบั 30- การสอบถามความพึงพอใจในการได้รับริการ และ 35 องศา เกษตรกรบางรายกรีดยางในฤดูแล้ง พบโรครา แนวทางการพฒั นาโครงการฯนีต้ อ่ ไป แป้ง (แผลเก่า) ระดับ 2-3 มีอาการเปลือกแห้ง เปลือก ส�ำหรับการระบาดของโรคใบร่วงชนิดใหม่ในพื้นที่ แตกจากเทา้ ชา้ งถงึ รอยกรีด จังหวัดทางภาคใต้ หลังเคยพบการระบาดเป็นพื้นท่ีวง คร้ังท่ี 2 วันที่ 26-28 กุมภาพันธ์ 2563 ที่ศาลา กว้างในประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย โดยโรคน้ีมี กลางบ้านนิคมน้�ำอูน หมู่ท่ี 7 ต�ำบลนิคมน�้ำอูน อ�ำเภอ ลกั ษณะอาการปรากฏบนใบยางแก่ เม่อื เร่มิ แสดงอาการ นิคมน้�ำอูน จังหวัดสกลนคร มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ปรากฏรอยช้�ำ ๆ เป็นกลุ่มเห็นชัดเจนด้านหลังใบ หลัง 31 คน พ้ืนที่ 578 ไร่ โดยที่เวทีเสวนาเกษตรกรชาวสวน จากน้ันจะแสดงอาการเป็นวงค่อนข้างกลม สีเหลือง ยางของอ�ำเภอนิคมน้ำ� อูน จังหวัดสกลนคร เป็นเกษตรกร (chlorosis) ต่อมาเน้ือเย่ือรอยสีเหลืองจะตายแห้ง จากบ้านนิคมน�้ำอูน หมู่ท่ี 7 ต�ำบลนิคมน�้ำอูน และบ้าน (necrosis) เป็นแผลกลมสีสนิมซีด โดยพบอาการจุด หนองปลิง หมู่ที่ 7 ต�ำบลหนองปลิง หมู่ที่ 10 หมู่ท่ี 18 แผลต่อใบยางมากกว่า 1 แผล จากน้ันใบจะเหลืองและ ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่ ปลูก ร่วงในท่ีสุด อาการโรครุนแรงและใบร่วงมากหลังมีฝน ยางพาราหลายชว่ งอายุ ได้แก่ ปี 2542, 2547 และ 2561 ตกหนักติดตอ่ กนั อย่างน้อย 2 วนั ตน้ ยางอายุมากขนาด ส่วนใหญ่ใช้ระบบกรีดยางหน่ึงในสามของล�ำต้นสองวัน ใหญ่ได้รับผลกระทบที่รุนแรงกว่าต้นยางอายุน้อยขนาด เว้นวัน และเก็บผลผลิตในรูปแบบของยางก้อนถ้วย เล็ก อาการใบร่วงจากเชื้อราน้ีมีผลกระทบต่อการเจริญ

38 ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 เตบิ โตและผลผลติ นำ�้ ยาง เนอื่ งจากมใี บรว่ งมากกวา่ รอ้ ยละ บรรณานุกรม 90 จึงเปน็ เหตุให้ผลผลติ ลดลงรอ้ ยละ 30-50 และพบใน สถาบันวิจัยยาง. 2555. ค�ำแนะน�ำโรคและอาการ ทุกพันธุ์ยางท่ีปลูกในพ้ืนที่นั้น ได้แก่พันธุ์ RRIM 600, ผิดปกติของยางพารา. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ RRIT 251 และ PB 311 เชื้อรานี้มีพืชอาศัยหลายชนิด การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด. กรุงเทพ- แพร่ระบาดโดยลมและฝน จึงค่อนข้างยากต่อการ มหานคร. ป้องกันควบคุม ซึ่งแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาด สถาบนั วจิ ยั ยาง. 2544. คมู่ อื การประเมนิ โรคในแปลงยาง. ของโรคน้ีในพ้ืนท่ีปลูกยางใหม่ คือ ควรมีการให้ความรู้ เอกสารโรเนียว. 15 หนา้ . กับเกษตรกรในพื้นท่ี และมีเฝ้าระวังของเกษตรกรและ สถาบันวิจัยยาง. 2544. คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั โรคยางพารา. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การยางแห่งประเทศไทย เอกสารโรเนยี ว. 24 หน้า. กรมส่งเสริมการเกษตร รวมถึงควรมีการบังคับใช้ อารมณ์ โรจน์สุจิตร. 2562. โรคใบร่วงชนิดใหม่ของ กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมยางปี พ.ศ. 2542 ยางพารา. ว. ยางพารา 40(4): 3-19. โดยกรมวิชาการเกษตร ในการห้ามเคล่ือนยางช�ำถุงและ อารมณ์ โรจน์สจุ ิตร. 2562. การประเมนิ โรคยางทีส่ ำ� คญั : วัสดุปลูกอ่ืน ๆ จากพื้นท่ีปลูกยางเดิมทางภาคใต้สู่พ้ืนท่ี สนับสนุนงานวิจัยด้านปรับปรุงพันธุ์ยาง. เอกสาร ปลูกยางใหม่ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคตะวนั ออก บรรยายการประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง และภาคเหนือ เพ่ือควบคุมไม่ให้มีการแพร่กระจายของ หลักปรับปรุงปรุงพันธุ์การใช้ปุ๋ยและการประเมิน โรคมากขึน้ โรคในยางยางพารา. ฉะเชงิ เทรา. 16-20 ธนั วาคม 2562.

39 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ค�ำแนะนำ� ส�ำหรับผูเ้ ขียน วารสารยางพารา เป็นวารสารทางวิชาการ ชื่อผเู้ ขียน ท่ีเก่ียวข้องกับการท�ำสวนยาง การแปรรูปยาง และ ใช้ช่ือเต็มกับสถานที่ท�ำงานของผู้เขียนแต่ละคน ผลิตภัณฑ์ยาง โดยมีสถาบันวิจัยยาง การยางแห่ง- พร้อมกับระบุเบอรโ์ ทรศัพท์มอื ถือ และ E-mail address ประเทศไทย เป็นผรู้ บั ผิดชอบ ของผู้เขยี นทจ่ี ะเปน็ ผตู้ ิดตอ่ กบั ทางวารสารยางพารา บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารยางพารา เป็นความ เนอื้ หา เรียงทางวิชาการซึ่งได้จากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ประกอบด้วยหวั ขอ้ หลกั ตามลำ� ดบั ดงั น้ี และวจิ ัย ตลอดจนประสบการณท์ ี่ได้จากการท�ำงานเกีย่ ว 1. ค�ำน�ำ เป็นการเกร่ินน�ำเรื่องราวท่ีเกี่ยวข้องเพื่อ กับยางพารา โดยผู้เขียนนอกจากเป็นนักวิชาการของ จะน�ำเขา้ สู่เนอื้ หาหรอื ตวั เรอ่ื ง (ไมต่ ้องใสห่ ัวข้อ \"ค�ำนำ� \") สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทยแล้ว ผู้เขียน 2. ตวั เรอ่ื ง จากหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่ท�ำงานเก่ียวกับยางพารา หรือแม้ กระท่ังนักวิชาการอิสระ ก็สามารถส่งเรื่องมาเพื่อให้ 2.1 น�ำเสนอรายละเอียดของเรื่องตามล�ำดับ พิจารณาตีพิมพไ์ ด้ ควรแบ่งเปน็ หวั ขอ้ ใหญ่ หัวขอ้ ยอ่ ย วารสารยางพารา เป็นวารสารราย 3 เดือน คือ 2.2 ควรเรียบเรียงเนื้อหาของบทความโดยใช้ ฉบับ มกราคม-มนี าคม, เมษายน-มิถนุ ายน, กรกฏาคม- ภาษาที่เข้าใจง่าย เน่ืองจากผู้อ่านวารสารยางพารามี กนั ยายน และ ตลุ าคม-ธนั วาคม ออกเผยแพร่ใน 2 ชอ่ ง หลายระดับ ท้ังนักวิชาการ เจ้าของสวนยาง และ ทางคือ ช่องทางแรก จัดพิมพ์เป็นเล่ม ขนาดกระทัดรัด ประชาชนท่วั ไป จ�ำนวน 48 หนา้ บนกระดาษอารต์ มภี าพ 4 สีประกอบ อีก 2.3 ค�ำศัพท์ใดท่ีเป็นค�ำศัพท์เฉพาะ โดยเฉพาะ ช่องทางหน่ึง จัดท�ำในรูปแบบส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ใช้ช่ือว่า ค�ำศัพท์ท่ีเป็นภาษาอังกฤษ ควรอธิบายค�ำศัพท์น้ันใน \"วารสารยางพารา (ฉบับอิเล็กทรอนิส์)\" เผยแพร่ทาง ลักษณะของเชงิ อรรถ (footnote) เว็บไซต์ www.rubber.co.th หรือ www.raot.co.th 2.4 ในกรณีที่บทความมีภาพ หรือตาราง ควร ระบุต�ำแหน่งของภาพและตารางในเนอ้ื หา โดยระบไุ วใ้ น การเตรยี มต้นฉบบั วงเลบ็ เชน่ ...... (ตารางท่ี 1) หรอื ....... (ภาพที่ 1) 2.5 ส�ำหรับตาราง ควรให้รายละเอียดของ ตน้ ฉบบั ข้อมูลในตารางให้มากที่สุด เช่น หน่วยของข้อมูล ท่ีมา พิมพ์หน้าเดียวบนกระดาษขนาด A4 ใช้ฟอนด์ที่ ของข้อมลู หมายเหตุตา่ ง ๆ นิยมใช้ทั่วไป เช่น TH Sarabun New, Angsana New 3. บทสรุป หรือสรุปวิจารณ์ เป็นการสรุปสาระ เปน็ ตน้ แตต่ ัวเลขทใ่ี ช้พิมพต์ อ้ งเปน็ เลขอารบิคเทา่ นน้ั ส�ำคญั ทง้ั หมดของเร่อื งทคี่ วรเนน้ และอาจจะเสนอข้อคิด ชอื่ เรอ่ื ง เหน็ และวจิ ารณ์ ควรกะทัดรดั แต่สื่อถงึ เนื้อหาไดด้ ี 4. คำ� ขอบคณุ อาจมี หรอื ไม่มกี ็ได้ เป็นการแสดง

40 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ค�ำขอบคุณแก่ผู้ท่ีช่วยเหลือ เช่น ให้ข้อมูล รูปภาพ ฯลฯ การอา้ งอิงจากวารสาร แต่มิได้เปน็ ผรู้ ว่ มเขียน ให้เรียงล�ำดับตามองค์ประกอบดังต่อไปน้ี 5. เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม ในกรณีของ 1) ชื่อผวู้ จิ ยั เอกสารอ้างอิง ให้แสดงเฉพาะเอกสารที่ใช้อ้างอิงใน 2) ปีที่พิมพ์ (ปี พ.ศ. ส�ำหรับภาษาไทย ปี ค.ศ. เนอ้ื หาเทา่ นนั้ ส�ำหรับบรรณานกุ รม เป็นรายการเอกสาร สำ� หรับภาษาอังกฤษ) ทน่ี �ำมาใชใ้ นการเขยี นบทความ แตไ่ มไ่ ดอ้ ้างองิ ในเน้อื หา 3) ชื่อเรอื่ ง 6. ภาคผนวก ได้แก่ ข้อมูลหรือตารางที่ไม่ 4) ชอ่ื วารสาร (ชอ่ื เตม็ หรอื ค�ำยอ่ ทกี่ ำ� หนด) เก่ียวข้องกับเนื้อหาโดยตรง แต่ใช้เพื่อขยายความหรือ 5) ฉบับที่ (volume number) และเล่มที่ (issue ทำ� ให้ผู้อา่ นเข้าใจมากยิง่ ข้ึน number) (ถ้าม)ี 6) หน้า (หมายเลขหน้าแรก-หน้าสุดท้ายของ เอกสารอ้างองิ เรอ่ื ง) การอ้างองิ ในเน้ือหา การพิมพ์ชื่อผู้วิจัยส�ำหรับวารสารภาษาไทย ใช้ ใช้ระบบช่อื และปี ตัวอยา่ งเชน่ ช่ือ-นามสกุล ส่วนวารสารภาษาอังกฤษ เฉพาะคนแรก ภาษาไทย ใช้ชอ่ื ตน้ -ปี พ.ศ. เท่านั้น ขึ้นต้นด้วยนามสกุลแล้วค่ันด้วยเครื่องหมาย - ปรีดเ์ิ ปรม (2557) หรอื (ปรดี ิ์เปรม, 2557) จุลภาค ตามด้วยช่อื ตน้ และชอ่ื กลาง (ถา้ มี) และในกรณี - อารมณ์ และ สมคิด (2559) หรอื (อารมณ์ และ ท่ีมีผู้วิจัยหลายคน ให้ใช้ และ (ภาษาไทย) และ and สมคิด, 2559) (ภาษาอังกฤษ) น�ำหน้าคนสุดทา้ ย กรณีท่ีมีผู้เขียนตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ให้ใช้และคณะ ตัวอยา่ ง (ภาษาไทย): ต่อทา้ ยผู้เขียนคนแรก ตัวอยา่ ง สุมนา แจ่มเหมือน, พรทิพย์ ประกายมณีวงศ์ และ - สุรชัย และคณะ (2557) หรอื (สุรชัย และคณะ, นุชนาฏ ณ ระนอง. 2557. การผลิตท่อน�้ำซึม 2557) สำ� หรบั ใชใ้ นการเกษตร. ว. ยางพารา 35(4): 38-46. หมายเหต:ุ ในกรณที ตี่ อ้ งอา้ งถึงผเู้ ขียนคนเดยี วกัน ตวั อยา่ ง (ภาษาองั กฤษ): หรือคณะเดียวกัน และมีปี พ.ศ. เดียวกันให้ใช้อักษร ก, Wititsuwannakul, R., P. Pasitkul, P Jewtragoon and ข, ค ตอ่ ทา้ ยปี พ.ศ. เชน่ D. Wititsuwannakul. 2008. Hevea latex lectin - อารมณ์ และคณะ (2554 ก), (อารมณ์ และ binding protein in C-serum as an coagulating คณะ, 2554 ข) factor and its role in a proposed new model ภาษาอังกฤษ ใชช้ ื่อสกุล-ปี ค.ศ. for latex coagulation. Phytochemistry 69: 656- - Haase (2008) หรอื (Haase, 2008) 662. - John and Matthan (2012) หรือ (John and Matthan, 2012) การอ้างองิ จากหนังสือ หรือต�ำรา กรณที มี่ ีผู้เขยี นตงั้ แต่ 3 คนข้ึนไป ใหใ้ ช้ et al. ตอ่ ให้เรียงล�ำดับตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้ ทา้ ยผู้เขียนคนแรก 1) ช่ือผ้แู ตง่ - Dickson et al. (1960) หรือ (Dickson et al., 2) ปที ี่พมิ พ์ 1960) 3) ช่อื หนงั สอื หมายเหตุ: ในกรณีท่ีต้องอ้างถึงผู้เขียนคน 4) พิมพค์ รัง้ ที่ (edition number) (ถ้ามี) เดยี วกัน หรือคณะเดียวกัน และมปี ี ค.ศ. เดียวกัน ให้ใช้ 5) สำ� นักพิมพ์ และสถานทีพ่ ิมพ์ อกั ษร a, b, c ต่อทา้ ยปี ค.ศ. เช่น ตวั อยา่ ง (ภาษาไทย): - Jacob et al. (1996 a), (Jacob et al., 1996 b) นุชนารถ กังพิศดาร. 2552. การจัดการสวนยางพารา

41 ฉบบั อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 42 กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 อย่างยัง่ ยืน: ดนิ น�้ำ และธาตุอาหารพชื . โรงพิมพ์ ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหา ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด: บณั ฑติ (เกษตรศาสตร์) สาขาสง่ เสริมการเกษตร. กรงุ เทพมหานคร. มหาวิทยาลเั กษตรศาสตร์:กรงุ เทพมหานคร. ตวั อยา่ ง (ภาษาอังกฤษ): ตัวอย่าง (ภาษาอังกฤษ): Brydson, J. A. 1978. Rubber Chemistry. Applied Gomez, J. B. 1966. Electron microscopic studies on Science Publishers: London. the development of latex vessels in Hevea ในกรณีเปน็ บทหนง่ึ ของหนังสือ brasiliensis Muell. Arg. Ph.D. Thesis, University Paardekooper, E. C. 1989. Exploitation of the rubber of Leeds: Leeds. tree. In: Webter, C. C. and W. J. Baulkwill (eds.) Rubber. John Wiley & Son, Inc.: New กรณอี ้างองิ จากเวบ็ ไซต์ York. pp. 349-414. ควรเลือกที่เป็นข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐบาล หรือหน่วยงานที่เป็นท่ียอมรับในวงการวิชาการ โดยเรียง เอกสารรวมเล่ม/รายงานเสนอในการประชุมสัมมนา ลำ� ดบั ตามองคป์ ระกอบดงั นี้ ให้เรียงลำ� ดับตามองค์ประกอบดงั ตอ่ ไปนี้ ชื่อผู้เขียน/หน่วยงาน ปีทพี่ มิ พ์ ชอื่ เรอื่ ง แหลง่ ที่มา 1) ชือ่ ผู้วิจยั หรอื เขา้ ถงึ หรอื ช่ือเวบ็ ไซต์ วันเดือนปีท่ีสบื คน้ ขอ้ มลู 2) ปีท่ตี ีพิมพ์ ตวั อยา่ ง (ภาษาไทย): 3) ช่อื เรอื่ ง ทิพยรัตน์ หาญสบื สาย. 2539. การดดั แปลงยีน... สำ� คัญ 4) ชื่อการประชมุ สมั มนา ไฉน. แหลง่ ข้อมลู : http://learn.in.th/god t.html. 5) สถานที่ และวัน เดอื น ปี ท่ีจดั ประชมุ สมั มนา ค้นเมอ่ื กันยายน 2547. ตวั อยา่ ง (ภาษาไทย): ตัวอยา่ ง (ภาษาองั กฤษ): พิศมัย จันทุมา. 2544. สรีรวิทยาของต้นยางกับระบบ Bryant, P. 1999. Biodiversity and Conservation. กรีด. รายงานการประชุมวิชาการยางพารา Available: www.darwin.bio.uci.edu/~sustain/ ประจ�ำปี 2544 คร้ังท่ี 1.เชียงใหม่, 20-22 bio65/Tiltpage.htm. Accessed October 4, 1999. กุมภาพันธ์ 2544: 78-89. FDA. 2001. Effect of the use of antimicrobials ตัวอย่าง (ภาษาองั กฤษ): in food-producing animals on pathogen load: Jewtragoon, P. and A. Topak-ngarm. 1985. Factors Systematic review of the published literature. affecting growth and seed production of Available: http://www.fda.gov/cvm/antimicro- Calopogonium caeruleum. Proc. Int. Rubb. bial/pathpt.pdf. Accessed December 14, 2001. Conf. 1985 (Volume three). Kuala Lumpur, 20-25 October 1985: 800-814. กรณีอา้ งจากตวั บคุ คล ควรใช้กับบุคคลที่เป็นท่ียอมรับในวงการวิชาการ วทิ ยานิพนธ์ หรือสังคม ใหเ้ รียงลำ� ดับตามองคป์ ระกอบดังน้ี ให้เรยี งล�ำดบั ตามองคป์ ระกอบดงั นี้ ช่ือผู้แต่ง ปีที่ตีพิมพ์ ชื่อเรื่อง วิทยานิพนธ์ สาขา 1) ชอ่ื ผู้ตดิ ตอ่ วิชา มหาวทิ ยาลยั ชอื่ เมอื ง 2) ปีท่ตี ดิ ต่อ ตวั อยา่ ง (ภาษาไทย): 3) คำ� ว่า \"ติดตอ่ สว่ นตวั \" ฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์. 2523. ปัญหาบางประการท่ีมีผล 4) สถานที่ ต่อการส่งเสริมการผลิตต้นยางติดตาพันธุ์ดีของ

42 ฉบับอิเลก็ ทรอนิกส์ 42 กรกฎาคม-กันยายน 2563 ตัวอยา่ ง (ภาษาไทย): ตัวอักษรตัวแรกของชื่อคนแรก ไม่ต้องใส่เลขท่ีก�ำกับข้าง วชิ ติ ล้ปี ระเสริฐ. 2560. ติดต่อส่วนตัว. บุรรี มั ย.์ หน้า ตวั อยา่ ง (ภาษาอังกฤษ): Hebant, C. 1981. Private communication. Universite การส่งตน้ ฉบับ Montpellier. ส่งต้นฉบับท่ีได้รับการตรวจทานความถูกต้องแล้ว หมายเหตุ: การท�ำรายการเอกสารอ้างอิง ให้เรียง มายังบรรณาธิการวารสารยางพารา (ดร.วิทยา พรหมมี) ลำ� ดับเอกสารภาษาไทยก่อนภาษาองั กฤษ และเรยี งตาม ท่ี E-mail address: [email protected]




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook