Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook-27

ebook-27

Published by ju_sureerut, 2018-04-12 03:45:50

Description: ebook-27

Search

Read the Text Version

ปที ่ี 37 ฉบบั ท่ี 4 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 27

ปีที่ 37 ฉบบั ท่ี 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 26 สารบญับทความ2 ยกระดับคุณภาพยางแผ่นรมควันไทยก้าวส่มู าตรฐาน GMP11 ตลาดกลางยางพาราระดบั ภมู ภิ าค13 การศึกษาระบบกรีดทีเ่ หมาะสมกับยางพันธุ์ สถาบันวจิ ยั ยาง 251 ในเขตพน้ื ทีภ่ าคใต้ตอนบน27 การจัดทำ� ค่ามาตรฐานสำ� หรับการแปลผลดนิ และพชื ใน ยางพาราพนั ธุ์ RRIM 600 ระยะกอ่ นเปดิ กรีด

บทบรรณาธกิ าร ในการประกอบอาชีพท�ำสวนยาง รัฐบาลท่ีผ่าน ยางทั้งห้าแห่งของจังหวัดตรัง จึงน่าจะเห็นลู่ทางในการมาได้ส่งเสริมให้เกษตรกรชาวสวนยางรวมตัวกันจัดต้ัง พัฒนาและส่งสริมการผลิตยางแผ่นรมควันของสหกรณ์เป็นสหกรณ์กองทุนสวนยางมาต้ังแต่ปี 2537 มีจ�ำนวน กองทุนสวนยางแห่งอื่นๆในการที่จะก้าวสู่มาตรฐานทั้งสนิ้ 637 แหง่ ทั่วประเทศ ปัจจุบนั ด�ำเนินการไดเ้ พยี งไม่ GMP ต่อไปในภายภาคหน้า โดยในปี 2560 ฝ่ายวิจัยเกินร้อยละ 50 ที่เหลือปิดกิจการ เน่ืองจากไม่สามารถ และพฒั นาอุตสาหกรรมยาง กยท. มนี โยบายส่งเสรมิ โรงด�ำเนินงานในเชิงธุรกิจได้ ส่วนโรงงานยางแผ่นรมควันที่ รมควันของสถาบันเกษตรกรในจังหวัดต่างๆให้เข้าเหลืออยู่และยังคงด�ำเนินการในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ยัง มาตรฐาน GMP เพ่มิ ขน้ึ รวมแล้วไมน่ อ้ ยกว่า 30 โรง ซึง่ผลิตยางคุณภาพไม่สม่�ำเสมอ หรือผลิตยางท่ีมีคุณภาพ คาดว่าสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มจากการจ�ำหน่ายยางท่ีได้ต�่ำกว่ายางแผน่ รมควันชน้ั 3 มากกว่ารอ้ ยละ 40 สาเหตุท่ี รับมาตรฐาน GMP เฉล่ียกิโลกรัมละ 3 บาท นอกจากนี้เป็นเช่นนี้เนื่องจากขาดระบบการจัดการท่ีดี ขาดความรู้ กยท. ยังมีแนวทางสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมทางวิชาการ และไม่ไดร้ ับการส่งเสริมทีเ่ ปน็ รูปธรรมอย่าง โครงการยางพาราประชารัฐ น�ำยางที่ผ่านมาตรฐานแทจ้ รงิ GMP ไปขายในตลาดกลางยางพาราระดับภูมิภาค (Re- จากปัญหาท่ีกล่าวมาข้างต้น ฝ่ายวิจัยและพัฒนา gional Rubber Marget, RRM) เป็นการช่วยหาตลาดอตุ สาหกรรมยาง การยางแหง่ ประเทศไทย (กยท.) ได้เข้า รองรับให้กบั สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยางมามีบทบาทในการจัดท�ำระบบควบคุมคุณภาพยางแผ่น ส�ำหรับสหกรณ์กองทุนสวนยางหรือโรงรมควันโรงรมควันของสหกรณ์กองทุนสวนยางท่ีมีศักยภาพและ อ่ืนๆที่ยังไม่ได้อยู่ในโครงการที่จะได้รับการส่งเสริมจากความพร้อม เพ่ือให้สามารถก้าวสู่มาตรฐาน GMP ทางภาครัฐ ก็ควรที่จะมีความกระตือรือล้นที่จะปรับปรุง(Good Manufacturing Practice) โดยในปี 2559 มี ตัวเองและพร้อมเสมอท่ีจะเข้าสู่มาตรการรับรองการผลิตสหกรณ์กองทุนสวนยางในจังหวัดตรัง จ�ำนวน 5 แห่ง ยางแผน่ รมควนั อัดกอ้ นมาตรฐาน GMP ของ กยท. ท้งั นี้สามารถผลิตยางแผ่นรมควันชนิด Premium grade ได้ เพอื่ ให้สามารถดำ� เนินธุรกจิ ตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งยั่งยนืไม่น้อยกว่าร้อยละ 99 สามารถจ�ำหน่ายได้ในราคาที่สูงกว่าราคาประกาศของส�ำนักงานตลาดกลางยางพารา ไพรัตน์ ทรงพานชิสงขลา 3-7 บาทตอ่ กิโลกรัม บรรณาธิการ จากตัวอย่างความส�ำเร็จของสหกรณ์กองทุนสวนเจ้าของ: สถาบันวจิ ัยยาง การยางแห่งประเทศไทย เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร 10900บรรณาธิการบริหาร: นายพเิ ชฏฐ์ พร้อมมลู ผอู้ ำ�นวยการสถาบันวิจัยยางบรรณาธิการ: นายไพรัตน์ ทรงพานชิกองบรรณาธกิ าร: ดร.กฤษดา สงั ขส์ ิงห์, ดร.นภาวรรณ เลขะวพิ ัฒน,์ นางปรดี ิเ์ ปรม ทัศนกลุ ,นางอารมณ์ โรจน์สุจติ ร, นางสาวอธิวณี ์ แดงกนษิ ฐ,์ ดร. ฐิตาภรณ์ ภูมไิ ชย์ผจู้ ัดการสือ่ สิง่ พิมพ:์ นายไพรตั น์ ทรงพานชิ ผู้จัดการส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์: นายสมจติ ต์ ศขิ รนิ มาศผู้ช่วยผจู้ ัดการสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส:์ นายจกั รพงศ์ อมรทรพั ย์ พสิ จู น์อกั ษร: นางอุบลพรรณ แสงเดช

2 ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559ยกระดบั คุณภาพยางแผน่ รมควันไทยกา้ วสู่มาตรฐาน GMPปรีดเิ์ ปรม ทัศนกุลฝา่ ยวิจยั และพฒั นาอุตสาหกรรมยาง การยางแห่งประเทศไทย มาตรฐาน GMP ขึ้นช่ือว่ายางไทยเป็นยางที่มีคุณภาพดีท่ีสุดในโลกในมุมมองของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์แล้ว ยังคงต้องการยางท่ี GMP หรือ Good Manufacturing Practice คือมีสมบัติคงท่ใี นกระบวนการผลติ ความสม่ำ� เสมอของเน้อื กระบวนการปฏิบัติท่ีดีและเหมาะสมโดยใช้หลักการยางในการน�ำไปบดผสมกับสารเคมีเพ่ือขึ้นรูปเป็น ปฏิบัติเพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพดี สถาบันวิจัยยางผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ ได้ตามความต้องการ ถึงแม้ว่า กรมวชิ าการเกษตร (เดิม) ในขณะนนั้ ได้ริเร่มิ ดำ� เนินการประเทศไทยเป็นผู้ผลิตยางแท่งมากที่สุด เมื่อเปรียบ ทำ� มาตรฐาน GMP ดว้ ยการผลติ ยางแผ่นรมควนั อดั ก้อนเทียบกับยางชนิดอื่น ๆ แต่ในเร่ืองคุณภาพของยางใน ต้ังแต่ปี 2555 เน้นระบบการจัดการท่ีสามารถทดสอบได้การน�ำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์แล้ว ยางแผ่นรมควันย่อม ทุกข้ันตอน ความเป็นระเบียบในการปฏิบัติงานท่ีง่ายต่อเป็นยางที่มีสมบัติทางกายภาพดีท่ีสุดโดยเฉพาะแผ่น การตรวจสอบ การผลิตที่เน้นการจัดการอย่างเป็นระบบยางท่ีมาจากสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางท่ีได้มีการ ได้แผ่นยางท่ีมีคุณภาพสม�่ำเสมอทุกแผ่นในก้อนยางรวบรวมน�้ำยางสดจากสมาชิกน�ำมาผลิตในคราว แตล่ ะกอ้ น สามารถผลิตยางอัดกอ้ นที่ได้มาตรฐาน สร้างเดียวกัน จากการท่ียางธรรมชาติในปัจจุบันมีราคาค่อน ความเช่ือมั่นให้กับผู้ใช้ยางในระดับอาเซียน มาตรฐานข้างผันผวน ท�ำให้โอกาสการแข่งขันเชิงธุรกิจท�ำได้ยาก GMP ยางแผ่นรมควันจึงได้ถูกยกระดับเป็นมาตรฐานแม้ว่าบริษัทเอกชนผู้ผลิตยางแผ่นรมควันส่วนใหญ่จะรับ สนิ คา้ เกษตรท่ไี ดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา กระทรวงซ้ือยางแผ่นดิบคร้ังละปริมาณมาก ๆ น�ำมารมควันซึ่งมี เกษตรและสหกรณ์ ในปี 2556 เป็นระบบ GMP ด้านโอกาสมากกว่าสถาบันเกษตรกรมากมายนัก ในเรื่อง ยางพาราฉบบั แรกท่ถี กู ประกาศใช้ และเปน็ พชื ชนดิ เดยี วความหลากหลายความไม่สม่�ำเสมอของเนื้อยางและ ท่ีกินไม่ได้มาจัดเป็นระบบการควบคุมคุณภาพจนท�ำให้คุณภาพที่ผลิตค่อนข้างแปรปรวน กระบวนการจัดการ ท่ัวโลกรู้จัก ซ่ึงต่างกับระบบ ISO ที่เน้นกระบวนการแปรรูปเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพจึงท�ำได้ยาก การ บริหารโดยผ่านระบบเอกสารท่ีสามารถตรวจสอบได้ แต่พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสของสถาบันเกษตรกรผู้ผลิตยาง ไม่ได้เจาะลึกในรายละเอียดคุณภาพยางท่ีผลิตเพ่ือสร้างแผ่นรมควนั ให้ทำ� ยางท่ีมีคณุ ภาพคงที่ ทุก ๆ คร้ังทผ่ี ลิต มี ความเชื่อมั่นในเรื่องความสม�่ำเสมอของเน้ือยางให้กับผู้มาตรฐานและสมบัติเชิงวิทยาศาสตร์รองรับ สร้างความ ซ้ือน่าเช่ือถือและความเช่ือมั่นให้กับผู้ใช้ยางจะเป็นโอกาส การยกระดับคุณภาพยางแผ่นรมควันของสหกรณ์ให้สถาบันเกษตรกรได้มีการพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพที่ กองทุนสวนยางนับว่าเป็นก้าวแรกแห่งวงการยางไทยที่ได้มาตรฐานสร้างมูลค่าเพ่ิม มีต้นทุนการผลิตต�่ำลง ลด สามารถก้าวสู่ความเป็นผู้น�ำการผลิตยางได้อย่างเต็มระยะเวลาในกระบวนการผลิต มีระบบการจัดการของ ความภาคภูมิ เป็นการยกระดับให้กับสหกรณ์กองทุนเสยี และมลภาวะทีเ่ กิดขน้ึ สวนยางท่ีได้ด�ำเนินการผลิตมาต้ังแต่ปี 2537 รวม

3 ฉบบั อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559 เหมาะสม มีระบบการรวบรวมน้�ำยางสดท่ีสะอาดจาก สวนมายังโรงงานผลิต การทดสอบความสดของน�้ำยางจ�ำนวนท้งั ส้ิน 637 แหง่ ท่วั ประเทศ ปัจจบุ นั ดำ� เนนิ การได้ เมื่อมาถึงโรงงานเพื่อสร้างความมั่นใจคุณภาพของยางเพียงไม่เกินร้อยละ 50 ท่ีเหลือปิดกิจการเน่ืองจากไม่ แผ่นที่ผลิตได้ ใช้ตัวกรองน�้ำยางสดตามมาตรฐานท่ีสามารถด�ำเนินงานในเชิงธุรกิจได้ โอกาสการแข่งขัน ก�ำหนดซ่ึงเป็นปัจจัยหลักท่ีส�ำคัญ การหาปริมาณเน้ือน้อย ต้นทุนการผลิตสูง ส่วนโรงงานยางแผ่นรมควันที่ ยางแห้งตามมาตรฐานในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร การรวบรวมน้�ำด�ำเนินการในปัจจุบันส่วนใหญ่ผลิตยางคุณภาพไม่ ยางสดก่อนปล่อยลงตะกงท�ำแผ่น การหาปริมาณเน้ือสม่�ำเสมอ มีท้ังยางแผ่นรมควัน (RSS) ช้ัน 3, RSS 4, ยางแห้งรวมอีกครั้งเพื่อจะได้คุณภาพของยางสม�่ำเสมอRSS 5 ยางฟอง และยางคตั ตงิ้ หากมองในภาพรวมเปน็ ทุกคร้ังที่ผลิต การเจือจางน�้ำและการผสมน้�ำกรดตามยางท่ีมีคุณภาพต�่ำกว่า RSS 3 มากกว่าร้อยละ 40 สูตรท่ีระบุ การปาดฟอง การเสียบแผ่นและระยะเวลาปัญหาเกิดจากการขาดระบบการจัดการที่ดี ขาดความรู้ การจับตัวยาง เทคนิคการรีด ล้าง และการตากยาง ให้ทางด้านวิชาการ และการส่งเสริมท่ีเป็นรูปธรรมอย่าง เป็นไปตามระบบควบคุมคุณภาพการผลิตยางดิบทุกข้ันแท้จริง ตอน ในส่วนระบบการผลิตยางแผ่นรมควัน จะต้องคัด- การท�ำมาตรฐาน GMP ยางแผน่ รมควนั สรรไม้ราวไม้ไผ่รวกท่ีได้ขนาด ปราศจากเสี้ยน ไม่มีรอย แตก หรอื คราบเขม่าดำ� ใช้รถตากยางท่สี ะอาดไมม่ คี ราบ ในปี 2559 ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง เขม่าด�ำเกาะ และต้องสางยางแผ่นดิบก่อนเข้ารมควันการยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ได้จัดท�ำระบบควบคุม เพ่ือไม่ให้ผิวยางสัมผัสกันซึ่งเป็นสาเหตุให้ยางสุกช้าและคุณภาพยางแผ่นรมควันของสหกรณ์กองทุนสวนยางท่ีมี เกิดรอยตำ� หนิ การก�ำหนดปรมิ าณไมฟ้ นื และชนดิ ของไม้ความพร้อมและมีศักยภาพในจังหวัดตรัง จนสามารถ ฟืนในการรมยางแต่ละครั้งเพื่อใช้ในการควบคุมควันก้าวสู่มาตรฐาน GMP จ�ำนวนทั้งส้ิน 5 แห่งคือ สหกรณ์ และความร้อน วิธีการรมควันด้วยการควบคุมอุณหภูมิกองทนุ สวนยางโพธิโ์ ทน จำ� กัด, สหกรณ์กองทนุ สวนยาง และระยะเวลาทเ่ี หมาะสม การควบคุมระบบเตาใหค้ วามวงั คีรี จ�ำกดั , สหกรณ์กองทนุ สวนยางหนองบวั จำ� กัด, ร้อน การน�ำยางออกจากห้องรมควัน การคัดชั้นและจัดสหกรณ์กองทุนสวนยางคลองปาง จ�ำกัด และสหกรณ์ ช้ันยาง การจัดเก็บตลอดจนการขนส่งตามระบบควบคุมกองทุนสวนยางบ้านหนองศรีจันทร์ จ�ำกัด ท้ังห้าแห่งน้ีมี คุณภาพศักยภาพในการผลิตยางแผ่นรมควันชนิด premium ส�ำหรับสถานที่ประกอบการเป็นข้อก�ำหนดหนึ่งในgrade ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99 สามารถจ�ำหน่ายได้ใน ระบบ GMP ซ่งึ จะตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มก่อนการด�ำเนินราคาท่ีสูงกว่าราคาประกาศส�ำนักงานตลาดกลาง การโดยเฉพาะบ่อรับน�้ำยางควรมี 2 บ่อ ส�ำหรับใช้รับน�้ำยางพาราสงขลา 3 – 7 บาท/กิโลกรมั จากเดิมท่ีจ�ำหน่าย ยางท่ีมีความเส่ียงต่อการผลิตและจะต้องใช้สลับกันตามในตลาดท้องถ่ินจะถกู กดราคากิโลกรมั ละ 1.50 บาท ซง่ึ ช่วงเวลาของน้ำ� ยางสดทเ่ี ข้าสโู่ รงงาน ในส่วนการผลิตจะกระบวนการทำ� มาตรฐาน GMP โดย กยท. นัน้ มงุ่ หวงั ให้ ต้องมีคูระบายน้�ำล้อมรอบบริเวณที่มีการใช้น้�ำหรือตะกงยางท่ีผลิตได้มีคุณภาพสูง มีสมบัติทางกายภาพของยาง จับตัวยางและท�ำให้การไหลของน�้ำทิ้งไม่เกิดการขังตามคงท่ี มีความสม่�ำเสมอ เน้นการน�ำยางที่ได้คุณภาพ คูระบายน้�ำ ยกตะกงจับตัวยางให้อยู่ในระดับพอเหมาะมาตรฐานไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดเพ่ิมมูลค่าหรืองาน สะดวกต่อการปฏิบัติงาน มีบ่อล้างยางท่ีมีประสิทธิภาพทางวิศวกรรม เช่น ยางรองคอสะพาน ยางล้อเครื่องบิน มีห้องเก็บสารเคมีและบริเวณเก็บวัสดุ อุปกรณ์แยกเป็นยางล้อรถยนต์ ยางในรถจักรยานยนต์ ล้อรถโฟล์คลิฟท์ สัดส่วน ท่ีพักของคนงานจะต้องแยกออกจากส่วนการยางปูพ้ืนสนามกีฬา รองเท้าแตะ รองเท้ากีฬา เป็นต้น ผลิตไม่ให้ปะปนกัน มีระบบการให้ความร้อนของห้องรมโดยมีก�ำลังการผลิตเฉล่ียโรงละ 150 ตัน/เดือน รวม 5 ควันท่ีมีประสิทธิภาพ รวมทั้งระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่ไม่ก่อแห่งไม่น้อยกว่า 800 ตัน/เดือน มาตรฐาน GMP จะให้ความส�ำคัญของน�้ำยางสดต้ังแต่อยู่ในสวนยาง โดยแนะน�ำให้ใช้สารรักษาสภาพตามความจ�ำเป็นและ

4 ฉบับอิเลก็ ทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559ภาพที่ 1 กรองน้ำ� ยางสด ภาพที่ 2 สมุ่ ตวั อย่างหาปรมิ าณเนอ้ื ยางแหง้ภาพที่ 3 รวบรวมน�้ำยางในบ่อรวมน้ำ� ยางสด ภาพที่ 4 ถ่ายน�้ำยางลงตะกงจบั ตวั ยางตามสตู รท่รี ะบุภาพที่ 5 ปาดฟองและปล่อยให้ยางจบั ตวั ภาพท่ี 6 ยางท่ีจับตวั แล้วเตรียมรดีภาพที่ 7 เรียงยางกอ่ นรีดแผ่น ภาพที่ 8 รดี ยาง

5 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559ภาพที่ 9 ยางที่ผ่านการรีด จากนน้ั สางยางเพื่อป้องกนั แผ่นยางตดิ กนั ภาพที่ 10 ยางแผน่ รมควนั มาตรฐาน GMPให้เกิดมลภาวะต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ระบบ ผลิตภัณฑ์ มีป้ายช้ีบ่งในบริเวณที่ปฏิบัติงาน มีตู้ยาและสขุ าภิบาลทมี่ ีความสะอาดและปลอดภยั เครื่องดับเพลิงสำ� หรบั กรณีฉกุ เฉิน ด้านบุคลากร จะต้องปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำอย่าง ส่วนกระบวนการคัดชั้นยางและจัดช้ันเป็นไปตามเคร่งครัด มีความเข้าใจระบบควบคุมคุณภาพ คนงานที่ มาตรฐาน The Green Book ซ่ึงในการผลิตยางแผ่นรมปฏิบัติในส่วนการผลิตจะต้องสวมใส่ชุดป้องกันน้�ำกรด ควันตามมาตรฐาน GMP น้ี แผน่ ยางท่ีผลติ ไดจ้ ะมีขนาดหรือสารตกค้างจากยางที่อาจส่งผลกระทบโดยตรงได้ และน้ำ� หนกั เทา่ กันทุกแผน่ การคัดต้งิ รอยต�ำหนทิ ่ปี รากฏสวมเส้ือท่ีไม่มีกระเป๋า ไม่ให้มีสัตว์เล้ียงทุกชนิดเข้ามาใน บนแผ่นยางน้อยมากเนื่องจากเป็นยางที่มีคุณภาพดีส่วนบริเวณโรงงาน มีหมวกคลุมผมหรือหมวกนิรภัยสวม เยย่ี มเกอื บทงั้ หมดใสเ่ พื่อป้องกนั เสน้ ผมหรือสิง่ ปนเปื้อนตดิ ในแผ่นยาง การจัดเก็บจะต้องมีผ้าใบรองรับบริเวณพ้ืนเพื่อ ด้านวัสดุ อุปกรณ์การผลิต จะต้องพร้อมใช้งาน ป้องกันความชื้น และคลุมกองยางให้มิดชิดในระหว่างและมีปริมาณเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน มีระบบการจัด การจดั เก็บและขนส่งเก็บที่เป็นระเบียบ หยิบใช้ได้ง่าย มีวิธีการป้องกันการหยบิ อุปกรณอ์ อกจากต้จู ัดเก็บ เช่น กรรไกร หรอื อปุ กรณ์ สถาบันเกษตรกรชาวสวนยางจ�ำเป็นอย่างอื่นเพื่อป้องกันการสูญหาย หากพบในกอง ได้อะไรจาก GMPยางถือว่าเป็นเร่ืองท่ีร้ายแรง ส่งผลต่อความเช่ือม่ันของผู้ซื้อและสร้างความเสียหายต่อกระบวนการแปรรูปเป็น นับตั้งแต่ที่สหกรณ์กองทุนสวนยางได้ด�ำเนินการ ผลิตยางแผ่นรมควันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 22 ปี ท�ำให้

6 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559ภาพท่ี 11 ระบบการปอ้ งกันอปุ กรณส์ ญู หาย ภาพที่ 12 ชุดสวมใส่ป้องกนั น�้ำกรด/นำ้� ลา้ งสภาพภายในโรงงานรก สกปรก ไม่เป็นระเบียบ ที่พัก ลดปริมาณการใช้สารเคมี ลดมลภาวะท่ีเกิดข้ึน ลดอาศัยคนงานอยู่ในโรงงานผลิต น�้ำใช้ไม่สะอาด พ้ืนสึก พลังงานท่ีใช้ ลดปริมาณไม้ฟืน ได้ยางท่ีมีคุณภาพดีมีกร่อน พบคราบจารบีเลอะเทอะบริเวณจักรรีดยาง ดอก ความสม่ำ� เสมอ จำ� หนา่ ยไดใ้ นราคา premium grade มีจักรสึก ลายดอกไม่ชัดเจน น�้ำท่วมขัง น�้ำใช้ในการผลิต ตลาดภายในประเทศรองรับ มีการจัดการที่เป็นระบบไม่สะอาด วิธีการหาปริมาณเนื้อยางแห้งท่ีผิดพลาด และสร้างความมรี ะเบียบวนิ ัยให้กับองคก์ รท�ำให้น้�ำหนักยางขาด คนงานอาศัยความช�ำนาญในการปฏิบัติงานท่ีบอกต่อ ๆ กันมาโดยไม่ได้ใช้หลักวิชาการ สมบัตยิ างแผ่นรมควันมาตรฐาน GMPใช้น�้ำกรดเกินกว่าอัตราค�ำแนะน�ำ ใช้แอมโมเนียในการ ทีล่ กู คา้ ต้องการรักษาสภาพน้�ำยางสดมากเกินความจ�ำเป็น สูญเสียพลังงานในการรีดยางเน่ืองจากใช้กรดในการจับตัวยาง สมบัติเชิงวิทยาศาสตร์ของยางที่ลูกค้าต้องการมากเกินไป เน้ือยางแข็ง ขนาดและความหนา-บางของ มากที่สุดคือความสมำ�่ เสมอและคงที่ทุกครง้ั ท่ผี ลติ ท�ำให้แผ่นไม่สม�่ำเสมอ ห้องรมควันและเตารมควันไม่มี กระบวนการแปรรูปง่าย ลดค่าใช้จ่าย และลดการสูญประสิทธิภาพ มีการสูญเสียควันและความร้อนท�ำให้ส้ิน เสีย โดยสมบัติท่ีมีความส�ำคัญเช่น ความหนืดมูนน่ีเปลืองไม้ฟืน ใช้ระยะเวลาในการรมควันนาน ระบบ (Mooney Viscosity), ความอ่อนตัวเริ่มแรก (Initial Plas-บ�ำบัดน�้ำเสียท่ีไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการท�ำมาตรฐาน ticity, Po), ดัชนีความอ่อนตัว (Plasticity RetentionGMP จงึ เป็นระบบการควบคมุ คุณภาพการผลิตยางแผน่ Index, PRI), ความสกปรก (Dirt) และปรมิ าณสิง่ ระเหยรมควันให้ได้มาตรฐาน ลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน (Volatile Matter) เปน็ ตน้ ส�ำหรบั สมบัติยางแผน่ รมควัน ที่มีคุณภาพและมาตรฐานจะอยู่ในเกณฑ์ที่ก�ำหนด

7 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559 หากมีปริมาณสิ่งระเหยสูงจะบดผสมกับสารเคมีได้ยาก โอกาสท่ีจะเกิดเช้ือราได้ง่ายขึ้น ซ่ึงอยู่ในช่วง 0.36 –(ตารางที่ 1) ดงั นี้ 0.46% ความหนืดมูนนี่ เป็นค่าที่แสดงถึงน้�ำหนักโมเลกุล ปริมาณไนโตรเจน บ่งบอกถึงโปรตีนที่อยู่ในยางยาง บง่ บอกถงึ ความแข็งแรงของเน้ือยาง ตน้ ยางทม่ี อี ายุ หากปริมาณไนโตรเจนสูงจะส่งผลต่อกระบวนการขึ้นรูปมากข้นึ จะให้ค่าความหนืดสูงตามล�ำดับ น�้ำยางท่ีใกลป้ ดิ ยางที่เกิดการคงรูปเร็วก่อนก�ำหนด โอกาสที่ยางจะสุกกรีดหรือก่อนเปิดกรีดจะให้ค่าความหนืดต่�ำ ยางบาง และไหลไม่เต็มเบ้าพิมพ์เกิดขึ้นได้มาก โดยท่ัวไปจะอยู่พันธุ์มีน้�ำหนักโมเลกุลสูงจะให้ค่าความหนืดสูง เช่น ในชว่ ง 0.40 – 0.47%RRIT 251 ค่าความหนืดจึงเป็นค่าท่ีบ่งชี้ถึงระยะเวลาในการบดยางของเนอ้ื ยางลว้ น ๆ มีหนว่ ยมูนนี่ หากคา่ ความ มาตรการใหก้ ารรบั รองการผลติ ยางแผ่นหนืดมูนน่ีสูงแสดงว่าต้องใช้เวลาและพลังงานในการบด รมควันอดั กอ้ นมาตรฐาน GMPยางนานข้ึน โดยท่ัวไปยางแผ่นรมควันจะมีค่าความหนืดมูนน่ีสูงกว่ายางแท่ง STR 20 ซึ่งอยู่ในช่วง 72 – 80 1. โรงผลิตยางแผ่นรมควันท่ีอยู่ในระหว่างการML(1+4)100o C ดำ� เนนิ การเพ่ือขอการรับรองมาตรฐาน GMP นน้ั ผลผลติ ความอ่อนตัวเริ่มแรก เป็นค่าความยืดหยุ่นของ ยางแผ่นรมควันท่ีเกิดข้ึนจากการควบคุมปฏิบัติงานจากยาง เป็นสมบัติพิเศษของยางธรรมชาติที่มีความยืดหยุ่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง กยท.ดี สามารถกระเด้งกระดอนได้ดีซึ่งเป็นสมบัติที่ลูกค้า เสมือนหน่ึงว่าได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐานต้องการ ยางแผ่นรมควันที่ดีเม่ือจับยืดด้วยแรงกระท�ำ GMP แลว้ โดยจะรบั รองเฉพาะชดุ ยางทผี่ ลิตแล้วเทา่ นน้ัหนึ่งแล้วปล่อยหดกลับจะสามารถกลับสู่สภาพเดิมได้ 2. คณะกรรมการตรวจประเมิน จะใช้หลักเกณฑ์โดยไมเ่ สียรปู ร่างแสดงว่ามคี ่า Po สงู ซง่ึ อยใู่ นช่วง 47.0 การพิจารณาเพื่อให้การรับรองโรงท่ีมีความพร้อมและ- 52.0 ศักยภาพในการผลิตยางแผ่นรมควันที่ได้มาตรฐาน จาก ดัชนีความอ่อนตัว เป็นตัววัดค่าความเสื่อมสภาพ น้ันสรุปผลการประเมินพร้อมกับแจ้งให้คณะกรรมการของยางจากการใช้งานเป็นระยะเวลานาน ยางท่ีมีดัชนี โรงผลิตยางแผ่นรมควันทราบ พร้อมให้การรับรองนับความอ่อนตัวสูงสามารถต้านทานต่อการเสื่อมสภาพ ตงั้ แต่วนั ที่ทำ� การตรวจประเมนิความร้อน ออกซิเจน หรือโอโซนได้เป็นอย่างดี ซ่ึงอยู่ใน 3. หากโรงผลิตยางแผ่นรมควันยังไม่ผ่านการชว่ ง 87.0 – 100.0 ประเมินการรับรองกระบวนการผลิตยางแผ่นรมควัน ปริมาณส่ิงสกปรก หมายถึงส่ิงปนเปื้อนท่ีอยู่ใน คณะกรรมการจะเป็นผู้นัดหมายในการประเมินครั้งต่อเน้ือยาง ยางท่ีมีสิ่งสกปรกสูงจะส่งผลต่อคุณภาพของ ไปผลิตภัณฑ์และเกิดความเสี่ยงในการน�ำยางไปใช้งาน 4. โรงผลิตยางแผ่นรมควันท่ีผ่านการประเมินแล้วยางแผ่นรมควันมาตรฐาน GMP น้ีจะเน้นเรื่องความ ฝ่ายวจิ ัยและพฒั นาอตุ สาหกรรมยาง กยท. จะส่งหนงั สือสะอาด จึงท�ำให้ปริมาณสิ่งสกปรกอยู่ที่ระดับไม่เกิน แจง้ ใหผ้ วู้ ่าการ กยท. ลงนาม พร้อมออกใบรับรองต่อไป0.02% 5. ภายในระยะเวลาท่ีโรงผลิตยางแผ่นรมควันได้ ปริมาณเถ้า หมายถงึ สารตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ สารอนนิ ทรีย์ รับใบรับรองกระบวนการผลิตยางแผ่นรมควันมาตรฐานหรือแร่ธาตุต่าง ๆ ทอี่ ยใู่ นยาง ส่วนใหญจ่ ะประกอบด้วย GMP แล้วน้นั คณะกรรมการตรวจประเมินจะเข้าตดิ ตามฟอสเฟตของโพแทสเซียม แมกนีเซียม แคลเซียมและ และประเมินผลเป็นระยะ ๆ โดยไม่ต่�ำกว่า 3 คร้ังต่อปีธาตุอื่น ๆ นอกจากนเี้ ปน็ พวกซิลิกาหรือซิลิเกตรวมทัง้ เพ่ือรักษามาตรฐานกระบวนการผลิตของโรงผลิตยางเกดิ จากสารเจอื ปนอนื่ ๆ จากปัจจัยภายนอก ปรมิ าณเถ้า แผ่นรมควนั นัน้ ๆจะเป็นตัวบ่งชี้ถึงสารตัวเติมในการท�ำผลิตภัณฑ์ โดย 6. โรงผลิตยางแผ่นรมควันท่ีได้ใบรับรองคุณภาพทวั่ ไปในยางแผน่ รมควนั จะอยใู่ นชว่ ง 0.27 – 0.38% กระบวนการผลิตยางแผ่นรมควันแล้ว จะมีอายุการ ปริมาณสิ่งระเหย บ่งบอกถึงความชื้นท่ีอยู่ในยาง

8 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2559ตารางท่ี 1 สมบัตเิ ชงิ วทิ ยาศาสตรข์ องยางแผน่ รมควันที่ผลิตไดค้ ณุ ภาพตามมาตรฐาน GMP สมบตั ิ ยางแผ่นรมควันมาตรฐาน GMPปรมิ าณสงิ่ สกปรก, ร้อยละโดยน้�ำหนัก 0.015-0.020ปริมาณส่ิงระเหย, ร้อยละโดยน้ำ� หนัก 0.36-0.46ปริมาณเถ้า, ร้อยละโดยนำ้� หนัก 0.27-0.38ปรมิ าณไนโตรเจน, ร้อยละโดยนำ้� หนัก 0.40-0.47ความออ่ นตวั เร่ิมแรก (Po) 47.0-52.0ดัชนคี วามอ่อนตัว (PRI) 87.0-100.0ความหนดื มนู น่ี, ML(1+4)1000 C 74.0-82.0 รบั รอง 1 ปี สะอาด บรสิ ทุ ธ์ิ นำ� มาผลิตยางแผ่นรมควันทีไ่ ด้มาตรฐาน 7. ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง กยท. มี รวมทัง้ เป็นการสรา้ งระเบยี บวนิ ัย ยกระดบั สถาบนั เกษตรมาตรการในการยกเลิกใบรับรองหากโรงผลิตยางแผ่นรม ให้เข้มแข็ง สามารถผลิตยางท่ีมีคุณภาพเป็นที่น่าเชื่อถือควนั นนั้ ไมส่ ามารถรกั ษามาตรฐานไวไ้ ด้ และสร้างความมั่นใจให้กับผู้ซื้อ นอกจากน้ี ปัจจุบัน ตลาดกลางยางพาราระดับภูมิภาค (Regional Rubber มาตรการส่งเสริมในอนาคต Market, RRM) ท่ีประกอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ซึ่งแต่ละประเทศมีข้อก�ำหนดระเบียบวิธีการ ในปี 2560 ผ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง ซื้อขายรวมท้ังมาตรฐาน โดย กยท. มีแนวทางสนับสนุนได้มีนโยบายในการส่งเสริมโรงรมควันของสถาบัน ให้กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการยางพาราประชารัฐ น�ำเกษตรกรเข้าสู่มาตรฐาน GMP ในเขตจังหวัดตรัง กระบี่ ยางที่ผ่านมาตรฐาน GMP มาขายในตลาดกลางและสุราษฎร์ธานี ไมน่ อ้ ยกว่า 20, 7 และ 2 โรงงาน ตาม ยางพาราระดับภูมิภาคได้ ถือเป็นการช่วยหาตลาดล�ำดับ ซึ่งคาดว่าจะสามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมจากการจัด รองรับผลผลิตยางให้กับสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางทำ� มาตรฐาน GMP จากจำ� นวนท้ังสิน้ 34 โรงงาน ไมน่ อ้ ย ซึ่งเป็นตัวชี้บ่งถึงความม่ันใจในตลาดระดับอาเซียนอีกกว่า 20 ล้านบาท ด้วย และหลาย ๆ บริษัทยักษ์ใหญ่ท่ีแปรรูปผลิตภัณฑ์ ภายในประเทศต่างมั่นใจคุณภาพยางและมีค�ำส่ังซื้อ สรุป อย่างต่อเนื่อง จนท�ำให้สหกรณ์กองทุนสวนยางใน จังหวัดตรังทั้ง 5 แห่ง สามารถก้าวสู่ความเป็นผู้น�ำการ มาตรฐาน GMP เป็นระบบการจัดการด้าน ผลิตยางท่ีมีคุณภาพดีที่สุดในโลก โดยในปีงบประมาณคุณภาพการผลิตยางแผ่นรมควัน ที่ครอบคลุมสถานท่ี 2560 มีสหกรณ์กองทุนสวนยางในจังหวัดตรังทั้งหมดได้ประกอบการ วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งจกั ร กระบวนการผลติ ย่ืนความจ�ำนงในการจัดท�ำมาตรฐาน GMP เพ่ิมเติมอีกบุคลากร การจดั เก็บ การขนส่งและระบบสขุ าภบิ าล เพอ่ื 20 แห่ง คาดว่าจะสามารถผลิตยางชนิด premiumท�ำให้ยางแผ่นรมควันที่ผลิตได้มีคุณภาพ มีความ grade ได้ไม่น้อยกว่าเดือนละ 4,000 ตัน/เดือน สร้างสม�่ำเสมอ มีระบบการตรวจสอบทุกขั้นตอน เป็นการลด มูลค่าเพ่ิมจากการจ�ำหน่ายไม่น้อยกว่าเดือนละ 12 ล้านต้นทุนการผลิต ลดของเสีย รวมท้ังมลภาวะท่ีเกิดข้ึน ลด บาทความแปรปรวนในการน�ำยางไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ กยท. จะออกหนังสือรับรองคุณภาพมาตรฐานไดผ้ ลติ ภณั ฑ์ที่มมี ลู คา่ เพมิ่ นบั วา่ เป็นการจัดการคุณภาพยางตั้งแต่ต้นทางให้เกษตรกรน�ำน�้ำยางสดท่ีมีความ

9 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล, จักรี เล่ือนราม, โกศล จริงสูงเนิน, พิศิษฐ์ พิมพร์ ตั น์ และ ไมตรี มีทอง. 2556. การยกGMP ให้กับสถาบันเกษตรกรท่ีมีความพร้อมและ ระดับมาตรฐานการผลิตยางแผ่นรมควันอัดก้อนศักยภาพการผลิตและผ่านการประเมินจากคณะ ด้วยระบบมาตรฐาน GMP. รายงานผลงานวิจัยกรรมการตรวจประเมินโดยมีอายุการรับรอง 1 ปี มี ฉบับเต็ม. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตรมาตรการในการควบคุมติดตามเป็นระยะ ๆ ไม่น้อยกว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.3 คร้ัง/ปี และมาตรการในการยกเลิกใบรับรองหากโรง ปรีด์ิเปรม ทัศนกุล และ จักรี เลื่อนราม. 2559. หลักผลิตยางแผ่นรมควันไม่สามารถรักษามาตรฐานไว้ได้ เกณฑ์การขอรับรองกระบวนการผลิตยางแผ่นรมท้ังน้ีสถาบันเกษตรกรที่สนใจในการจัดท�ำระบบควบคุม ควันมาตรฐาน GMP. ศูนย์วิจัยยางสงขลาคุณภาพยางแผน่ รมควนั มาตรฐาน GMP สามารถตดิ ตอ่ สถาบนั วจิ ยั ยาง การยางแหง่ ประเทศไทย.สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมได้ที่ศูนย์รับรองและ ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ.ทดสอบภาคใต้ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง 2557. การปฏิบัติท่ีดีส�ำหรับการผลิตยางแผ่นรมกยท. โทร. 09 3674 4351, 08 9598 2603, 08 1275 ควัน. มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 5906-2556.1368 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและ งานท่ัวไป เล่ม 131 ตอนพิเศษ 31 ง วันท่ี 13 บรรณานุกรม กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2557. ส�ำนักงาน มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติปรดี เ์ิ ปรม ทศั นกลุ , จกั รี เลอ่ื นราม และ สรุ ศักดิ์ สุทธิสงค์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2548. การส�ำรวจเพื่อพัฒนาคุณภาพยางแผ่นดิบ และยางแผ่นรมควัน. รายงานผลงานวิจัยฉบับ เต็ม. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์

ใชก้ รดซลั ฟวิ รกิ ในการท�ำยางกอ้ นถ้วย✘ซลั ฟิวริก ✔ฟอร์มกิ1. โรงงานผผู้ ลิตยางล้อไม่รบั ซ้อื 1. เป็นทีต่ ้องการของโรงงาน2. ได้ยางคณุ ภาพตำ�่ 2. ได้ยางคุณภาพดี3. ท�ำให้เคร่อื งจักรเสียหาย 3. ไม่ทำ� ให้เครอื่ งจกั รเสยี หาย4. หนา้ กรดี ยางเสยี หาย 4. ไม่กระทบต่อหนา้ กรีดยาง5. อนั ตรายตอ่ สุขภาพ 5. ไม่กระทบต่อสขุ ภาพ6. สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดลอ้ ม 6. ไม่กระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อมสอบถามขอ้ มลู ได้ที่สถาบันวิจัยยาง การยางแหง่ ประเทศไทยโทร. 0-2579-1576 ตอ่ 301, 0-2940-6653

11 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559ตลาดกลางยางพาราระดับภูมภิ าคอธวิ ณี ์ แดงกนษิ ฐ์กองวิจยั และพัฒนาเศรษฐกจิ ยาง ฝา่ ยวจิ ยั และพัฒนาเศรษฐกิจยาง การยางแหง่ ประเทศไทย ไทยซ่ึงเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกยาง กลางซื้อขายยางธรรมชาติล่วงหน้าแบบส่งมอบจริง โดยธรรมชาติรายใหญท่ สี่ ดุ ของโลก แต่ยังไมม่ อี ำ� นาจต่อรอง ผู้ซือ้ จะไดร้ ับมอบยาง 30 วันนับจากวนั ท�ำสญั ญา สินคา้ทางการตลาดกับผู้ซื้อจากต่างประเทศ ประกอบกับ ที่ซ้ือขายผ่านตลาดมี 2 ชนิด คือยางแท่ง STR 20 และสถานการณ์การซื้อขายยางตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พบ ยางแผน่ รมควนั RSS 3 ผูซ้ ื้อ เปน็ ผู้ประกอบการสง่ ออกว่า ราคายางในประเทศถูกชี้น�ำจากราคายางในตลาดซื้อ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ เทรดเดอร์ ท้ังในประเทศและต่างขายล่วงหน้า เช่น ตลาดล่วงหน้าโตเกียว (TOCM) ของ ประเทศ ผูข้ าย เปน็ โรงงานผูผ้ ลิตท่มี ีมาตรฐาน ได้รับการญ่ีปุ่น ตลาดล่วงหน้าของสิงคโปร์ (SICOM) ตลาด รับรองอยู่ใน SICOM Approved Factory List หรือเซ่ียงไฮ้ของจีน ซึ่งทุกตลาดมีลักษณะเป็นตลาดเก็งก�ำไร โรงงานท่ีมีมาตรฐาน GMP และได้รับการรับรองจากปริมาณการส่งมอบยางจริงมีน้อย ไม่สะท้อนกลไกราคา คณะกรรมการ Selection Committee ซึ่งเป็นคณะท่ีเกิดจากผลผลิตและความต้องการใช้ที่แท้จริง ส่งผลให้ กรรมการรว่ ม 3 ประเทศ (ไทย อินโดนีเซยี และ มาเลเซีย)ราคาเกิดความผันผวน และบางคร้ังราคาลดลงต�่ำกว่า เพื่อสร้างความเช่ือม่ันในระบบคุณภาพให้แก่ผู้ใช้ยางทั่วต้นทุนการผลิต และจากการประชุมสภาไตรภาคียาง โลก รูปแบบการซื้อขายยางเป็นแบบ Auto matchingระหว่างประเทศ (International Tripartite Rubber continuous system ซึ่งเป็นรูปแบบการซื้อขายยางที่มีCouncil: ITRC ) จึงเห็นชอบให้จัดตั้งตลาดกลาง มาตรฐานในระดับสากล โดยผู้ซื้อ/ผู้ขายเสนอค�ำสั่งซ้ือยางพาราระดับภูมิภาค (Regional Rubber Market: คำ� ส่ังขาย ผ่านระบบอินเตอรเ์ น็ตRRM) ข้นึ โดยไดเ้ ปดิ ดำ� เนนิ การพร้อมกัน 3 ประเทศ ในวันที่ 2 กันยายน 2559 เพ่ือสร้างกลไกราคาท่ีสะท้อน ผลของตลาดกลางยางพาราระดบั ภมู ภิ าคภาวะตลาดท่ีแท้จริง และเพ่ิมความเข้มแข็งให้กับตลาด ต่อตลาดยางของไทยยางของประเทศผู้ผลิตยาง (ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย) ตลอดจนสามารถใช้อ้างอิงการซ้ือขายใน รูปแบบการซ้ือขายยางในปัจจุบันมีการซื้อขายในระดับสากล ทดแทนตลาดล่วงหน้าต่างประเทศ และ รูปแบบของตลาด Spot และ ตลาด Future ซึ่งการซื้อสร้างเสถยี รภาพด้านราคายาง ขายแบบ Spot จะเป็นการผลิตก่อนแล้วจึงก�ำหนดราคา ขาย จึงท�ำให้การวางแผนการผลิตกับความต้องการใช้ รูปแบบของตลาดกลางยางพารา ยางในบางครั้งไม่สอดคล้องกัน ส่งผลให้ราคายาง ระดบั ภมู ภิ าค ผันผวน และเกิดปัญหาในการบริหารจัดการสต็อกยาง ในขณะที่ตลาด Future โดยมากจะเป็นการซื้อขาย ตลาดกลางยางพาราระดับภูมิภาค เป็นตลาด ตราสารอนุพันธ์ มีการถือสัญญาจนถึงก�ำหนดส่งมอบ

12 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 ผลของตลาดกลางยางพาราระดบั ภมู ภิ าคตอ่ การก�ำหนดราคาอา้ งองิ ของยางไทยจรงิ นอ้ ย และเปน็ ตลาดของนักเก็งกำ� ไรมากกวา่ ผปู้ ระกันความเสี่ยง ดังนั้น การจัดต้ังตลาดกลางระดับภูมิภาค ปัจจุบันการก�ำหนดราคาซื้อขายยางแต่ละวันยังเพ่ือให้ตลาดกลางยางของโลกอยู่ในประเทศผู้ผลิตยาง คงอ้างอิงราคาจากตลาดล่วงหน้า ท้ังตลาด TOCOMโดยใช้รูปแบบการซ้ือขายแบบ Forward มีการตกลง ตลาด SICOM และตลาดเซ่ียงไฮ้ ผู้ท่ีเข้าไปซื้อขายในราคากันลว่ งหน้าแล้วส่งมอบจริง 100% ใน 30 วนั สินค้า ตลาดล่วงหน้ามีทั้งผู้ประกันความเส่ียงและนักเก็งก�ำไรท่ีผ่านตลาดมีการรับรองคุณภาพ ซึ่งสอดรับกับนโยบาย ซ่ึงมีการส่งมอบสินค้าจริงไม่เกิน 5% ขณะที่ตลาดกลางการพัฒนามาตรฐานการผลิตยางของสถาบันเกษตรกรสู่ ระดบั ภมู ภิ าค กำ� หนดให้ทุกสญั ญาทเี่ กดิ ข้นึ ต้องสง่ มอบระบบการจัดการคณุ ภาพท่ีดี หรอื GMP ของการยางแห่ง และรับมอบสินค้าจริง 100% ภายใน 30 วัน ทำ� ให้ราคาที่ประเทศไทย จึงเป็นกลไกให้เกษตรกร สถาบันเกษตรกร เกิดข้ึนในตลาดเกิดจากความต้องการยางท่ีแท้จริงของผู้ยกระดับคุณภาพสินค้าสู่มาตรฐานการส่งออก สามารถ ซ้ือ และอยู่บนพื้นฐานการค�ำนวณต้นทุนของผู้ขาย ซ่ึงวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของ หากมีการใช้ราคายางของตลาดกลางระดับภูมิภาค ให้ตลาด ช่วยลดต้นทุน และเป็นช่องทางในการประกัน สามารถช้ีน�ำราคาซื้อขายยางในตลาดโลก คาดว่าจะความเสี่ยงจากความผันผวนของราคา และท�ำให้ระบบ ชว่ ยใหร้ าคายางมีเสถยี รภาพมากขึ้นตลาดเกิดความเข้มแข็ง เกษตรกรเกิดความม่ันคงในอาชพี การทำ� สวนยาง

13 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559การศึกษาระบบกรดี ทเี่ หมาะสมกบั ยางพันธ์ุสถาบนั วจิ ยั ยาง 251 ในเขตพืน้ ท่ีภาคใตต้ อนบนสมคิด ดำ�นอ้ ย1, พิศมยั จนั ทมุ า2, อรสิรี ดำ�นอ้ ย1, พงษม์ านติ ย์ ไทยแท1้ , สุธรี า ถาวรรัตน์3, สุรกิตติ ศรีกลุ 3และ ธรี ชาต วิชิตชลชัย31 ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาการเกษตรกระบี่ กรมวชิ าการเกษตร2 ศูนย์วจิ ัยยางฉะเชงิ เทรา การยางแหง่ ประเทศไทย3 สำ�นกั วิจยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 7 จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี กรมวิชาการเกษตร ยางพารา (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) เป็น ประเทศ พบวา่ ตน้ ทนุ ค่าจา้ งแรงงานกรดี ยางมีคา่ ใช้จ่ายพืชเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญของประเทศไทย โดยในปี พ.ศ. สูงสุด คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 55.39 ของต้นทุนการผลิต2556 ประเทศไทยมีพื้นท่ีปลูกยาง 22.18 ล้านไร่ พ้ืนที่ ท้ังหมด (สถาบันวิจัยยาง, 2554) ดังน้ัน ระบบการกรีดกรีดยางได้ 16.49 ล้านไร่ และมีผลผลิต 4.38 ล้านตัน ยางจงึ มีความส�ำคัญตอ่ การทำ� สวนยาง(ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) การส่งออกยาง ร ะ บ บ ก รี ด ท่ี แ น ะ น� ำ ข อ ง ส ถ า บั น วิ จั ย ย า งธรรมชาติของไทย ส่งออกในรูปของวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ (สถาบันวิจัยยาง, 2555) ในปัจจุบันมี 5 ระบบ คือยาง ไมย้ างพาราแปรรปู และผลติ ภัณฑ์ไม้ คิดเปน็ มูลคา่ 1. ระบบกรดี ครงึ่ ล�ำตน้ กรีดหนงึ่ วนั เว้นสองวัน (S/2 d3)678,942 ล้านบาท ยางพาราจึงมีบทบาทส�ำคัญต่อ 2. ระบบกรีดคร่ึงล�ำต้น กรีดหนงึ่ วันเวน้ หนง่ึ วนั (S/2 d2)เกษตรกรชาวสวนยางไทยกว่า 4 ล้านครอบครัว ซึ่งเป็น 3. ระบบกรีดครึ่งล�ำต้น กรีดติดต่อกันสองวันเว้นหน่ึงวันเกษตรกรรายย่อยมากกว่า 6 ล้านคน และเป็นสวนยาง (S/2 d1 2d/3) 4. ระบบกรีดหนึ่งในสามของล�ำตน้ กรดีขนาดเล็กถึงร้อยละ 95 ของสวนยางทั้งประเทศ ตดิ ต่อกนั สองวันเวน้ หนง่ึ วัน (S/3 d1 2d3) และ 5. ระบบ(สถาบันวิจัยยาง, 2555) ผลผลิตหลักท่ีส�ำคัญของยาง กรีดหน่ึงในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันสองวันเว้นหน่ึงคอื น�้ำยาง ซึง่ ปรมิ าณน�้ำยางที่ไดร้ บั ข้ึนอยู่กบั ปจั จยั ตา่ งๆ วัน ควบคู่กับการใช้สารเคมีเร่งน้�ำยางความเข้มข้น 2.5ได้แก่ พันธุ์ยาง สภาพแวดล้อมของพื้นท่ีปลูก ความ เปอร์เซ็นต์ (S/3 d2 ET 2.5%) อย่างไรก็ตาม จากการสมบูรณ์ของต้นยาง การใช้ปุ๋ย ฤดูกาล อายุของต้นยาง ส�ำรวจเกษตรกรชาวสวนยางในเขตภาคใต้ พบว่าการจัดการสวนยาง และ ระบบกรีด (สถาบันวิจัยยาง, เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 95 ใช้ระบบกรีดหนึ่งในสาม2553) ของล�ำต้น กรีดติดต่อกันสามวันเว้นหนึ่งวัน และจะหยุด ในปัจจัยด้านระบบกรีดยาง นอกจากมีผลต่อการ กรีดยางเมื่อฝนตกหนัก หน้ายางเปียก หรือมีสภาพแห้งให้ผลผลิตแล้ว ระบบกรีดยังมีผลต่อการใช้แรงงาน ซ่ึง แลง้ ติดตอ่ กันหลายวัน สว่ นระบบกรีดตามคำ� แนะน�ำของเป็นวิถีชีวิตโดยตรงของชาวสวนยาง อัตราความสิ้น สถาบันวิจัยยางมีเกษตรกรใช้น้อยมาก คิดเป็นร้อยละ 5เปลืองเปลือก อาการเปลือกแห้ง และอายุการกรีดยาง เท่านั้น (พนัส และคณะ, 2555; ศรินณา และคณะ,ของต้นยาง ดังน้ัน การพิจารณาเลือกระบบกรีดยางจึงมี 2550)ความส�ำคัญต่อการท�ำสวนยางในหลายมิติของเกษตรกร ยางพันธุ์ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) เป็นชาวสวนยาง จากการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตยางทั้ง พันธุ์ยางช้ัน 1 ท่ีให้ผลผลิตสูงท่ีสุดในกลุ่มพันธุ์ยาง

14 ฉบับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 สทุ ธิ อาการเปลือกแห้ง และอายุการกรดี ของต้นยาง เพื่อ แนะนำ� เกษตรกรใหเ้ ลอื กใชร้ ะบบการกรดี ยางใหเ้ หมาะสมผลผลิตน�้ำยางสูงของสถาบันวิจัยยาง ซ่ึงแนะน�ำในเขต กับพ้ืนทีแ่ ละพันธ์ุยางต่อไปปลูกยางเดมิ ใหผ้ ลผลติ เนือ้ ยางแหง้ 10 ปกี รดี เฉลยี่ 462กิโลกรัมตอ่ ไร่ต่อปี และสงู กว่ายางพันธุ์ RRIM 600 รอ้ ย วิธกี ารทดลองละ 57 สว่ นในเขตปลูกยางใหม่ ให้ผลผลิตเนือ้ ยางแหง้ 5ปีกรีด เฉล่ีย 343 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่ายางพันธุ์ ด�ำเนินการทดลองท่ี ศูนย์วิจัยและพัฒนาการRRIM 600 ร้อยละ 39 (สถาบันวิจัยยาง, 2555) ซ่ึงใน เกษตรกระบ่ี อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบ่ี ในชุดดินอ่าวลึกปัจจุบันเกษตรกรมีความนิยมสูงขึ้น โดยมีพ้ืนท่ีปลูกยาง (Ak) ในแปลงยางพนั ธ์ุ RRIT 251 อายุ 8 ปี พนั ธุ์ RRIT 251 ในพ้นื ทภ่ี าคใตต้ อนบน 905,547 ไร่ คดิ วางแผนการทดลองแบบ Randomized Com-เป็นร้อยละ 12.63 ของพื้นท่ีปลูกยางท้ังหมดในเขตพื้นท่ี plete Block (RCB) จำ� นวน 3 ซ้ำ� 7 กรรมวธิ ี (ตารางท่ี 1)ภาคใตต้ อนบน ทม่ี ีพ้นื ท่ีปลกู 7,172,304 ไร่ คดิ เป็น ร้อย ใช้ต้นยางทดลองจ�ำนวน 15 ต้นต่อแปลงย่อยละ 32.34 ของพ้ืนที่ปลูกยางทั้งประเทศ และเป็นพื้นที่ ดังนัน้ ในการทดลองน้ีมตี ้นยางที่ใชบ้ ันทกึ ขอ้ มลู 315 ต้นปลูกยางมากที่สุดของประเทศไทย (ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) การด�ำเนนิ งาน มีรายงานผลการศึกษาระบบกรีดที่เหมาะสมกับยางพนั ธ์ุ RRIT 251 ซึ่งด�ำเนนิ การท่ีศนู ยว์ ิจยั ปาล์มน�้ำมัน การดูแลรักษาแปลงทดลองปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำกระบ่ี อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบ่ี พบว่า ระบบกรีด ของสถาบันวิจัยยาง โดยมีการใส่ปุ๋ยเคมี สูตร 30-5-18คร่ึงล�ำต้น กรีดหนึ่งวันเว้นหน่ึงวัน (S/2 d2) ให้ผลผลิต อัตรา 1 กิโลกรมั ตอ่ ต้น แบง่ ใส่ 2 ครั้งต่อปีเฉลี่ยสองปีกรีด 4.38 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี หรือ 284.7 เปิดกรีดต้นยางที่ระดับความสูง 1.50 เมตร ตามกิโลกรัมต่อไร่ต่อปี (พิชิต และคณะ, 2554) ในขณะที่ กรรมวธิ ที ก่ี ำ� หนดSungnoi et al. (2014) ได้ท�ำการศึกษาระบบกรีดยาง กรณีท่ีฝนตกให้หยุดกรีดทุกกรรมวิธี และเร่ิมกรีดพันธุ์ RRIT 251 ที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรตรัง ใหมท่ ุกกรรมวิธีในวนั ถดั ไปที่กรดี ได้ โดยนบั เปน็ วันที่หนึ่งอ�ำเภอปะเหลยี น จงั หวดั ตรัง พบวา่ ระบบกรีดคร่ึงลำ� ต้น ของทุกกรรมวิธี การหยดุ พกั การกรีดประจ�ำปี หรอื การปดิกรีดตดิ ตอ่ กันสองวันเวน้ หน่ึงวนั (S/2 d1 2d/3) มีวันกรดี กรีด จะหยุดในช่วงที่ต้นยางมีการผลัดใบ (ปลายเดือนเฉล่ีย 144 วันต่อปี ให้ผลผลิตเฉล่ียส่ีปีกรีดสูงสุด 687.1 กุมภาพันธ์) และเริ่มเปิดกรีดเม่ือใบยางแก่เต็มที่ (ต้นกิโลกรัมต่อไร่ต่อปี รองลงมา คือ ระบบกรีดหนึ่งในสาม เดือนพฤษภาคม)ของล�ำต้น กรีดติดต่อกันทุกวัน (S/3 d1) มีวันกรีดเฉล่ีย ด�ำเนินการศึกษาต้ังแต่เดือน ตุลาคม 2553 ถึง198 วันตอ่ ปี ให้ผลผลติ เฉลี่ยส่ีปกี รดี 685.0 กโิ ลกรมั ตอ่ เดือนเมษายน 2558 โดยการบันทกึ ขอ้ มูลในแตล่ ะปีกรดีไร่ต่อปี การศึกษาระบบกรีดยางท่ีเหมาะสมกับยางพันธุ์ กระทำ� ในชว่ งเวลาดังตอ่ ไปนี้RRIT 251 ท่ีศูนย์วิจัยยางหนองคาย อ�ำเภอรัตนวาปี ปกี รีดที่ 1 ระหว่างเดอื นตลุ าคม 2553 ถึง เมษายนจังหวดั หนองคาย พบวา่ ระบบกรีดครง่ึ ล�ำต้น กรีดติดตอ่ 2554กนั สามวันเว้นหนึ่งวัน (S/2 d1 2d/3) มีวนั กรีดเฉล่ยี 137 ปีกรดี ท่ี 2 ระหวา่ งเดือนพฤษภาคม 2554 ถึงเดือนวันต่อปี ให้ผลผลิตเฉลีย่ สองปีกรดี สงู สดุ 371.4 กิโลกรัม เมษายน 2555ตอ่ ไรต่ ่อปี ในขณะทีร่ ะบบกรีดครง่ึ ล�ำตน้ กรีดหนึ่งวนั เวน้ ปีกรดี ที่ 3 ระหวา่ งเดือนพฤษภาคม 2555 ถงึ เดือนหน่งึ วัน (S/2 d2) มีวนั กรดี เฉล่ีย 91 วนั ให้ผลผลิตเฉลีย่ เมษายน 2556269.6 กิโลกรัมตอ่ ไร่ต่อปี (Raemlee, 2011) ปกี รดี ที่ 4 ระหวา่ งเดือนพฤษภาคม 2556 ถงึ เดือน ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาระบบกรีดยางท่ีเหมาะ- เมษายน 2557สมกับยางพันธุ์ RRIT 251 ในมิติต่างๆ คือ ผลผลิตยาง ปีกรดี ที่ 5 ระหว่างเดอื นพฤษภาคม 2557 ถงึ เดอื นการใชแ้ รงงาน อัตราความสิน้ เปลอื งเปลือก ผลตอบแทน เมษายน 2558

15 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559 สัญลักษณ์ทใ่ี ช้ 1 S/2 d2 ตารางที่ 1 กรรมวิธีทใ่ี ชใ้ นการศึกษา S/2 d1 2d/3 S/2 d1 3d/4 ระบบกรีด S/3 d1 2d/3 1. กรดี คร่งึ ล�ำตน้ , กรดี หนง่ึ วันเว้นหนึง่ วัน S/3 d1 3d/4 2. กรีดครึ่งลำ� ต้น, กรีดตดิ ต่อกนั สองวันเวน้ หนึ่งวัน S/3 d1 3. กรดี คร่งึ ล�ำต้น, กรดี ตดิ ตอ่ กันสามวันเวน้ หนึ่งวนั S/4 d1 4. กรดี หนึ่งในสามของลำ� ตน้ , กรีดตดิ ต่อกนั สองวนั เว้นหน่ึงวัน 5. กรีดหนึง่ ในสามของลำ� ตน้ , กรดี ติดตอ่ กันสามวนั เว้นหนึ่งวัน 6. กรดี หนึ่งในสามของล�ำตน้ , กรดี ติดต่อกันทกุ วัน 7. กรีดหนึ่งในสีข่ องลำ� ต้น, กรดี ตดิ ตอ่ กนั ทกุ วนั 1 ที่มา: Vijayakumar et al. (2009) จ�ำนวนวันกรีดในรอบปีกรีด โดยเมื่อมีฝนตกในวันที่จะ กรีดยางหรือก่อนที่จะกรีดยาง ท�ำให้ต้องหยุดกรีดยางใน ผลการทดลองและวจิ ารณ์ วันนั้นไป ซ่ึงจ�ำนวนวันที่ฝนตกและปริมาณน้�ำฝนท่ี ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกระบ่ี ช่วงปี พ.ศ. 2553จำ� นวนวนั กรดี ถึง 2558 พบว่า มีจ�ำนวนวันฝนตกเฉล่ีย 131 วันต่อปี จ�ำนวนวันกรีดในรอบปีของยางพันธุ์ RRIT 251 และมปี รมิ าณน้�ำฝนเฉล่ีย 2,689 มลิ ลิเมตรตอ่ ปี โดยชว่ งที่ท�ำการทดลองในศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกระบ่ี ที่มฝี นตกชุกคือ เดอื นมิถนุ ายนถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน และในเขตพื้นท่ีภาคใต้ตอนบน จะเป็นตัวก�ำหนดต้นทุนด้าน ช่วงฤดูแล้งเริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมแรงงานกรีดยางในรอบปีกรีด พบว่า การกรีดติดต่อกัน (ตารางที่ 3)ทกุ วัน (d1) มีจำ� นวนวันกรดี มากทส่ี ุด เฉล่ยี 168.25 วัน นอกจากน้ี ยังมีสาเหตุอีกอย่างหน่ึงท่ีท�ำให้เกิดต่อปี รองลงมาคือ การกรีดติดต่อกันสามวันเว้นหน่ึงวัน การหยุดกรีดคือ การผลัดใบและแตกใบอ่อนของต้น(d1 3d/4), การกรีดติดต่อกันสองวันเว้นหน่ึงวัน (d1 ยางพาราที่จะต้องหยุดการกรีดยาง โดยท่ัวไปของพื้นที่2d/3) มีจ�ำนวนวนั กรีดเฉล่ยี 141.25 และ 125.25 วันต่อ ภาคใต้ตอนบน (จงั หวัดกระบ่ี) ตน้ ยางพนั ธ์ุ RRIT 251 มีปี ตามล�ำดับ ส่วนระบบกรีดที่มีวันกรีดน้อยท่ีสุด คือ การผลัดใบต้ังแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม และการกรีดหนึ่งวันเว้นหน่ึงวัน (d2) ที่มีจ�ำนวนวันกรีดเฉลี่ย แตกใบอ่อนในเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม จากน้ัน94.75 วนั ตอ่ ปี (ตารางท่ี 2) ซึ่งเปน็ ผลโดยตรงของความถ่ี ใบยางจะพัฒนาเป็นใบแกเ่ ตม็ ท่ีภายในเดอื นเมษายน ซึง่ของระบบกรดี ยาง สอดคล้องกับการศึกษาระบบกรีดยาง จะเป็นช่วงหยุดการกรีดยางประจ�ำปี (เดือนมีนาคม ถึงท่ีเหมาะสมกับยางพันธุ์ RRIT 251 ท่ีศูนย์วิจัยยาง เดือนเมษายน) ดังน้ัน ช่วงระยะเวลาของการกรีดยางจะหนองคาย อ�ำเภอรัตนวาปี จังหวัดหนองคาย ที่พบว่า อยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดการกรดี ตดิ ต่อกันสามวันเว้นหน่งึ วัน (d1 3d/4) มีจำ� นวน ไปวนั กรดี เฉล่ีย 137 วนั ตอ่ ปี รองลงมาคือ การกรีดติดตอ่ กนั ความยาวของรอยกรดีสองวันเว้นหนงึ่ วัน (d1 2d3) มจี ำ� นวนวันกรีดเฉล่ยี 120 ความยาวของรอยกรีด เป็นผลมาจากการแบ่งวันต่อปี โดยการกรีดหนึ่งวันเว้นหน่ึงวัน (S/2 d2) มีวันกรีดเฉลยี่ 91 วนั ตอ่ ปี (Raemlee, 2011) จ�ำนวนวันท่ีฝนตกก็เป็นอีกปัจจัยหน่ึงท่ีมีผลต่อ

16 ฉบบั อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2559ตารางที่ 2 จำ� นวนวนั กรดี (วัน/ป)ี ระหว่างปีกรีดท่ี 1 ถึงปกี รดี ที่ 5 ของระบบกรดี ต่างๆ ทใ่ี ช้กับยางพันธ์ุ สถาบนั วจิ ัยยาง 251 ณ จังหวดั กระบ่ีระบบกรดี 1 2 ปกี รดี ที่ 4 5 เฉล่ยี 4 ปกี รดี 1 98 3 96 96 94.75S/2 d2 50 127 89 131 122 125.25S/2 d1 2d/3 62 144 121 146 142 141.25S/2 d1 3d/4 72 127 133 131 122 125.25S/3 d1 2d/3 62 144 121 146 142 141.25S/3 d1 3d/4 72 174 133 175 163 168.25S/3 d1 81 174 161 175 163 168.25S/4 d1 81 1611 ระหว่างพฤษภาคม 2554 - เมษายน 2558ตารางที่ 3 ปรมิ าณน้ำ� ฝนรายเดือน (มม.) และจำ� นวนวนั ฝนตก (วัน) ณ สถานีตรวจตรวจอากาศ ท่ศี นู ยว์ ิจัยและพัฒนาการเกษตรกระบี่ ระหว่างปี 2553 - 2558 เดือน 1 ปีกรีดที่ 5 เฉลี่ย 5 ปีกรดีพฤษภาคม 2 34มิถุนายนกรกฎาคม 53.6 (5) 128.9 (12) 200.1 (15) 204.0 (11) 138.1 (11) 144.3 (11)สิงหาคม 191.0 (11) 161.3 (19) 338.5 (11) 494.0 (13) 361.7 (18) 309.3 (14)กันยายน 295.6 (17) 221.0 (15) 142.1 (14) 694.4 (22) 408.7 (20) 343.4 (18)ตุลาคม 188.5 (20) 209.9 (15) 308.2 (18) 197.2 (15) 507.3 (21) 282.2 (18)พฤศจิกายน 112.5 (6) 341.7 (19) 894.9 (18) 414.0 (10) 435.9 (10) 439.8 (13)ธันวาคม 375.4 (13) 162.9 (12) 237.0 (11) 442.0 (19) 500.2 (21) 343.1 (15)มกราคม 119.6 (18) 125.1 (8) 234.6 (11) 299.4 (15) 275.4 (16) 210.8 (14)กมุ ภาพันธ์ 28.4 (13) 206.0 (7) 129.4 (11) 55.4 (3) 137.0 (10) 111.2 (9)มนี าคม 29.3 (8) 247.8 (10) 37.4 (1) 24.6 (1) 63.0 (1) 80.4 (4)เมษายน 56.2 (3) 124.2 (6) 34.4 (2) 0.0 (0) 37.8 (3) 63.2 (4)รวม 715.1 (21) 409.1 (14) 0.0 (0) 10.2 (1) 7.6 (1) 285.5 (7) 5.9 (3) 385.4 (10) 68.4 (5) 191.5 (9) 76.0 (2) 145.4 (6) 2,171 (138) 2,723 (147) 2,624 (117) 3,027 (119) 2,940 (134) 2,689 (131)หมายเหต:ุ คา่ ในวงเลบ็ หมายถึงจำ� นวนวันฝนตก

17 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 เปลืองเปลือกมากท่ีสุด 1,203.37 ตารางเซนติเมตรต่อปี รองลงมาคือ ระบบกรีดคร่ึงล�ำต้น กรีดติดต่อกันสองวันหน้ากรีดของแต่ละกรรมวิธี ซ่ึงการทดลองน้ีเริ่มท�ำการ เว้นหน่ึงวัน (S/2 d1 2d/3) มีความส้ินเปลืองเปลือกเปิดกรีดเม่ือต้นยางพันธุ์ RRIT 251 มีขนาดเส้นรอบวง 1,020.06 ตารางเซนติเมตรต่อปี ส�ำหรับระบบกรีดหน่ึงล�ำต้น เฉล่ียที่ 60.77 เซนติเมตร จึงพบว่า ค่าความยาว ในสี่ของล�ำตน้ กรีดตดิ ตอ่ กันทุกวัน (S/4 d1) มคี วามส้นิของรอยกรีดของการกรีดครึ่งล�ำต้น (S/2) มีค่าเฉล่ียมาก เปลืองเปลือกน้อยท่ีสุด 695.33 ตารางเซนติเมตรต่อปีท่สี ุด 30.52 เซนติเมตร เมื่อเปรียบเทยี บกบั การกรีดหนง่ึ (ตารางที่ 4)ในสามของล�ำต้น (S/3) ท่ีมีค่าเฉลี่ย 20.38 เซนติเมตร จำ� นวนปีกรดีและการกรีดหน่ึงในส่ขี องลำ� ตน้ (S/4) ท่ีมคี ่าเฉลยี่ 15.71 จ�ำนวนปีกรีดหรืออายุการกรีดของต้นยางพันธุ์เซนตเิ มตร (ตารางที่ 4) RRIT 251 จากการทดลองพบว่า ระบบกรดี หนงึ่ ในสีข่ อง ลำ� ตน้ กรดี ติดตอ่ กันทุกวนั (S/4 d1) มจี �ำนวนปกี รดี มากความสงู ของรอยกรีด ท่สี ดุ 22.15 ปี รองลงมาคือ ระบบกรีดหนงึ่ ในสามลำ� ตน้ ความสูงของรอยกรีด เป็นผลโดยตรงจากจ�ำนวน กรีดติดต่อกันสองวันเว้นหน่ึงวัน (S/3 d1 d2/3), ระบบวันกรดี พบว่า การกรีดตดิ ต่อกันทุกวนั (d1) มีคา่ ความสูง กรีดหนึ่งในสามของลำ� ต้น กรีดติดต่อกันสามวันเว้นหน่ึงของรอยกรีดเฉล่ียต่อปีสูงที่สุด 43.05 เซนติเมตรต่อปี วนั (S/3 d1 3d/4), ระบบกรีดหนึง่ ในสามของล�ำตน้ กรีดรองลงมาคือ การกรีดติดต่อกันสามวันเว้นหนึ่งวัน (d1 ติดตอ่ กนั ทกุ วนั (S/3 d1), ระบบกรีดครึ่งล�ำต้น กรดี หนึ่ง3d/4) และการกรีดติดต่อกันสองวันเว้นหนึ่งวัน (d1 วันเว้นหนึ่งวัน (S/2 d2) และระบบกรีดครึ่งล�ำต้น กรีด2d/3) ท่ีมีความสูงของรอยกรีดเฉล่ียต่อปีเท่ากับ 38.05 ตดิ ต่อกันสองวันเว้นหนง่ึ วัน (S/2 d1 2d/3) ท่ีมจี �ำนวนปีและ 34.76 เซนติเมตรต่อปี ตามล�ำดับ ขณะที่การกรีด กรดี เทา่ กบั 21.76, 19.52, 18.00, 16.78 และ 14.48 ปีหน่ึงวันเว้นหน่ึงวัน (d2) มีค่าความสูงของรอยกรีดเฉลี่ย ตามล�ำดับ ขณะทรี่ ะบบกรดี คร่งึ ล�ำต้น กรีดตดิ ต่อสองวันต่�ำท่ีสุด 28.58 เซนติเมตรต่อปี (ตารางที่ 4) สาเหตุที่ เว้นหน่งึ วนั (S/2 d1 3d/4) มีจำ� นวนปีกรีดน้อยท่ีสดุ เพยี งการกรีดติดต่อกันทุกวัน มีค่าความสูงของรอยกรีดมาก 12.90 ปี (ตารางท่ี 4) ตรงกันข้ามกับรายงานการศึกษาที่สุด เป็นผลมาจากการใช้ระบบกรีดที่มีจ�ำนวนวันกรีด ระบบกรดี ส�ำหรับยางพนั ธุ์ RRIM 600 ทพ่ี บว่า ระบบกรดีต่อปมี ากนั่นเอง (ตารางท่ี 1) โชคชยั (2529) รายงานผล คร่ึงล�ำต้น กรีดหนึ่งวันเว้นหน่ึงวัน มีจ�ำนวนปีกรีดเท่ากับการศึกษาระบบกรีดส�ำหรับยางพันธุ์ RRIM 600 ว่า 22.50 ปี รองลงมาคือ ระบบกรดี ครึง่ ล�ำตน้ กรดี ตดิ ตอ่ กนัการกรีดติดต่อกันทุกวัน มีค่าความสูงของรอยกรีดสูง สองวันเว้นหน่ึงวัน และระบบกรีดหนึ่งในสามของล�ำต้นท่ีสุดเฉล่ีย 55.4 เซนติเมตรต่อปี รองลงมาคือ การกรีด กรีดติดต่อกันทุกวัน ท่ีมีจ�ำนวนปีกรีดเท่ากัน คือ 16 ปีติดต่อกันสามวันเว้นหนึ่งวัน ท่ีมีความสูงของรอยกรีด ส่วนระบบกรีดคร่ึงล�ำต้น กรีดติดต่อกันสามวันเว้นหนึ่งเฉลย่ี 41.9 เซนติเมตรตอ่ ปี และการกรีดตดิ ตอ่ กันสองวนั วัน มีจ�ำนวนปีกรีดเท่ากับ 14.50 ปี (โชคชัย, 2529)เว้นหน่ึงวัน ที่มีความสูงของรอยกรีดเฉลี่ย 38.9 สาเหตุน่าจะเกิดจากวิธีการค�ำนวณจ�ำนวนปีกรีดที่ต่างเซนติเมตรต่อปี ขณะที่การกรีดหนึ่งวันเว้นหน่ึงวัน มีค่า กัน ซึ่งจ�ำนวนปกี รีดทมี่ กี ารศึกษาในยางพนั ธ์ุ RRIM 600ความสูงของรอยกรีดเฉล่ียเพียง 28 เซนติเมตรต่อปี ซ่ึง ใช้เฉพาะค่าความสูงของรอยกรีดมาพิจารณา ขณะที่โดยทั่วไปการกรีดยางท่ีดีควรมีความสูงของรอยกรีด จ�ำนวนปีกรีดของยางพันธุ์ RRIT 251 ของการศึกษาในเฉล่ยี ต่อปีเทา่ กบั 25-30 เซนติเมตรต่อปี (พิศมัย, 2556) ครั้งน้ีพิจารณาจากพ้ืนท่ีความส้ินเปลืองเปลือกที่เป็นผล ร่วมระหว่างความยาวของรอยกรีดกับความสูงของรอยพน้ื ทค่ี วามสิ้นเปลอื งเปลอื ก กรีด พ้ืนที่ความสิ้นเปลืองเปลือก เป็นผลร่วมระหว่างความยาวของรอยกรีดกับความสูงของรอยกรีด พบว่าพื้นทีค่ วามสน้ิ เปลอื งเปลอื กของระบบกรดี ครง่ึ ล�ำต้น กรีดตดิ ต่อกนั สามวนั เวน้ หน่งึ วนั (S/2 d1 3d/4) มีค่าความส้นิ

18 ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559 แสดงอาการเปลือกแห้ง 12.85 และ 9.99 เปอร์เซ็นต์ ตามล�ำดับ (Sungnoi et al., 2014) อาการเปลือกแห้งอาการเปลือกแห้ง ของยางพารา เป็นลักษณะความผิดปกติของการไหล อาการเปลือกแห้งของตน้ ยางพันธุ์ RRIT 251 จาก ของน้�ำยาง ท�ำใหผ้ ลผลิตลดลงจนไมส่ ามารถเก็บผลผลติผลการทดลองพบว่า ระบบกรีดครึ่งล�ำต้น กรีดติดต่อกัน ได้ ปัจจุบันยังไม่สามารถสรุปสาเหตุท่ีแท้จริงได้แน่ชัดสามวนั เว้นหน่ึงวนั (S2 d1 3d4) แสดงอาการเปลือกแหง้ เพียงแต่สรุปว่าเป็นความผิดปกติทางสรีรวิทยาท่ีเกิดข้ึนมากที่สุด 13.33 เปอรเ์ ซน็ ต์ รองลงมาคือ ระบบกรีดหนงึ่ เองตามธรรมชาติโดยมีปัจจัยหลายอย่างเป็นตัวกระตุ้นในสามล�ำต้น กรีดติดต่อกันทุกวัน (S/3 d1) ท่ีแสดง เช่น การกรดี หักโหม การใช้สารเคมเี ร่งนำ�้ ยาง และสภาพอาการเปลือกแห้ง 8.89 เปอร์เซ็นต์ ส่วนระบบกรีดครึ่ง แวดล้อม (พเยาว์ และคณะ, 2542) อย่างไรก็ตาม ยางล�ำต้น กรีดหนึ่งวันเว้นหน่ึงวัน (S/2 d2) แสดงอาการ พันธุ์ RRIT 251 จัดเปน็ พนั ธย์ุ างท่มี จี ำ� นวนตน้ ยางแสดงเปลือกแห้งน้อยท่ีสุดเพียง 2.22 เปอร์เซ็นต์ (ตารางท่ี 4) อาการเปลือกแห้งน้อย โดยมีระดับความรุนแรงน้อยสอดคล้องกับรายงานศึกษาระบบกรีดยางพันธุ์ RRIT และมีค่าเทา่ กับพนั ธ์ุ RRIM 600 (กรรณกิ าร,์ 2551)251 ท่ีศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรตรัง อ�ำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ที่พบว่า ระบบกรีดหน่ึงในสี่ของล�ำต้น กรดี ตดิ ตอ่ กันทุกวัน (S/4 d1) และระบบกรดี หนึง่ในสามของลำ� ตน้ กรดี ติดต่อกันทกุ วนั (S/3 d1) มตี ้นยาง ตารางท่ี 4 ผลในดา้ นตา่ งๆทเี่ กดิ จากการใชร้ ะบบกรดี ท่ตี า่ งกนั กบั ยางพนั ธ์ุ สถาบนั วิจัยยาง 251ระบบกรดี ขนาดรอบวง ความยาว ความสูง พ.ท. ความ อายุ อาการS/2 d2 ล�ำต้นขณะ รอยกรีด2 ของรอย สน้ิ เปลอื ง การกรีด5 เปลอื กS/2 d1 2d/3 เปิดกรดี 1 (ซม.) (ซม.) กรดี 3 (ซม.) เปลอื ก4 (ซม.2/ปี) (ปี) แห้ง6 (%)S/2 d1 3d/4 2.22S/3 d1 2d/3 58.65 30.58 28.58 873.97 16.78 4.44S/3 d1 3d/4 59.09 29.43 34.66 1,020.06 14.48 13.33S/3 d1 62.11 31.56 38.13 1,203.37 12.90 6.67S/4 d1 61.57 20.29 34.87 707.39 21.76 4.44 59.95 20.23 37.97 767.96 19.52 8.89 62.39 20.63 41.83 862.85 18.00 6.67 61.62 15.71 44.26 695.33 22.151 วัดทีค่ วามสูง 170 ซม. จากพื้นดิน2 คำ� นวณจากสตู ร ความยาวของรอยกรดี = ขนาดเส้นรอบวงล�ำต้นที่ความสงู 170 ซม. จากพ้ืนดนิ x Cos 30o จำ� นวนหน้ากรดี3 วัดจากจุดก่ึงกลางของรอยกรีด จากรอยกรีดท่ีเรมิ่ กรดี ถึงรอยกรีดท่ีหยดุ กรีดในแต่ละปี4 เทา่ กับ ความยาวของรอยกรีด x ความสูงของรอยกรดี พื้นที่ผิวเปลือกทั้งหมด x 25 ค�ำนวณจากสตู ร อายกุ ารกรดี = พน้ื ท่คี วามสิน้ เปลอื งเปลือกโดยที:่- 2 คอื จำ� นวนรอบของการกรีด- พืน้ ท่ีผิวเปลอื กทง้ั หมดท่ีกรีด (ตร.ซม.) = เส้นรอบวงล�ำต้น x 125- 125 คือ ความสงู ของผิวเปลือกท่กี รีดทง้ั หมด

19 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 27 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559 เฉล่ีย 1.55, 1.47 และ 1.42 เซนติเมตรตอ่ ปี ตามลำ� ดบั (ตารางท่ี 5) การเจริญเติบโตของต้นยางพาราในเขตการเจริญเติบโตของต้นยาง พ้นื ท่ีภาคใต้ มอี ตั ราการเจริญเตบิ โตด้านการขยายขนาด การเจริญเติบโตของต้นยางพันธุ์ RRIT 251 ที่ใช้ ของเส้นรอบวงล�ำต้นก่อนการเปิดกรีดเท่ากับ 8.1 - 8.5ในการทดลองคร้ังนี้ พิจารณาจากการเพิ่มข้ึนของขนาด เซนติเมตรต่อปี และหลังจากเปิดกรีดแล้วจะมีอัตราการเส้นรอบวงล�ำต้นในรอบปีหลังจากเปิดกรีด พบว่า การ เจริญเตบิ โตเหลือเพยี ง 2.0 - 2.5 เซนติเมตรต่อปี (พิศมัย,เพ่ิมขึ้นของขนาดเส้นรอบวงล�ำต้นในรอบปีมีความแตก 2551) จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ความยาวของต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส�ำคัญ ซ่ึงระบบกรีดครึ่งลำ� ต้น รอยกรีด และความถ่ีของการกรีด มีผลท�ำให้การเจริญกรีดหน่ึงวันเว้นหนึ่งวัน (S/2 d2) มีอัตราการเพิ่มข้ึนของ เตบิ โตของต้นยางพันธ์ุ RRIT 251 ลดลง Sungnoi et al.เส้นรอบวงล�ำต้นต่อปีมากที่สุดเฉล่ีย 2.08 เซนติเมตรต่อ (2014) รายงานว่า ระบบกรีดครึ่งล�ำต้น กรีดวันเว้นวันปี รองลงมาคอื ระบบกรีดหนึง่ ในสข่ี องล�ำต้น กรดี ตดิ ตอ่ ทำ� ให้ยางพนั ธ์ุ RRIT 251 อตั ราการเจริญเติบโตดา้ นการกันทุกวัน (S/4 d1), ระบบกรีดครึ่งล�ำต้น กรีดติดต่อกัน ขยายขนาดของเส้นรอบวงล�ำต้นเทา่ กับ 1.70 เซนตเิ มตรสามวันเว้นหนึ่งวัน (S/2 d1 3d/4) และ ระบบกรีดหนึ่ง ต่อปี โดยระบบกรีดครึ่งล�ำต้น กรีดติดต่อกันสองวันเว้นสามของล�ำต้น กรีดติดตอ่ กันสามวันเวน้ หนงึ่ วนั (S/3 d1 หน่ึงวัน, ระบบกรีดหน่ึงในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกัน3d/4) ที่มีอัตราการเพิ่มข้ึนของเส้นรอบวงล�ำต้นต่อปี สองวนั เว้นหน่งึ วัน, ระบบกรีดหน่งึ ในสามของล�ำตน้ กรีดเฉล่ีย 1.86, 1.82 และ 1.71 เซนติเมตรตอ่ ปี ตามล�ำดบั ติดต่อกันทุกวัน และระบบกรีดหนึ่งในสี่ของล�ำต้น กรีดในขณะที่ระบบกรีดหนึ่งในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกัน ติดตอ่ กนั ทุกวัน มคี ่าอยรู่ ะหว่าง 1.46 - 1.57 เซนตเิ มตรทกุ วนั (S/3 d1), ระบบกรดี คร่ึงล�ำตน้ กรดี ติดต่อกนั สอง ต่อปีวันเว้นหน่งึ วนั (S/2 d1 2d/3) และระบบกรดี หน่งึ ในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันสองวันเว้นหนึ่งวัน (S/3 d12d/3) มีอตั ราการเพม่ิ ของเส้นรอบวงลำ� ต้นต่อปนี ้อยทส่ี ดุตารางท่ี 5 ขนาดเส้นรอบวงล�ำต้น1 (ซม.) และการเพ่มิ ขึน้ ของขนาดเส้นรอบวงล�ำตน้ (ซม./ปี) ในระหวา่ งปีกรีดท่ี 1-5 ของยางพันธ์ุ สถาบนั วจิ ยั ยาง 251 เมื่อใชร้ ะบบกรดี ท่ตี า่ งกนัระบบกรดี กอ่ น 1 ปีกรีดท่ี 4 5 ขอกงาข(รซนเมาพ.ด/ม่ิ ปลข)ีำ� ึน้ ตน้ 2S/2 d2 เปิดกรีด 23S/2 d1 2d/3 58.65S/2 d1 3d/4 59.09 59.57 62.23 64.38 66.24 69.03 2.08 aS/3 d1 2d/3 62.11 59.91 61.83 63.20 64.53 66.43 1.47 dS/3 d1 3d/4 61.57 62.86 63.92 65.56 67.35 71.23 1.82 bcS/3 d1 59.95 62.26 63.97 65.46 67.27 68.69 1.42 dS/4 d1 62.39 60.63 62.38 63.75 65.41 68.48 1.71 cเฉลีย่ 61.62 62.85 64.38 65.57 67.53 69.84 1.55 d 60.77 62.29 64.07 65.78 67.59 70.92 1.86 b 61.48 63.25 64.81 66.56 69.23 1.701 วัดทคี่ วามสงู 170 ซม. จากพ้นื ดิน2 คา่ การเพมิ่ ขึ้นของขนาดลำ� ต้นในคอลมั น์เดียวกันท่ตี ามดว้ ยอักษรเหมือนกนั ไมแ่ ตกต่างกันในทางสถิตทิ ร่ี ะดับความเชอ่ื ม่ัน 95% โดยวิธี Duncan's Multiple Range Test (DMRT)

20 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2559 ของล�ำต้น กรีดติดต่อกันสองวันเว้นหน่ึงวัน และ ระบบ กรีดหนึ่งในสามของลำ� ต้น กรีดติดต่อกันสามวันเว้นหนึ่งผลผลติ ยาง วัน ท่ีให้ผลผลิตต่อคร้งั กรดี เฉล่ีย 43.61, 42.33, 33.98 ผลผลิตต่อคร้ังกรีด ผลผลิตต่อครั้งกรีดของยาง และ 33.57 กรัมต่อต้นต่อครั้งกรีด ตามล�ำดับ แสดงให้พันธุ์ RRIT 251 พบว่า ระบบกรีดคร่ึงลำ� ต้น กรีดหนึง่ วัน เหน็ วา่ ความยาวของรอยกรดี หรือการแบ่งหนา้ กรดี มผี ลเว้นหนึ่งวัน (S/2 d2) ให้ผลผลิตต่อคร้ังกรีดมากกว่า โดยตรงต่อปริมาณผลผลิตน้�ำยางที่ได้ พิศมัย (2551)ระบบอน่ื อย่างมนี ัยสำ� คัญทางสถิติ โดยใหผ้ ลผลติ ตอ่ ครงั้ กลา่ วว่า ความยาวของรอยกรดี มคี วามส�ำคัญต่อผลผลติกรีดเฉล่ีย 66.01 กรัมต่อต้นต่อคร้ังกรีด รองลงมาคือ มาก ถา้ รอยกรีดยาว การตดั ทอ่ น้�ำยางจะมาก ท�ำให้นำ�้ระบบกรีดคร่ึงล�ำต้น กรีดติดต่อกันสามวันเว้นหน่ึงวัน ยางท่ีอยู่ภายในท่อน้�ำยางไหลออกมา รวมถึงน้�ำยางจาก(S/2 d1 3d/4) และระบบกรีดคร่ึงล�ำต้น กรีดติดต่อกัน ท่อน้�ำยางที่ไม่ได้ถูกกรีด ซ่ึงอยู่ด้านตรงข้ามของรอยกรีดสองวันเว้นหนึ่งวัน (S/2 d1 2d/3) ท่ีให้ผลผลิตต่อคร้ัง และอยู่ในวงเดียวกับท่อน้�ำยางที่ถูกกรีด ก็สามารถไหลกรดี เฉลย่ี 56.90 และ 55.59 กรัมตอ่ ตน้ ตอ่ ครั้งกรีด ตาม ออกท่ีหนา้ กรดี ได้เช่นกนัล�ำดบั ในขณะที่ ระบบกรีดหนึ่งในสขี่ องลำ� ตน้ กรีดตดิ ตอ่ ผลผลิตต่อไร่ต่อปี ผลผลิตต่อไร่ต่อปี คือ ผลผลิตกันทกุ วนั (S/4 d1) ใหผ้ ลผลิตตอ่ ครงั้ กรดี น้อยท่ีสดุ 36.29 ต่อครง้ั กรดี x จำ� นวนต้นยางตอ่ ไร่ x จำ� นวนวนั กรดี ต่อปีกรัมต่อต้นต่อครั้งกรีด (ตารางที่ 6) เช่นเดียวกับรายงาน จากการทดลอง พบว่า ระบบกรีดครึ่งล�ำต้น กรีดติดต่อของ Raemlee (2011) ที่ศกึ ษาระบบกรดี ยางพันธุ์ RRIT กันสามวนั เวน้ หนึง่ วนั (S/2 d1 3d/4) และระบบกรดี หนึ่ง251 ที่ศูนย์วิจัยยางหนองคายว่า ระบบกรีดคร่ึงล�ำต้น ในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันทุกวัน (S/3 d1) ให้กรีดหน่ึงวันเว้นวัน ให้ผลผลิตต่อครั้งกรีดเฉลี่ย 46.11 ผลผลิตมากท่ีสุดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ โดยให้กรัมต่อต้นต่อคร้ังกรีด รองลงมาคือ ระบบกรีดครึ่งล�ำต้น ผลผลติ เทา่ กับ 503.90 และ 471.53 กิโลกรัมตอ่ ไร่ต่อปีกรีดติดต่อกันสองวันเว้นหน่ึงวัน, ระบบกรีดครึ่งล�ำต้นกรีดติดต่อกันสามวันเว้นหน่ึงวัน, ระบบกรีดหน่ึงในสามตารางที่ 6 ผลผลิตยาง1 (กรมั /ต้น/ครั้งกรดี ) ระหวา่ งปีกรีดที่ 1-5 ของยางพนั ธ์ุ สถาบันวจิ ัยยาง 251 เมือ่ ใชร้ ะบบกรดี ท่ีต่างกันระบบกรดี ปีกรดี ที่ เฉลย่ี ผลผลติ 5 4 ปกี รดี 2 1 23 4S/2 d2 46.92 a 79.25 a 65.73 a 65.61 a 54.75 a 66.01 aS/2 d1 2d/3 46.17 ab 63.67 b 58.45 bc 58.26 b 43.07 b 55.59 bS/2 d1 3d/4 46.56 a 66.30 b 63.08 ab 56.73 b 43.05 b 56.90 bS/3 d1 2d/3 33.33 c 53.89 c 52.89 cd 49.22 c 28.41 c 45.72 cS/3 d1 3d/4 42.44 ab 51.57 c 50.84 d 42.62 c 31.77 bc 43.83 cS/3 d1 40.96 ab 49.20 c 52.83 cd 42.64 c 35.96 bc 44.85 cS/4 d1 38.83 bc 44.54 d 43.38 e 30.52 d 28.25 c 36.29 dCV (%) 9.1 4.5 6.7 7.8 16.3 7.21 ค่าเฉลีย่ ผลผลติ ยางในคอลัมน์เดยี วกนั ทีต่ ามดว้ ยอกั ษรเหมือนกันไม่แตกต่างกนั ในทางสถิติทีร่ ะดบั ความเช่ือมนั่ 95% โดยวธิ ี Duncan's Multiple Range Test (DMRT)2 เฉล่ยี ผลผลิตระหวา่ งปีกรดี ท่ี 2 - 5

21 ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559 การกรีดยางที่สูงตามขึ้นไปด้วย ได้แก่ ระบบกรีดครึ่ง ล�ำตน้ กรีดติดตอ่ กันสองวันเวน้ หนึ่งวัน (S/2 d1 2d/3) มีตามลำ� ดบั รองลงมาคอื ระบบกรดี ครึ่งลำ� ต้น กรดี ตดิ ตอ่ ค่าแรงงานกรีดยางเท่ากับ 7,357 บาทต่อไร่ต่อปี และกันสองวันเวน้ หนงึ่ วัน (S/2 d1 2d/3) ทีใ่ หผ้ ลผลติ 437.20 ระบบกรีดหนึ่งในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันทุกวันกิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ขณะที่ระบบกรีดหนึ่งในสามล�ำต้น (S/3 d1) ที่มคี า่ จา้ งแรงงานกรีดเทา่ กบั 6,884 บาทตอ่ ไร่กรีดติดต่อกันสองวันเว้นหนึ่งวัน (S/3 d1 2d/3) ให้ ตอ่ ปี (ตารางท่ี 8) ส่วนใหญก่ ารจา้ งแรงงานกรีดจะใช้วธิ ีผลผลิตน้อยท่ีสุดเพียง 359.59 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี การแบ่งผลผลิต โดยผู้กรีดจะได้ค่าจ้างร้อยละ 40 ของ(ตารางท่ี 7) สอดคล้องกับงานทดลองของ Raemlee ผลผลิตที่กรีดได้ในแต่ละวัน และคนกรีดต้องออกค่า(2011) ท่ีท�ำการทดลองระบบการกรีดยางพันธุ์ RRIT อุปกรณ์ในการกรีดเอง ซื่งค่าแรงในการกรีดและเก็บ251 ที่ศูนย์วิจัยยางหนองคาย จังหวัดหนองคาย พบว่า ผลผลติ คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.39 ของต้นทนุ การผลติ ท้ังหมดระบบกรีดครึ่งลำ� ตน้ กรีดตดิ ตอ่ กันสามวันเวน้ หนึง่ วัน ให้ (สถาบนั วจิ ัยยาง, 2554)ผลผลิตเท่ากับ 371.36 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี รองลงมาคือ รายได้หลังหักค่าจ้างกรีด รายได้หลังหักค่าจ้างระบบกรีดหนึ่งในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันสามวัน กรดี พบวา่ ระบบกรีดครึง่ ล�ำต้น กรดี ตดิ ต่อกนั สามวันเว้นเว้นหน่ึงวัน ให้ผลผลิต 317.28 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ส่วน หน่ึงวัน (S/2 d1 3d4) มีรายได้หลังหักค่าจ้างกรีดมากระบบกรีดคร่ึงล�ำต้น กรีดหนึ่งวันเว้นหน่ึงวัน ให้ผลผลิต ท่ีสดุ คือ 11,035 บาทตอ่ ไรต่ ่อปี รองลงมาคือ ระบบกรดี269.60 กิโลกรัมตอ่ ไรต่ ่อปี หนึ่งในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันทุกวัน (S/3 d1) มี รายไดห้ ลังหักค่าจ้างกรดี เทา่ กับ 10,327 บาทต่อไร่ตอ่ ปีต้นทุนการกรีดยาง และรายไดห้ ลงั หักคา่ จา้ งกรีด ในขณะท่ี ระบบกรดี หน่ึงในสีข่ องลำ� ตน้ กรีดติดตอ่ กันทกุ ต้นทุนการกรีดยาง จากการทดลองพบว่า ระบบ วัน (S/4 d1) มีรายไดห้ ลังหกั ค่าจ้างกรดี นอ้ ยทสี่ ดุ 7,875กรีดยางแต่ละระบบจะมีต้นทุนการกรีดยางที่แตกต่างกัน ซ่ึงระบบกรีดยางที่ให้ผลผลิตเนื้อยางสูงก็จะมีต้นทุนตารางที่ 7 ผลผลิตยาง1 (กโิ ลกรมั /ไร่/ปี) ระหว่างปกี รีดที่ 1-5 ของยางพนั ธุ์ สถาบันวจิ ัยยาง 251 เม่อื ใชร้ ะบบกรดี ทต่ี ่างกันระบบกรีด ปีกรดี ที่ เฉล่ียผลผลิตS/2 d2S/2 d1 2d/3 12 3 4 5 4 ปีกรีด2S/2 d1 3d/4S/3 d1 2d/3 152 b 505 c 380 c 409 cd 342 ab 392.60 bcS/3 d1 3d/4 186 a 525 bc 460 b 496 ab 342 ab 437.20 abS/3 d1 217 a 620 a 545 a 538 a 397 a 503.90 aS/4 d1 134 b 445 d 416 bc 419 bcd 225 b 359.59 cCV (%) 198 a 483 cd 440 bc 404 cd 293 ab 388.20 bc 215 a 556 b 553 a 485 abc 381 a 471.53 a 204 a 504 c 454 b 347 d 299 ab 381.52 bc 9.1 5.0 8.3 9.5 18.8 8.61 คา่ เฉลย่ี ผลผลติ ยางในคอลมั น์เดียวกนั ที่ตามด้วยอกั ษรเหมือนกันไมแ่ ตกต่างกนั ในทางสถิตทิ ีร่ ะดบั ความเช่อื มนั่ 95% โดยวธิ ี Duncan's Multiple Range Test (DMRT)2 เฉล่ยี ผลผลิตระหวา่ งปีกรีดที่ 2 - 5

22 ฉบบั อิเล็กทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559ตารางท่ี 8 ค่าแรงงานในการกรดี ยาง (บาท/ไร)่ เมอื่ ใชร้ ะบบกรีดท่ีต่างกัน กับยางพนั ธุ์ สถาบนั วจิ ัยยาง 251ระบบกรีด ผลผลติ ยาง รายได้ 1 จ�ำนวน ตน้ ทุน รายได้หลังS/2 d2 (กก./ไร/่ ปี) (บาท/ไร่/ป)ี วนั กรีด การกรีดยาง2 หกั คา่ จ้างกรดีS/2 d1 2d/3 392.60 14,330 (วนั ) (บาท/ไร/่ ปี) (บาท/ไร/่ ปี)S/2 d1 3d/4 437.20 15,958S/3 d1 2d/3 503.90 18,392 95 5,732 8,598S/3 d1 3d/4 359.59 13,125 125 6,383 9,575S/3 d1 388.20 14,169 141 7,357 11,035S/4 d1 471.53 17,211 125 5,250 7,875 381.52 141 5,668 8,502 13,925 168 6,884 10,327 168 5,570 8,3551 คิดราคายางกอ้ นถว้ ยเมอ่ื วันที่ 11 ธนั วาคม 2558 เทา่ กับ 36.50 บาท/กก. (ท่ีมา: สถาบันวจิ ัยยาง, 2557)2 สดั ส่วนการแบง่ ผลผลติ ; เจา้ ของสวน 60%, คนกรดี ยาง 40%บาทต่อไรต่ ่อปี (ตารางท่ี 8) หนึง่ ในสามของลำ� ตน้ กรีดตดิ ตอ่ กันทกุ วัน (S/3 d1) และ จากผลการทดลองสามารถสรุปการเลือกใช้ระบบ ระบบกรีดหน่ึงในสี่ของล�ำต้น กรีดติดต่อกันทุกวัน (S/4การกรีดยางที่เหมาะสมกับพันธุ์ยาง RRIT 251 ในเขต d1) เป็นระบบกรีดที่ลดระยะเวลาของการกรีดต่อต้นให้พื้นที่ภาคใต้ตอนบน และเหมาะสมกับสภาพเกษตรกร ส้ันลง และยังสามารถเพ่ิมจ�ำนวนต้นยางท่ีจะกรีดต่อชาวสวนยางพาราและแรงงานรบั จ้างกรดี ยาง โดยพบว่า แรงงานกรดี ซงึ่ เป็นการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพด้านการจดั การการใช้ระบบกรีดหน่ึงในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันทุก แรงงานกรดี ยางพาราวัน (S/3 d1) และระบบกรีดหน่ึงในสี่ของล�ำต้น กรีดตดิ ต่อกนั ทกุ วนั (S/4 d1) เป็นระบบกรีดทเี่ หมาะสมทส่ี ุด สรปุ ผลการทดลองเพราะท�ำให้มีรายได้สุทธิตลอดช่วงอายุของต้นยางเทา่ กบั 185,886 และ 185,063 บาทตอ่ ไร่ ตามล�ำดบั ซ่ึง ระบบกรีดที่เหมาะสมส�ำหรับพันธุ์ยาง RRIT 251รายได้สุทธิตลอดช่วงอายุของต้นยางสูงกว่าระบบกรีด ในเขตพื้นท่ีภาคใต้ตอนบน ที่มีปริมาณน�้ำฝนเฉล่ียตามค�ำแนะน�ำ (ระบบกรดี ครง่ึ ลำ� ต้น กรีดหนึง่ วนั เวน้ หนึง่ 2,689 มลิ ลเิ มตรตอ่ ปี และจ�ำนวนวนั ฝนตกเฉล่ยี 131 วันวนั ; S/2 d2) คิดเป็น 29 และ 28 เปอร์เซน็ ต์ ตามลำ� ดับ ต่อปี คือ ระบบกรีดหน่ึงในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันและสูงกว่าระบบกรีดท่ีเกษตรกรนิยมปฏิบัติ (ระบบกรีด ทุกวัน (S/3 d1) และระบบกรีดหนึ่งในส่ีของล�ำต้น กรีดหนึ่งในสามของล�ำต้น กรีดติดต่อกันสามวันเว้นหนึ่งวัน, ตดิ ต่อกันทกุ วนั (S/4 d1) เนือ่ งจากเปน็ ระบบกรีดทใี่ ห้ผลS/3 d1 3d/4) คดิ เปน็ 15 และ 14 เปอร์เซน็ ต์ ตามล�ำดับ ตอบแทนสุทธิตลอดช่วงอายุของต้นยางสูงที่สุด และวิธีการลดความยาวของรอยกรีดลง และเพ่ิมจ�ำนวนวัน สอดคล้องกับวิถีชีวิตของเกษตรกรชาวสวนยางพาราในกรีดขึ้นไปทดแทน เป็นระบบกรีดที่เกษตรกรทางภาคใต้ เขตพนื้ ที่ภาคใตต้ อนบนนิยมปฏิบัติ เนื่องจากเชื่อว่ารอยกรีดท่ีสั้นลงจะท�ำให้การกรีดง่ายขึ้น และสามารถกรีดได้ทุกวัน ท�ำให้ การน�ำไปใชป้ ระโยชน์เกษตรกรมีรายได้ทุกวัน (พิศมัย, 2551) ซึ่งระบบกรีด ผลการศึกษาที่ได้จากการวิจัยและพัฒนาระบบ กรีดท่ีเหมาะสมกับยางพันธุ์ RRIT 251 ในเขตพ้ืนท่ีภาค

23 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2559ภาพท่ี 1 สภาพโดยท่วั ไปของแปลงทดลองระบบกรดี กบั ยางพันธ์ุ สถาบนั วิจัยยาง 251 ณ ศูนย์วิจยั และพฒั นาการเกษตรกระบ่ีภาพท่ี 2 เกษตรกร และคณะผเู้ ชย่ี วชาญของกรมวิชาการเกษตร มาเยย่ี มชมและตรวจสอบแปลงทดลอง

24 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 ไชยสุวรรณ. 2554. การวิจัยระบบกรีดสลับ หน้าต่างระดับในพันธุ์ยางสถาบันวิจัยยาง 251.ใต้ตอนบน สามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ใน: รายงานผลการวิจัยเร่ืองเต็มประจ�ำปี 2554.ส�ำหรับเกษตรกรชาวสวนยางพารา ทั้งท่ีท�ำการกรีดยาง สถาบนั วิจยั ยาง กรมวชิ าการเกษตร.เอง และเจ้าของสวนยางท่ีไม่กรีดยางเอง รวมไปถึงผู้รับ พเยาว์ ร่มรนื่ สุขารมย์, ธรี ชาติ วชิ ติ ชลชยั , ณพรัตน์ วชิ ิต-จ้างกรดี ยาง เพ่ือใหเ้ กษตรกรชาวสวนยางทปี่ ลกู ยางพันธ์ุ ชลชัย, บุตรี วงศ์ถาวร, กรรณิการ์ ธีระวัฒนสุขRRIT 251 สามารถตัดสินใจเลือกระบบกรีดยางที่เหมาะ และ สุจินต์ แม้นเหมือน. 2542. ปัจจัยเสี่ยงต่อสม ที่จะท�ำให้ได้รับผลตอบแทนสูงสุด และยังสามารถ การกระตุ้นการเกิดอาการเปลือกแห้งในยางพารา.น�ำข้อมูลท่ีได้ไปใช้ในการพัฒนางานวิจัย โดยการ ใน: รายงานผลการวิจัยยางพาราปี 2546.ทดสอบระบบกรีดกับพันธุ์ยาง RRIT 251 ในแปลง สถาบันวจิ ยั ยาง กรมวิชาการเกษตร.เกษตรกรของเขตพ้ืนที่ภาคใต้ตอนบนซึ่งจะได้ด�ำเนินการ พิศมัย จันทุมา. 2551. การกรีดยางและสรีรวิทยาที่ต่อไป เกี่ยวข้อง ใน: เอกสารประกอบการฝึกอบรมเจ้า หน้าที่กรมวิชาการเกษตร หลักสูตรวิชายาง. ค�ำขอบคุณ สถาบนั วิจยั ยาง กรมวชิ าการเกษตร. หนา้ 173 - 210. ขอขอบพระคุณ คุณพิชิต สพโชค ข้าราชการ พิศมัย จนั ทมุ า. 2556. คู่มอื การปฏิบัตงิ านวจิ ัยเทคโนโลยีบำ� นาญ คณุ ทรงเมท สงั ข์น้อย ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการ การเก็บเกี่ยวผลผลิตยาง. สถาบันวิจัยยาง กรม-เกษตรสงขลา คุณสมชาย ทองเน้ือห้า ศูนย์วิจัยและ วชิ าการเกษตร. 64 หน้า.พัฒนาการเกษตรตรัง และ คุณกฤษณ์ อินสวุ รรณ สำ� นัก ศรินณา ชูธรรมธัช, สมปอง นุกูลรัตน์, สุพร ฆังคมณี,วิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 สุราษฏร์ธานี ที่ได้ สุนันท์ ถีราวุฒิ, ประสพโชค ตันไทย, อาริยาเอือ้ เฟื้อข้อมูล และใหค้ ำ� แนะน�ำด้านการกรีดยาง และขอ จูดคง, ลักษมี สุภัทรา, ไพโรจน์ สุวรรณจินดา,ขอบคุณคณะเจ้าหน้าท่ีกลุ่มวิจัยและพัฒนา ศวพ.กระบ่ี พุฒนา รุ่งระวี และ สาล่ี ชินสถิต. 2550. การท่ีช่วยกันปฏิบัติงานจนส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี สุดท้ายขอ ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตยางพาราขอบคุณสถาบันวิจัยยางที่สนับสนุนงบประมาณส�ำหรับ ของเกษตรกรในพ้ืนท่ีภาคใต้ตอนล่าง. ใน:งานวจิ ยั นี้ รายงานผลการวิจัยและทดสอบประจ�ำปี 2550. ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 กรม- เอกสารอ้างอิง วชิ าการเกษตร. หนา้ 108-148. สถาบันวิจัยยาง. 2553. ข้อมูลทางวิชาการยางพารากรรณิการ์ ธีระวัฒนสุข. 2551. พฤกษศาสตร์และพันธุ์ 2553. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร. 128 ยาง. ใน: เอกสารประกอบการฝึกอบรมเจ้าหน้าท่ี หน้า. กรมวิชาการเกษตร หลกั สตู รวชิ ายาง. สถาบนั วิจยั สถาบันวิจัยยาง. 2554. ต้นทุนการผลิตยางแผ่นดิบของ ยาง กรมวิชาการเกษตร. หน้า 32-60. สวนยางขนาดเล็กเฉล่ียของประเทศไทย ปีโชคชยั เอนกชัย. 2529. ระบบกรีดส�ำหรบั สวนยางขนาด 2553/2554. สถาบันวจิ ัยยาง กรมวชิ าการเกษตร. เล็ก. ว.ยางพารา 7(3): 126-136. 11 หนา้ .พนสั แพชนะ, สเุ มษ พฤกษว์ รุณ, กอ้ งกษติ สวุ รรณวิหค สถาบันวิจัยยาง. 2555. ข้อมูลทางวิชาการยางพารา และ สมคิด ด�ำน้อย. 2552. การยอมรับเทคโนโลยี 2555. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร. 123 การกรีดยางพาราของเกษตรกรในพื้นที่ภาคใต้ 4 หน้า จังหวัด. ใน: รายงานผลการวิจัยและทดสอบ สถาบันวิจัยยาง. 2557. ข้อมูลราคายางพารา. สืบค้น ประจ�ำปี 2552. ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตท่ี 7 กรมวชิ าการเกษตร. หนา้ 323-335.พชิ ิต สพโชค, ชยั ณรงค์ศักด์ิ จนั ทรตั น,์ ทรงเมท สงั ขน์ อ้ ย, วรรณจันทร์ โฆรวิส, สุริยะ คงศิลป์ และ อ�ำนวย

25 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธันวาคม 2559 clone RRIT 251. International Rubber Research Conference, Philippines, 24–28 จาก: http://www.rubberthai.com/rubberthai/ November 2014. [19 ธันวาคม 2557]. Vijayakumar, K.R., Eric Gohet, K.U.Thomas, Weiส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2557. ข้อมูลการผลิต Xiaodi, Sumarmadji Lakshman Rodrigo, Do สินค้าการเกษตร ยางพารา. สืบค้นจาก: http:// Kim Thanh, Pichit Sopchoke, K. Karunai- www.oae.go.th/download/prcai/farmcrop/ chamy, and Mohd Akbar Md.Said. 2009. Re rubber.pdf: [16 ธนั วาคม 2557]. vised International Notation for Latex HarvestRaemlee, S. 2011. Influence of tapping system on Technology. The International Rubber Re- rubber clone ; RRIT 251. International search and Development Board, Kuala Lum- Rubber Research Conference, Chang Mai, pur, Malaysia, 19 p. 15–16 December 2011.Sungnoi, S. P. Sopchok and P. Chantuma. 2014. Effect of tapping system and stimulation on



27 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559การจดั ท�ำ คา่ มาตรฐานส�ำ หรบั การแปลผลการวเิ คราะหด์ นิ และพชื ในยางพาราพันธุ์ RRIM 600ระยะก่อนเปิดกรีดภรภัทร สุชาติกลู 1 และ สมศักด์ิ มณีพงศ์ 21 ศนู ย์วิจัยยางสรุ าษฎรธ์ านี สถาบนั วจิ ัยยาง การยางแห่งประเทศไทย2 สำ�นกั วิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ์ อำ�เภอทา่ ศาลา จงั หวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทยสามารถผลิตยางได้มากท่ีสุดของโลก ประกอบ ท�ำให้พืชต้องพึ่งพาธาตุอาหารชนิดอื่นจากดินและมีผลผลิตเฉล่ียสูงด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตามผลผลิต เพียงอย่างเดียว และเมื่อความเข้มข้นของธาตุอาหารเฉลี่ยยังคงต�่ำกว่าศักยภาพการให้ผลผลิตของพืชชนิดนี้ เหล่าน้ันลดลงจนไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืชอยู่มาก ประเทศไทยมีศักยภาพท่ีจะเพิ่มผลผลิตยางได้ การใช้ปุ๋ยธาตุหลักก็ไม่เกิดประโยชน์อีกต่อไป แนวคิดอีกโดยการจัดการธาตุอาหารท่ีเหมาะสม นุชนารถ และ ปัจจุบันจึงเปล่ียนจากการใส่ปุ๋ย (Fertilization) เป็นการคณะ (2549) ได้ทดลองใช้ปุ๋ยในสวนยางของเกษตรกร จัดการธาตุอาหารโดยองค์รวม (Integrated nutrientในพืน้ ท่จี งั หวดั กระบี่ พังงา ภูเกต็ และ ระนอง เป็นเวลา 3 management) เพ่ือสร้างความย่ังยืนด้านผลผลิต และปี พบว่า การใช้ปุย๋ ตามแบบของเกษตรกรไดผ้ ลผลติ ยาง รักษาคุณภาพดนิ ไม่ใหเ้ สอื่ มถอย (FAO, 2006)แห้งเฉลี่ยปลี ะ 278 กโิ ลกรมั /ไร่ หากใชป้ ุ๋ยสตู รและอัตรา การจัดการธาตุอาหารโดยองค์รวมจ�ำเป็นต้องแนะน�ำของสถาบนั วิจัยยาง (ปยุ๋ สตู ร 30-5-18 อัตราปีละ ทราบสถานะธาตุอาหารในดินและพืช ความสามารถใน1 กิโลกรัม/ต้น) ท�ำให้ผลผลิตเฉลี่ยเพ่ิมขึ้นเป็นปีละ 303 การดูดใช้ธาตุอาหารของพืช รวมทั้งการเคลื่อนย้ายธาตุกิโลกรัม/ไร่ และหากเพิ่มอัตราปุ๋ยสูตรแนะน�ำเป็นปีละ อาหารออกจากพ้ืนทีป่ ลกู (Nutrient removal) เพ่ือนำ� มา1.5 กิโลกรมั /ตน้ ทำ� ให้ผลผลติ เฉล่ยี เพิม่ ขนึ้ เป็นปีละ 336 ใช้ค�ำนวณสมดุลของธาตุอาหาร ค่ามาตรฐานเพื่อการกิโลกรัม/ไร่ ถึงแม้การใช้ปุ๋ยสูตรแนะน�ำจะท�ำให้ผลผลิต ประเมินสถานะธาตุอาหารท้งั ในดนิ และในพชื จงึ มีความสงู ข้ึน แต่การทดลองเดียวกันนแ้ี สดงให้เห็นวา่ การใชป้ ุย๋ ส�ำคัญสูตรแนะน�ำติดต่อกัน 3 ปี ท�ำให้ความเข้มข้นของ กรณีของยางพาราได้มีการจัดท�ำค่ามาตรฐานไว้ฟอสฟอรัส แคลเซียม และแมกนีเซียม ในใบยางลดลง บางสว่ นแลว้ (Thainugul, 1986; Pushparajah, 1977)อย่างมีนัยส�ำคัญ การใช้ปุ๋ยในลักษณะนี้จึงไม่น่าจะส่ง แต่ค่าเหล่าน้ันยังขาดความสมบูรณ์ แปลผลได้เพียงผลดีในระยะยาว (นชุ นารถ และคณะ, 2549) ระดับต�่ำ ปานกลาง และสูง และยังไม่ครอบคลุมไปถึง การจัดการธาตุอาหารมีวัตถุประสงค์เพื่อท�ำให้พืช ความเข้มข้นมาตรฐานของจุลธาตุอาหาร เช่น ทองแดงได้รับธาตุอาหารทุกธาตุในระดับเหมาะสมต่อการให้ สังกะสี เหล็ก และแมงกานีส รวมถึงสมบัติดินทางเคมีผลผลิตสงู สุด ถงึ แมใ้ นทางปฏบิ ตั จิ ะท�ำไดย้ าก เนอ่ื งจาก บางประการด้วย เช่น ค่ากรดที่แลกเปลี่ยนได้ เป็นต้นมีปัจจัยหลายอย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง รวมทั้งปัจจัยด้าน นอกจากน้ี ค่าเหล่าน้ีได้มาจากการศึกษาและก�ำหนดไว้เศรษฐกิจ การใช้ปุ๋ยที่มีเฉพาะธาตุอาหารหลักเป็นองค์- ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2520 และ 2529 และบางธาตุใช้วิธี

28 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559 การดำ� เนินงานวิเคราะห์ที่ไม่แพร่หลายในปัจจุบัน ค่าความเข้มข้นธาตุ การเกบ็ ตวั อย่างอาหารต่าง ๆ ไม่ใช่ค่าคงท่ี ค่าจึงอาจมีการเปลี่ยนแปลง เลือกเก็บตัวอย่างจากแปลงปลูกยางพาราพันธุ์ได้ นอกจากน้ี คา่ มาตรฐานท่มี กี ารจัดทำ� ไวแ้ ล้วน้ันยังได้ RRIM 600 อายุ 4 ปี ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคใต้ฝั่งแสดงค่าความเข้มข้นของธาตุอาหารไว้แตกต่างกันตาม ตะวันออก ในเขตจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี และพันธุ์ยางด้วย แสดงให้เห็นว่าค่าความเข้มข้นของธาตุ นครศรธี รรมราช รวม 43 สวนอาหารทเี่ หมาะสมในยางแต่ละพนั ธุม์ ีความแตกต่างกัน คัดเลือกแปลงย่อยภายในแปลงปลูกห่างจากขอบ การจัดท�ำค่ามาตรฐานได้จากการวิเคราะห์ความ แปลงไมน่ ้อยกว่า 2 แถว และต้นยางภายในแปลงยอ่ ยมีสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของธาตุอาหารในดินหรือ ความสม่�ำเสมอของระดับการเติบโต มีพ้ืนท่ีครอบคลุมพืชกับดัชนีบ่งชี้การเจริญเติบโตหรือผลผลิต การสร้าง ต้นยางทใี่ ช้เป็นตัวอยา่ งประมาณ 100 ต้นความสัมพันธ์ดังกล่าวในกรณีของพืชอายุสั้น สามารถ เก็บตัวอย่างดินด้วยสว่านเจาะดินในช่วงความลึกด�ำเนินการได้โดยการปลูกพืชในกระถางทดสอบหรือใน 0 - 30 เซนติเมตร เก็บตัวอย่างแบบ systematic sam-แปลงทดสอบท่ีให้ธาตุอาหารแตกต่างกัน (de la pling จดุ เก็บเป็นแบบ X - shaped เจาะเกบ็ 9 หลุมต่อPuente and Belda, 1999) แต่ในกรณีของพืชยืนต้น แปลง จากพื้นที่ในบริเวณเดียวกันกับที่ท�ำการวัดขนาดนิยมใช้วิธีส�ำรวจเก็บตัวอย่างจากแปลงปลูกของ ล�ำต้นยาง น�ำตัวอย่างท่ีได้มาผสมรวมกันและสุ่มแยกอกีเกษตรกร (สมุ ิตรา และวเิ ชยี ร, 2546; จ�ำเป็น และคณะ, ครงั้ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ตวั อยา่ งรว่ ม (Composite sample)2549; สมศักด์ิ, 2551) ข้อมูลท่ีได้จากการส�ำรวจในครั้ง เกบ็ ตัวอย่างใบซงึ่ มอี ายุ 3 - 5 เดือน หลังจากผลิใบแรก มักไม่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ทั้งน้ีเน่ืองจาก ใหม่ (ช่วงเดือนมิถุนายน ถึงกรกฎาคม) โดยเก็บในทรงการเจริญเติบโตหรือผลผลิตของพืช ได้รับอิทธิพลจาก พมุ่ ต้นละก่ิง เกบ็ ใบย่อยจากใบที่ 2 - 3 นบั จากโคนฉตั รปัจจัยหลายอย่างนอกจากธาตุอาหาร ดังน้ัน การ ไม่เก็บใบท่เี ป็นโรคเกินรอ้ ยละ 5 ของพนื้ ท่ใี บ เกบ็ ใบยอ่ ยวิเคราะห์ความสัมพันธ์จึงนิยมใช้สมมุติฐานว่า ณ ความ 1 - 3 ใบต่อต้น โดยระมัดระวังไม่ให้ปนเปื้อนดินหรือส่ิงเขม้ ขน้ ใดๆ ของธาตอุ าหารธาตใุ ดธาตหุ นง่ึ แปลงที่เจรญิ สกปรก จ�ำนวนต้นทเี่ กบ็ แปลงละ 12 - 15 ตน้ จ�ำนวนใบเติบโตดีที่สุดหรือให้ผลผลิตสูงสุด ถือว่าได้รับอิทธิพล ย่อยให้ไดร้ วมประมาณ 30 - 40 ใบต่อตวั อยา่ ง ตัวอยา่ งจากธาตุอาหารธาตุน้ันเด่นท่ีสุด ส่วนแปลงท่ีเหลือถือว่า ใบที่ได้น�ำไปอบแห้งในตู้อบท่ีอุณหภูมิ 65 - 75 องศาอิทธิพลของธาตุอาหารถูกบดบังจากปัจจัยอื่น จากน้ัน เซลเซียส หรืออบจนแห้งสนิท น�ำไปบดให้ละเอียดด้วยลากเส้นแนวโน้มเชื่อมโยงความสัมพันธ์เฉพาะข้อมูลที่ เครื่องบดตัวอย่างพืช ผ่านตะแกรงร่อนขนาดช่อง 1ได้รับการคัดเลือกเหล่าน้ัน (Boundary line analysis) มลิ ลิเมตรการลากเส้นอาจลากด้วยมือไปตามแนวโน้มการ การวเิ คราะหต์ ัวอยา่ งดินเปลยี่ นแปลงของจุดขอ้ มลู ทคี่ าดวา่ น่าจะเป็น หรืออาจใช้ น�ำตัวอย่างดินท่ีได้จากแปลงมาผึ่งลมในท่ีร่มจนแบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ต่างๆ เช่น สมการเส้นตรง แหง้ บดและรอ่ นผ่านตะแกรงขนาดชอ่ ง 2 มลิ ลเิ มตร(จ�ำเป็น และคณะ, 2549; จ�ำเป็น และคณะ, 2550; วัดความเปน็ กรด-ด่าง (pH) ใช้อตั ราสว่ นดนิ : น้ำ�สุมิตรา และวิเชียร, 2546; Casanova et al., 1999) เทา่ กับ 1 : 2.5 วดั ดว้ ย pH meter (Jones, 2001) สมการพหุนาม (Schnug et al., 1996) และสมการ วิเคราะห์กรดที่แลกเปล่ียนได้ (Exchangeableสไปลน์ (Shatar and McBratney, 2004) เป็นต้น ส�ำหรับ acidity, EA) โดยสกัดด้วยสารละลาย 1 M KCl แล้วงานวจิ ัยนี้ ผูว้ ิจัยเลอื กใช้สมการพหุนามก�ำลังสอง (Qua- ไทเทรตด้วยสารละลาย 0.05 M NaOH โดยใช้ 1 - 10dratic equation) เปน็ แบบจำ� ลองทางคณิตศาสตร์ Phenolphthalein เป็นอินดิเคเตอร์ (Jones, 2001) วิเคราะหฟ์ อสฟอรัสท่เี ป็นประโยชน์ (Available P)

29 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559โดยสกัดด้วยสารละลาย Bray II แลว้ วเิ คราะหค์ วามเข้ม (Fe), แมงกานสี (Mn), ทองแดง (Cu) และ สงั กะสี (Zn)ข้นในสารละลายทส่ี กัดไดด้ ว้ ยวธิ ี Molybdenum blue ทั้งหมด โดยย่อยด้วยกรดผสมไนตริคและเปอร์คลอริค วิเคราะห์โพแทสเซียม (K), แคลเซียม (Ca), (ขH้นNขOอง3ฟ:อHสCฟlอOร4ัส) ใอนัตสราาสรลว่ ะนล2า:ย1ดแ้วลย้วววิธเิี คVรaาnะaหd์คoวmาoมlเyขb้ม-แมกนีเซียม (Mg) และ โซเดียม (Na) โดยสกัดด้วยสเขา้มรลข้ะนลขาอยงโ1พแMทสNเHซี4ยOมAแcละpโHซเ7ด.ีย0มแในล้วสวาิเรคสรกาัดะหด์ค้วยวาวมิธี date วิเคราะห์ความเข้มข้นของโพแทสเซียมด้วยวิธี Flame photometry วเิ คราะหค์ วามเขม้ ขน้ ของแคลเซยี ม,Flame photometry แคลเซยี ม และแมกนีเซียม ด้วยวธิ ี แมกนเี ซยี ม, เหล็ก, แมงกานีส, ทองแดง และ สังกะสีAtomic absorption spectrophotometry (Jones, ด้วยวิธี Atomic absorption spectrophotometry2001) (Jones, 2001) วิเคราะห์ก�ำมะถันท่ีเป็นประโยชน์ (Available S) วิเคราะห์ความเข้มข้นของก�ำมะถัน ด้วยวิธีวัดโดยสกดั ดว้ ยสารละลาย 0.01 M K(THu2rPbOid4iแtrลy)ว้ ว(เิJคoรnาeะsห,์ ความขุน่ (Turbiditry) (Jones, 2001)ความเข้มข้นด้วยวิธีวัดความขุ่น วิเคราะห์โบรอนทั้งหมดในพืช (B) โดยเผาด้วย2001) แCลa้วCวOิเค3 รทาิ้งะไหว้ใ์คหว้เายม็นเแข้มลข้วล้นะดล้วายยวดิธี้วAยzHomCel tเhขi้มneข-้นH 1:1 วิเคราะห์เหล็ก (Fe), แมงกานีส (Mn), สังกะสี (Soil(Zn) และ ทองแดง (Cu) โดยสกดั ด้วยสารละลาย DTPA and Plant Analysis Council, 1998)แล้ววิเคราะห์ความเข้มข้นด้วยวิธี Atomic absorptionspectrophotometry (AAS) (Jones, 2001) วิเคราะห์โบรอน (B) โดยการสกัดด้วยสารละลาย การประมวลผลข้อมลู0m.e0t1hiMne-CHa(CJlo2nแeลs,้ว2ว0ิเค0ร1า)ะห์ความเข้มข้นด้วยวิธี Azo- สร้างกราฟการกระจายระหว่างดัชนีช้ีวัดการเจริญ ความจุแลกเปล่ียนแคตไอออน (Cation ex- เติบโต (Growth index) กับสมบตั ทิ างเคมขี องดนิ ความchange capacity, CEC) คำ� นวณจากผลรวมของกรดที่ เข้มข้นของธาตุอาหารในดิน หรือความเข้มข้นของธาตุแลกเปลี่ยนได้, โพแทสเซียม, แคลเซียม, แมกนีเซียม, อาหารในใบ แล้วสร้างเส้นโค้งความสัมพันธ์โดยใช้และ โซเดยี ม (Jones, 2001) สมการพหนุ ามก�ำลงั สอง (Y = aX2+ bX + c) ทีค่ ่า x ใดๆ ความอ่ิมตัวด้วยเบส (Base saturation,BS) เลือกตัดข้อมูลท่ีมีค่า y ต่�ำ และต่างจากกลุ่มมาก (Out-ค�ำนวณจากผลรวมของปริมาณเบสิกแคตไอออนที่แลก liner) บางค่าออกไป เพื่อให้เห็นอิทธิพลของธาตุอาหารเปล่ียนได้ท้ังหมด (Exchangeable basic cation) หาร เด่นชัดขึ้น แล้วค�ำนวณค่าสมบัติของดิน หรือความเข้มด้วยความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) (Jones, ข้นของธาตุอาหาร ที่ท�ำให้ได้ค่าความยาวเส้นรอบวง2001) ล�ำต้นสูงสุด จากสมการอนุพันธ์เม่ือค่าของอนุพันธ์เป็น ศนู ย์ (0 = 2aX + b) เลอื กช่วงสมบตั ทิ างเคมขี องดนิ หรือการวิเคราะห์ตัวอย่างใบ ความเข้มข้นของธาตุอาหารท่ีท�ำให้ได้ค่าความยาวเส้น อบตวั อยา่ งใบท่บี ดแลว้ อกี ครั้งทอี่ ณุ หภูมิ 65 – 70 รอบวงล�ำต้นอยู่ในระดับสูงตามการจ�ำแนกโดยสายใจองศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชวั่ โมง แล้วทิ้งไว้ให้เยน็ ในโถ และคณะ (2550) เป็นค่าเหมาะสม และจัดช้ันระดับอื่นแก้วดดู ความชน้ื กอ่ นนำ� มาช่งั เพอ่ื ทำ� การวิเคราะห์ อีก 4 ระดับ คอื ต�ำ่ มาก, ต่ำ� , สงู , และสงู มาก ในกรณที ่ี วิเคราะห์ไนโตรเจนทั้งหมดในพืช (N) ด้วยวิธีของ ความสัมพนั ธด์ ังกลา่ วไม่เด่นชัด แม้จะตัดขอ้ มูลตา่ งกล่มุKjeldahl (Jones, 2001) ออกแล้ว จะใช้วิธีหาช่วงค่าเหมาะสมจากความสัมพันธ์ วิเคราะห์ฟอสฟอรัส (P), โพแทสเซียม (K), ระหว่างความเข้มข้นในดินกับในใบ หรือความสัมพันธ์แคลเซียม (Ca), แมกนีเซยี ม (Mg), ก�ำมะถัน (S), เหลก็ ระหว่างปจั จยั น้นั กับปัจจัยอื่นแทน

30 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559 ผลการทดลองและวิจารณ์ สมท่ีท�ำให้ได้ค่าความยาวเส้นรอบวงล�ำต้นเฉลี่ยสูง เทา่ กับ 25 – 75% และค่า pH ท่ีเหมาะสมเทา่ กบั 4.5 –ความเป็นกรด-ดา่ ง (pH) และค่าความอิ่มตัวด้วยเบส 5.0 (ภาพท่ี 1, ตารางที่ 1) ซง่ึ อยู่ในช่วงทน่ี ุชนารถ (2542)(Base saturation, BS) รายงานไว้ คอื ที่ pH 4.0 - 5.5 ผลการวิเคราะห์ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง pHกบั ความยาวเสน้ รอบวงลำ� ต้น ซง่ึ น่าจะเกิดจาก pH ไม่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของต้นยางอย่างมีนัยส�ำคัญ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (Cation Exchange หรืออาจถูกบดบังด้วยปัจจัยอ่ืนท่ีเด่นกว่า อย่างไรก็ตาม Capacity, CEC) พบว่า pH มีความสัมพนั ธ์กบั ความอม่ิ ตัวด้วยเบส ดังนัน้ สำ� หรบั ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน ไมส่ ามารถpHpHจทึงท่ีเหหี่เาหมคมา่าะชาสะ่วงสมทมpHทางาอทงอี่เ้ หมอ้มจมาาะจกสาคกมวคทาาวมงาอสม้อมัสมพัมจนพัากธนั ค์รธวะ์ราหะมวหสา่ัมวงพา่ งBันธSB์ Sกบักจคบั ดวคชาวั้นมารยมะายดวาัเบสวไเ้นสดร้นอเรนบอ่ือวบงงวจลงาลกตาคน้ ต่าน้คทวี่คไาดวม้าจยมาายกวาเกสวาเ้นสรรศ้นอึกรบษอวาบงไวมลงา่ ลาตนต้ น้มระมีแหนีแวนว่าโวงนคโ่านม้ คลม้ วดลามลดองลเ่ิมงมตเื่อมัวค่ือด่าค้วย่าBเบSBสSสูงกสขับูง้ึนคขว้ึนแาสมแยดสางดวใงเหสใ้นเ้หหรเ้ ็อนหบว็นวา่ วงยา่ ายงาพงคาพรรอาาบรเปคา็เลนปมุ ็พนชชืพว่ ทงืชค่ีชทวอาี่ชบมอเดบขินม้ ดขกิน้นรกทดรเ่ี หดพมบพาวะบสา่ วคมา่าคBา่ SBทSี่เทห่ีเมหามะาสะมสมท(รท(่ีูปร่ีทาูลพคปทใาำ�วืชที่หใต1าท่ีหม,ไ้น้1่ีชตดอ,ไ้อค่ิมาคตด้บวรต่าาคด้าาครัวิน่ามงดาวคกทยง้วาวราที่ยมด1าวเี่ย)มเบ1สพาอย)สน้วบายอสรเววใสู่อูงย่าเนขบ้นใสู่ ้ึนนชคว้นรง่า่วชอแรลคง่วบสอำ�วรงดตวบาะรน้งมงดวะใลมองหบัดีแิ่มาล้เทบตัหนตาี่นนท้็นวัวตโดวุเช่ีนน้นฉ่้าวนุเ้มชยยลฉลานเา่ียลบรดงสาี่ยถสพลรูงสทางถ(เ่ีเรูเง2มหทา(5เอื่ม2เา่ท4ปค5กา2า่็น4ะ่าบั)ก2รบั)า2รย5 กา2งรย5า–ดงนทา–7ไนีแ่ก5ว7ไล%าว้5รวกา่%ววเ้ยแดัปา่ ลกยแลงะราชลี่ยดคงนะอทช่าคบไีแ่อดpา่ลคบ้Hกือ(pคEเHปทือpxลcHี่เทหphยี่ Haี่เ4นมหn.ไา04gมดะe.้-า0สเaะป5bม-ส.น็l5เeมทก.5าaเา่ ทรcกวiา่dบัดั กitผyบั ล4, .รE54วAม.–5)ขอ5–ง.05.0MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm))5050 6.60.0 y =y 0=.000.08018x1+x 4+.347.307101 4040 5.5.5 R2R=2 0=.505.505303 3030 Soil pH 5.50.0 Soil pH4.45.5 2020 1010 y =y -=0-.00.040x42x+2 0+.400.45025x2+x 2+22.723.7535 R2R=2 0=.208.208202 00 2020 4040 6060 8080 101000 121020 4.40.0 2020 4040 6060 8080 101000121020 00 BaBsaesesastautruartaiotnion(%(%) ) 00 BaBsaesesastuartautriaotnio(n%(%) ) ภาพที่ 1 ความสมั พันธร์ ะหว่างความอ่มิ ตัวด้วยเบส (Base saturation) (ซ้าย) ) กับความยาวเสน้ รอบวงลำ� ตน้ เฉลย่ี (Mean girth) ท่ีความสูง 150 ซม.รูปรูปทจท่ีา1ก่ี พ1้ืนคดินวคาหวมลางัสมจาสัมกพัมตดั พนัขอ้นธั ม์รธลู ะต์ร่าหะงกหวลา่ วุ่มงบา่ างBงสSBว่ นSกไบปัก(คบัซ้าวคยาว)มแาลยมะายควาวเวาสมเ้นสอิ่มร้นตอวัรดบอว้ วยบเงบวลสงากลตบั าคน้ ตวเาน้ฉมเเลปฉน็่ียลกขี่ยรอดข-งดอตา่ งงน้ขตอยนง้ ดายินงา(หSงoลหil งัpลHจงั)า(จกขาวตากด)ั ตขดั อ้ ขมอ้ ูลมตลู ่าตงก่างลกุ่มลุ่ม 44บ55บางาสง่สวน่วนออกอไกปไป(ซ(า้ซยา้ )ยแ)ลแะละBSBSกบักบัpHpH(ข(วขาว)า) 4455 4400 4400MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm)) MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm)) 23)235ค)5วคาวมามจุใจนุในกากราแรลแกลเกปเลปย่ีลนยี่ แนคแตคไตอไออออนอน(C(ECCE)Cส) าสหารหับ3ร3ค5ับ5่าคC่า ECCECไมไส่ มา่สมาามราถรจถดั จชดั ้นั ชร้นั ะรดะบั ดไบั ดไ้ เดน้ ่ืเอนงื่อจงาจกากคา่คท่าท่ีไดี่ไจด้ 33าจ้0ก0ากากราศรึกศษึกษาไามไ่คมร่คอรบอคบลคุมลชุม่วชง่วคงวคาวมาเมขเม้ขขม้ น้ขทน้ ี่เทห่ีเมหามะาสะมส330ม0แลแกลเกปเป3ล221)ี่ย3ล122055กน)505่ียรกนไดรดไทด้ดซทแ่ี ้ ่ึซงลแี่ เ่ึกงลปyเเ็กyปนป=เ็=นกลป-7-รย่ีกล7.ดน6รยี่.67ทดนไ75ด่ีสท53ไR้3xดา่ีสR2x2กค้2า2=+าญกั=ค+ร06าญ0ั.6ว91(ร.9จ1ด.0ัว6.(0า060จดัก0เ205ปา2ร5xกเ็ นปxดร-็ท-นด1อ12่ีแทอ่ อ26ลี่แน6.่อ4ก.ล4ทน7เ7กปอทเลงปอ่ีย,ลงน2ี่ย,ไ5น25ดไ51้ 5ด)(1้Eพ)212(AE212บพ505)550Aวบา่)เวปกา่็เนาปกร็กนาตรากอyรตyาบว=อร=ดสั-บว0-ผนด0สั.0ล.อผ0น1รง1ล7อวข72รมRง2xอวRข2xข2งม22=อ+อยข=+ง0งา0อ0ย.0ง.27.งา.ม2174งH1ีค847ม8175ว+Hี1ค5xาแxว+ม+ลาแ+สะ2มล24มั ส4ะ.พ9.ัม93Aนั 3พ7l7ธA3นั +์กlธ3บัท+์กี่ บัท่ีคา่คก่ารกดรทดท่ีแล่ีแ44กล.0.เก0ปเปล่ียลน่ียนไ44ด.ไ5.ม้ด5าม้ กากวกp5า่ วp5กH.า่0H.บั0กคบั ่าค่าpH5p5.H5.(5ร(ูปรูทปี่ท62่ี6.)20.0)ดงัดนงั ้นั ผ้นั ลผกลรกะร0ทEะ0Eบทxxขcบchอขhaงอaคnง1ngว1ค0geา0วeมaาabเมปble็เlนปeaก็ นa2cร2กc0iดd0iรdตiดtiy่อtตyก(อ่ mา(กmร3mาเ3ตm0รo0ิบเoตl(โlิบ+(ต+)โข/)ตk/อkgข4งg4)0อย)0งายงางจึงจอึงภาอาจาพเจทปเ่ี็2ปน็ นผควลผามกลสรกัมะรพทันะธทบร์ ะบจหาวจกา่ างคกคววคาามวมเาปเม็นขกเม้ขรดขม้-ดน้ข่างขน้ (อpขHงอ)ง(ซA้ายlA3)+แl3ลท+ะี่มทกรีอ่มดยทีอ่แีใู่ ยลนกใู่ สเนปาลสีย่รานลรไะดล้ล(ะEาxลยcาhดaยินnดgกeินa็เกbปl็eเนปa็ไcนiดdไi้tดy)้ (ขวา)พกบับพควบวา่าวมชยา่ วาชงว่วเคสงน้่าครอ่าบEวงAลE�ำAทตน้ ี่ ที่เE1รห)รเEA1ูปหมูป)Aทเมมาฉทะี่ลมีาค2่ียี่สะ2่าีค(สมไMค่าเคมฉมทไเeวฉaวค่มลทาี่nลามรค่ี่ยี่ทาgม่ียอสทiรใrาสทtบหอhัม่ีคใ)ัมี่คบหคไ้วพทวพดลค่ีคาไ้นัาวมคุน้มดัลามธสวมคถุ้มธส์รสาูึงงว์รถงูะูมงราะึง11หยมะ15หร50าวด5ยะ0ววาซ่0บาัดา่มเงเวสซงทบเ.ั ซเจ้นสนี่สทpานpก้รนHตูงี่สพHตอมิเรูื้นงมิเ(บอดามมซ(ตนิกซวบตาา้รงกา้วยจรลยงึง)จา)ลจแึงตแดาัลจน้ตลไดะั เนดะ้ ฉกไกเ้เดรลฉฉรดเ้่ียพลฉดทสี่ยาพทู่ีแงะสี่าแชลูองะล้กนัยชอกเใู่ร้นัปยเนะปใู่รลดชนละี่ยบั่ว่ียดชนงสนบั่วไูงไงสด1เดปูง0้ 1้(็เนปข(0–ข็วน–ว3>า0า)3>)3ก0m0กบั3mบั0mคคomวmlวา(oomาม+llม()(ยo+/+ยาkl)()าวg/+/วkkเส)เgคg/สk้น่า(้คนgครร่าูรวป(อครอาบทูวปมบว่ีาทเว3ขมง่ีง,ลม้เ3ขลตาข,มา้าตน้ตรขตน้ขานน้้ รงอขทางงอ่ี ทงี่

31 ฉบบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559 H+ และ Al3+ ที่แลกเปลี่ยนได้ ซึ่งเป็นกรดท่ีส�ำคัญ พบ อนิ ทรยี วตั ถุ (Organic matter, OM) ว่าการตอบสนองของต้นยางมีความสัม4พ5ันธ์กับค่ากรดท่ี ผลการประเมินพบว่า ช่วงค่าปริมาณของอินทรีย- แลกเปล่ยี นไดม้ ากกว่ากับคา่ pH (ภาพ4ท0่ี 2) ดังนั้น ผล- วัตถุที่เหมาะสมที่ท�ำให้ได้ความยาวเส้นรอบวงล�ำต้น กระทบของความเป็นกรดต่อการเ5ต0ิบ5โต03ข5องยาง จึงอาจ เฉล่ียสงู อย่ใู นช่วง 1.0 – 2.6 % ปริมาณของอนิ ทรียวัตถุMean girth (cm) y = -7.6เสไ7ปดา5้ท็รน3Rล่ีxเผห22ะล=มล+กา0า6.ะรย91ะส.ด06ทม0ิน02ท5บกxี่ท็เจป-�ำา็น1ใกห2ไค6ด้ไ.วด้4า7้คพมวบาเขวม่า้มยาขชว้่วน34เงสข00ค้นอ43่ารง00ก223อ500รบAดวlท3ง+่ีแลลท�ำกตี่มเ้นีปอyเยลฉ=ูี่ยล่ใ-นนี่0ย.017รปม2Rะxีคร22ดิม่า=+ับไา0ม0สณ..ูง่2ค7เอ14รป8ิ7นอ็น15บทxคร>+ียล22ุวม4ั.ตถ6.9ถึง3ร%ุท7ะี่เดห(ัภบมาทาพ่ีสะทูงสม่ี ม4าม,กีคตจ่าาึงรใจากัดงลทไ้เดี่ค1้เียฉ)งพชกา่วับะงคชค้ัน่่าาMean girthM(ecanm)girth (cm)0 4.5 สขมอูงากงอกp5ยจรH.ูใ่0ดึงนจทชัดี่แ่วไลงดก้เ1ฉเ50ปพ.5ล–า่ียะ3ชน0ั้นไดมระ้มลิ6ดีคล.0ับิโ่ามสไมลูงเ(่คป+21ร็น)อ000/กบ>21กค0001.3ล5ค0ุม่า0ถมคEึงิลวxราละcมิโyดhมเัaบข=ลม้nyท-(1g+5ขี่ส=0.eน้)0ูง-/a35b1.0R4l3e2xคป1=2Raอืร4+22ิมc0x10.=2iา14d.8+ณ00i.t4.51–yอ44280ิน2.x(45m.ท542+ร3xm%ีย10+7วo.ัต(l14ต(ถ72+า.ุท)4ร/่ีสา2kงถg4ทา)0่ีบ3ัน) วิจัยยาง (2551) แนะน�ำไว้มสมั พนั ธ์ระหกวกา่. ง(ภาpพHท(่ี 3ซ,า้ ตยา)รแาลงทะี่ก1ร)ดที่แลกเป0ล.ี่ย0น0.ไ0ด0้ .(5ข0Oว.5าr1g)O.aก0rn1gบั i.acค0nว1miาc. ไ5มaน1mยtโ.t5าตeaว2รrtใtเ.เส(eน0จ%2r้นกน.()ร0า%(อร2Nศ)บ.i5ึกtว2roษง.g5ลาe3คาn.รต0,ั้ง3น้Nน.0)ี้ได้ท�ำการวิเคราะห์หาเฉพาะยท่ีความสูง 150 เซนติเมตร ไนโตรเจนในใบ ผลการประเมินพบว่าช่วงความเข้มข้นรูปรทูปี่ 4ทค่ี 4วคามวสามัมสพัมนั พธนั์ระธห์ระวหา่ งวอา่ ินงอทินรีทยวรีตยั วถตุักถบั ุกคบัวคามวยามาวยเาสว้นเสร้นอรบอวบงลวางตลน้าตเฉน้ ลเฉี่ยลที่ยคทว่ีคามวสามูงส1ูง5015เซ0นเซตนิเมตติเมรตร หล5ห0งั จลางั กจตากดั ตขดัอ้ ขมอู้ลมตูลา่ งตก่าลงกุ่มลบุ่มางบสา่งวสน่วอนออกอไกปไ(ปขว(ขา)วา) 50 40 40 Mean girth (cm) Mean girth (cm) 5) ไ53น)0ไโตนรโตเจรนเจน(N)(Nใ)นใกนารกศาึกรศษึกาคษรา้ังคนร้ังีไนด้ีไท้ ดาทก้ ารกวาเิรควรเิ คาะรหา3ะ์ห0หา์หเฉาพเฉาพะาNะ ใNนในบใผบลผกลารกปารปะเรมะินเมพินบพวบา่ ชว่วาชง่วง คเขวม้ าคเขมวม้นเาขขมขม้น้เอขขง12ม้นอ000Nขขงน้อใNขงนอใNงนบใมทyNบีคี่เ=หมทา่ -ไ0มีค่ีเ.หม0าา่ 2ะไค่ม6มสราxRะอค่ม22สบร+ท=อม0ค่ีท0.บท.ล95า9คุ่ีม1ใท84หลรา58ุมใxะไ้ หดดร+ะไบค้ั2ดด4า่ท.คบ้ั6่ีส5วา่ทูง8คา่ีสมมวูงายากมมาวายจกเาึงสวจ้นเดัึงสรจไ้นอดั รบไเ้ ฉอ12วด000บพงเ้ ฉลวาพะางตลชาน้้ะานั ตชเรฉน้้นัะลเดรyฉ่ียะบั=ลสดสี่-ยูง5บั ูสงเ.ท0สเูงท3าู่งเ1ทก่าRเ4ทก2บxัา่ บ=2กา่ั ก+0บั 3.บั1>4.800.3435>4.2.–80x3+%.3–81.87%3ส.4.%8่ว2สน%่วคคนวา่ คคาNมวา่ าNม ในใดนินดไินมไ่สมาม่สา0รมถาหรถาหาร1หือ0ปรือรปะเรมะิน2เม0จินากจคาก่าคO3่า0MOMในใดนิน4ด0ไินดไ้ เดน้่ือเนงื่จอางกจา0กN.0ใNนใ0น.บ5ใไบมไ่ม1ม.ีค0่มวีคามว1สา.5มมั สพมั 2นั พ.0ธนั์กธบั 2์ก.บั5OMO3Mใ.0นใดนินดิน (รูป(รทูปภี่ าท5พ,ท่ี ่ี 5ต3,าครตวาาางEมรทสาxัมง่ีcพท2hัน)a่ีธ์รnช2ะg)่วหeวชง่าaค่วงbกวงlรeคาดมทวaี่แเาcขลมiกมd้ เเขiปtลyม้น่ียข(นทmไน้ ดี่เหm้ท(Eมo่ีเxหlาc(ะ+hมaส)าn/ะkgมeสgใa)นมbleในบใยบภางายพจาทางี่ ก4จกาคกวาารกมศสาัมึรกพศษันึกธา์รษคะหรOาว้คังr่านgรงอ้aังีมินnนทีชiร้cีม่วียวีชmงัตก่วถaุงวt(tOกา้eงrวgrกaา้(n%งวicกา่ )แmวลาa่ tแะteลสr)ะูงกสับกคูงววกา่ามควา่ ค่ามสมั พนั ขธอ์รขงะอหP1aง5cวu0idา่sPซiงhtuมyคp).sa่าจhกกาrับpaกรคaพวด(rื้นาอaทดมา้ิน(ย่ีแงอาหลถวาล้ เกึงังสจเ้ในถปารนกึงอลตใบี่ยัดPนวขนuงอ้ลsPไม�ำhรูลดตupตูป้นs้ า่a(เhทEฉงrpกลaA่ี ลaี่4ยjมุ่ar)(คบahMกjา,วaeงบั nาสahคมว่n.,dนวสngอ.า)i.อมัrdมtกซhพ.ไย))่ปึงานทั ซกว่ีคธ่ึาเงวส์ราหกมะ้นานสหหรูงดอวนไาบ่ ดวงวหยอทไ้ งาลินววังี่ลเ3จทส้ทาา.้นต3กี่รร3ตนีอ้ย–ดั.บ3วเขวฉ3้อตัง–.มลลถ7ูลำ�่ี3ย%ุกตต.ทน้า่7บั งเี่ค%ฉกคลวลวีย่มุ่าาบม(Mมาสงeยสูaงาว่nนว1gอ5เiสอr0tกh้นไ)ปรท(ี่คอขววบาามว)สงงู ล1า5ต0 นซ้ มเ.ฉจลากี่ยพท้นื ี่คดินวามสูง 150 เซนติเมตร หลงั จากตดั ขอ้ มลู ต่างกลุ่มบางส่วนออกไหปลงั จากตดั ขอ้ มูลตา่ งกลุ่มบางส่วนออกไป (ขวา) 50 50 4.04.0นทรียวตั ถุ (OM40) 4ผ0ลการประเมินพบวา่ ช่วงค่า5O) Mไนทโตี่เหรมเจานะส(มNท)่ีทใานใหกาไ้ รด3ศค้.ึก5ว3ษา.ม5าคยารว้ังเนส้ีไ้นดรท้ อาบกวางรลวาเิ คราะห์หาเฉพาะ N ในใบ ผลการปรN in leaves (%)อยใู่ นช่วง 1(ร.0ูป32–ท00ี่ 2423.,600ต%าราปงรทิมี่ 1า)ณชข่วองงค่าOOMคเขMวม้มาขมีคทน้า่เ่ีเขหไขม้มมอข่คางนะ้รNสอขบมอใคมงนลีคใNุมา่บใถมทกึงีคลี่เรหา่เ้ะคไมดียมาบังะ่คกทสรบั่ีสอมคูงบท3มา่ ค.่ีท0าOล3ากุMมใ.0จหรึงะทไ้ จดด่ีสดั บค้ั ถไ่าทดาคบี่สเ้ ฉวนัูงาพมวมาจิายะกยัาชยวจ้นัาเึงสงจ้นดั รไอดบเ้ ฉวพงลาะาตชน้้นั เรฉะลดี่ยบั สสูงูงเทเท่ากา่ กบั บัMean girth (cm)N in leaves (%) 3.0น > 2.6 % Mean girth (cm) > 3.นาไวค้ ือ 1.0 –120.510% (ตารางyท=ี่ y-34)=.5-746.52R7x262ใ2=R+นx2023ด.=2+4ิน.50732ไ.3248ม3.57x่ส238-3าx2ม5-า.2ร35ถ5.2ห3า5หรือประเมิน2จ.5า2ก.ค5า่ OM ในดินได้ เนื่องจาก N ในใบไมม่ ีความสัมพนั ธ 0 0 (รูปที่ 5, ตารางท่ี 2) ช่วงความเข2.ม้ 02ข.น้0ท่ีเหมาะสมในใบยางจากการศึกษาคร้ังน้ีมีช่วงกวา้ งกว 2.02.0 2.52.5 lien3aข.lv0eอe3asง.v0eP(%sus()h%3p.)a53ra.5(อา้ ง4ถ.ึง0ใ4น.0Pushparaja0h.,00n..0d.)0ซ.่5Oึง0กr.g5Oาaหrng1นia.cด0n1ไmi.cว0aท้mtt่ี1ea3.rt.53t1(e%.–r5(3)%.27.)%02.0 2.52.5 N inN ภาพที่ 5 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งไนโตรเจนในใบ (N in leaves) กบั ความยาวเส้นรอบวงลำ� ต้นเฉลย่ี ทีค่ วามสูง 150 ซม จากพ้ืนดนิ . (ซา้ ย) หลงั จากตัดรูปรทูป่ีข5ทอ้ มี่คลู5ตว่าคางมกวลสาุม่ มบัมาสพงสมั นัว่ พนธอนั์รอกะธไหป์ระแวลหา่ ะงวควไา่ างนมสไโัมนตพ5โรัน0ธเตจ์รระนหเจวา่(นงNไน)(โNตกร)เบัจกนคใบันวใคาบมวกบัยาอมาินวยทเารสียวว้นเตั สถร้ใุนอนรบดนิอว(บงขวลวาาง) ตลน้าตเฉน้ ลเฉ่ียลข่ียอขงตองน้ ต4ย.น้า0งยทาง่ีคทวี่คามวสามูงสูง150150 ซมซ. ม(ซ. า้(ยซ)า้ ยห)ลหงั จลางั กจตากดั ตขดัอ้ ขมอ4ู้ล0มตลูา่ งตกา่ ลงกุ่มลบุ่มาบงสา่งวสน่วอนออกอไกปไแปลแะลคะวคามวสามมั สพัมนั พธนั์รธะห์ระวหา่ 3งว.ไา่5นงไโนตโรตเจรนเจในในบใบ (cm) es (%)

ใบ ผลการคานวณสามารถเลือกชวงความเขม้ ขน้ ที่เหมาะสมในดินเทากบ 10 – 20 mg/kg และในใบเทากบณสามา0ร.2ถ50เล.–2ือ5ก0.ช–3่ว0ง.%ค30ว(า%รมูปเข(ทรม้ ูี่ป6ขท,น้ ต่ีท6า่ีเ,รหตามงาาทระา่ี ส1งทมแี่ใล1นะแด2ลิน)ะเทช2่าว)กงชบัค่ว1งา0คมวเ–ขาม้ 2ขเ0ขน้ ม้mทขgี่เน้ห/kทมgี่เาแหะลมสะามใะนใสนใมบดใเินทนตา่ ด่กาินกบั ตวา่ คกา่วทา่ ค่ี Pา่ uทs่ีhPpuasrhapjaahra(j1a9h7(71)977)รูปที่ 6,เตคายรเจคาดั งยทจาี่ดั1ไทวแา้ลใไะนวข2้ ใ)ณนชะข่วทณง่ีคคะ่าวทใา่ีคนมา่ ใเใขบนม้ ใใขกบน้ลใทเ้ คกี่เีหยลงเ้มคกาียนัะงสก(มตนั ใารน(ตาดงาินทรตา่ี 3ง่ากทแวี่ล3า่ ะคแา่4ลท)ะี่ P4u)shparajah (1977)ขณะที่คา่ ในใบ3ใ2กลเ้ คียงกนั (ตารางทฉ่ีบ3ับอแเิ ลลก็ ทะรอ4นกิ)ส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 50 50 50 50 40 40 50 40 40 Mean girth (cm) Mean girth (cm) Mean girth (cm) Mean girth (cm) Mean girth (cm) 30 30 40 30 30 20 20 30 20 20 10 10 y = -y0.=02-09.40x229+4x02.8+606.28x066+22x8+.17278.177 10 10 y= -6y9=6.-1619x62.1+13x628+.3356x8.-3154x.2-2144.224 14.224 R2 = 0R.24=5106.4516y = -0.0294x2 + 0.8662x + 28.177 R2 =R02.1=80.11801 y = -696.11x2 + 368.35x - R2 = 10 0.018010 R2 =00.45016 0 0 5 5 10 10 15 15 20 2025 2530 30 0.100.10 0.150.15 0.200.20 0.250.25 0.300.305 10 15 20 A2v5aiAlavba3liel0aPbleinPsoinils(moi0lg.(/1mk0gg)/kg) 0.15 0.20 0.25 0.P30in Pleainvelesa(v%es) (%)Available P inภาsพoทi่ีl6(.1mคgว/าkมgส)ัมพันธร์ ะหวา่ งฟอสฟอรัสที่เปน็ ประโยชนใ์ นดนิ (AvPailainblelePaivnessoil()%(ซา้)ย) และฟอสฟอรัสในใบ (P in leaves) (ขวา) กบั ความยาวเสน้ รอบวงล�ำต้นเฉล่ยี ท่ีความสงู 150 ซม. จากพนื้ ดนิ หลงั จากตดั ข้อมลู ต่างกลุ่มบางสว่ นออกไป 0.350.35 0.35 0.300.30 เดน่ ชดั ขณะทค่ี วามสัมพันธก์ บั ความเขม้ ขน้ ในใบเดน่ ชดั 0.30 กว่า และให้ค่าสงู สดุ ที่ 0.26 % แสดงใหเ้ หน็ วา่ ฟอสฟอรสั P in leaves (%) 0.25 P in leaves (%)0.250.25 ในดินถูกบดบังจากปัจจัยอ่ืนมากกว่าในใบ ผลการ P in leaves (%) 0.20 0.200.20 ค�ำนวณสามารถเลือกช่วงความเข้มข้นที่เหมาะสมในดิน 0.15 0.y19=12-y0.=00-01.0x0R2เ%0ท2+1า่=(x0กภR02.0บัา2.+10พ=9410ท070.0่ี.x160–9+.41270,0x.61+ม.921ก0,2..ต1/ก9าก1ร.2างแทลี่ ะ1ใแนลใบะเท2)า่ กชับ่วงค0.ว2า5ม–เข0ม้ .ข3้น0 0.10 y = -0.0001x02.+1500.0.10547x + ที่เหมาะสมในดนิ ใกล้เคียงกับค่าของ Pushparajah (อา้ ง 0 R2 = 0.19 0.100.10 5 10 P 15 oil 200 g0/kg25A)5va5iAlav13ba00liela1Pb0li1enถย5Psึางใoงi1nนi5(l2s2(P5mo0u5igls12(h/)km0pแg2ag)น5r/ะakนgj2aำ�)5hไ3,ว0้nแ.dล3.ะ0)ตแ่ำ� ตกว่ตา่ �่ำคกา่ วท่าีเ่คห่ามทา่ีสะถสามบสัน�ำหวิจรับัย Available in s (mลพรัส่ียนั ขใธนอ์รงใะรตบหูปน้กวทรยบัา่ ูา่ีปงใ6ขขรฟภงนทอฟออาอทคพบสดง่ีงอลฟ่ีค6ฟทไววไินสาน่ีวออนงา6รตคฟาลโม.สโัส(ลฟ2ตมนลต�ำ้วใอสฟานรอตคส่าราเรตเใวฉมังน้เอจสบูงัสาจน้)เนลพมรสฟฉนใสเใ1ัสี่ยนนลฉมัทอัมน5ขใ่ยีพี่ดธลพเใร0นหอสันบิั์สนร่ียนัธซงูมงใมะข์รใตธบามะีค(เหนอทหซะน์ร้.่ากววงใา่สะไา้ห่ยาบัตกาบ่มยมงหางลฟับใน้่ค)กทงวอนงัฟรแทยี่บทัส3า่จอดอฟลา�.งำ่ีคาใบ0งอินะสใกนวฟรคทห–ฟัสตฟาดลอ(้ท่ีคไมดลอั3ุมอินดี่เสวป.สขส่ารร8้ค็นฟางะ(อู้งฟัสป่มาล)ด%อมรคอใส่าะับ1รูลนโวรงคูท5งยัสตาัส)ดชว0ี่สมใ่านใาิน1ูงนง์ใซยนมม5นกาดเมด0ใา(ขลวิซนบิกน.ม้ซุเ่มา้สหแขจบม(ยล้น้นขลึงซะ)า.วงัา้แหาจสยล)ลา่)วด4กเะกกหงัน)แกินฟจตมบั .ลอปาาดอัตคะอกละาขสวกสูฟกตมาอ้ฟมไสดอมลั มปออ้ม�ำขสยลูยดรโาอ้ฟแู่ใอตัสบัวนมลอ่าเใใสช(ะลูงรสนน่ว้นกตัสมขงใลรา่ณศใบ1งอุ่มนัก1ะกบบ(ดทใ-ลขว์ิบ,ีค่า2ุ่วมงง่า20าสบใ(,5)นข่1ว5าใกว1ง1นบาบัส)-อส)่ควท3งูอกกน0วี่มกบัวาีคอแไา่มค่ลาอป(ยวคะตกาแวาไ1วมารล5ปเามยสะง-าเแ้นทข2วล่ี้ม5ร3เสะอขมแ้น้บนลกทร.วะ/อ่ีงบวง จัดไดเ้ ฉพาะชั้นระดบั สงู เปน็ > 3.8 % สว่ นคา่ ไนโตรเจน โพแทสเซยี ม (Potassium, K)สจเซนียกมระ(แทKนงั่ )วคแผโวนใกวลนาัตวน7ับกมม้ถโ)ดอาเขเใุนโรินิพนน7พม้ศทม้ไ)ดิ่มึขกแรมเินโขพียนษท้พ่ไส้ึวน่ิมดาใสัแตาพจน้ขเเทมถซนน้บดึนุใาสอื่ียนกินวจรงเมดา่รซเถนจทินะาKหียก(่าทกKมา(กรไใภงั่หะนบ)ันคา(ทโรผKพดวตือลง8่ัิทนรา)ปค0เกมี่มจผร5วาเนีคลmขะ,ารใวกเม้ตศนgมาาาเ/ึขกใมขิkนรรบนษ้gาสม้ศจไงาใมพัมึขกาทพน่มกพนษ้บี่ บีคด2คนาใวั วิน)วพน่า่าาธา่ชคเมอบด์กท่ววKิสนินบวัง่าัมคกทา่มเใพทKวบรันยKานัีา่ยาใดมกธว-ใน8ิ์นบเัน0สใมดบ้นีคm8ส แินรโ0วัมนgอมดาวพ/บีคมยkmโันนgคววสผgธ้มงวาพัม์ล/กลมเkาพับกพบมาgสา่ิมโตนเวัพพมัขรขน้า่ธศแม้ึน้พบคมึ์กกทจขนวัีแษบสันน้า่นธเากมคใซK์กพวรนียยวะโบับามใทนววมบใน่ังKม้่เานยคมสใใาวบใีโ้นบวาพนรมเโแสโใอเดดทบข้นบยย้มสรคโควขเอซดวงว้นีบายลยาใมมมนาควเตใดเงวขขนนลิ้นา้มม้ดมเามขทขินตเ้นีแ่าขนม้น้ในกม้ีนคใมับวขนใวีแโบาน้8ในมม0บใวมี้ นมโใีนบม้ มีขม้ในขนด้ ินในลเหทดม่าิลนลเกาหงสดบะัPเกเมขูงมลสuว้ากม4sื่้องามะ0hวขงเคขมสpก้า่น–วอ่ืaอวมทา6r8่งาคี่เขaม20แหวjอKaเลมขาmmhงะามม้,ใgสgะKnเนข//ขูงส.kkdนกด้มม้gใg.วินใ)ในขแ่านนแซเนด้คลทใึง่ลดิ่นาะบใก่าะินขนำ�ใกยเใทอหนสาบดันงน่างูใงินใกจดบก4Pบสาไบั0เuววทสกูงsา่ท้–กูกงา่4h่ีกกา03p6ว8รบ.วัa2า่03–ศาr่ aึก–m1m68j1ษ.a2300gg.h.า2/7/m–mคkk%(%ggรอg1gั้ง้า/.แ/น4kแkงดลี้มggถล%งัะีชึงะแนใใแ่วใล(้นนนังลรนะูจใปะใใบึงใทบนกนเมเส่ีทสาใส7ใูงกหูบง่า้น,กบ.กก/นตรเวกทสอบวั่าาดกบูงร่าา่.ช6กกาว1ค่2วง1ง.บวัว0งทล.าาม่2ค�ำี่ม–1กตว11เ.%.ข0้นา1/.แก2ม้ม.ม4ลก–ขเดีแข.%ะน้%1งนั ม้แใน.ว24นลขดโ(้)นัใะนนร้%งับคใูจ้ปมทนนจา่ึงลทใี่(ึง้นักดรบเี่ราูจปล7สมิ่หึงง,ูงทลเกกนตมด่ี วาา7ด่ือล่าหร,คงชานต1วพ่วง.าาดง2ทบมรคชวี่าเ%่าวข1่วง้มางทคแดมขคี่วลัง้นเว1านขะใมาั้นมแ้นมย2ลดขจาเ)ขินะนว้ึงคม้ ท่า2ข่ี)น้ คท่า่ี ก�ำหนดช่วงความเข้มข้นท่ีเหมาะสมของโพแทสเซียมใน ฟอสฟอรสั (Phosphorus, P) ดนิ เท่ากับ 40 – 80 มก./กก. และในใบเท่ากบั 1.0 – 1.4 ผลการค�ำนวณความเข้มข้นของฟอสฟอรัสในดิน % (ภาพท่ี 7.1, 7.2, ตารางที่ 1 และ 2) คา่ ความเขม้ ขน้ ใน กับความยาวเส้นรอบวงล�ำต้นหลังจากเลือกตัดค่าท่ีต�่ำ ดินต�่ำกว่าค่าส�ำหรับพืชท่ัวไป ส้มโอ รวมท้ังค่าซ่ึงเคยจัด และตา่ งจากกลมุ่ ออกไปใหค้ ่าสูงสุดที่ 15 มก./กก. แต่ไม่ ท�ำไว้ก่อน (Jones, 2001; สมศักดิ์, 2551; Thainugul,

อคใบา่ตวสต้ งูงอตกน่าวยไลบา่ามงนง1่ตยไใ.(าม6อรนPง5ูปบ่ตu3พใs%อท3สน้hนื บ่ีนpพซท7aสอ้นื่)ึงี่ภrนaงเกทาปjมอaาค็ี่ภนีhครงใาใค่ามต(คชสา่1ีคต้ใทป้9ูงา่อต๋ 7ก่ีุสยสนต7้ ูวงูง)อบกKา่กรนว1วาา่โบ.ฉา่ย6ผดบPนง5บั1ลuยาอ.กsิเล%น6ลPhก็า5ะวuทpรเซาร่s%ลaศอ่hึงrนคยึกapิกเซวปสjษaMa์า่็ึงr2นาhม7aเใgปคjเน(ตaข็จา่1นุลhคม้าทึง9คครไข7ม(่ีส้า่ัง-1ม7น้ธูงทน9นั)่นขวก7้ีี่สา่าร(อคว7ตูจงมาง)า่ ะกาย2ผรร5สงวK5ลาา9่าง่ งกยนผผใทงานวลลรา่ี า4่ดใกนศ)บีตคาึกวรทอ่วา่ษศกาี่ยคามึกาาใวงรษเนขพาเจามค้นัใรรเขนิญธข้ังนุ้์คม้นเRตขรข้ี ิRบ้(ัองน้ตIนโงMขาต้ี ร(อKขตา6งองา0ใงทร0Kนาี่ 4ใงใ)บทนที่ 4ใี่ย)บาทงพี่ยานั งธพุ์ นัRธRุ์IRMR6IM00600 50 50 50 50 50 40 40 Mean girth (cm)40 40 Mean girth (cm) Mean girth (cm) Mean girth (cm) Mean girth (cm) 30 30 40 30 30 20 20 30 20 20 10 10 y = y-0=.0-003.070x237+x02.4+601.64x61+2601x9+.91597.957 10 10 y = -y37=.4-327.x422+7x920+.29501.x25- 12x0.-23250.235 R2 =R02.3=507.83578= -0.0037x2 + 0.4616x + 19.957 y = -37.427x2 + 90.251x - 20.235 R2 =R02.4=808.84888 R2 = 10 0.305780 R2 = 00.48808 0 0 20 20 40 40 60 60 80080100100120120 0.50.50.7 0.70.9 0.91.1 1.11.3 1.31.5 1.520 40 60 80ExcE1h0xa0cnhgae1nb2gl0ebKleinKsionils(om0ilg.(5/mkg)/k0g.7) 0.9 1.1 1.3 1.5K inKleinavleesav(e%s)(%)xchangeble Kภาพinที่ s7.o1ilค(วmามgส/มั kพgนั )ธ์ระหว่างโพแทสเซียมท่ีแลกเปลี่ยนไดใ้ นดิน (KExcihnanlegeaavbelesK(%in S)oil) (ซ้าย) และโพแทสเซียมในใบ (K in leaves) (ขวา) กบั ความยาวเสน้ รอบวงลำ� ตน้ เฉล่ีย ท่ีความสงู 150 ซม. จากพ้ืนดิน หลงั จากตดั ข้อมลู ตา่ งกลมุ่ บางสว่ นออกไป 1.6 1.6 1.6 มีคา่ แคลเซยี มอยู่ในระดับต่ำ� ไมค่ รอบคลุมช่วงความเขม้ K in leaves (%) 1.2 1.2 ข้นเหมาะสม จึงไม่สามารถจัดท�ำค่ามาตรฐานอย่าง K in leaves (%) K in leaves (%)1.20.8 0.8 สมบูรณ์ได้ ขณะท่ีความสัมพันธ์ของเส้นรอบวงล�ำต้น 0.8 เฉลยี่ กบั ความเขม้ ขน้ ในใบเด่นชัดกวา่ สามารถประเมนิ 0.4 0.4 y = -y7E=-0-75ชExว่ -20ง+5คx0ว2.0า+1ม10เx.ข0ม้+11ข0x.้น6+ใ9น809.ใ6บ9ท89่เี หมาะสมไดเ้ ท่ากบั 1.0 – 1.5 % 0.4 y = -7E-005.R0x220=+.000..2031815x + 0.6989 40 (Rต2า=รR0า2.ง2=ท380ี่ 5.22)38แ5ละประเมินความเข้มข้นที่เหมาะสมในดิน 0 0 20 20 40 60ว่า6น0่า8จ0ะอ8ย0ู่ใ1น0ช0่ว1ง0ป0ร1ะ2ม0า1ณ2050 – 600 มก./กก. (ภาพท่ี 0.0 20 40 60 80 Ex1c0Eh0xacnhga1e2na0gbeleaKbl8ein.1Ks, oi8ni.l2s(moแilgล(/ะmkgตg)า/kรgา)งที่ 1) ซ่งึ เปน็ ช่วงกว้างมาก อยา่ งไร- 0 ก็ตาม แคลเซียมมีความจ�ำเป็นส�ำหรับการเติบโตของต้น Exchangeable K in soil (mg/kg)มพนั ธ์รระูปหรทวูปี่า่7ภโทงพาแพโ่ี ท7ครทพสี่อว7เแซ.บาคร2ยีทมอมววคสใสวงบานาเลมัใซมวบาสสพีงยมัตลมัมนพั น้ าในัพธตเนธฉ์นร์รั น้ดะะลหธินเหวี่ยฉ์รา่ ขวะงล(โอซา่หพ่ียงแงา้ขวทยตโอา่ส)พน้งเงซแแยตยีโลมาทพน้ ทะงสแีแ่ยทโลาทเพ่ีคกซงเสแปวีทยลทเามี่คซย่ีมสในวียสไนเาดมซูงม้ใดใีนยสินดม1นิูงดใ5(แน0ินซล1ใะาซ้5บ(ย0มซ)(.าซ้ แขยปแยหมลวารส)ลงะา.ะดแม)งกัหโงลาจอกพใลกะาบบัหแงกัโอใค้เจทตนพยหวางสดัู่ใ็แนากานขมเทนวตซปอ้ย่วาสดัียรามจิใิมขมเวยันซูลาอเ้ใขสตีตยณนมอ้้มนนา่ งใสลู งใยบูงสตกนาทุน่าลงใ(ี่สทงุ่มขมบุดกรวีบธี ลแาโ(าาดุ่มขล)ตงยะวบกสุแสาจบ่ัาวค่ว)งินนคลนกสตวเอใบณ่ัซวหาอีนยคมญากมวอย(ไ่ถ2าเอปูกป5มวกต4็เนยแสไ9ราอลึงป)้นวองะไเคดยแสู่้์ล้นะสลเซาตียน้มเใฉนลใี่ยบขกอค1(บัAง9วตใn8าโนtน้6มaพด)gยเขแโินoา(้มตพงทn(ทขiาแสsลร้น่ีคmท่าเาซขวง)งสอา)ีทยขเมงมี่ซอโ3สพใงีย)ูโงนแมพททใใแ1้ังบสนทน5เกส0ใี้นซบบเัีย่าซซจใกมียมนะใบมั .เนดตกใหด่อิินดนลินแจดงั(ทมาลิจน�ำกกา่าใสนก(งหลภเี )ตซ้ตา่าียดั้นงวมขะย)อ้ปากมงฏาดูลิรปูดเตักพใา่ษ่มิชง์้ กลุ่มเแใหนบคมสลา่าวงเนะซสีสยข่วอมมนงสทอก�่ีำเอ่ิงหหกกมร้าไัาบนปะใแสชลแม้เะลปสละ็น�ำ�ำดหตัชร้นับนตดีช้ัี้งนวนัดยั้นราะงใดนใับบกทายี่พราศองึกจเพษึงอียารางะจขดไอมับง่ซคลกีวยาบาัมตมน้ 1เขเ.ฉ(0ม้Cคขเลหข–รอaี่ยมน้อ)คขงเก1หาเบรอ.บสัหะต5ลเPขแลมอคงซคส้นมอวu8�ะำมัาเบียล%sสวเงอต)าะมรกลมhยุมคาะย้แนส้อนนไ8ยpใมาสลชา่คตีบนเ)ดแมa(รงงซเุม่ตมว�่ำลขใใrมแเอ้วไดียaทนบงลาชเมค้กงบดิjจนมซรคaพทงา่่นวลขลึงเ้ไhวาทกีนื้วี่ยยทีเงไดานงเ(้,งซบ้าาซทังมภัคตมทา่้นnลใียมงหี่ภกาีวยน้ส่.น้อี่พมาd1เพาม2บาัมขยตเาันใ.คฉจม)(ท)ด0มลมบ้นธ้Cใึงี่1ลเรขแงาุ์ตขไเข–9เาa.ดRร่ียลมอฉ(ต้0ยน.ม้ซ้)Cถ่นR2กน่ะง1อลงึ่งขเ)จ–งIป.aบ่าาชนัหสี่ยMต5านดน้จั)กบดร่ังคกม1วนัะวทผเาะ%นก6ว.บอัหาาส่วต5รลาเ0วาะมยง่Pจิคใคมวัใค0มา่ผสชา%่ยuินัหวา่อวา(ลงเ้ปsนไตมม้าขคาะคยดดhมสุ๋้ยมมีาเาวสมวา้่pปตีิจน่ต(าตรโเางเาขaตมข็พึ่องขมอนามทรดมม้rไกนาง้บแมาa้ฐยดิจ้นเงขัรมาทรขjสทใาขาิaึนหงน้ราทถส่นมน้ี่วสhไเนขง้กม2จป้เงอขัเาอมใอทส(ใซร)รดหมงรอบนงย้ิญส่้นนี่ีดยโะขแา้าา่ม2มทเพรมาจใงดเเงรลอ)มตดีคมี่แถเบดสัถ่นหะงบบิโ่าินขแึงทาเมจดงปชสใมวดโรสลอชาดนตยับงูงดารัถ-่นะนง่วมทะรูะกจงปงชวีสคณาเาดควัมดจริัคา่นมา์่ไว(ขใแอ0ทะยินักn่านใ.ดวาอาคนาเ5มC.วคนมมจจdงิล้คส้Pีาาเ่aวเน-เด.ยิเนขปั่านขาตu)ซา้�ำินน็0มณมsค่ืนอยีม้รอกยส.้hีวเางมา7วฐะขดยลปเาpามตราข่าทาในู่ิง้่็นามส%aนนถารมนม้ว่ีคrใ�ำจกา่ฐาปดaเวขาอรนหวรขาจซราj่ิานพรaะนย้รากถึ่งะในมด้ บัะhมดิเจา่กกบอทคปปขจอ,เงแาสบาัรมยทวี่เ็นรดนสัย้nครรหดัมาตใู่ินี่ะคณน.า่ลมทนมd่ามพจเ่าง�ำชเม.บเา่ีชเซทดสาไั)เนขัห่วดอมิยีนะ่วูรี่ตม้มมรธงาม้วมีสคงณ่�ำาช่ขค์ผบยใกายา่ม่้วน์ไลวนมะูรวงงใขเดขาใา่าีสคณนCคนบมออนผ้่ามื่อ์aไงวงเลดคขPขงแแใดาก่าินณuจCนมคม้คอเา้sาหวaลละขรเดยhขกขา่มศเเทpในู่ิ้นณซนซมึกา้อนaP่ีคียีใยวะ่ษาะขrยuรนมวมaสาจ่าทในู่้sะjนาตมทะใaคนh่ีคมดใ่บออี่hอส่ารpรนวสบ้ังกัยจูงยท(aะนาเาู่ใอะใมัตใู่กr่ีมนด้ีรบา้นอa่าพิทนไชงสบัjยทหชa้ังไถไน่วั ัมตใู่นปลh่ี่วงึงมธน้ี่าพง่์ ชไนั ่วมธง่ ์ กว่า 1.65 % ซ่ึงเป็นค่าที่สูงกว่าผลการศึกษาในครั้งน้ี ท�ำให้ท่อน�้ำยางอุดตันเร็ว ส่งผลให้ผลผลิตของยางลดลง (ตารางท่ี 4) จึงควรมกี ารศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ในประเดน็ ของแคลเซียม แคลเซยี ม (Calcium, Ca) แมกนเี ซยี ม (Magnesium, Mg) ตัวอย่างดินท้ังหมดของงานวิจัยน้ีเป็นดินกรดจัด ตัวอย่างดินท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ส่วนใหญ่มี

นคลื่อา่สดทงาลจ่ีตหาง่ารกพผกจับPลึงวิจuคCา่ผาsผพผวรahลลรลpณจิใิตมaกผาน3าขrีการaล4ดใอรjณาบิตaว้ศรงhาขยึกศยPดกอึกษาuเว้นลงsษาhยลย่าคื่อาpวาดเรเงaพนวง้ังrลจลาa่่มิื่นอางคjดa้เงีกตวทhจลจPาิมึ้งงัา(งมuอในคกsเจนา้้ขวีอhPึงงปรมpา้uฉถคจบมaรsขึงวับhเrะีกนนอ้ใaรpเิเนjลาด่ืขอมa็กรrน็อhงทPีกaศรมงuขjอากึaกCนsารอhลิกhจษaศสงCpา่า์กาึกทa2aกว7เลrษี่พสกวa่าตjาูาา่งมิ่aลุวรเคเาhพกวเค้น,ตวมาิ่นิ่มn-าาิมคธเ.ไ้เันมdอตใววป.เาาน)าิมขค้ทผมมรปใม้ลาาเ2น้ใรข5ขย5หปะมง้นอ9เาท้รงขCดนะอ่นa้น็อคเนตดขงข่า้า่อC็นอเอยหกงaขงาCมาCงอทaราอaงCะไี่สุดทสหaูงตม่ีสลเนักขอูงเินรยเอก็วใไู่งินนนปสไช้าท่งปย่วผาางทลใงห0ใามห.ใาท้5ห้ ่อท้ นอ่ ้านย้ายงาองุดอตุดนั ตเนัร็วเร็สว้ ่งสผ้ ่งลผใลหใ้ห้ 50 50 50 50 40 40 40 40 30 30 50 40 3030 Mean girth (cm) Mean girth (cm) Mean girth (cm) Mean girth (cm) Mean girth (cm) 20 20 30 2020 10 10 y = -y1E=--015Ex-20+5x02.0+103.70x13+72x9+.12199.119 10 10 y =y-1=5-.1358.63x826x+24+0.4407.477x7+x6+.963.943545 R2 R=20=.406.646868 R2 =R02.0=600.4060240y = -1E-05x2 + 0.001370x + 29.119 10 y = -15.386x2 + 400.4077x + 6.9345 R2 = R2 = 0.4066.580.5 0.0604 E0xchEax2cn0hg0ae2na0gb0eleabC4l0ea0Ci4n0as0ionils0(6om0il0g(6m/0kg0g)/kg8) 00800 1.01.0 1.51.5 2.02.0 0 CaCina linealeveasve(s%()%) 200 ยภC4าา0aวพ0เทสin่ี้น8ร.s1อoบคiววlงา(6ลมm0�ำสต0gัม้นพ/kเฉนั gลธ)ร์ี่ยะทห8ค่ีว0่าวงา0แมคสลูงเ1ซ5ยี 0มซทมแ่ี .ลจกาเปก0ลพ.5ี่ยื้นนดไนิ ด้ใหนลดังินจา(กEตxC1cดั h.aข0aอ้ niมngลู elตea่าbaงleกvลeCุ่มsaบi(1nา%ง.s5สo)่วilน) (อซอา้ กยไ)ปและแ2ค.0ลเซยี มในใบ (Ca in leaves) (ขวา) กับความxchangeable 2.5 2.5 2.5 2.0 2.0 Pushparajah, n.d.) ที่เคยจดั ทำ� ไวม้ าก (0.20 – 0.25 %) Ca in leaves (%) นอกจากน้ี พบว่าแมกนีเซียมในใบลดลง เม่ือค่าสัดส่วน 2.0 Ca in leaves (%) 1.5 1.5 ของโพแทสเซียม/แมกนีเซียมในดินเพ่ิมขึ้น (ภาพที่ 9.2) 1.5 Ca in leaves (%)1.0 1.0 ซ่ึงอาจเกิดจากการเป็นปฏิปักษ์ (Antagonism) ของ 1.0 y = -4E-06400Rx0..22050+=00000..50..0205021E867xx0c+0Eh02xa.c80nh4y0g23a=e20n8ay0-g40b=eE0lae-04bC64EleRx-0a0220Cโดโจ64i+พ=พnRxึงัง0a20แไนแ200sมi.+.ท=้ัทนn0o2่น0ส5ส0isl2ก.่1า.เเ0o2(ซ867ซจาm05ixียี0รlยะ21ใมg(+08สม67mช/xใ่0งkต0้ปนgผ+0g.่อ8ุ๋ยด/ล)k04แโินดg.3พม8ท2)ีต4แก8�ำ3่อทนใ02กหสี80เาซ้ยเ0รซียา0เียมตงมดิบกโูดโดาตใยชรขเล้แอพะมงิ่มเยกลคนายวงีเปซาุ๋ยซมีย่ึงแมเขถมไ้ม้าดกใข้นนน้น้อีเดซยขินียอลมมงงี 200 0.5 0.0 0 Exchangeable Ca in soil (mg/kg) แมกนีเซียมต�่ำอยู่แล้ว การเพิ่มความเข้มข้นของโพแทส-สกยัมบั ขพใอนนั งดธตริน์รนู้ปะย(ทหลาร่ี่งาวูป8งทา่แแภกคท)งคาี่ค�ำวมคตพใลี่แหาว8กเทนวนซค้มนาน่ีียมาใ8ลเดเีมขคตใฉ.มบซสเ2คใน้มซวนน้ียลสูา่กงคใขียาใมรี่เยบวมับัฉ้มนมบะา1ใขพมดใทนลสใ5กอสนนบั่ีเ0รนี่ยัมบัมัหงะทขดดพซธพมตใดเ่ีันินิอน์รหมานับ้นัธงะะม์ร.ดตย((ธตะสหาซหล่�ิำนหา์รนม้ะว่งาา้วละสแ่ายยง(ทา่งั(หงลมล))าภงแจี่ค่งาวะคแาานแวงทขลา่กพลอค)เาง่ีซคตะทกมลดียแดวแัี่จมขสเ9คาขคซาท้อู.งมกลี่แอล1้ียมลนสเมเมูซลซก1ซีู้งลูเคใท5้ีาียยปตนวย่ี0คลมม1า่าี่ย)รดใใ5ซมงนอนจนิ0กไเมบดขึงใลดซ้ใคย.ม้บ(นุ่มินาลซหขมดบกุม(น้ินา.้ลข(ทาขชยซหแงัวง่ีจอ่ว)ลจาส้าละงงะแยา)่วงั ก)ลกจนตแะบัาอแกนเกลดแัคซอำ�มอ้ตะขคีวยกมยกดาแัอลม้ไะลนมขคมปเถงีเซยจซอล้นัลู าแีึยียงมเตวซยลมม(ูลเS่า่ิงะีสยใใงตuเนแมน้นปกlา่ดคpใร็งนลินhลนบอกกุ่uมเสบใซลrาบ,บ่ง(วีุร่มยขผSาเงมบลพวง()ลขใสา่ิามาหวง)่วคต้สากน่าน้)่วบัสอยกนัดคอาบั อสงวกคยอ่าวไ่ิงวมกนปดาไยขดูมปาอแใยวงชลาแเโ้แะสวพลมแเ้นแะสกคทรแน้นลอสคเี รซเบเลซอยีซเวียมีบยซงมไมวียดล/งม้าลานคีเวซาียมมเขคม(้ รMขอนค้gบ)รทคแเทแอ9ต่ีเลลหม�ม)ำบวัือุมกกมแใอกคน9ชนหมายตล)ะีเีา่่เว้ักดซไุมซงสแงียมขนีดยชมมคม้อ่ิมนีเส่วกวซใม(ใงทานานูลีนยครมมี่ใดีทเมดูปวชซินเาี่มิขนาใ้ทยียรีคมนไ(้ ัง่ีมถMด่าเไขกข9จตม้ าน้g)ัสม(้่�ำด่สรM)ทแ่วขัมศรจนลต่ีนเพึกะ้gึงหะแว)ัษันดยทตมมอาัธาตบ่ีเ่ากกาหยค์กวังชะทานับ่รมอจ่้งสัวงีเ่ีแจาายซดนงะมมกะา่ียิ้นีทกสกกงสม(ี่า่ดทนวลเมใหหนีุเิ่นมรี่ในซนู(มปชใบทียใหดบาาใ้ทมร่ีใคงนญูะปชใี่ สหน่าสก่มใ้ท9่รวลในมาีะน)่ีบังMรกดขอดจ9ศจาบออัgา้ว)ึกรึงกยกทงใศษยจ่ีเนึหกาาึงรกคษมยะ อรสทราาาะด�ยำ้กัะงค่ีจดหูบ่ใันสทระนับรต้ังมีกสัี่บจช่คานะกา(่่ววน่าตแ้หีกส�ำงนวอาลกมา่นวิเใรกวคะะหนหาด้าจถขรนงใงาาคัญนาทหกะดดใา่สี่่มหนนรคญข1าี์ก้ดะีค่าอ้มม่M�ำินรดแวมามีะอาบลัรgูลMะมดยถะททถู่ใใบจัgี่นัน่ีเน2ัดหทชใ)ทรที่มเ่วนห�ำะคั้งงารคดใวมะ2ะน่าาบัาส5ดมดมะตมาิบนัเ–ส่าขตแตนม3้มรแล่า5ฐอขละนาแ้ในกมะนอนลทจกขไกใะี่า.เดาบ/จหขกกด้เกากมากนขกรดือา.้ะีคอ้นบขะแจวม้สีทคอ้ลาาูลมุกยวมะมทาูลมี่ที่ ไปแล้ว การเติบโตของต้นยางยังคงแสดงการตอบสนอง ส�ำหรับก�ำมะถันในใบอยูใ่ นช่วง 0.2 – 0.3 % (ภาพท่ี 10, ต่อระดับความเข้มข้นในใบที่สูงกว่านี้ได้อีก สามารถ ตารางที่ 1 และ 2) ชว่ งความเขม้ ข้นเหมาะสมในใบ พบ กำ� หนดชว่ งความเข้มข้นท่ีเหมาะสมในใบเทา่ กบั > 0.35 ว่ากว้างกว่าค่าซ่ึง Pushparajah (อ้างถึงใน Pushpara- % และก�ำหนดช่วงความเข้มข้นระดับตำ�่ และต�่ำมาก มี jah, n.d.) เคยแนะนำ� ไว้ (0.20 – 0.25 %) (ตารางท่ี 4) ค่าอยใู่ นชว่ ง 0.25 – 0.35 % และ < 0.25 % ตามล�ำดับ ก�ำมะถันส่วนใหญ่ในดินน่าจะอยู่ในรูปสารประกอบ (ภาพที่ 9.1 ขวา และ ตารางที่ 2) ชว่ งความเขม้ ข้นเหมาะ อนิ ทรยี ์ ซึง่ ต้องผา่ นการยอ่ ยสลาย (Mineralization) ก่อน สมท่ีได้มีค่าสูงกว่าค่าของ Pushparajah (อ้างถึงใน พืชจึงจะสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ ดังนั้น ก�ำมะถันที่

าสพสสัด่ิ่มงัดสผคส่วลว่วนดานมีตขขเ่ออขอกงKเMม้ปงาK็ขgนรตK3น/้เอ่กจMต/5ขMึงาิบาMgMอไรรgโเมงใมเgพตgพนใน่ น่Kขม่ิกนมิ่กด่าอ่าคาดใคาจินจรงร่านินะา่ะยเสเสสพสดเพสาพัด่งงินัด่่มิง่มิ่งผิ่มสผสซทคผคลข่วล่่ววึลงาว้ใึนนดใถนาดาหหมีตขาม้ีตข(ย้ใเยร้อ่อเอ่อขฉานขูปากบงงกงม้งับมด้ทยาอดKาขKินขรงิ่ิเ่ีรลูดน9/้ดเน/ม็ก้เMตMใ)ตทูดขีขรชิบซิบgอใอgอM้นโ่ชึงโMงใกิงใตอสต้gนMน์KgขาKข2ดตจ7ดอgไอใินเ่าใินงกตดนงไอนุลยิดนย้ดสายดสาดคาจนอ่้้แู่งมงิน่งงินา-ผยลธอ้ผกซทนัซทลลว้ยลว่กึงา่ึางงาลใใกใคถาใถหมงดหหราาห้ า้ยเ้รง2ัใย้ย้ปใ5ย้นาเน5าาน็พนาง9้งงนัดงยิม่ดปยดดิกนง่ิินคง่ิูดฏูดดามดวมใิรปูดใาีูดชใีัชกมใชใM้Mชษ้เMชป้Mข้g์๋้Mgมุ(ย้gMgaตขnตgKไgไ่าน้t่ดาaไดอไโอขgน้ดนย้ดดยoอนอ้้แู่นอยn้้แู่งยลอ้iลยลอ้sลว้ยะลKmว้ยงลเงลกล)กงจดงาดยขาึงรงัปรงัอยนเ๋ นเพุยงงิ่พ้นั้นัิ่ม่มิ กกคคาาวรวราใาใมชมชเป้เขป้ข๋ ๋มุย้ มุย้ ขขKKน้ น้ โขโขดอดอยงยงลละKะKเเลลจจยยึงึงปยป๋ยุ๋ยง่ิ ุยง่ิ 5500 5500Mean girth (cm) 4400 4400 MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm)) 50 3300 3300 2200 Mean girth (cm) 40 2200 30 1100 20 1100 yy==--114488..4488xx22++113355.8.8xx++33.6.6221144 RR22==00..44331144 00 110000 220000 330000 14040000 y = -148.48x2 + 135.8x +003.6214 00..22 00..33 00..44 00..55 00 550000 6600R002 = 0.4314 00..11 EExxcchhaannggeeaabbllee MMgg iinn s0sooiill ((mmgg//kkgg)) MMggiinnlleeaavveess ((%%))100 200 ภ3าพ0ท0ี่ 9.14ค0วา0มสัม5พนั0ธ0ร์ ะหว6่า0งแ0มกนเี ซียมท่ีแลกเ0ป.ล1ย่ี นไดใ้ นด0ิน.(2Exchange0a.b3le Mg in s0o.il4) (ซ้าย) แล0ะ.แ5มกนเี ซียมในใบ (Mg in leaves) (ขวา) กับxchangeableคMวามgยiาnวเสsน้ oรiอlบ(วmงเgฉล/kยี่ gท)ค่ี วามสูง 150 ซม. จากพ้นื ดนิ หลงั จากตMดั ขg้อมinลู ตlา่ eงaกลveมุ่ sบา(ง%สว่ )นออกไป 00..55 0.5 Mg in leaves (%) 00..44 ที่ 4) ในขณะท่ีการศึกษาครัง้ นพี้ บวา่ อยใู่ นชว่ ง 90 – 130 และ 300 – 500 มก./กก. ตามลำ� ดับ (ภาพท่ี 11, บนขวา 0.4 00..33 และล่างขวา; ตารางท่ี 2 และ 4) ในความเปน็ จริงอาจไม่Mg in leaves (%) 0.3 00..22 จ�ำเป็นต้องเพิ่มความเข้มข้นของธาตุทั้งสองให้สูงถึง ==--00..00000088RRxx2222รเ=-ห=ะ-00ลด00....01็กับ0102แ02น4646ล28ี้ 28ะxหxแ+า+มก00ก.ป.33ก2ล2า2ู2ก8น8ยีสาตง�่ำในคพวื้นามทเี่ซข่ึง้มดขิน้นมแีคมวงากมานเขีส้มใขน้นระขดอับง 0.2 y = -0.0008x2 - 00..11 + yy 0.1 00.0..00042x 0.3228 R2 = 0.126800 22 44 น้ีอา6จ6เป็นพิษ88ต่อต้นย11า00ง จึงควรมีการศึกษาเพิ่มเติมใน 0.0 KK//MMggiinnssoเoรiiอ่ืll(ง(mนmี้gg//kkgg)) 0 2 4 6 8 10มพนั ธ์ระหรวูปา่ กภงทบัาแพ่ีค9มวทา่ีกม9คคนข.เข2ขววีอเ้มอาซคาขงมวงมีน้ยตาตสขมมสน้อน้สมัใัมงัมยแนยพพพามาดันงนกังนั ธินนททธK์รธเี ซะ่ีค์ร่ีค/(์รหยีMซวะมววะ่าา้หใgาหนงมยมสวใiว)nสบัดสา่ า่แสูงงsูงง่วลแoนแ11ะiโมlม5พ5แ(ก0แกm0มทนนเกgเสซซีเเ/ีเนซซkซนนียgีีเยียตมซต)ม/มิเีแยิเมใมมในตกนตในรดนรดีเซินิหนใียหบมล(ล(ใซซงนั(งั ขดา้จา้จิยนาวยา)กา)ก)แตแตกลดัท ทลดั บัะขอะอขแคงอ้แงอ้ แมวแมมมดากดผลูกลูมงนลงตนใตยกีเน่า(ีเซา่ Cซางดวงียรกoียิเนกคสมpลมไล�ำ้pนใดุ่มใุ่มนeน้เรนบทวrบอใ,ใณา่าบาบCบงกงสสวuับส(า()งข่วข่มว0วนวนา.า5อารอ)ถ)ออก–จกกกบััดบ1ัไไรค.ปค5ะปววดาแมาแับมลกมลคย.ะยะ/วากคาาควกววมเว.เสาเสาขมแ้นม้น้มสลรสขระัมอัม้นอใพบนขพบวนใอั วนับงงธงธ์ ์นงยสาัดงทส่ีค่ววนาKมส/MสSูงOกg1ัด45ใ2ไ-0นดจรเดร้ดึงซะะิไน้วนหมหยกส่ตววสบั มัิาเ่า่ามคงพงรตสวสนัลราดัะธดั มโ์ลสหสดเาข่วล่วยยม้นงันตขจรKKาKนง้ Hกก/ข/M2ตบัMPอดคัgOงgวข4ใาMใอ้ นมนซมgดเึ่งดขลู สใินิ้มนตน่วกขา่กนใน้งบับับใกใหคคนล(ญววลใุ่มาบา่า่อบมมยงยเา)าเขู่ใขงงนม้สม้ รข่วขูปน้ น้ อขขออทเสกงทงูงอไ่ามMงMปกแาับgกดgแงใลใ1จมนนะ0งึ ีคใไคใมา่–บวบไส่ า1ม(าม(5ลค่ลมส่าร่าามองัมงรก)บถ)พ.ค/จนกั ลัดกธมุร.์ะชเด่วนับง่ือรชงะน้ัจดไาบัดกตอ้ ค่�ำย่ามา่คงาวสกามมรบวเขมูร้มณถขงึ ์ ร้น(ภะขดาอพับง เหลก็ (Iron, Fe) และแมงกานีส (Manganese, Mn) ท่ี 12, ตารางท่ี 1 และตารางท่ี 2) ช่วงความเข้มข้นท่ี ผลการศึกษาพบว่า ช่วงความเข้มข้นที่เหมาะสม เหมาะสมของทองแดงในดินท่ีสถาบันวิจัยยาง (2551) ของเหล็กในดินเทา่ กับ 30 – 90 มก./กก. (ภาพที่ 11, บน แนะน�ำมีค่าในช่วง 0.8 – 1.0 มก./กก. ซึ่งต่�ำกว่าและ ซา้ ย และ ตารางท่ี 1) ซง่ึ สูงกว่าระดับความเขม้ ขน้ ของพืช แคบกว่าค่าที่ประเมินได้ ส่วนในใบ Pushparajah (อ้าง โดยท่ัวไปมาก (Jones, 2001) แต่ต่�ำกว่าของส้มโอ ถึงใน Pushparajah, n.d.) แนะน�ำค่าความเข้มข้นที่ (สมศักดิ์, 2551) (ตารางที่ 3) ส่วนแมงกานีสในดินค่าที่ เหมาะสมของทองแดงในใบวา่ น่าจะอยูท่ ี่ 10 มก./กก. ซ่งึ ครอบคลุมช่วงความเข้มข้นเหมาะสมมีจ�ำนวนน้อยเกิน ใกล้เคียงกับผลการศึกษาคร้ังนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ท่ี ไป จงึ ไม่สามารถจดั ท�ำคา่ มาตรฐานได้ (ภาพท่ี 11, ลา่ ง ใช้ในการศึกษาพบว่า มีความเข้มข้นของทองแดงต่�ำ ซ้าย) Pushparajah (อ้างถึงใน Pushparajah, n.d.) และต้นยางมีการตอบสนองต่อค่าความเข้มข้นของ รายงานค่าเหมาะสมของเหล็กและแมงกานีสในใบอยู่ใน ทองแดงที่เพ่ิมขึ้น ดังนั้น การใช้ปุ๋ยที่มีทองแดง ในพื้นที่ ช่วง 60 – 80 และ 45 – 150 มก./กก. ตามล�ำดบั (ตาราง ภาคใต้ตอนบนนา่ จะทำ� ใหก้ ารเติบโตของยางดขี นึ้

น่าจะอยใู่ นรรูปปสสาารรปปรระะกกออบบออินินททรรียีย์ ซ์ ซ่ึง่ึงตตอ้ อ้ งงผผา่ า่นนกกาารรยยอ่ อ่ ยยสสลลาายย (m(mininerearlailziaztaitoino)n) กก่อ่อนนพพชื จชื ึงจจึงะจสะสามาามราถรถนาไปใชป้ ระะโโยยชชนน์ไไ์ ดด้ ้ดดงั งั นน้นั้นั SSทท่ีสี่สกกดั ดั ไไดดด้ ด้ ว้ ว้ ยยสสาารรลละะลลาายยKKHH2P2POO4 4ซซ่ึง่ึสงส่ว่วนนใหใหญญ่อ่อยใู่ยนใู่ นรูปรูปSOSO42-42จ- ึงจไึงมไ่สมมั่สพมั พนั ธนั ์ธ์โดยตรงกบั คคววาามมเเขขม้ม้ ขขน้ น้ ใในนใใบบยยาางง 36 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559 5500 5500 4400 4400MMeeaann ggiirrth (cm) MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm)) 3300 3300 2200 2200 1100 yy ==--00..00442277xx22++22.4.4886699xx- -33.6.6774477 1100 y y==-4-6456.54.44x42x+2 +23253.5.45x4x+ +4.40.2022626 RR22==00.2.2226699 R2R=2 =0.05.45848 00 1155 00 2200 2255 3300 3355 4400 00.1.100 00.1.155 0.02.020 0.02.525 0.03.030 0.03.5350.04.040 AAvvaaiillaabblleeSSininssooilil((mmgg/k/kgg)) SSininlelaevaevses(%(%) ) ภาพที่ 10 ความสัมพนั ธ์ระหว่างก�ำมะถันทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในดิน (Available S in soil) (ซ้าย) และกำ� มะถนั ในใบ (S in leaves) (ขวา) กบั ความยาวเสน้ รอบรูปวทงล่ีำ� 1ต0น้ เฉคลว่ยี าทามี่คมวสสามัมัมสพพงู น1ันั5ธ0ธ์รซ์รมะะ.หจหาววกา่พา่ ง้ืนงกดกนิาามหมละะังถจถานั นกั ใตในดั นขด้อดมินินูลต(่าซ(งซาก้ า้ลยยมุ่)บ)แาแลงสละ่วะนกอกาอามกมไะปะถถนั นั ในในใบใบ(ข(ขววา)า)กกบั บัคควาวมามยายวาเวสเส้น้นรอรบอบวงวขงอขงอง 550050ตตน้น้ ยยาางงทที่ค่ีคววาามมสสูงูง115500เซเซนนตติเมิเมตตรรหหลลงั งัจจาากกตตดั ดั ขขอ้ อ้มมูลูลต55ต่า00ง่า5งก0กลลุ่มุ่มบบางาสงส่ว่วนนอออกกไปไป 440040 440040MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm)) mmeeaann ggiirrtthh ((ccmm)) MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm))3300311011))เเหหลลก็ ก็ ((FFee)) แแลละะแแมมงงกกาานนีสีส ((MMnn))ผผลลกกาารรศศึกึกษษาาพพบ33บว00วา่3า่ 0ชช่ว่วงคงคววามามเขเขม้ ม้ขขน้ น้ทที่เหี่เหมมาะาสะสมมขอขงองFeFeในในดินดินmmeeaann ggiirrtthh ((ccmm))เเททา่า่ ก2ก2บ0ับั0230300 –– 9900 mmgg//kkgg ((ตตาารราางงทที่ 1ี่ 1))ซซ่ึง่ึงสสูงูงกกววา่ า่รระะดดบั บั คคววาามมเขเขม้ 22ม้ ข00ขน้2น้ 0ขขอองพงพืชืชโโดดยยททวั่ ไว่ั ปไปมมากาก(J(oJnoense,s2, 020010)1)แตแต่ต่า่ต่ากกววา่า่ 1ข1ข00ออ1งง0สส้ม้มโโออy(y(สส==มyม--0ศ=0ศ.ก.ั0-ก0ั 0ด0ด.4์40ิ ์ิ3,30R,xRx42222232=R+5=x+52252200050=1.+..3.1434)080)989.9.69364(76(7ร869รxู9ปx6ูป76+ท+xท1ี่1+ี่991..118189717,.1,18ต7ต1าารราางงทท่ี ี่ 33)) สส11่ว0่0วน1น0MMyyn=n=ใy-นใ-00=น.ด.00-ดิน00ิ.น2209ค90RRxxค2่า2222ท9่า=R=++xที่ค22022000ี่คร=..+.1.166อร099055อบ.33.01067บ72ค925x3xคล072-ุมล-x11ุมช..-88่วช11ง่ว.7ค8ง41วค7าว4มาเมขเม้ขขม้ น้ขน้เเหหมมาา0ะะ0สส0มมมมีจีจาานนววนนนนอ้ อ้ ยยเเกกินินไไปปจจึงึงไไมม่สส่ าามมาารรถถจจดั ดั ททาาคคา่ ่ามมาาตตรรฐฐานา00นไได0ด้ ้PPuushshpapraarjaajhah(1(917977)7)รารยางยางนานคา่คเ่าหเหมามะาสะมสมขขอองง FFee00แแลล0ะะ MEME2x2xntn0Etr0ra2xaใใct0นcrนtataใaใcbบbบtl4al4อeeอ0b0ยFยl4Fใeู่ eใู่0eนนFiiชnenช่ว6s่ว6isnง0o0งo6i6sil6l00o(0(miml––(ggm888/8/k00k0g0gg8แ/)k)แ0ลgละ)ะ114040501500–0–115500mmgg/k/k6g6g00ต6ตา0มามล88ลา00ดา8ดFบัF0eบัe11(Fiตi0n0(neตา010llรieา0enารa0aงlา1v1evทงe2e2aทs่ี0s10v4eี่2(()4ms0)ใ1(gนใm4/นkข01ggณข4/)k0ณะg1ทะ)6ท่ีก01าี่ก6ร0าศ1รึก8ศ0ษ1ึก8าษ0าไคขไคขมรมอรอ้้ัง่จังง่จง435น453นาาF000Fเ000้เีพ้ีปพปe534e็บ000็นบนแแวตลวตลา่าอะ่้อะ้ ององMMเยเยพพใู่nใู่nิม่นิม่นตตคชคช่า่าว่วว่วคาคงางมวมว9าเ9าเข0มข0มม้ เม้–เข–ขขข1ม้น้1ม้น้3ข3ขข0ขน0้ อน้ อแแงMลงMธลธะnาะnาต3ใต3ุใท0นุท0น0้งัร0้งัสระ–สะ–อด5อดง5บั0งบใั00นให0นห้ีอmส้้ีอmส้าูgงาจูgง/ถจเk/ถปึงเkgปึง็รนg็รตนะพตะดาพดษิามบั ษิมบัลต453435นลต000าอ่น000้ี ดาอ่345หย้ี ดหบย000ัาาบังากา(งกจปร(จปูรึงปลูึคงปลทูกควทูกยี่ วร1ย่ีารม11งาม,1ีกใงต,นีกใาตนราาพรศารพ้ืนารศึกง้นืาทึกษทงท่ีซษาท่ี 2ี่่ซเึงาพี่ )2ด่เึงพ่มิใ)ิดนน่มิเใินตมนเคิมตมีควคิมใวีคาวนาใวมามนเาเมรปเมเ่ืขอเร็ปนเมื่ง้ขอ็ นจนขมง้ ร้จีนน้ขิงร้ีน้อิงาอจาจMMeeaann ggiirrtthh ((ccmm)) Mean girth (cm) MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm))220020 MMeeaann ggiirrtthh ((ccmm))220020 110010 yy ==y--0=0..0-000.00110xx0221+x+2200+..00044.330994xx3+9+x229+9..424494.44 110010 yy ==y--99=EE---900E55-xx0225++x2200+..00077.770887xx78+x1+6.1466.7467 RR22 =R=2200=..00055.88055 85 RR22 =R=2200=..44099.55433953 00 0 00 0 00 0 110001000 220002000 330003000 440004000 EExxEttrrxaatccrtataacbbtlaleebMlMennMiinn sisnooisillo((miml g(gm//kkggg/)k) g) 00 0 11000100022000200033000300044000400500500600600700700 MMnnMiinn llieenaalveveeassve((msm(gm/kgg/)kg) ภาพที่ 11 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเหลก็ ทสี่ กัดไดใ้ นดนิ (Extractable Fe in soil) (บนซ้าย) และเหลก็ ในใบ (Fe in leaves) (บนขวา) กับความยาวเสน้ รอบ วงล�ำต้นเฉลยี่ ท่ีความสูง 150 ซม. จากพน้ื ดนิ หลงั จากตดั ขอ้ มูลต่างกลุ่มบางสว่ นออกไป และแมงกานสี ทส่ี กัดได้ในดิน (Extractable Mn in soil) (ล่างรรูปูปรททูปสซอี่ ่ี1ทา้อ1งั ย0ก0ก่ี)ไ1ปะต(แต(ค0ลคลสลน้นว้ะ่าวีต(่าแคย(างลยางZมน้มาซวม่าาซงiงnยกางสงา้สา้ทาcมาซทยมัยน,ัมงี่คส)สีาี่้ค)พZทพใยวแมัวแนnนี่คั)านลัใา)พลมบวแธมะธะนัาส(ล์รแสM์รแมธะูะงมะูnงมส์รหแหiง1nง1ะูงมกว5กวl5eหา0่งา1า0a่างนกวv5งนเeเเซา0เ่าีซหสsหงน)นเใล(เซลีหสนตก็า่นใลงิเใใมขนตบก็นวตาิเใใดม)(รบนลกินตบัหด่า(รคง(ลินลวบขหา่างัมนงว(ลจยบขาซาางั)นววกจา้เกาสซยตา)้นบัก)ดา้ัรกอคยตแขบบั)ลวดัอว้ คแางะขมลมวลเสคอ�ำ้ลูหยาตะังวมต้นมลากาเลูเหว่าฉยมก็ะงตลเลาสเใสยี่กขวา่ีใน็ก้นทลง้มเนใสค่ีกใุ่มรขดนบว้นลอ้นาิบนใมุ่มรบ(ทาบสบอเบี่งเูงวมหนบส(1งา่ือบม5ขง่ขวว0เานสลองนวเะซืขอ่ขวงาอนส)กตอนวตอมตกิเนงา้อมกข)ัตดบตัยออไรกนค้าคกปงหบง่ัายสวไลทขาแคัังงาปจ้องม่ีกคลวาทมะกแวยาะตูสลี่มคาาลแดั ีมวใทวยะมขนเี่สอ้มาาแสงใมมวีูคงมกบ้นลู เส่าตสาง1ไรา่ตูนงกด5้นงอ�่ำก้ีา0ส1รบลแน5ใอุ่มสวลี0สนบบ่วงะาในดขงตวนสิคนอง่าว่ ด่ขานงงินอง เเซซในเนซตตในิเบิเมมตพติเตมรบรตวหหร่าลลหขงังั ้ลจอจางัมากจกูลตาตคกดัดั ่ตาขขคดัอ้ ขวมาอ้ลู มมตเลู่าขงต้มกา่ งลขกุ่ม้นลบทุ่มา่ีไบงดสา้ไง่วมสน่ ่วอนออจกาอไกกปกไลปุ่มออกไป แล้วสามารถเลือกช่วงความเข้มข้นท่ี ครอบคลุมช่วงท่ีเหมาะสม จึงไม่สามารถก�ำหนดช่วง เหมาะสมของสังกะสีในดินท่ีท�ำให้ความยาวเส้นรอบวง 1122)1)2ทท)ออทงงอแแดงดแงงดง((CCu(uC))uผผ)ลลผกกลารกคารานคาวนณวสณาสมารมถารจถดั จรดะั ดระบั ดคบั วคามวเาขมม้ เขขม้น้ ขขน้ อขงอCงuCใuนใดนินดไินดไเ้ ทด่าเ้ ทกบัา่ กบั0.50.–5 1–.51.5mmggm//kkggg/kแgแลลแะะลใในะนใในบบใเเทบท่าเา่ ทกกบา่ับั ก1บั1001––0 11–51m5gm/kgg/kเgนื่อเนง่ืจอางกจคาก่าควา่ คามวเาขมม้ เขขม้น้ ขขน้ อขงอCงuCมuีคมา่ ไีคมา่ ไ่คมรค่อรบอคบลคุมลชุม่วชงร่วะงดระบั ดตบั่ามตา่ กมาก

รูปรทูปี่ ท11ี่ 11ควคาวมาสมัมสพัมนั พธนั ์รธะ์รหะวหา่ งวทา่ งอทงอแงดแงดในงใดนินด(ินซา้(ยซ)า้ แย)ลแะลทะอทงแอดงงแใดนงใใบนใ(ขบว(าข)วกาบั) คกวบั าคมวยาามวยเสาว้นเรสอ้นบรวองบขวองงของ ตน้ ตยน้ ายงาทง่ีคทว่ีคาวมาสมูงส1ูง5105เ0ซนเซตนิเมตติเมรตหรลหงั จลางั กจตากดั ตขดอั้ ขมอู้ลมตลูา่ งตก่าลงุ่มกลบุ่มางบสา่วงนสอ่วอนกอไอปกไป 37131)3ส)ังสกังะกสะี ส(ีZ(nZ)nใ)ฉนบใบั ใอนบิเลใ็กพทบรบอพนวกิบา่สข์ว2อ7า้่ ขมตอุ้ลูลามคคมลูา่-ธคคนั วว่าาคคามมว2เา5ข5ม9ม้ เขขม้น้ ขทน้่ีไทดไ้่ีไมด่คไ้ มรอค่ บรอคบลุมคชล่วุมงชท่วี่เงหทม่ีเาหะมสามะสจมึงไจมึงส่ ไามมส่ าารมถารถกากหานหด5นช05ด่ว0ชง่วคงวคาวมาเขมม้เขขม้ น้ ขทน้ ่ีเหทมี่เหามะสาะมสขมอขงอZงnZใnนในบใไบดไ้ สด่ว้ สน่วคน่า5ค0Z5่า0nZในn ดในิ ดเมินื่อเเมล่ือเกลตือดักคต่าดั ขคอ้ า่ มขลู อ้ ทมี่มูลีคท่า่ีมตีค่าา่ แตล่าะและMMeeaann ggiirrtthh ((ccmm))ขสเตวสพงอ่าูงาขสเตวสียลงพหกงงอ่าูงงาจาภสวียรลงหพกงตาาา่ับงาจพากส4321วนอร้คนพตาทค00000กา่ับา1423ส่าเกี่กันอ1้คฉ่าน0ลท00000คา2กส.า่วเลุ่มก0หัZ่ีเ0ฉ่าลทคหทิา่ีย.อnรววลุ0่มหZ่ีเใมยาอับหทิEี่ยมนอใnารากสยใมยนxศEอะับรัมไนใาาtาสใกะxพryยงปนศะสaรบ0ันtดไมไา=ryาสใcะธ.ตงยaแปบวั0ขส5ร์บt-ด=มไราะcลทa1.้สอตห5ยง์แบวเั0t-ขbว้พีู่วงa1งรา.2ลท้lส่าอ6Pด0eไbง์ื่อเ0งสว3้พี่.ูงuงทดิlน62กxeCาPmดอsไR่ือ3เ0้ส2ปามงhท1uuดิxน2Cแกg+รRpาm.ลs2่าด=เ้/1พ0ปuาiม2aรh1ทkก+งnูกgร.0rท9p=ถฒลาgั0า่บiยัa1./พสี่.nsaร3k6กเ0ูกj9ากนลroa4ถ1ฒg.ั0.ดังบsยaั3h62iือาไ.ทlเjo4า1นด5xทลaก0(2ง(i6้ใ่ีส1hmlือาa+่ีนด–ช.ทx.5ทถs(ดก5ิ1น2่วg(mี่ส1+นิ าaี่ด6.–ชc/ง.5บถ(2sk.g5iิ(นคE่5วt162g/าxนeั8cวงmk..t5บ)d5r95i(ควาagt48g2นceมัจิว)mi79/t25dnakยเวัา)4.ขbgยม0จิ2lPi7ซe/ม้nาkย.เั(u)่Cึข0งงรgยsPuซมูม้ปนhา(ui่ีึคnงงpข(รททs2มsaาู่ปนh้ี่oี่เ5ใrี1คหpi(aทlทน5)22aา่jม(1่ีa่ีเ,ชซ5ใr12143หาha)า้ตน5่ว200000ยะj,ม1าa4321แง),ชสnรhาแ)00000ตน7่ว.0มละา,dาแงะะง.สขn.47รทท)น.0ออมาd–ไ่ีงาะ8.งง1ขแ.4ดไท)น0ด)อว8ปy้Zง–ไ.ี่าผง6ใ1้nดรไ=แนCล0)9yใะวแปล้Z-.บกuผใ06=ม้ลCะnรแ9นา(.ลiC2า-ะคnะรuแล10ด5กuณใศา่ม0.ละl2i0ินi2าeทnnึกร11าะค.5รaท5lดxRะณ่ีเ0ษel2ศา่หve2a210ิดนี่1ททe–าึกvรa+ม1=.xRบeทัs5ทาะ่ีเvษ2s1217าห0ใeคี่ไ)ด่ีท(+.ะ.1=–า.หm0(0s4มด1่าขบทัสา7407วค้12มา้(gใm.9ค.า่ี3ไมZm0ะ.4ว1ห)/4ีค0ดk4า่7gขnสกา2xgา่9ค้13มับ/้มอmกมk/-4Z)ใค3วkีคยงxg1วนวขngา1ดาาา่4/-้ม)อใ3มตวกk.ินใง211บยยงเgานวก94สา4ทดามทว2า.ว้ใต้ว21นเวิั่นงลสี่นา่บ94เาไก้นร1แสาท2่ามทรปอดว5ลอจ้นว่ัล่ีนบบบา่ั1ะะไรแา่5าปอดลจบบัะะ Mean girth (cm) Mean girth (cm)รูปรูปทวท่ีง1ลี่ำ�11ต1น้ คเฉวคลาี่ยวมทาส่คีมวัมสามพมั สนพงูั 1ธนั5์0รธะซ์รมหะ. จวหาา่ กวงพา่ทื้นงดอทนิ งอหแลงดังแจงดาใกงนตใดั ดนขิน้อดมิลูน(ตซ่า(า้งซกยลา้)่มุยแบ)ลาแงะสลว่ทนะออทองกอแไปงดแงดในงใในบใ(บขว(ขา)วกา)บั กคบั วคามวยามาวยเาสว้นเสร้นอบรอวบงขวองขงอง 50ต50น้ตนย้ ายงาทง่ีคทวี่คาวมาสมูงสู1ง5105เ0ซเนซตนิเตมิเตมรตหรลหงั ลจงัาจกาตกดั ตขดั อ้ ขมอ้ ูลม5ตูล0่าตง5ก่า0งลกุ่มลบุ่มาบงสาง่วสน่วอนออกอไกปไปMean girth (cm) 4040 40 40 Mean girth (cm) Mean girth (cm)กตาา่กตหงาา่ จหงนาจนดก1321าช0000กดก31231่ว)ลชก30000งสุ่ม่ว)ลคังงอสุ่มวคกอังอาะวกกมอสาะไกเมีขสปyไเม้(ีขป=Zแyขม้(-ลnZแ=9น้ข)ว้.ลn1-ทน้ 90)วใ้ส่ีเ.ท2นห1ใา1ส0ี่เRใมมนหx2าบ22า1าใมมR=+ะxรพบาา22สถ01บะรพ=+.8เม2สถวล.บ0123ขา่เม.ือ080ว2ลขอ7.8กข23า่ืออ้งx0ข0ชอกม78+อ่ว้งZชxลู 2งมn่วZ+5คคูล.งnใา่23วคคคน56าใา่ว.4มว3ใคนาา6บเมขวมใ4ไาบมเ้เขดขมขไม้้ม้เดนข้สขข้ม้ท่วน้น้สข่ีเนทหท่วน้ค231ี่เนมี่ไหท0000า่ ดาคมี่ไ213ะไ้า่Zด0000าสมะnไ้ ม่คZสมใรขnนม่คออใรขดบงนออินคดบZงลเินnyคมุมZลื่อ=เชใnมุมเyน-่วล0่ือชใ=งดือ.เ0นท่วลิน-ก10งดื่ีอเ2ตทห.ทิน08กRดัี่ทม1xี่เ2ตทหค22าา=ดั่ีท8ใา่R+ะมx0ขหค2สาา12.อใ้า่2=ะค้.ม1+ขห5มสว0121อ้คูล.้า3ม52.จมม71ทว5ึงx1ยลูา2่ีมไ3จม5า+ทมีค7ึงวย1x่ีมไา่่สเา0สตมีค+วา.9้น่าม่สเ19สตร0แา้น่.รอามล9ถบร9ะาแรอลถบะMean girth (cm)วสงูวสงลกงูงภาลวกาตาา่พวน้คตทา่ ่ีา่นเ้ค1ฉ0ท3่าเ.ลฉี่เท0คห่ียลว.่ีเาให0มี่ย0มEนาใม.ส2ะx0รนมั Eาtสพ.ะะรr2xันa0ดมสะธtc.บrั์รขด4มa0ะtสaอบหัc.ข4วb0ูงงtสอ่าalด.ไงeูง6งbส0ดินดไังlZ.eกเ้6ปดิน0ทnะ.สZเล้ป่าท8iีท0nกูกี่สล่า.บกยั8is1กูกnัดาo.บยัไ00งดis1าl.ทใ้ 5o.0งน(0่ี1สmi.ทดl–5.นิถ2(ี่สg11m–(า/Eถ..kบ5x211gาtgrน..ั/บam5)4kc1วนgัtgma.จิ )14/bวkยัgl.eจิ6gย/1Zkยัา(n.gยงร6iาnูป(งรs(ทoูป2ilี่)5(ท1(25ซ2ี่ 5้า11,ย5)2ต)1,แ0าแ)ลตรนะาาแส0ะงรงันกทนา1ะะง0่ีาส1ทนไใี 1)นี่วาใ01Zผไบ้ )แ2nลว(0ผลZกZ้inแnละ2าniลคnกร0leะi3ศlา่าneaทค0รaึกvvlศา่ี่เษee3eหทsึกa0าs)มี่เษทv4(หขe(า0าวี่ไmะมsาทด)4สาgี่ไ(กม้0ะ/มmบัด5kีคสคข0มg้า่วมอา)ก/ีค5มkขงว่าย0gดอกาา6้ )ิวนงง0วเกดสทา้น้ 6ิวนงวรั่ 0าก่อทไ7บแวป0วว่ัลา่งไะแ7ปล0ะรขสเพูปอขสเารพยี ทหูงปอาง(ลลียส่ีหรภงทำ�พ1�ำงตับสาาร1่ีตพอ้นน1พับาคเ้นสยอ1ฉนกทคั ่าคลาเาสี่วฉยกั่ยีวง่าคห1Zาาลาททิท3ววnมหรZงี่่ีคย,่ีคยทิ าับทวสnรใใามตวายนย่ีคับนมัมศาาใสาาสรวมารพยในศูงงะมั าสาบาสนาไ1ดัใงมพงต5สยูวบทงับธไ0สนรัาที่ต้ ยส์ร1วซงู์1เงธมรพ่ีาะ5ูงท้ )2.ง์์ร1เไ0Pหื่อพี่ห0ผดะ52uลวเกPล่ือ้0เซm0หsังาท่uากจhกนงวเgmราs่าาpซากสhา/่พตรกakตgรนงpศัrัิเบัดฒg/ัพมสaaึกกkตขjrอ้นฒตษgังัะaิ0เaมมกhราสj.านูล5aตททะตี ใhห(าา่รี่ไสaี่นด–ทงดลs(ีกิในหด้มaี่ดง1ลั นcsินมุ่ีคลจ.ินi(5ดบtา่าง2cั e(ากินกiจ5(ซมงdt2วสต4าeกา้ ่ว(้า5iกd7ดัยซนn.ง4)/ตอข)กกiา้7อPnซดัอแวย้ ก)กu่า่ขึ)ลไงม.Pซปsมอแะ้ลู hu่ึงีคสลมpsตมhวใaา่ะงัลู่าีนค่าpใrงกสตaรนa่ากะjยังะ่าใraชลสaงกดานhjุ่่วกมงีับะใ,aชมงนลบhสสn่วีแ,ุู่มงใี.า0งdนกงบnน.บ.4ววส.0)ใdาโ่า(.่ว–ไนงบข.4น)นดส้มว้ีไ0–ไ(ดป้่อตาว.ขด6)้ออนอ0รวป้ีกกบ.ะกแอา6บรมัส)ลไอชะแนปคากะ่วกมณลองวบั ไ0คงาะารปค.ตณวม5ะว0า่อยดรมา.–คา5ะบมั เววข1ดยา–คเ้ม.สบมั0า่าข1ว้นเค้นขm.เZ0ร่าส้มเgnหอ้ขนm/Zมบk้นใรgnาgนวขอ/ะอkงใใตสบขgงนบมาวโอมบใทใตงงนบลรขา่ีนตอดมทาอ่าน้นินดลจี่งนบั ตะา่าดน้จบั ะ และสูงกว่าค่าท่ีเหมาะสมของดินปลูกยางที่สถาบันวิจัย- พบวา่ เทา่ กับ 0.3 – 0.7 มก./กก. ซึ่งเปน็ ระดบั ใกล้เคยี งยาง (2551) แนะน�ำไว้ และค่าท่ีเหมาะสมของดินทั่วไป กับค่าแนะน�ำส�ำหรับพืชโดยทั่วไป (Jones, 2001)ของ5ส05�ำ0นักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาท่ีดิน (2547) ซึ่งมี (ตาร5า0ง5ท0ี่ 3) Pushparajah (อา้ งถึงใน Pushparajah, n.MeMaenangirgtirhth(c(cm)m)ค่าใ4น04ช0ว่ ง 0.4 – 0.6 และ 0.5 – 1.0 มก./กก. ตามล�ำดับ d.) 4แ0น4ะ0น�ำความเข้มข้นท่ีเหมาะสมในใบไว้เพียง 15 ส�ำห3ร03ับ0ค่าสังกะสีในใบยาง Pushparajah (อ้างถึงใน Mean girth (cm)เชมเปหว่กม็นง.ค123/าคกะว000่าก123าสท.ม000มี่แเ(ใตขตน้มกาใตขรบ้นา่าขงงทอทกี่เงหัน่ี ล4มมyอ)าาง=ะกใyกสน-อ0=แมขง.0ลค-ณ01(ะว.จ2ะรส0�ำ8ทเR1ูงปเxี่22กกปน็28=Rวา็น+x่าร4202ศช10=แ.2+.่วึก–1ล05งษ11ะ.28ค2.3คา501ว57ค1ณา2มx3รม5กะ้ั7ง+เ.,นxข/1ก2้ี้มพ+0ก5ข.บ91.5้นว90ซ0ท่า.่งึ )9ี่ 9 แนPuล่าsจะ12hะ00412pเ)พ00arียaงjaพhอ,สn�ำ.yหd=.รy)ับ-=ไ9ยด.-า19ป้ ง0.1รไ2ะ0ว1Rม2้ทx12า2่ี Rx=2ณ+22001=ร+.8ะ2ม01.ด23.ก820ับ0..2738/คก00xา่ 7ก8ส+x.งั 2+(ก5ตะ2.า3ส5ร6.ใี า34นง6ใท4บี่ ท3่ี Mean girth (cm)(ตารา0งท0ี่ 4) สดั สว่ นข0อ0งโพ1แ01ท0สZเ2nซ0Zียi2nnม0ilตne3่อa0lแev3eaม0svก4eน(0smีเ4ซ(g0mีย/5kมg0g/(5)kK0g/M)6g0)607070 00 โบรอนต0.ัว0(0Bอ.0oย0r่าEo.ง02xnEด.,t2xินrBa0tทr)c.a04ี่ใtชc.a4้ใtb0aนl.eb06กl.าeZ6ร0nZศ.08niึกn.ษ8ins1าo.คs01iรlo.้ัง0(i1นml .(้ีม21gmีโ./บ2kg1รg/.kอ)41gน.)4อ1ย.61ู่ใน.6 ช่วง 0.14 – 0.61 มก./กก. ซึ่งเป็นระดับตำ�่ ถึงปานกลาง ในการศึกษาคร้ังน้ีไม่พบว่าการเพ่ิมข้ึนของสัดส่วนรูปรูปทสที่ �ำ1่ีห11ร1ยับคายควคงาวาทวงามา่ีคทมสมวต่ีคมัสา้อวมพมังากสมนพั าูงสธนรั ขู์ร1งธอะ5์ร1ง0หะ5พวเ0หืชซา่ โวเนงซดา่สตยนงังทิเสตมกั่วังิเตไะมกปรสตะีใหผรสนลีลใหดกนงั ลาินจดรงัาศิน(จกซึกาต(ษกา้ ซดัยาตา้ข)พดัยอแ้บข)ลมอแ้ ะูลลมสตโะูลพังา่ สตงกแงัก่าะทงกลสกะุ่มเีใซลสนบียุ่มีใใามนบงบ/แสใา(งบม่วขสกนว(่นวขอาีเน)วซออกาียก)อมบัไกใกปคนบัไวดปคาินมวมายีผมาลวยตเาส่อว้นคเสวร้นาอมบรเอขวบ้มงขว้นองขขงอตองน้งตน้

นะนาใหเ้ กษตรกรใส่ป๋ ุย K โดยไมไ่ ดใ้ ส่ป๋ ุย Mg ซ่ึงพบทว่ั ไปในการทาสวนยาง ในระยะยาวบตอ่ การดูดใช้ Mg และอาจส่งผลต่อการเติบโตของตน้ ยางได้ พบวา่ ความสมั พนั ธ์ของสดั ส่วนละในใบกบั คว3าม8ยาวเส้นรอบวงลาตฉน้ บับเฉอเิ ลล็กี่ยทรหอนลิกสงั์ 2จ7ากตุลเาลคืมอ-ธกนั ตวาดัคมข2อ5้ 5ม9 ลู ที่มีคา่ ต่าและต่างจากกลุ่มามารถเลือกช่วง 50K/Mg ท่ีเหมาะสมที่ทาใหไ้ ดค้ ่าความยาวเส้นรอบวงล55า00ตน้ เฉลี่ยสูง ในดิน0 และในใบในช่ว4ง03.0 – 4.2 (รูปที่ 12, ตารางที่ 1 และ 2) Jones (2003) ร44า00ยงานวา่ ค่าสัดส่วนท่ีMean girth (ccmm))บป๋ ุยทางใบของ K30/Mg ตอ่ การเติบโตของพืช คือ 8 : 1 ในขณะท่ีจาเป็3น300อ่อนทอง และคณะMMeeaann ggiirrtthh ((ccmm))ง K/Mg โดยวธิ ีเส2้น0ขอบเขต ท่ีเหมาะสมในใบสาหรับการเติบโตของลอ2ง20ก0องในช่วง 6.6 – 8.4าวกา่ พกาชื รอศ่ืนึกษๆาสในอดคคร1้ังล00นอ้ ้ี งแกสบั ดทง่ีนใyหุช=เ้นห-0า็น.4ร3วถ2า่ 8กยRxาง2ั222งพ=+ก0ิศ303่อ....ด2323น4444า919เ1รป3131ิxxด(2++ก52ร246ี6ด2..9)9ต88อ้ร33างยกงาารนป๋วุยา่ กMารgใส1ส1่00ป00า๋ หุย รMับgกใานรเสตวิบyyนโ==ตย-2-าใ2.ง1น.17ท777่ี2R2xRx2222=+=+0101.52.5.218.1846496999xx++33.3.33444ามงีนพยันั สธาุ์ดคีรญั อทบาภสงาอพสงทถี่ 1ทิต4าิ.10ใคหวก้ามาสรมั เพต2นั ิบธร์โะตหขวKา่ อง/4Mสงัดตgสน้่วiนnยขาsอ6ง6งooโทiพillแ่ีเพทส่ิมเซข8ยี8้ึนมตใอ่ นแชมก1่ว1น0ง0ีเซอียามยใ4นุ ด2ิน–(K7/M2gเด1in1ือsนoil)ส(ซูงา้ กย22)วแา่ ลกะาสKรัดKไส/M/3่วมM3นg่ขgอinงinโพlelแeaทa4vส4evเesซsียมตอ่ แ5ม5กนีเซียมใน6ใ6บ(K/Mg in leaves) (ขวา) กับความยาวเสน้ รอบวงล�ำตน้ เฉลย่ี ทีค่ วามสูง 150 เซนติเมตร หลังจากตดั ขอ้ มลู ตา่ งกลมุ่ บางส่วนออกไปรูปท่ี 102.5แคลวะาคมวสาัมมพสนััมธพ์รนั ะธห์รวะา่ หงสวา่ัดงสส่วัดนสข่วอนงขโอพงแแโโททพพสสแแเทเซทซสียสียมเมเซซตตข(ียี2ยอ่อ่อม5มแบแต4ตมเม9ข่อ่อก)ตกแแนนไมมทดีเีกเซีเ่กซ้คหนียน่าียมมีเขมีเซาซใอะใียนีงยสนมโมดมพดใินใในแินนนทดกใดกสบินบัินบัเสซแ(ำ�แ(ีซยมหซมมา้กรา้กย/ับนยแน)ก)ีเมแซีเาแซกลรียลนีเยะมตะีเมสซบิใสในียัดโนดัตมสใขสใบ่วอบโ่วนดง(นบล(ยขบขอวนอนิธงอง)กีเง)สอ้นงMg in leaves (%) 0.4โพแทสเซียมตอ่ แมกนีเซียมในใบ (ขวา))กกบับั คคววาามมใยนยาชาว่ววเงเสส้น้น6ร.ร6ออบ–บวว8ง.ง4ขขอสองูงงตกตน้วน้ ่ายยคาา่างงททที่ไ่ีคด่ีคว้จวาามกมสกสาูงูงร1ศ15ึก50ษ0าในคร้ังน้ี 0.3เซนติเมตร หลงั จากตดั ขอ้ มูลตา่ งกลุ่มบบาางงสส่ว่วนนออออสแกก�สำไดไหปปงรใับหก้เหา็นรวเ่าตยิบาโงตก่อในนเสปัดิดสกร่วีดนตท้อี่มงกาากรกปวุ๋ย่แามพกืชนอีเ่ืซนียมๆ 0.2ดเสลงัดั ือภแนสกมา้นั่กวพชนกนท00่ว1ีเ่ีซ..าง6011ียKรค)4มเ/0.ใพ่าสC2นัดิ่มดaKนิสคปใ/๋วก่CวนุยาับนaมแดK2มสขินทักมอโนม่ีเพKหดงเี ัซีผน/โยมยีMธพลมไ์ารgตใมแะะน4ห่อiท่ไสใnบวคดสม่sาyวใ้เงoท=ซาสสil่ีทมั-ดีย่ป0(Rสmเา๋.ม6ข0ุย2่วใ1g=ตมน้ห0C/่0ขkอ1ขไ้.axอg1แน้ดง)2+ซคโ2คข้ 0พ่ึ7ลง8ว.อแ3พเา2งซทบม9สีย9KKยเทยทซมมาีาวยใั่วใั่วว1มนไนไเ0เตสปสใปใ่อบ้นใบ้นในนรรแ(แ(กอKกอKตตสสสแ–บาบา/พ่ /รำ�อพ่อมCรวC7วคทบงดกทบงa2งaัญคาวลน)ทาวล)สเา่ลีสาทเใ�ำา่ดาใซมตว้นอใมาตวนือียหีผนนงง้ีกผนน้นกมส้กกลยเาลยเฉถาใัาบตาฉรสตารนรติลงทศ่อูงลงเศ่อสิต่ีย่ีนกึกคจี่ยึกคจวสิบวุึงชษวสึงนษวู่โยางนาาูยงตายกาง่ิมคาใงิ่มขคาทใารเนรทอขเงนรรถ้าขังทงด้าไมัง้ใดนมตม้ใี่ิปนน(หขิน้2หี้นไข่ใ้ลีใไนย้้5สมยในย้้นูกมา4ข่ปนา่พางขแช2่พงงอุ๋ยชขบอท)ท่วขบงแ่าวงวี่เนงารดมพวงCา่าดดCแา่กิ่มกย0aแ้วกค0aนขา.งยคใ4า.รึ้นลีเาใ4นยซรลเนในน–พีเยาในน–พวใงบม่ิมชC1่าบม่ิพC1อ่วข.กa(4ัข.นงย้aรึน(า4อส้รึนธู่าปรแสขาูปุ์าแใดงขลทยอามสมีลรทอะมุ่ีง่ปีอาน1ะ4่ีใงาร1บุั๋ย3ย2ในรถ3)นถ)ใบในช่วง 0.8 – 1.4 เน่ืองจากค่าสัดส่วนของ KK//CCaa มมีคีค่าา่ ไสไมัดม่คส่ครว่รอนอบขบคอคลงลโุมุมพชชแ่ว่วทงงสรระเะซดดียบั บัมตตต่า่าอ่รรวแวมคมถลถึงเึงซรรยีะะมดดบั (บั Kสส/ูงCูงaทท)าาใใหหไ้ ไ้มม่ ่(สเ(เหห22า55มมซเแโม4ก4พึ่งามาา99ษพะะแรก))ตสสบทถนไไรทมสมจีเกดดซ่ัวเดัสสรคคซ้้ียไใราาีปย่าา่มสะหหขขมใใ่ปดนรรออนใุ๋ยบััับกบนงงใโาบชพใปปKKรบ๋้๋นัแุยุยท(//ทภไททCC�ำแดสสาาaาaตเพงอว้งซ่โพโในใยทียดดบบบยา่่ีมยยงว1าขขววส่งา4อโอธิธิดม.มง2ใงีเีเยีผสนบส)ไKลKร้นูร้นมดะต/ณ/ขั่ไงCขยC่อดนอะ์อaaค(้ใ้ันยบบสรวตาตูเป่ปาเกขวอ่ข่อมุ๋ยทาอตกตกแเราี่ ขาแา1ทมจทร้มร3นมกี่เเี่เเหข,ตหะีตผนต้นินบมตลีเิบมซาข�ำากาโาโรียรอใะรตะตามหาะสงขสงขง้ มทอมทอใง่ีใง่ี1น1พโโ แนพพพแใคืชแใืชแแบลบลลคททะคสะเสือสซสือใาาี2นเยเห2หซซ)ก4ม)ร4ียียราJัใบJมม:ัoบรน:oกศ/nใ1กnแใ1นeึกาeาบคsรษใใsรใลบเน(าตเน((2เตค2ขภซิบ0แขิบร0ียณา0โต้ังณ0โมพ3นตะ่พ3ตะ,ใี้ไทขท,บนขมท3ี่อ3ี่จดวอ2่พ่ีจ1ง2า่า1ินงบา5ล1เม)ปลเมว.)ปอี2ผร็อี่าผนร็งนา)ลกงลากยอาตกยตดอองร่อ่ออง่อัางเ่องพนาคนงคนอนนอิ่มวทั้ววนยทาวยขาา่ใอู่ มา้ึน่ใมอู่คนกงคนเขเง่าาชขขแา่อสชรแ้ม่ว้สมลงัดเ่วลงขสขพดัะงสะ้ัดน้นค่ิสม1่วคสขขณ1่วป.น่วณ4ออ.นุะ๋4นยทงงะ–ท–่ี ่ี1กเ1กเพพ..่อ่อ88ียยีเขโทนนสพงงบสอสเ้เนพพแปปตงููงงรทิอิอต่อกดกดอสก้วกวกบนกกเาาา่่รรซวต็็ตยรคคีีดดงียดออ้า้ า่่าลมมมดูงงงทท�ำ/าาเเใไแพพต่ีี่ไไชกกดมดด้นแ้ิ่ม่มิกก้ จกจ้เม้ปปววพฉาาน๋๋กา่าุ่ยุยลบกกีนเลล่ีซยกกKวKเีออียซหา่าางงยีมรใลรใกกมหศหัใศงคออนจึกึกก้ก้วแงงาดษษบับัาลกินเเาพมะาลพลเแใลใออือ่สอือ่นลนือางัใงมใะจคกคกหกหใพสตรรอนอส้้ส่ง้ัั้งัดนังงผใงดันัดนขธมบมลส้ี้อส้ี์ากขตแาแ่มวก่วักบอ่อสสนูลกนกกคงดดทขวาสขววงงี่มรา่อาัา่อดใใเยีคมยงตหงหสาา่ายบิ เง้K่เงว้Kหตาโหกกนต�่ำว็นต่อ็นต่อ่อวน่อวนา่ าเ่CเหปCโสทกหปพิaดาาาิaี่ทดากแมรมก�กำมกทใทาใีครใีคร�ำนหรีสดน่าีดถส่า้ไดตเดตเซวดิ่ลนานิ่นีาย้คกือกมยวมวกวีปาาโีปา่ช๋ดงา่มุ๋ลย่วุลยยยองจอไาคKึงงมKงวย่ากก่ไเโอ่ิงอสอดพอทยง้น้ยใแ�งำเู่ สทรเู่หใททหอ่ปหา่สรา่บกรุ้ต๋ยืเอกืซวอน้นแั หนังียหยคตลามตาลาอ้�กำ/อง้กแเตงใขซงใคเน้นีาพยเนลพเดดมิม่ฉดเแม่ิินซลปินซคียป๋มี่ยุย่ึง๋มลมุยสีพนCที ูงCCบแ่ีเaCหaใaทคอaนมั่วลอใยดาไเใยหอู่ะซปินหอู่ สยยี้ยใใยย้าาม่มนนาา่งงงงและต่างจากกลุ่มออกไปแล้ว สามารถเลือกช่วง ช่วง 0.4 – 1.4 และ ในใบในชว่ ง 0.8 – 1.4 เน่อื งจากค่าโพแทสเซียม/แมกนีเซียมที่เหมาะสมที่ท�ำให้ได้ค่าความ สัดส่วนของ โพแทสเซียม/แคลเซียม มีค่าไม่ครอบคลุมยาวเส้นรอบวงล�ำต้นเฉลี่ยสูง ในดินในช่วง 2.0 – 6.0 ช่วงระดับต่�ำรวมถึงระดับสูง ท�ำให้ไม่สามารถจัดระดับและ ในใบในชว่ ง 3.0 – 4.2 (ภาพที่ 14.1, ตารางที่ 1 และ ช้ันได้อย่างสมบูรณ์ (ภาพท่ี 15.1, ตารางท่ี 1 และ 2)2) Jones (2003) รายงานว่าค่าสัดส่วนท่ีเหมาะสม Jones (2003) รายงานว่าค่าสัดส่วนที่เหมาะสมส�ำหรับส�ำหรับปุ๋ยทางใบของโพแทสเซียม/แมกนีเซียม ต่อการ ปุ๋ยทางใบของโพแทสเซียม/แคลเซียม ต่อการเติบโตของเติบโตของพืช คือ 8 : 1 ในขณะที่ จ�ำเป็น และคณะ พชื คือ 4 : 1 ในขณะท่ี จ�ำเปน็ และคณะ (2549) ได้คา่

0.00.0 0.50.5 1.0 1.0 1.5 1.5 2.0 2.0 0.00.0 K/CKa/Cinasionils(omilg(/mkgg)/kg) 39 ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2559 5050 50 50 4040 Mean girth (cm) 40 40 Mean girth (cm) 3030 30 30 Mean girth (cm) 2020 Mean girth (cm) 20 20 1010 y =y-8=.1-188.141x824+x12 4+.41645.4x6+5x27+.02774.074 10 10 y = -1y7=.4-7127x.42 7+23x72.3+6387x.3+6183x.0+1123.012 R2 =R02 .=2500.23503 R2 = 0R.235=701.3571 00 00 0.0 0.0 0.4 0.4 0.8 0.8 1.2 1.2 1.6 1.6 2.0 2.0 0.00.0 0.50.5 1.01.0 1.51.5 2.02.0 2.52.5 K/CaK/inCaleianvelesaves K/CKa/Cinasinoisl oil ภาพที่ 15.1 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสดั ส่วนของโพแทสเซียมต่อแคลเซียมในดิน (K/Ca in soil) (ซา้ ย) และสดั ส่วนของโพแทสเซียมต่อแคลเซียมในใบ (K/ Ca in leaves) (ขวา) กบั ความยาวเสน้ รอบวงลำ� ตน้ เฉลี่ย ท่ีความสงู 150 เซนติเมตร หลงั จากตัดขอ้ มูลต่างกลุ่มบางสว่ นออกไป Ca in leaves (%) รูปรทูป่ี 1ท3่ี 1คโ22ค3พ..ว50วคโาแคาพมวมทวาสแาสสมมทัมมัเสซสพสพัมียัมเนั นซัมพพธีธยตนั์รนัม์รอ่yะธะธตแ=ห์รห์รอ่คะ0วะวแ.ลห2า่หา่ค0เงวงซ0วสลสา่4ียา่ Rเดังxดังซม22สสีใ-=ยัด่วนดั0่มว0สน..ส7นใ3่2วขบ8น่วข32นอน7ใอ9(xงขบขงขโ+อโวอพ(1พงาขง.)แโ3แโว8พกทพทา6บั)สแ4สแกทคเทเซซวบัสสียาียคเมมเซมซวตยียตาียา่อมแยมมอ่มวมแีจาตยแเต�ำคกสกาอ่ค่อนนวลท้นแลแวีเเเ่ีจคสรซเซนคซีอยะล้นีขยลียมบปเ้มอรเซมซรวมอใอีใยะงียนูลีบกนมขมมททดวดใอาี่ใคั้งินงินงคณรขตดอ่า(ดอกคซสนิ้บนินงบั่ัดา้าคยตย(แสทาลกซน)้่วคงีุ่มเบัา้นแทหยลรยแขลาี่ะคมเ)ซคงอะดวาแทงีลยสับาะแลม่ีคเมทดัซสคะใวสี่เสลมียสหนาูง่เวมขมมซัดใน1ใอียาบสส5นขะมงูง่ว0(สอแ/ใบนแ1มบเงคมซน5ขนลก0(น)อ้อบเนแเงตยซซีนเลีมซิเยมน)ียะามตแมก/รลิเมะตร ห1.ล5หงั ลจางั กจตากดั ตขดัอ้ ขมอู้ลมตูลา่ งตกา่ ลงกุ่มลบุ่มางบสา่วงนส่อวนอกอไอปกไป แมกนีเซียมได้ จึงหาค่าสัดส่วนที่เหมาะสมของ แมกนีเซียม/แคลเซียมแทน ถึงแม้ไม่พบว่าการเพ่ิมขึ้น 1.0 y = -(เคเสคอรม8ปข2อKยา่ว.่ีจง1็10ม้น(เคเสอรคมสบา/า่เา.1ปข20Cส0ของยมา่ว่8ีนจงดั ็ว03ม้Mนเข1เภใลใปa4สเรนบา่า้เาหหสนRดส0ว)งหาส.xอขอุิ๋ยงมมน4ด1ดัพi2็มนgขว2ล3นียัมMร่n้สวงเแินรงน้7=ทสใ+/ดสว)งาวอ–าวกา00ันดิพขCโ1มค่ีsกห)10gขะ่ลาต1ยนียัม1ร่..โองพว.บัส1o50อล.้ท7aนใ4ส5สั/5ง2เ้อาวนาดง้แนพขi.Cก.่.หแวห)เม0l58ม24ัาต่ียเดMธคโซงยเหนเ0อิ้า.6ทดหaนนทสัูลลฉใงทเ0้น์คดีกยส้3ไส5กกขมเนgรมกัาว่ีเสดMธทวซลxม่มบย่าูงัวเหืเอใาิอดนใียลูฉาาท2กาก่์เกใสี่ใมน+ยไี่คนเ่บหมคงgรซมกะค.พหนวทวสล่บสมบา่ัดใั02วรโาสวีขขสัมยา่นา่า้าย่กพ7ใ่ีมิ่ยี่ใคินูอนก่เงค�ำพาใครสะา.อคพม0นมาบ0บบสแัปใมหรมบันดวข่าข0สใ.งง7่าดั น/๋ข่มิใธท5ูอีปรงท.Kยุย4านกแคแสาแแอ์5ร0มสดบับ2อสปมบุไ่ีะ๋ายด/่อคใมลใคต.ดงCัด.ินCด๋ห่ขกววง5เโ5นนยุยนแคลแุแมซกพ่ิลวนaสพจ้มานเอaา่าเคสใมขีลนยตดนรMารเปCีบแ่แใงiววงทดนnซเสลกมุณม้ะนกพ่ินนิคีดทเตนเaวัดีgวซี่ย้เกสขsดนตนรMCหรลกิสบบใสชะา่/ท1ยดาoมีบณ่ย้ะCนัอ่วอนมเรเีaเทโ่วม.วรiซgนซวซี่้เ0ีดตlโมดแจบทCaศหรีผงชะขา่ี่มีาย/ีย(ดยมขะจีคบยCัตmอกึอมะี่ลวเaท่วมมม25413าแยอหงยาา0ลมจษ่บทอaสง000000ีผตกโงgออ่ีมาเงกท.งว่ิพเมะจปล0า2ตแ/ะล่ีลยวอ่เมขยซิkทกแาธแ.หนใยา0็ าาค่น0ูอg่อ้ีสองูท่ยเคึตกนสีวน–เเาทะ.งตทิ่ มส)1ปลลงยส2แม่าว่อขมคถใาทสเอ่านก.0้น็่ลซาาเาค5้หนาห้รนึคึงนสซก–.ียออ่ามะงตสมอเง้ัม6ลแฉยม้ขวันรถใเงาีนยนสอีงนนค0้าพ0เตเมาหัอบาอหลขแึงก้ีซมม..อ่่อ่มทาสงีอตยเ้มแ4ย6ไ้แบล่ีอปยฉมย้แ้รตีดายนง้นสอยอู่ใามเ๋คมงมาัะบเรข(ลขุแย�่พำนูมดมดงมลงทขงMอ้่พy2ใถไา้ทกนลี่เปยมเ้เอ้ชงใดาาซตพพนก.ยอ=แม๋Kบเวใ0ม่วชะีายรกขgข(ุยลูด0ม่ิทมห-่ืกอกงล/่าใMมงงพ่ ใ1วถ/าC้ท.อนื้อใี่C้็บย87าใวะCนกาแ่aบเ.งชกากgขบาล4า่คกaใกลaใงi7กว/คช้nอืนอ)ขณา2CบยใเสเขใแเขแเดแขวใะCRาไ่ทสา่ขx่พวรตงCบนlกใอชบ้นอา�ลคว้าาeม2ำ่คก2aใะสด้มaน้เงิน่ิ่ีจมดบใกa=ยคชง1+aงะดขพ่ลหวนก)ขณานคนข้รดัvะ.นิสป0ไอท(3กโเา่่งวรแe2รนจCอใ่ิมอCช้2นซ.ช2า่ใ7สตปอั้นะดส3ดุังs๋ยบเางะนบี่ีจเค.)ยีว่งน5a5ขข0พ่ว3aแซ่ขยั้นสรวยรนคแ้ัด7ปะ6วงMมล4อJ./้(กงึนคีใยล1ศอมิ่่3น8ะCิง่วMม2า่งใoสุปอ้9๋งเยนx0บาทลมนลึขงกทีแมงgน5ข0nกแaข)่ย–ร1.วทร+gแเ�ำพ�ำ/3คแ/M่าe4.อ/ษ้านมึนซ.ยอใ(แไลศC3นะM1ใา6ตคกsณล9ื0มตชงียีเกบ3ง่ิหาร–ดงคึขงกมงga้นซบัข.).เลส–กคหมูอ่น0g(ป้ต5ซคใคล้/อษ0ียเา2C1ยคอ(ไเCนรใฉีบเ0กัด้นียาทเา่2ท.ณ0า่ซ0ตมซง(งิ่ืนา้ร5ดอซงa.ัีงเลกมaทยาสทขร0.ี5ีสยยซคี่เหู่อ่อ/ปี2ใ5ยนคครยี่้หูานใป3(อM่Cี่เวี่ี1เมบย.มยใร2กดัภมหาหเ้สง0ทา่นทีา่)พ้อง(มน4ตน้ทมใaั่งาดกมาทาสgทงูทรยแมรมนี่(เ่ี)ดข/บิ:บานง/พร่ีดูหูภใปาาMี่เ่อี่ใแเว่ี1เคอใณ1ะาเิานหหเห้วใดนยทโีน1พกาดMบยม4ตนคะทะ4สลีกชgมานงต่พะี่ดงีมยัขม่แูด)ส,บลสิบา1แ้เ่ีาทคมgหทานแขินึ้้ทวนซลอั1ะตาิาน6เนคมวมด/โา่ะ้ี่Mงทตซรโัใ้ี่ีะอ้วะ4ยนCจั.สีกามวลสาดนต่ืส1นข1คองขีัยพจสส,่ี�ำสรทงม่าทaคหเมgี6ยนมชขดั้อคะา่อมนซเัตบพแาคาCม/าม/ป.า่้่วไสงทยาทั้ิียงสแองด2นงCใัใลมว่าาใมชืสมงaน็กขคข่ิงนที่มท)ัดน่ีทรส่มาง่ะหเวaหาCีส่เดัม0อป่าอCดมไน�พำาคัดแ่ีสพดCนกดราไ้ง่11สด.าaงสงใีิกงนีผ็ใสล2aนืใอถัง่ิอ่เนม้ชืิวนด6aขก/้นหทสัดน/นแล่่วหMะามวเแ.ียนC–ปMเค้อมอ้มร้C2ไรนนล2คคต่ีั้ซนสลีนผดอไ้มิมุ1ด๋ย0aย;ขวgงเีกีืผทณีอ่aอยืgอะอ่ล้พิว:นดยข/.ใ้แกลคตาหอ/แ6ี่เคลMากใมหตยน1Mะแหู่Mไมค้อิ่มงคามวนาร2งนวลต2ชแตเ้่ออดลรมาขวยกg(ลงยีกปหเีาผเg)gะ่2า่อพลใC:วค่ยมอซา๋ว้า้าม่งิมเิดอลจุย/งร5ใบะซJงค1ะแีวหวู่มMไกยCยaจ่มิ ีกกเทงื4นึงoอต2ีคยสขา/โเวดาลใะาามยาาปaหี่9MสหMn)คgม้มมมน่อใก่Cด1าาวรรรย๋ว้า้)/eุจย/้รนบาิมดมJคยวggง่ิCaจsืึงoอี/โเวะaMสหMnคดายe้นาิมดมยgงgิ่ sีMean girth (cm)0.5 ต้องเพิ่มปุ๋ยโพแทสเซียมให้กับลองกองมากกว่ายางก่อน ได้ค่าที่เหมาะสมของแคลเซียม/แมกนีเซียมในใบโดยวิธีสัมพนั ธ์ระหวเปา่ งดิ สกัดรีดส่วนของโพแทสเซียมต่อแคลเซียมในดิน กบั แคลเเ5ซส.ี0ย้นมขหใอรนบือใเคขบิดตเ(สปบ�ำ็นนหแร)มับแกกลนาะรีเซเตียิบมโ/ตแขคอลงเลซียองมกอใงนในช่วชง่วง0.32.09 – –สัมพนั ธ์ระหวสา่ งดั สสัด่วสน่วขนอขงแอมงโกพนแเี ซทยี สมเซตีย่อมแตคอ่ ลแเซคียลมเซีย(Mมgใ/นCดaิน) (ซา้ ย) แล0ะ.2ส6ดั สต�่ำ่วกนวข่าอแงละแคบกว่าค่าที่ได้จากการศึกษาในคร้ังนี้สเซียมต่อแคล เซียมใในนกใาบรศ(ขึกวษาา) คกรบั ้ังคนวี้ าพมบยวาว่าเคส่า้นสรัดอสบ่ววนงขขอองงแตมน้ กย-างที่คแวสาดมงสใูหง ้เ1ห5็น0วเซ่าตน้นตยิเมาตงมรีความต้องการแมกนีเซียมในากตดั ขอ้ มูลต่าวนงงีเกซลีลย�ำมุ่มต/บแ้นาคเงลฉสเล่ซวี่ยียนมมอาอมกกีคไกวปวา่มาสคัม่าพสันัดธส์ก่วับนคขวาอมงยแาควลเสเ้ซนีรยอมบ/ อัตราส่วนท่ีมากกว่าแคลเซียม สูงกว่าลองกอง แตใ่ กล้เคยี งกบั พชื ทวั่ ไปส่วนของแมกนีเซียมต่อแคลเซียม (Mg/Ca) ในการศึกษาคร้ังน้ีพบวา่ คา่ สดั ส่วนของ Mg/Ca มีกบั ความยาวเส้นรอบวงลาตน้ เฉลี่ยมากกวา่ คา่ สดั ส่วนของ Ca/Mg อีกทงั ค่าสดั ส่วนของ Ca/Mg

0.0 0.0 0.0 0.00.1 0.10.2 0.20.3 0.30.4 0.40.50.50.60.6 Mg/MCga/Cinasionils(omilg(/mkgg)/kg) 40 ฉบับอเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 50 50 50 50 40 40 40 40 Mean girth (cm) Mean girth (cm)30 30 30 30 20 20 Mean girth (cm) 20 20 Mean girth (cm) 10 10 y = -y53=.3-53x.325+3x422.+20432x.2+032x5.+8225.822 10 10 y = -1y6=0-.1650x2.1+51x21+7.19137x.+931x1+.6112.612 R2 =R02.3=3705.3375 R2 =R02.4=506.456สาหรับการเติ0บโต0ของลองกองในช่วง 3.9 – 5.0 หรือคิดเป็น Mg/Ca ใน0ช่ว0ง 0.20 – 0.26 ต่าวา่ คา่ ที่ไดจ้ ากการ0ศ.0ึกษ0า.0ใ0น.1คร0้ัง.1น0้ี.M2แgส0/ดC.M2งa0gใ./i3หCnเ้ a0หs.oi3็นn0ilว.s4า่ oย0iาl.ง40ม.ีค5ว0า.ม50ต.6อ้ ง0ก.6าร Mg ในอตั ราส่วนท่ี0.1 0.1 0.2 0.2 0.3 0.3 0.4 0.4 0.5 0.5 Mg/CMag/inCaleianvelesavesกวา่ ลองกอง ภแาตพ่ใทก่ี 1ล6.เ้1คสียดั งสกว่ นบั ขพองชืแมทกวั่นไเี ซปียมต่อแคลเซยี มในดนิ (Mg/Ca in soil) (ซา้ ย) และสัดส่วนของแมกนเี ซียมต่อแคลเซยี มในใบ (Mg/Ca in leaves) (ขวา) รูปทรี่ ูป1ก4ทับคี่ ค1วา4วมายคมาววสเสาัม้นมรพอสบนั มวงธพล์ร�ำนัตะน้ ธหเฉ์รวละ่ียา่ หทง่คี สววาา่ดั มงสสสงู่วัด1น5ส0ข่วเซอนนงตขแเิ มอมตงรกแหนลมังีเกซจานียกตมีเซดั ตขีย้อ่อมมแลู ตตคอ่า่ ลงแกเลซคุ่มีลยบมาเซงใสียนว่ นมดอใอินนกไดปกินบั แกคบั ลแเซคีลยมเซใียนมใใบน(ใบบน()บแนล)ะและ ส(บขดัา1122วงส....าส(บส5005่ข)ว่ดัาวนกวงนสาบัสข่)วอคอ่วนกองนวบักขแาอไคอมมyอปงวยก=กแาน3ไมวม.ีเปเ8ยกซส4านีย9้นว6มีเเรRซxสตอ22ีย้นอ่-=บมรแ30วต.อค.2ง3อ่ บ3ลข2แ24วเอ1ซค3งxียลขต+มเอนซ้ 1ใงี.ยยน5ตาม6ดน้ง9ใินท5ยนา่ีคด(งซวินทาา้ ่ีคมย(ซว)สาทแ-5แา้แูงมย0คม0อล1)ส.งลก-ะ75แแูเนง6สซ0มดล0ีเีย1ดัซงก0เะมซ5,ียส,.ส/0มส2กน่วใดั5ัง,กนเตนซกส.โช-ิเะขพนตมว่่3วสอแงา5ตนี ม,ทงแ2ริเข3มลแสล.00อ�ำหมเตะซดง-โก–รลียบับแ9นงมั6รห0มแจอ./ีเ,0แกลซลาน0,คนกงะีัย.05ใลจสตมีเน.ซเ-ดัา4ดซัตชก1ีสยียข่ว–่อ.ตว่ม5มงอ้แน1ด,ัตม1ค.ข0แข4อ่0อ.ลูลล5อ้แแงตเะ-มซค-ลโ่า21แพูลีละยง0.มแมตเ5ก,0ซกท4่าใล.แี2ยนงส0นุ่มลมกีเเ–ะใซซ-ใลบียีย800นุ่มมม0..63ใ,//บ Ca in leaves (%)ตารตางาทรา่ี 1งท00คี่..1า่05มคาตา่ มรฐาตานรฐเบาน้ืองเบต้ือน้ งสตาน้ หสราับหแรปับลแผปลลกผาลรกวเิาครรวาเิ คะต หราา์ดมะินหลเ�ำ์ใดพดนินือ่ับใเปบพรคอ่ื ะวปเรมรมินะีคเรมวะิานดมรบัเะขธด้มาบั ตขธุอ้นาทตหี่เุอหาารมหขาาอะรงสขยมอาขงอพยงาธงราพาตาุรา พนั 0ธ.พ0ุ์ Rนั Rธ0ุ์IR.M1MR6IgM0/0C0.6a20i0n0s.o3il 0.4 0.5 0.6 ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส, โพแทสเซียม, แคลเซียม, Mean girth (cm) (mg/kg) แมกนีเซียม, และ ก�ำมะถัน ในช่วง 3.0 – 3.8, 0.25 - ตล0ช่า.่ว�ำ3งด0ตับ9,่า01ธ.-0า1ต-3ุกเ1ห0า.,4ลรเ3,็กจหก01ด,ั าม0.ร0แาเะ-จหะม-ด5ัสมง10บรักม.า05ะาะ,,ดนส1>บัีสม0,0-.ท31อ55งแแแสลลดูงะะงส04แ.ูง02ล-ะ- 80โ0.บ3สมร%ูงอกมน.ต/สากกาูใงกมนม.าก ภาพที่ 16.2 ความสัมพันธ์ระหว่างสดั สว่ นของแมกนเี ซยี มต่อแคลเซยี มใน สมบดสินตั มิทกับบาแงตั คเิทคลเมาซงยีีขเมคอใมงนดใีขบินองดิน (วธิ ีว(เิวคธิ รีวาเิะคหร์)าะห์) หน่วหยน่ว50ย ต่ามาตก่ามาก 40 <ต4า.5<มล4�ำ.5ดับ และ4ส.5ัด-ส45.่ว5.0น-ข5อ.0ง โพแ>ทส5.เ0ซ>ีย5ม.0/แมกนีเ-ซียม-, pH (p1H:2.(51i:n2.w5 aintewr)aterส) รุปผลการศกึ ษา - - -503B..2S35(3BcRxa สดภพS202lวัชานัc=+.(3นuคนธc04lใaุ์ีก.2R3นตlt.cาจ3e2R�ำต้u0ร)7า0ผIอlเ.53Mกa4ตลนxtผeิบกบ6+)ลาโน02ตกร00ฝ5สา..ั่ง5(8�ำรรคตะ2รสะว2วย�ำวาจะร0ันมมกว.อย6่อาจอวานธกิเวเาคปขเตส%ริดอาุอ้นงกะาปรรหห%อดีร์คะบ231าขว0000เรอวทา0ใงงศม.นเล1กไสแ�ำทษัมปตยตพ้นล-รันจทงก�ำธปี่ครyน์รใ0ล-ว=ะวน.ูาก2หน-พม1ยว6้ืนส4า่า0ท3ูงงง.1่ี 5xR<202ชเก โ+.=2ปพ3ว่ว150แง็่า1น<.ค47ท3ป2.5่า9ส.ค65ฏ0ซ3เ่าซิxึง่ป–มเีย+0ัคก4าม1.ย.4ษต12/จแ.ร,์ก6ัดคฐ01ับ2ทาล2.58แน�ำเซไ-ข–มีวย27อ0ก1ก้5ม.ง.5นอ่4โ-พแีนเ7แซลแ5ลทียะทะ้งัมสนแ0เ้นีมซ.ก73า่ียก5าจม–นร-ะีเส701ซเท5กู.ญ0ีย5ั้งิด0-มใเตจ1นส/าาแ0ดียมก0คินสผลลแมล�ำเลซด>ขดะียับอุล1ใมง0บขก>0ตอใาน1่�ำงร00 y =0.1 Mg/C1a5i0n sเซoนilติเมตร จากพ้ืนดิน) กับความเข้มข้นของธMาตg/ุ Ca โinพlแeaทveสsเซียม/แมกนีเซียม จึงไม่เป็นผลดีต่อการเจริญ อาหารในดินหรือใบ โดยใช้สมการพหุนามก�ำลังสองเป็น เติบโตของต้นยาง ในขณะท่ีค่ามาตรฐานของเหล็ก สูงสัมพนั ธ์ระหวแา่ บงสบัดจ�ำสล่วอนงขผอลงแกมารกวนิเคีเซราียะมหต์พอ่ บแวค่าลเดซินียทมี่เใหนมดาินะสกมบั ตแ่อคลเซกียวม่าคในา่ ทใ่วับไป(บมนาก) แทล้งั ะในดนิ และในใบ ความตอ้ งการท่แี ท้นกบัขคองวแามมยกานวีเเซสแ4กี.ยาล้น5มรกรป-ตเอลป5่อบูก.ลแ0วย่ียคงาคนลขงวไเอคซาดงวมีย้ตรอม(มน้่ิมEใีคยตAน่าาัว)ดคงดินทใวว้ นา่ียค(มชเซวบ่เวาา้ปสมงย็น)ส(1กBแูง0รSลด1)ะ–5-2สด035่าัดเ0ซงส–น่วม(7pตนิล5Hิเขลม%)อิโตมใงรกนแลรชหม(ด+่วกลทง)นงั่ี จีเซากีจอยติทมริงดธัตขิพข่ออลอ้แงขมคตอลูล้นงตเยวซา่ัตาียงถงมกอุตใลาน้ นุ่มจกใต�ำบ�่ำเนกดิ วด่านินี้ แต่ผลท่ีได้น่าจะเกิดจากวนออกไป /กก. อินทรียวัตถุ (OM) 1.0 – 2.6 % ความเข้มข้นของ การนำ� ไปใช้ประโยชนแ์ ละขอ้ เสนอแนะ ฟอสฟอรัส, โพแทสเซียม, แคลเซียม, ก�ำมะถัน, เหล็ก, ผลท่ีได้จากการศึกษาคร้ังนี้ท�ำให้ค่ามาตรฐานเพ่ือาตรฐานเบ้ืองตน้ สาหรับแปลผลการวเิ คราะห์ดินเพือ่ ประเมินระดบั ธาตุอาหารของยางพาราธุ์ RRIM 600

41 ฉบับอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559ตารางที่ 1 ค่ามาตรฐานเบือ้ งต้นทปี่ ระเมินจากวิธเี ส้นขอบเขตส�ำหรับแปลผลการวเิ คราะห์ ดนิ ปลูกยางก่อนเปดิ กรดี ท่ีความลกึ 0 - 30 เซนติเมตร สมบัตทิ างเคมีของดิน หน่วย ตำ่� มาก ตำ�่ ระดับ สงู สูงมากและธาตอุ าหาร, วิธวี เิ คราะห์ เหมาะสม > 5.0 - 75 - 100 > 100ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH), 1 : 2.5 ในน�ำ้ - < 4.5 4.5 - 5.0 > 30 -ความอมิ่ ตัวดว้ ยเบส (BS), ค�ำนวณ % - < 25 25 - 75 > 2.6 -กรดท่ีแลกเปล่ยี นได้ (EA), 1 M KCl มิลลิโมล(+)/กก. - < 10 10 - 30 20 - 30 > 30อนิ ทรยี วัตถุ (OM), Walkley & Black % - < 1.0 1.0 - 2.6 80 - 120 > 120ฟอสฟอรัส (P), Bray II มก./กก. < 5 5 - 10 10 - 20 > 600 -โแกพำ�คแมลทะเซสถยี เนั ซมยี(S(มC),a(0K),.)0,111MMMNKNH2HH4O4POAOAc4cppHH77 มก./กก. < 20 20 - 40 40 - 80 > 35 -เหลก็ (Fe), DTPA มก./กก. - < 50 50 - 600 > 90 - มก./กก. 25 - 35 > 1.5 - มก./กก. < 15 15 - 25 30 - 90 > 1.5 - - < 30 > 0.7 -ทองแดง (Cu), DTPA มก./กก. - < 0.5 0.5 - 1.5 > 6.0 -สังกะสี (Zn), DTPA มก./กก. - < 0.5 0.5 - 1.5 > 1.4 -โโบพรแอทนสเ(ซBีย),มH/แoมt ก0.น0ีเ1ซยีMมC(KaC/Ml2g) มก./กก. - < 0.3 0.3 - 0.7 >0.6 - - < 0.2 2.0 - 6.0โพแทสเซยี ม/แคลเซียม (K/Ca) - < 0.4 0.4 - 1.4แมกนเี ซยี ม/แคลเซียม (Mg/Ca) - < 0.2 0.2 - 0.6หมายเหต:ุ ความจแุ ลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC), แมกนีเซยี ม (Mg) และ แมงกานสี (Mn) ไม่สามารถประเมนิ ได้การแปลผลการวิเคราะห์ทั้งดินและใบของยางพารามี ประชากรตัวอย่างเพียง 43 ตัวอย่าง จากข้อมูลเฉพาะความสมบูรณ์มากขน้ึ ในทำ� นองเดียวกนั กับการจัดทำ� ค่า พ้ืนที่ภาคใต้ตอนบนฝั่งตะวันออก และศึกษาเฉพาะในมาตรฐานท่ัวไป ค่ามาตรฐานท่ีก�ำหนดขึ้นมา ต้องมีการ ยางอายุ 4 ปี ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมในพ้ืนที่ทดสอบความถูกต้องและปรับปรุงค่าท่ีได้ให้มีความ อ่นื ๆ รวมทงั้ อาจศึกษาทกุ ชว่ งอายขุ องยาง และจะต้องมีแมน่ ย�ำมากขึ้น และตอ้ งเก็บข้อมลู ผลผลติ และสมบตั ดิ นิ การน�ำค่ามาตรฐานท่ีได้มาท�ำการทดลองและทดสอบใส่รวมทั้งค่าความเข้มข้นของธาตุอาหารจากสวนยางใน ปุ๋ยตามการแปลผลต่อไป เพื่อยืนยันความแม่นย�ำ หลังหลาย ๆ พ้ืนที่ที่มีการดูแลรักษาแตกต่างกัน เป็นจ�ำนวน จากนั้นจึงจะสามารถน�ำไปใช้เป็นค่ามาตรฐานส�ำหรับหลาย ๆ สวน เน่ืองจากการเติบโตและการใหผ้ ลผลิตของ แปลผลค่าวิเคราะห์ดินและใบยาง โดยเม่ือต้องการพืชในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันนั้น ถูกควบคุมโดย ประเมินสถานะธาตุอาหารของดินและใบยางในระยะหลายปัจจัย ผลผลิตหรือการเติบโตของพืชไม่ได้ขึ้นอยู่ ก่อนเปิดกรีด เพ่ือน�ำไปใช้เป็นข้อมูลส�ำหรับวางแผนการกับความเข้มข้นของธาตุอาหารเพียงอย่างเดียว หรือขึ้น จัดการปุ๋ยได้อย่างเหมาะสม ต้องท�ำการเก็บใบยางอายุอยู่กับการใส่ปุ๋ยเพียงอย่างเดียว จะต้องประกอบด้วย 3 ถงึ 5 เดอื น หลงั จากผลใิ บใหม่ โดยเก็บก่อนใส่ปยุ๋ หรอืปัจจัยอ่ืนด้วย นอกจากน้ี ในการจัดระดับค่ามาตรฐาน หลังใส่ปุ๋ยไปแล้วไม่น้อยกว่า 1 เดือน และไม่เก็บใบท่ีธาตุอาหารของการศึกษาครั้งนี้ ได้มาจากจ�ำนวน เป็นโรคเกินกว่าร้อยละ 5 ของพ้ืนที่ใบ ใบท่ีเก็บเป็นใบ

42 ฉบบั อิเล็กทรอนิกส์ 27 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2559ตารางท่ี 2 คา่ มาตรฐานเบ้อื งต้นทป่ี ระเมนิ จากวิธเี สน้ ขอบเขตส�ำหรบั แปลผลการวเิ คราะห์ใบยาง เมอื่ เก็บตวั อย่างใบในทรงพมุ่ จากใบที่ 2 - 3 นับจากโคนฉตั ร และมอี ายใุ บ 3 ถงึ 5 เดอื นธาตอุ าหาร หน่วย ระดับไนโตรเจน (N) % ตำ�่ มาก ตำ่� เหมาะสม สูง สูงมาก % < 2.6 2.6 - 3.2 3.0 - 3.8 > 3.8 -ฟอสฟอรัส (P) % < 0.20 0.20 - 0.25 0.25 - 0.30 > 0.3 -โพแทสเซยี ม (K) < 0.70 0.7 - 1.0 1.0 - 1.4 > 1.4 -แคลเซียม (Ca) % < 0.50 0.5 - 1.0 1.0 - 1.5 > 1.5 - % < 0.25 0.25 - 0.35 > 0.35 - -แมกนีเซียม (Mg) % < 0.10 0.1 - 0.2 0.2 - 0.3 0.3 - 0.4 > 0.4กำ� มะถนั (S) < 50 50 - 90 90 - 130 130 - 170 > 170เหลก็ (Fe) มก./กก. < 200 200 - 300 300 - 500 > 500 - มก./กก. < 5 5 - 10 10 - 15 > 15 -แมกกานสี (Mn) มก./กก. < 10 10 - 40 40 - 80 > 80 -ทองแดง (Cu)โบรอน (B) มก./กก. - < 3.0 3.0 - 4.2 > 4.2 -โพแทสเซยี ม/แมกนีเซยี ม (K/Mg) - < 0.8 0.8 - 1.4 > 1.4 -โพแทสเซยี ม/แคลเซียม (K/Ca) - < 0.3 0.3 - 0.5 > 0.5 -แมกนีเซียม/แคลเซยี ม (Mg/Ca)หมายเหตุ: ธาตุสงั กะสี ไมส่ ามารถประเมินได้ยอ่ ยจ�ำนวน 1 – 3 ใบจากใบประกอบท่ี 2 หรอื 3 นบั จาก หรือขาดแคลน ต้องมีการใส่ปุ๋ยท่ีมีธาตุอาหารนั้นเพิ่มขึ้นใบล่างสุดของฉัตร ให้ได้รวมกันประมาณแปลงละ 40 – แต่ถ้าระดับธาตุอาหารอยู่ในระดับมากเกินพอ ก็ไม่50 ใบ เพ่ือเป็นตัวแทนส�ำหรับน�ำไปวิเคราะห์หาความ จ�ำเป็นต้องใส่ปุ๋ย หรือใส่ลดลง อย่างไรก็ตาม การใส่ปุ๋ยเข้มข้นของธาตุอาหาร ส่วนตัวอย่างดินเก็บท่ีระดับความ ต้องค�ำนึงสมดุลของธาตุอาหารด้วย เน่ืองจากถ้าธาตุใดลึก 0 – 30 เซนติเมตร อย่างน้อยแปลงละ 8 - 9 จุด ธาตุหน่ึงอยู่ในระดับต่�ำหรือระดับเพียงพอ การใส่อีกธาตุกระจายท่ัวทั้งแปลงเพ่ือให้ได้ตัวอย่างดินที่สามารถใช้ หนึ่งที่เป็นปฏิปักษ์ต่อกันเพิ่มข้ึนอาจท�ำให้เกิดการเป็นตัวแทนของพ้ืนท่ีนั้น ๆ เก็บให้ได้ตัวอย่างดินรวม ขาดแคลนธาตุน้นั ได้ประมาณ 1 กิโลกรัม ตัวอย่างดินและใบท่ีได้ต้องน�ำมาวิเคราะห์ธาตุอาหาร ด้วยวิธีเดียวกันกับที่ผู้สร้างค่า คำ�ขอบคณุมาตรฐานใช้สมบัติของดินและค่าความเข้มข้นท่ีได้จากตัวอย่างดินและใบที่เป็นตัวแทน จึงจะสามารถน�ำไป คณะผู้วิจัยขอขอบคุณมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ที่เปรียบเทยี บกับค่ามาตรฐานทก่ี �ำหนดขน้ึ นไ้ี ด้ ดงั น้นั การ ให้ทนุ สนบั สนุนงานวิจัยนี้ ขอขอบคณุ เจา้ หนา้ ทีศ่ นู ยว์ จิ ยัประเมินสถานะธาตุอาหารในดินและใบยางต้องเก็บ ยางสุราษฎร์ธานีท่ีให้ความอนุเคราะห์ในการเก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ดินและใบตามวิธีดังกล่าว ถ้า ตัวอย่างและจ�ำแนกพันธุ์ยาง และขอขอบคุณส�ำนักงานระดับธาตุอาหารอยู่ในระดับที่เหมาะสม เกษตรกร สงเคราะห์การท�ำสวนยางในพ้ืนท่ีศึกษา ที่ให้ข้อมูลผู้รับสามารถใสป่ ๋ยุ สูตรเดมิ และอัตราเทา่ เดิม ถา้ อยู่ระดบั ต�่ำ ทุนสงเคราะหป์ ลกู ยาง

43 ฉบบั อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 27 ตุลาคม-ธนั วาคม 2559ตารางที่ 3 คา่ ความเขม้ ขน้ มาตรฐานเบอ้ื งตน้ หรอื คา่ ทเ่ี หมาะสมในดนิ ปลกู ยางทป่ี ระเมนิ จาก วธิ เี สน้ ขอบเขตและคา่ ทเ่ี หมาะสมของดนิ ปลกู พชื ตา่ ง ๆ สมบัติทางเคมขี องดนิ ค่ามาตรฐานและธาตอุ าหาร, วธิ ีวเิ คราะห์ หน่วย ยางพารา ยางพารา1 ดนิ ทวั่ ไป2 ส้มโอ3 (วธิ ีเส้นขอบเขต)ความเป็นกรด-ดา่ ง (pH), 1 : 2.5 ในนำ้� 4.5 - 5.0 4.5 - 5.5 - -ความอ่มิ ตัวด้วยเบส (BS), คำ� นวณ % 25 - 75 - - -ความจแุ ลกเปล่ยี นแคตไอออน มลิ ลิโมล - 110 - 150 100 - 150 -(CEC), คำ� นวณ (+)/กก.กรดท่ีแลกเปล่ียนได้ (EA), 1 M KCl มิลลิโมล(+)/กก. 10 - 30 - - -อินทรีย์วตั ถุ (OM), Walkley&Black % 1.0 - 2.6 1.0 - 2.5 1.5 - 2.5 1.5 - 2.5ฟอสฟอรัส (P), Bray II มก./กก. 10 - 20 11 - 30 11 - 15 15 - 25โพแทสเซยี ม (K), 1 M NH4OAc pH 7 มก./กก. 40 - 80 > 40 61 - 90 100 - 150แคลเซียม (Ca), 1 M NH4OAc pH 7 มก./กก. 50 - 600 > 60 1,001 - 2,000 1,000 - 2,000แมกนเี ซยี ม (Mg), 1 M NH4OAc pH 7 มก./กก. - > 36 121 - 365 120 - 240ก�ำมะถัน (S), 0.01 M KH2PO4 มก./กก. 25 - 35 - 11 - 20 -เหล็ก (Fe), DTPA มก./กก. 30 - 90 30 - 35 2.5 - 4.5 11 - 16แมงกานีส (Mn), DTPA มก./กก. - 2 - 4 - 9 - 12ทองแดง (Cu), DTPA มก./กก. 0.5 - 1.5 0.8 - 1.0 - 0.9 - 1.2สังกะสี (Zn), DTPA มก./กก. 0.5 - 1.5 0.4 - 0.6 0.5 - 1.0 1.1 - 3.0โบรอน (B), Hot 0.01 M CaCl2 มก./กก. 0.3 - 0.7 - - -ๅ สถาบนั วิจัยยาง (2551)3/ ส�ำนักวทิ ยาศาสตร์เพ่ือการพัฒนาทดี่ นิ (2547)3 สมศกั ดิ์ (2551) เอกสารอา้ งองิ นครนิ ทร์ 29: 287-296. นชุ นารถ กงั พิศดาร. 2542. การประเมินระดับธาตุอาหารจ�ำเปน็ ออ่ นทอง, สายใจ ก้ิมสงวน และ พิรณุ ติระพฒั น.์ พืชเพื่อแนะน�ำการใช้ปุ๋ยกับยางพารา. สถาบัน- 2549. ค่ามาตรฐานของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส วจิ ยั ยาง กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมในใบ สหกรณ.์ หน้า 74. ลองกอง. วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร 37: นุชนารถ กังพิศดาร. 2548. การใช้ปุ๋ยและการปรับปรุง 257-268. ดินในสวนยาง. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการจ�ำเปน็ ออ่ นทอง, พิรุณ ตริ ะพัฒน์ และ คศกิ าญจน์ สขุ มี. เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2550. ค่าความเข้มข้นมาตรฐานเบ้ืองต้นของ นุชนารถ กังพิศดาร, รัศมี สุรวาณิช, วันเพ็ญ พฤกษ์- เหลก็ แมงกานสี สังกะสี ทองแดง และ โบรอน ใน วิวัฒน์, สุเมธ พฤกษ์วรุณ และ อนุสรณ์ แรมลี. ใบลองกอง (Aglaiadookkoo Griff.). ว. สงขลา-

44 ฉบับอิเล็กทรอนกิ ส์ 27 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2559ตารางท่ี 4 คา่ ความเขม้ ขน้ มาตรฐานเบอื้ งต้นหรือคา่ ทเี่ หมาะสมในใบยางทีป่ ระเมนิ จาก วธิ ีเส้นขอบเขตและคา่ ทเ่ี หมาะสมในใบพืชตา่ ง ๆ ค่ามาตรฐาน ธาตุอาหาร หน่วย ยางพารา ยางพารา1 ลองกอง2 ทุเรยี น3 สม้ โอ4ไนโตรเจน (N) 2.30 - 2.62 2.06 - 2.18 -ฟอสฟอรัส (P) (วิธีเสน้ ขอบเขต) 0.17 - 0.19 0.14 - 0.21 0.15 - 0.20โพแทสเซียม (K) % 3.0 - 3.8 3.3 - 3.70 1.74 - 2.06 1.55 - 1.71 1.5 - 2.0แคลเซียม (Ca) % 0.25 - 0.30 0.20 - 0.25 1.04 - 1.25 1.58 - 1.94 3.0 - 4.0แมกนเี ซยี ม (Mg) % 1.0 - 1.4 1.36 - 1.65 0.24 - 0.28 0.21 - 0.30 0.30 - 0.50กำ� มะถัน (S) % 1.0 - 1.5 0.5 - 0.7เหล็ก (Fe) % > 0.35 0.21 - 0.25 - --แมงกานสี (Mn) % 0.2 - 0.3 0.20 - 0.25 61 - 66 - 40 - 80ทองแดง (Cu) มก./กก. 80 - 140 60 - 80 49 - 58 - 5 - 15สงั กะสี (Zn) มก./กก. 300 - 500 45 - 150 7-8 - >4โบรอน (B) มก./กก. 10 - 15 10 18 - 20 9.84 - 24.54 > 15 มก./กก. - 20 27 - 30 -- มก./กก. 40 - 80 151 นชุ นารถ (2548), Pushparajah (อ้างถงึ ใน Pushparajah, n.d.)2 จ�ำเปน็ และคณะ (2549), จำ� เปน็ และคณะ (2550)3 สมุ ติ รา และ วิเชียร (2546)4 สมศักด์ิ (2551) 2549. การพัฒนาเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเพื่อเพ่ิม เปิดกรีดในจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี และ ศักยภาพการผลิตยาง. วารสารวิชาการเกษตร นครศรีธรรมราช. ว. ดินและปุ๋ย 32(3): 180-197. 24: 112-131. สมุ ิตรา ภวู่ โรดม และ วิเชยี ร จาฏพุ จน.์ 2546. การใชว้ ธิ ีสถาบันวิจัยยาง. 2551. การใช้ปุ๋ยยางพาราตามค่า เส้นขอบเขตในการก�ำหนดค่ามาตรฐานธาตุ วเิ คราะห์ดนิ . สถาบนั วจิ ัยยาง กรมวิชาการเกษตร. อาหารส�ำหรับทุเรียน. วารสารวิทยาศาสตร์สนุ ทรี ยิง่ ชชั วาลย์ และ จิตณา บางจ่นั . 2549. ปริมาณ การเกษตร 34: 51-58. ธาตอุ าหารหลักในต้นยางพาราพนั ธุ์ RRIM 600. ส�ำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน. 2547. คู่มือ วารสารวิทยาศาสตรเ์ กษตร 37: 353-364. การวิเคราะห์ตัวอย่างดนิ น�้ำ ปยุ๋ พืช วัสดปุ รับปรุงสมศักดิ์ มณพี งศ์. 2551. การส�ำรวจธาตอุ าหารเพอ่ื จดั ทำ� ดิน และการวิเคราะห์เพื่อตรวจรับรองมาตรฐาน ค่าแนะน�ำมาตรฐานส�ำหรับการวิเคราะห์ดินและ สินค้า เล่มท่ี 2. กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวง พืชส�ำหรับส้มโอ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่ง เกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพมหานคร ชาติคร้ังท่ี 7, 26-30 พฤษภาคม 2551, โรงแรม Casanova, D., J. Goudriaan, J. Bouma and G.F. อมรินทร์ลากนู , พษิ ณโุ ลก. Epema. 1999. Yield gap analysis in relation toสายใจ สุชาตกิ ลู , สมศกั ดิ์ มณพี งศ์ และ มนตรี อิศรไกร- soil properties in direct-seeded flooded rice. ศีล. 2550. การใช้ปุ๋ยและการเติบโตของยางก่อน Geoderma 91: 191-216.

45 ฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์ 27 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 Muell. Arg.). Retrieved January 28, 2009, from http:/www.fertilifer.org/ifa/content/downde la Puente, L.S. and R.M. Belda. 1999. Square load/8999/133881/version/1/file/rubber.pdf root and quadratic equation for the study of Schnug, E., J. Heym and F. Achwan.1996. Esta- leaf diagnosis in wheat. Journal of Plant Nutri- blishing critical values for soil and plant tion 22: 1469-1479. analysis by means of the boundary line sys-FAO. 2006. Plant Nutrition for Food Security : A tem (Bolides). Commun. Soil Sci. Plant Anal. guide for integrated nutrient management. 27: 2739-2748. Food and Agriculture Organization of the Shatar, T.M. and A.B. McBratney. 2004. Boundary- United Nation: Rome. p141-192. line analysis of field-scale yield response toJones, J.B. 2001. Laboratory guide for conducting soil properties. Journal of Agricultural soil test and plant analysis. CRC Press: New Science 142: 553-560. York. Soil and Plant Analysis Council.1998. Soil Analysis :Jones, J.B. 2003. Agronomic Handbook: Manage- Handbook of Reference Methods. CRC ment of Crop, Soil, and their Fertility. CRC Press: Boca Raton. Press: New York. Thainugul, W. 1986. Soil and Leaf analysis as aPushparajah, E. 1977. Nutrition and fertilizer use in basis of fertilizer recommendations for Hevea Hevea and associated covers in Peninsular brasilliensis in Thailand. D. Sc. Thesis, Uni- Malaysia. A review : Quarterly Journal Rubber versity of Ghent, Belgium. Research Institute of Sri Lanka 54: 270-283.Pushparajah, E. n.d. Rubber (Hevea brasiliensis


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook