Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสีน้ำที่ทำจากวัสดุธรรมชาติ

โครงงานการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสีน้ำที่ทำจากวัสดุธรรมชาติ

Published by 21083, 2020-11-07 16:37:41

Description: M51-7-06-11-16-21-25

Search

Read the Text Version

การศกึ ษาค้นคว้าองค์ความรู้ เรอื่ ง การเปรยี บเทียบประสิทธิภาพของสนี ้าทท่ี า้ จากวสั ดุ ธรรมชาติ คณะผู้จดั ท้า ภาสวรี ์ ธรี ศริ ปญั ญา ชัน ม.5/1 เลขท่ี 6 กุลรัตน์ สทุ ธหลวง ชัน ม.5/1 เลขท่ี 10 นลนิ รดา พิเคราะห์ ชนั ม.5/1 เลขท่ี 15 สริ ิกร ศศิวัจน์ไพสฐิ ชัน ม.5/1 เลขท่ี 20 อยั ยาดา มโนวงค์ ชัน ม.5/1 เลขท่ี 24 ครูทป่ี รึกษา ครู ด้ารงค์ คันธะเรศย์ เอกสารฉบับนีเปน็ สว่ นหนึง่ ของการศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ (IS1) โรงเรียนปวั อา้ เภอปวั จงั หวัดนา่ น ส้านกั งานเขตพนื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

1

การศกึ ษาคน้ ควา้ องค์ความรู้ เรอ่ื ง การเปรียบเทยี บประสทิ ธภิ าพของสีนา้ ทีท่ ้าจากวสั ดุ ธรรมชาติ คณะผจู้ ัดทา้ ภาสวีร์ ธรี ศิรปญั ญา ชัน ม.5/1 เลขที่ 6 กุลรตั น์ สทุ ธหลวง ชนั ม.5/1 เลขที่ 10 นลินรดา พเิ คราะห์ ชนั ม.5/1 เลขที่ 15 สิริกร ศศิวัจน์ไพสิฐ ชัน ม.5/1 เลขที่ 20 อัยยาดา มโนวงค์ ชัน ม.5/1 เลขที่ 24 ครทู ่ีปรกึ ษา ครู ดา้ รง คันธะเรศย์ เอกสารฉบบั นเี ป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาคน้ คว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรยี นปัว อา้ เภอปัว จงั หวดั น่าน ส้านกั งานเขตพนื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 256

ก ชอ่ื เรอ่ื ง : การเปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพของสีน้าทีท่ า้ จากวสั ดธุ รรมชาติ ผูจ้ ดั ทา้ : นาย ภาสวีร์ ธรี ศริ ปัญญา นางสาว กลุ รตั น์ สุทธหลวง นางสาว นลินรดา พิเคราะห์ นางสาว สิริกร ศศวิ ัจนไ์ พสฐิ นางสาว อยั ยาดา มโนวงค์ ทีป่ รกึ ษา : คณุ ครู ดา้ รง คันธะเรศย์ ปกี ารศึกษา : 2563 บทคัดยอ่ เรอื่ ง การเปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพของสนี า้ ที่ทา้ จากวสั ดธุ รรมชาติ มจี ุดมงุ่ หมายเพอื่ เปรียบเทียบประสทิ ธแิ ละคุณสมบัตขิ องสีน้าทีไ่ ดจ้ ากวสั ดธุ รรมได้แก่หินและพืช เนอื่ งจากในปัจจบุ นั มี การผลติ สนี ้าออกมาอยา่ งแพร่หลายและมมี ากมายหลายย่หี อ้ ซ่ึงอาจมีคุณภาพและลกั ษณะของสีไม่ ตรงกบั ความตอ้ งการของผู้บริโภค คณะผจู้ ัดท้าจึงสนใจทจี่ ะสร้างสนี า้ ขนึ มาเพ่ือสนองความตอ้ งการ ของผ้บู รโิ ภค โดยจะเปน็ สนี า้ ท่ีมีคุณภาพตรงตามความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคให้มากทส่ี ดุ และผลิตจาก วัสดทุ างธรรมชาติ และนา้ มาเปรยี บเทยี บกันว่าสนี า้ ทีเ่ ปน็ วสั ดุทางธรรมชาติจากพชื และหนิ กบั สใี น ทอ้ งตลาด ชนดิ ใดจะมีคุณภาพดกี วา่ กนั โดยการส้ารวจความพึงพอใจการผ้ทู เ่ี คยใชส้ นี ้ายห่ี ้อต่าง ๆ ผลการศกึ ษาการทา้ สนี ้าจากวัสดธุ รรมชาตทิ งั สองชนิดพบว่า สีนา้ ทท่ี ้าจากพืชจะมลี กั ษณะสี เจอื จางค่อนข้างโปรง่ ใส ละลายนา้ ได้ดี แหง้ ยาก สว่ นสนี ้าทที่ ้าจากหินมลี ักษณะสที ่ีเข้ม และละลายนา้ ไดด้ ี จึงสามารถสรปุ ได้วา่ สนี ้าท่ีทา้ จากหินจะมีประสทิ ธภิ าพดีวา่ สีน้าทท่ี ้าจากพชื

ข กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการศกึ ษาการเปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพของสีนา้ ทท่ี า้ จากวสั ดธุ รรมชาตินีส้าเรจ็ ลลุ ว่ ง ได้ด้วยความกรุณาช่วยเหลือ แนะนา้ ใหค้ า้ ปรึกษา ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพรอ่ งตา่ ง ๆ ด้วยความเอา ใจใส่อยา่ งดยี ง่ิ จาก คุณครูด้ารง คนั ธะเรศย์ ครผู สู้ อนรายวชิ าการศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ ความรู้ I30201 คณะผ้จู ัดท้ากราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสงู ขอขอบคณุ ผ้ทู ่ใี ห้ความรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื อีกหลายท่าน ซ่งึ ผู้เขยี นไมส่ ามารถกล่าวนามในท่นี ี ได้หมด จงึ ขอขอบคณุ ทกุ ท่านเหลา่ นันไว้ ณ โอกาสนีดว้ ย คณุ คา่ ทังหลายทไ่ี ดร้ บั จากรายงานการศกึ ษาความเรียงขันสงู ฉบบั นี ผเู้ ขียนขอมอบเปน็ กตัญญูกตเวทีแด่บิดามารดา และบรู พาจารยท์ เี่ คยอบรมสง่ สอน รวมทงั ผู้มพี ระคุณทุกทา่ น คณะผูจ้ ดั ทา้

สารบัญ ค เร่ือง หน้า บทคดั ยอ่ ก กติ ติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบญั ตาราง ง บทท่ี 1 บทนา้ 1 1 1.1 ทม่ี าและความสา้ คญั 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1 1.3 ขอบเขตการศึกษา 2 1.4 ประโยชน์ท่ีคาดว่าได้รับ 3 บทที่ 2 ทฤษฎที ่เี กีย่ วข้อง 3 2.1 สนี ้า 6 2.2 กระบวนการสกัดสจี ากธรรมชาติ 8 2.3 สารสีจากธรรมชาติ 15 2.4 สารนา้ สี 16 2.5 คณุ ภาพและลักษณะของสนี า้ 18 บทที่ 3 วิธดี ้าเนินงาน 18 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ และ เครอื่ งมอื 18 3.2 ขนั ตอนการดา้ เนนิ งานโครงงาน 19 3.3 อุปกรณ์และสว่ นผสมในการท้าสีนา้ 19 3.4 ขนั ตอนการท้าสีน้า 20 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาคน้ คว้า 21 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 21 5.1 สรุปผลการศึกษา 21 5.2 ขอ้ เสนอแนะ

สารบัญตาราง ง ตารางท่ี หน้า ตารางท่ี 1 ตารางแสดงผลการศกึ ษาการท้าสีนา้ จากวสั ดุธรรมชาติ 20

1 บทท่ี 1 บทนา ท่มี าและความสาคญั เนอื่ งจากในปจั จบุ ันมีการผลติ สนี า้ ออกมาอย่างแพร่หลายและมีมากมายหลายยห่ี ้อ ซึง่ อาจมี คุณภาพและลักษณะของสไี ม่ตรงกบั ความตอ้ งการของผู้บรโิ ภค เช่น แปง้ มากเกนิ ไปทา้ ใหส้ ีไม่ไหลไป กบั นา้ เมอื่ ใช้ มีสีท่อี อ่ นเกินไป หรือเขม้ เกนิ ไป คณะผูจ้ ดั ทา้ จึงสนใจทจี่ ะสร้างสีน้าขนึ มาเพือ่ สนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค โดยจะเป็นสีนา้ ทมี่ ี คุณภาพตรงตามความต้องการของผู้บริโภคใหม้ ากท่ีสุด และผลติ จากวัสดทุ างธรรมชาติ เชน่ หนิ พืช ชนิดตา่ ง ๆ และน้ามาเปรยี บเทียบกันว่าสีนา้ ทเี่ ป็นวสั ดทุ างธรรมชาติจากพืช และหิน กบั สีใน ท้องตลาด ชนิดใดจะมคี ุณภาพดีกวา่ กันโดยการสา้ รวจความพึงพอใจการผ้ทู เ่ี คยใชส้ ีนา้ ย่ีหอ้ ต่าง ๆ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ศกึ ษาการท้าผงสจี ากวสั ดุธรรมชาตทิ ่ีแบ่งเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ สจี ากพชื และสจี ากหนิ 2. เพื่อเปรียบเทยี บคณุ ภาพของผงสีจากวสั ดธุ รรมชาติ 3. เพอ่ื นา้ วัสดธุ รรมชาตมิ าใช้ให้เกิดประโยชนม์ ากยงิ่ ขนึ ขอบเขตการศึกษา 1. สถานที่ โรงเรียนปวั อา้ เภอปัว จงั หวดั นา่ น 2. ระยะเวลา ดา้ เนนิ การตังเเต่วันที่ 17 สิงหาคม 2563 ถงึ วันท่ี 6 พฤศจิกายน 2563 3. ตัวแปร 3.1 ตวั แปรตน้ คือ ชนดิ ของวสั ดุธรรมชาตทิ ่ีน้ามาทา้ สนี ้ามี 2 ชนดิ คือ หนิ และพืช ไดแ้ ก่ ขมนิ อัญชัน 3.2 ตวั แปรตาม คือ ประสทิ ธิภาพการใชง้ านของสนี ้า

2 3.3 ตวั แปรควบคมุ คอื ปรมิ าณวัสดธุ รรมชาตแิ ละกมั อารบกิ ท่ใี ช้ ประโยชน์ที่คาดวา่ ไดร้ บั 1. ไดท้ ้าสีน้าที่มคี ณุ ภาพและสตี รงกบั ความต้องการของผู้บริโภค 2. ไดใ้ ชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ 3. ไดฝ้ กึ ทกั ษะการท้างานเปน็ กลมุ่

3 บทท่ี 2 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง ในการศกึ ษาเรอ่ื ง การเปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพของสนี า้ ท่ที า้ จากวสั ดธุ รรมชาติ ผ้จู ัดท้าได้ รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎแี ละหลักการต่างๆจากเอกสารท่ีเก่ยี วข้องดังตอ่ ไปนี 2.1 สนี า ศลิ ปะสีน้าตะวนั ออก เป็นทยี่ อมรบั กนั วา่ ชนชาตจิ ีนรจู้ กั ใชส้ อ่ื สนี ้าก่อนชาตใิ ดในโลก ทังนเี พราะว่าสะดวกในการน้าไปใชเ้ ขียนตวั หนงั สือตามลลี าพู่กัน (Calligraphy) หลักฐาน พบไดต้ งั แตส่ มยั ราชวงศ์ถงั และพัฒนาสูงสุดในสมัยราชวงค์ซงุ (Tang Dynasty A.D. 618 – 907 , Sung Dynasty A.D. 960 – 1127) และเนื่องจากชนชาติจนี เชื่อกนั ว่า ธรรมชาตเิ ป็น มารดาของสรรพสิง่ ทงั หลายในโลก ดังนนั การชื่นชมและสมั ผัสธรรมชาติ จงึ กลายเปน็ ส่วน หน่งึ ของชวี ติ ท่ีเสรมิ สรา้ งการรับรแู้ ละตอบสนองในเชิงรปู แบบศลิ ปะที่อาศยั ธรรมชาติเป็น พืนฐาน ศลิ ปนิ จนี จงึ นยิ มใช้ส่ือสนี ้าเขียนบรรยายธรรมชาติ ภูเขา ต้นไม้ เมฆ ดอกไม้ สตั ว์ ฯลฯ เพือ่ สนองความเชอื่ ดงั กลา่ ว เปน็ ความจรงิ ทวี่ ่าไมม่ ชี นชาติใดจะอยู่ในโลกโดยล้าพงั ได้ จา้ ตอ้ งติดต่อแลกเปลย่ี นสอื่ สารระหว่างกนั ตรงกับความจรงิ ท่วี ่ามนุษยเ์ ป็นสัตว์สงั คม ประกอบดว้ ยความสัมพนั ธ์ระหวา่ งชนชาตทิ อ่ี ยใู่ กลก้ ันท้าใหญ้ ีป่ นุ่ รบั ศาสนา และวฒั นธรรม บางสว่ นไปจากจีน รวมทงั การใช้สอื่ สนี ้าด้วยทังทางตรงและทางอ้อม เมือ่ ส่ือสนี า้ ตกถงึ มือ ศิลปินญปี่ นุ่ สีน้าจงึ กลายเปน็ สที ี่นิยมอยา่ งรวดเรว็ เพราะนอกจากชนชาตญิ ป่ี นุ่ จะใชส้ ีนา้ ถา่ ยทอดรปู แบบจากธรรมชาตโิ ดยตรงแล้ว ยงั สามารถนา้ ไปใช้ในการออกแบบภาพพมิ พส์ ีได้ อยา่ งดีอกี ดว้ ย ศลิ ปะสีน้าตะวันออก ส้าหรบั ในวงการศลิ ปะตะวันตก สื่อสนี า้ มีบทบาทและเป็นท่ี รจู้ ักกันนับตงั แตส่ มัยฟืน้ ฟูเปน็ ต้นมา โดยมศี ลิ ปินชาวเยอรมนั ไดส้ นใจแสดงออกด้วยสอ่ื สนี า้ ทังท่ีใชส้ ีนา้ โดยตรงและใชส้ นี า้ เสรมิ ระหว่างการวาดเสน้ สีด้ากบั การระบายสี ตอ่ มาจึงไดร้ บั การยกย่องวา่ เปน็ บิดาแห่งสีน้าคนแรกคือ ออลเบรท ดูเรอ (Albrecht Durer 1471 – 1528) ผสู้ ร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยสีน้าไว้มาก อลั เบรชท์ ดเู รอร์ เป็นศลิ ปนิ คนแรกที่ใช้สนี ้าเป็น ส่ือในการแสดงออกเพ่ือเขยี นภาพสตั ว์ และ ภาพภูมทิ ศั น์ ในช่วงตน้ คริสตศ์ ตวรรษที่ 16 ได้ พัฒนาสนี า้ ให้มลี กั ษณะโปรง่ ใส และมลี ักษณะไหลรกุ รานเขา้ หากัน โดยซึมเขา้ หากัน ตอ่ มา ราวคริสต์ศตวรรษที่ 18 พอล แซนด์บี ศลิ ปนิ ชาวอังกฤษ (Paul Sandby 1725 – 1809) ได้ ให้ความสนใจสนี า้ เปน็ พเิ ศษ ไดน้ า้ สนี า้ เปน็ สื่อในการสรา้ งสรรค์บรรยากาศได้อย่างดเี ย่ียมจน ได้รบั ฉายาว่าเปน็ บดิ าของสนี ้าแห่งองั กฤษ ท้าใหช้ ่วงหลังนี เม่อื กลา่ วถงึ ส่ือสีนา้ มักจะนึกถึง

4 ศิลปินองั กฤษกอ่ นเสมอ ทงั ยังไดร้ วบรวมหลกั ฐานไวเ้ ป็นระบบตามลา้ ดบั ตลอดจนองั กฤษได้ ผลติ วสั ดสุ นี ้า และอปุ กรณใ์ นการเขียนจา้ หน่ายเป็นทีร่ จู้ ักทว่ั ไปในโลก ทา้ ไมองั กฤษจงึ เปน็ ท่ี รูจ้ ักกันดีวา่ ใช้ส่ือสีน้าเป็นส่อื ในการถา่ ยทอดท่ไี ด้ผลมากทสี่ ดุ สาเหตปุ ระการหน่งึ ก็คือ ใน สมยั พระเจา้ ยารจ์ ท่ี 2 แห่งราชวงศ์ฮันโนเวอรเ์ รียน (Hanoverian Dynasty) พระองคม์ พี ระ ราชประสงคท์ ี่จะพฒั นาองั กฤษจากประเทศกสกิ รรม เปน็ ประเทศอุตสาหกรรมคล้ายกับ แผน่ ดนิ ใหญ่ ยโุ รปจึงไดส้ ง่ บคุ คลหลายประเภทไปทัศนศึกษาในแผน่ ดนิ ใหญ่ ตามทัศนะว่า ทรัพยากรมนุษยม์ ีค่ามากทส่ี ุด เมือ่ นกั ทศั นาจรองั กฤษได้รบั ประสบการณจ์ ากการท่องเที่ยวในยโุ รปตามประเทศ ต่างๆ เชน่ ฝร่ังเศส สวสิ เซอรแ์ ลนด์ และอิตาลี ต่างคนกต็ ่างแสวงความรู้ ความเขา้ ใจ ตาม ความชอบของแตล่ ะคน แตค่ วามชอบหลกั ทที่ กุ คนมีคล้ายๆกันคอื ศลิ ปะ นักทัศนาจร เหลา่ นนั ประทับใจในความยงิ่ ใหญ่ และวัฒนธรรมของโรม ความสวยงามและความประณตี ของสถาปัตยกรรมในยุคแรก ๆ ดังนันจงึ หาทางบนั ทกึ รูปแบบทตี่ นไดเ้ ห็นมานัน เพอ่ื นา้ มา พัฒนาประเทศของตนและจากความตอ้ งการนเี อง ทา้ ให้ศิลปินอิตาเลียน คิดทา้ ภาพพิมพ์ สถาปัตยกรรมที่ส้าคญั ๆ เพือ่ ขายเปน็ ของทร่ี ะลึกแกน่ กั ทัศนาจรชาวอังกฤษ สมกบั ความจรงิ ทีว่ า่ เมอื่ มคี วามตอ้ งการมาก กต็ อ้ งสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ทีต่ อบสนองความ ต้องการนัน ในชว่ งนเี องถึงกบั เจตคตทิ างศิลปะในบรรดาชาวอังกฤษว่า ถ้าใครมีรูปแบบ ศลิ ปกรรมอติ าเลยี นไวใ้ นครอบครองถอื วา่ เปน็ ผ้มู ฐี านะดีและมรี สนยิ มดี ชาวอังกฤษบางคนทม่ี องเห็นความตอ้ งการนี ประกอบกบั ความสามารถในการ ถ่ายทอดรูปแบบศิลปะทมี่ องเห็นอยบู่ า้ ง จงึ ได้คดิ หาวธิ กี ารสร้างสรรค์งานตามรปู แบบ ศิลปกรรมของต่างประเทศ ระยะแรกบางคนกอ็ าจไปเขยี นจากสถานท่ีจริง บางคนกห็ าทาง จดั พิมพ์ขึนในองั กฤษเอง แลว้ น้ามาซือขายแลกเปลี่ยนกัน ในท่ีสดุ ก็มีศลิ ปินหนุ่มผ้หู นงึ่ ช่ือวิ ลเลียม เทอรเ์ นอร์ (Joseph Mallord William Turner) ได้รา่ งภาพจากทัศนยี ภาพของ อิตาลแี ละฝร่ังเศสดว้ ยสีน้า นอกจากนียงั ระบายสนี ้าเพ่ือถ่ายทอดธรรมชาตขิ ององั กฤษเองอกี ดว้ ย ในทส่ี ุดกไ็ ดร้ บั ความสา้ เรจ็ เปน็ ศิลปินสนี า้ ยอดเย่ยี ม จากสมาคมราชบณั ฑติ ทางศลิ ปะ ของอังกฤษ เมอื่ อายุไดเ้ พยี ง 24 ปีเทา่ นนั เทอร์เนอร์ เปน็ ศิลปิน คนแรกในการระบายสนี ้า ตามแนวทางศิลปะสมัยใหม่ ปคี ริสต์ศักราช 1832 นักเคมแี ละจิตรกร วิลเลยี ม วินเซอร์ และ เฮนรี นิวตัน ไดเ้ ร่ิมต้นธรุ กิจ ส่งิ ทท่ี งั สองประดษิ ฐค์ ดิ ค้นขนึ ใหม่ คอื สนี า้ ซง่ึ เปน็ ทร่ี ูจ้ กั กนั ในปจั จบุ นั คือ สีนา้ บรรจกุ ลอ่ ง แล้วจึงตามมาดว้ ย สนี ้าชนิด บรรจหุ ลอดโลหะในปี ค.ศ.1841 และมจี ติ รกรท่มี ชี อื่ เสียงไดแ้ ก่ เทอรเ์ นอร์ คอนสเตเบลิ (Turner Constarble) ซง่ึ เป็นศลิ ปนิ ในลทั ธิโรแนมติก ของประเทศอังกฤษ และ แกนสเบอ รอค Grangbaughroufi) จติ รกรสนี า้ ทมี่ ีชื่อเสยี งในประเทศฝรงั่ เศสได้แก่ ฮเู บริ ์ต โรเบริ ต์

5 (Hubert Roebrt) แซลเล (Chale) จติ รกรสีนา้ ทมี่ ชี อื่ เสยี งในสหรัฐอเมรกิ าได้แก่ วนิ สโลว โฮมเมอร์ (Winslow Homer) จอหน์ ซิงเกอร์ ซาเจนท์ (John Singer Sargent) และ แอนด ริว ไวเอท (Andraw Wyeth) จะเหน็ ไดว้ า่ สื่อวสั ดสุ า้ หรบั ไว้ถ่ายทอดประเภทใดกต็ าม หากไดล้ งมอื ฝกึ ฝนปฏบิ ัติ กันอยา่ งจรงิ จังแล้ว ยอ่ มประสบความส้าเรจ็ เสมอ อย่างเชน่ ความเป็นมาท่ีเกิดขึนในอังกฤษ ดงั กล่าวมาแลว้ เม่อื สภาพสงั คมเปลี่ยนจากกสิกรรมเป็นอตุ สาหกรรม ผลผลติ ต่างๆ ก็ เกดิ ขึนเป็นจา้ นวนมาก ทังนเี พอ่ื สนองความต้องการของคนเปน็ จา้ นวนมาก การผลิตวัสดุ อุปกรณส์ า้ หรบั สีนา้ กพ็ ฒั นาเพ่มิ มากขึนและเพ่อื ใหเ้ กดิ ความมัน่ ใจกับผซู้ อื บรษิ ัทผผู้ ลติ สี จงึ ไดเ้ อาชือ่ ศลิ ปินสนี ้าดัง ๆ มาเป็นชือ่ สี ดงั เชน่ วนิ เซอร์ และนวิ ตัน เปน็ ต้น (Winsor and Newton Artists Materials) สาเหตทุ ่ที า้ ให้สนี า้ เป็นท่นี ิยมมากในองั กฤษอีกประการหนึง่ กค็ อื คนอังกฤษสนใจ ธรรมชาติและบรรยากาศ ซงึ่ ความสนใจนี สีน้าตอบสนองเปน็ รปู แบบได้อย่างดี ดังนนั สีน้า จงึ เปรยี บเสมอื นเปน็ สญั ลักษณอ์ ยา่ งหน่ึงขององั กฤษ ศิลปะสนี ้าประเทศไทย สา้ หรบั ประเทศไทยเรานัน เข้าใจวา่ เร่ิมรู้จกั สอ่ื สนี า้ เมอื่ มี การจดั การเรยี นการสอนเปน็ ระบบขึนราวปี พ.ศ. 2456 เมอื่ ตังโรงเรียนเพาะชา่ งขนึ ระยะแรกตงั นัน เปา้ หมายสา้ คญั กเ็ พอื่ ใชส้ นี า้ เสริมแตง่ การออกแบบสถาปัตยกรรม ใหม้ ี ลักษณะบรรยากาศคลา้ ยของจริงมากย่ิงขึน กล่าวอีกอยา่ งหน่งึ ก็คอื การใชส้ นี า้ เพอ่ื การลงสี มิใชร่ ะบายสี (Coloring not painting) แต่ขณะเดยี วกนั กม็ ศี ิลปินบางท่านพยายามใช้สนี า้ ในแงข่ องการระบายสี มใิ ชล่ งสี และไดร้ ับความนยิ มเปน็ อยา่ งมาก อย่างไรก็ดีถา้ พิจารณาใน แง่ของการเรียนการสอน เก่ยี วกบั สีน้ายงั ไมม่ รี ะบบและวธิ สี อนทีแ่ นน่ อนตามแนวสากล ครู ศิลปะเป็นเพียงผู้สง่ั งาน ผจู้ ดั หนุ่ แล้วใหน้ กั เรยี นแสวงหาดว้ ยตนเอง จึงสง่ ผลให้การเรียน การฝกึ ปฏิบตั สิ ื่อวัสดสุ ีน้าไม่เปน็ ทีน่ ิยมเทา่ ใดนัก เป็นเพยี งความชืน่ ชมทร่ี ูจ้ ักกันในหมู่ศลิ ปินที่ สนใจสนี า้ เพยี งสองสามคนเท่านนั และประกอบกบั เจตคตทิ ป่ี ดิ บังวิธกี ารในวิชาชีพยงั คงมอี ยู่ เท่าทสี่ บื ทอดมาจากระบบการเรยี นการสอนตามแบบอยา่ งของอดตี ( Mystery of the Craft ) ส้าหรับในปจั จุบันในบา้ นเรา สอื่ สนี า้ ได้รบั การพัฒนาอกี หลังจากท่มี สี ถาบันศลิ ปะ ระดบั ปรญิ ญาตรี เพิ่มมากขนึ ดังเชน่ ตามวิทยาลัยครู และตามมหาวทิ ยาลัยทเ่ี ปิดสอน วิชาเอกศลิ ปะ เปน็ ตน้ นอกจากนี การจัดแสดงภาพทจี่ ัดขนึ โดยทางราชการ ทางธนาคาร และกลมุ่ ศิลปิน ก็ให้ความสา้ คญั กับส่อื ประเภทสนี ้ามาก สรปุ ไดว้ ่า จิตรกรรมสีน้าเรม่ิ มบี ทบาทในการวงการศลิ ปะมากยิ่งขึนเพราะถอื ว่าเปน็ พฤติกรรมตอบสนองการรบั รู้ทสี่ รา้ งส่อื ระหว่างมนุษยท์ างดา้ น บรรยากาศ และความ

6 ประทับใจแนวหนง่ึ สอื่ ประเภทนี ชนชาตติ ะวันออกได้รจู้ ักนา้ มาใช้กอ่ นทางตะวันตก แต่นา่ เสยี ดายทรี่ ะบบการเรยี นการสอนทางตะวนั ออกยงั ไม่พฒั นาเทา่ ที่ควร ประกอบกบั เจตคติ ปดิ บงั เทคนคิ และวธิ ีการในอาชีพยังคงมีค้างอยู่ จงึ ท้าใหส้ นี ้า เป็นท่สี นใจเฉพาะในวงการแคบ ๆ อยา่ งไรกด็ เี ป็นที่คาดหวงั วา่ อีกไม่นานสื่อสีนา้ คงไดร้ บั การสนบั สนุนจากสงั คมสว่ นใหญ่ เป็นอยา่ งดี 2.2 กระบวนการสกัดสจี ากธรรมชาติ สามารถเเบ่งออกได้ 2 ประเภท คอื การสกดั สธี รรมชาตจิ ากพืช และ การสกดั สี ธรรมชาติจากหนิ การศกึ ษากระบวนการสกดั สธี รรมชาติจากพชื มกี ารสกัดสี 2 วธิ ี คอื การสกัดสี แบบรอ้ นโดยวิธีการต้มและการสกัดสแี บบเยน็ โดยวธิ กี ารหมกั การเลอื กใชว้ ธิ กี าร สกดั สีแบบ รอ้ นหรอื แบบเยน็ นัน คา้ นึงถึงคุณลกั ษณะของพชื ส่วนตา่ งๆทใ่ี ห้สขี องพชื เปน็ ตน้ จาก การศึกษาการสกัดสธี รรมชาตจิ ากงานวจิ ยั ต่างๆ พบว่าส่วนใหญ่นิยมสกดั สแี บบร้อน โดย วธิ กี ารตม้ เพอ่ื สกัดสารใหส้ ีในพืชออกมา ปริมาณความเขม้ ข้นของสี ขนึ อยกู่ ับอัตราสว่ นของ การสกดั สี เวลาใน การหมกั หรอื ย้อมของวัสดุนนั ๆ การสกดั สีวิธีการตม้ ยอ้ ม และการหมกั เพ่ือย้อม เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทส่ี บื ทอดจากบรรพบรุ ษุ ท่ีศึกษา และสงั เกตจากธรรมชาตจิ นเกิด จากเรยี นรู้ และน้าประโยชนจ์ ากสมี าใช้ ไดก้ ลา่ วถึง การสกดั สดี ว้ ยการหมกั หรอื ย้อมเย็นเปน็ วิธที ีเ่ รียบ งา่ ยและประหยดั มากทส่ี ดุ นอกจากนยี ังพบวิธีการแบบผสมผสานการสกัดสีโดย การต้มย้อมหมกั เป็น กระบวนการยอ้ มทีม่ หี ลาย มีข้อดคี อื สามารถสกัดสีจากพชื ไดห้ ลาย ชนดิ ดงั นันในการเลือกวธิ ีการ ย้อมสีธรรมชาติ ควรค้านึงถงึ การเลอื กวธิ ีการยอ้ มใหเ้ หมาะสม กับลกั ษณะของวตั ถทุ ี่ยอ้ ม ชนดิ ของพชื ทใี่ หส้ ที ี่มีในทอ้ งถิ่นนันๆ เพื่อใหเ้ หมาะสมกับลักษณะ งาน ระยะเวลา และความถนัดของผู้ยอ้ ม (วเิ ชษฐ์ จันทร์หอมและคณะ 2554) การสกัดสีธรรมชาติจากหิน “เกง่ ” นพพล นชุ ิตประสทิ ธิชัย เป็นหนงึ่ ในไมก่ ค่ี นของช่างศลิ ปะไทยทีผ่ ลิตสฝี ุ่น ธรรมชาติจาก Pigment ของหนิ ดนิ พืช และสัตว์ เพอื่ ให้ได้เฉดสแี บบไทยโทนอยา่ งงาน จติ รกรรมไทยโบราณ สฝี ่นุ ไทยโทน ของเขาภายใต้แบรนด์ กระยารงค์ ผลิตด้วยกระบวนการ ทา้ มือทุกขันตอนและได้รบั การยอมรบั จากคนในแวดวงศลิ ปะไทยและกลุ่มนกั อนรุ กั ษ์อย่าง กวา้ งขวาง ส้านกั ช่างสบิ หมู่ของกรมศลิ ปากรยงั เคยสง่ั สีชาดของเกง่ ไปใช้ในการบรู ณะพระ ราชยานคานหามเมอื่ ครงั เตรยี มการในพระราชพธิ ีถวายพระเพลงิ พระบรมศพของในหลวง รัชกาลท่ี 9 เมือ่ พ.ศ. 2560

7 เก่ง เปดิ บา้ นสวนของเขายา่ นถนนพทุ ธมณฑลสาย 2 ท่ีใช้พืนทส่ี ่วนหนงึ่ เป็นสตดู โิ อ ชอื่ Nop-Art-Studio ให้ Sarakadee Lite ไดเ้ ห็นขันตอนครา่ วๆ ว่ากว่าจะได้แต่ละสนี ันต้อง ใชท้ งั แรงกายและแรงใจมากแค่ไหน บางสีใช้เวลานานหลายเดอื นหรือร่วมปี การสกัดเอาแร่ ธาตใุ นหินต้องผา่ นกระบวนการต้ามือด้วยครกศิลาและบดดว้ ยถว้ ยบดเซรามกิ ให้เนอื เนียน ละเอยี ด ถา่ ยนา้ เป็นรอ้ ยๆ รอบเพอื่ กรองเอาคราบฝ่นุ และเศษผงอื่นๆ ออกใหห้ มด จากนนั เกรอะใหเ้ หลอื เพียง Pigment แทข้ องสเี ท่านนั ก่อนจะนา้ ไปตากแดดใหแ้ หง้ บางสตี อ้ งผ่าน การถ่ายน้าถา่ ยพษิ ซ่ึงต้องใชท้ งั ประสบการณ์และความร้ทู งั ศาสตรแ์ ละศิลป์ เรียกว่าเปน็ “งานหนิ ” ของแท้ หากไดเ้ ห็นกระบวนการท้างานว่ากว่าจะได้แต่ละสไี มใ่ ช่เรือ่ งงา่ ย และตัวหินบางชนดิ เองทเี่ ปน็ กึง่ อญั มณีกม็ รี าคาแพงอยู่แล้ว จะไมแ่ ปลกใจว่าทา้ ไมสฝี นุ่ บางเฉด เชน่ สีครามที่เขา สกดั จากแร่อะซูไรต์ (Azurite) หรอื แรล่ าพสิ ลาซลู ี (Lapis Lazuli) จงึ ราคาสงู ถงึ 15,000- 18,000 บาทตอ่ กโิ ลกรัม ส่วนสเี ขียวตงั แชจากแรม่ าลาไคต์ (Malachite) หรอื จากสนมิ ทองแดงราคากิโลกรมั ละ 7,000-8,000 บาท แบรนด์ กระยารงค์ มี สฝี นุ่ ครบตามสหี ลกั เบญจรงค์คอื ขาว เหลอื ง ดา้ แดง เขียว (คราม) ซงึ่ สามารถน้าไปผสมแตกย่อยไดอ้ กี เปน็ รอ้ ยๆ เฉด Sarakadee Lite ตวั อย่างวัสดุ ธรรมชาติของบางสี เช่น สีครามจากแรอ่ ะซไู รต์ เก่งหยบิ หนิ มาก้อนหนง่ึ ท่ีมที งั แรอ่ ะซูไรตส์ ี นา้ เงิน แรม่ าลาไคต์สีเขียวและดินสเี หลืองปะปนกนั ไปหมด เพอื่ ใหไ้ ดส้ ีครามจากแรอ่ ะซูไรต์ เขาตอ้ งคอ่ ยๆ สกดั เอาแตแ่ รส่ ีน้าเงินออกโดยการตา้ ดว้ ยมือด้วยครกศิลา และน้าแร่ธาตทุ ่ี สกัดได้มาบดให้เนอื เนียนละเอยี ดด้วยถว้ ยเซรามกิ สีขาว จากนันนา้ ไปถ่ายนา้ เป็นรอ้ ยๆ รอบ เพอื่ กรองเอาคราบฝ่นุ และเศษผงอื่นๆ ออกใหห้ มด เกรอะใหเ้ หลือเพียง Pigment แทข้ องสี เท่านนั ก่อนจะนา้ ไปตากแดดให้แห้ง ขนั ตอนทงั หมดใชเ้ วลารว่ มเดือนกว่าจะได้สคี รามจาก แรอ่ ะซไู รต์ สีชาดจากแรซ่ นิ นาบาร์ หนง่ึ ในสที ี่ขายดขี องแบรนด์กระยารงค์คอื สีชาดทส่ี กดั จากแรซ่ ินนาบาร์ (Cinnabar) ราคากโิ ลกรมั ละ 8,000 บาท แมก้ ระบวนการทา้ ไม่ยุ่งยาก ซับซอ้ นเท่าสอี ืน่ เพราะไมใ่ ชแ่ รท่ ่มี คี วามแขง็ มาก แต่ตวั แร่เองมีราคาแพงและทส่ี ้าคญั คือต้อง ใชเ้ วลาบดนานกว่าจะได้เฉดสีตามต้องการ สเี ขยี วตงั แชจากสนิมเขยี วของทองแดง แมส้ เี ขยี ว ตงั แชทไี่ ดจ้ ากสนมิ เขียวของทองแดงเปน็ สที ท่ี ้างา่ ยทส่ี ดุ แต่ตอ้ งอดทนในการรอนานเป็นปี เกง่ น้าเส้นทองแดงที่ซือมาจากรา้ นรบั ซือของเกา่ มาใส่ในโหลแก้วและใส่กรดเกลือเพือ่ ให้กัด ทองแดงจนเปน็ ผง จากนนั จงึ คอ่ ยผา่ นกระบวนการลา้ งนา้ กรองน้าหลายร้อยรอบจนใส

8 สะอาดและหมดความเคม็ สีเขยี วตงั แชจากแร่มาลาไคต์ หากไมอ่ ยากรอนานเปน็ ปีเพ่ือให้ได้สี ฝุน่ เฉดสเี ขียวตงั แชจากสนิมของทองแดง แร่มาลาไคตส์ ามารถสกัดเอา Pigment ให้สเี ขียว ตังแชได้ เก่งตอ้ งสง่ั หินทม่ี ีแรม่ าลาไคต์จากประเทศจนี ซงึ่ น้าเข้ามาจากประเทศบราซลิ อีก ทอดหนึง่ และราคาสูงถงึ 3,000-4,000 บาทต่อกโิ ลกรมั สเี ขยี วใบแคจากใบแค ในขณะท่ี หลายคนกล่าวว่าเฉดสเี ขยี วแบบใบแคนัน ไม่ไดส้ กดั จากใบแคจริงๆ แตเ่ ปน็ แค่คา้ เปรยี บเทยี บเฉดสเี ทา่ นัน เพราะเม่อื นา้ ใบแคมาบดจะไดส้ ีเขม้ เกอื บด้า เก่งก็ยงั เชอื่ ว่าเมื่อมีชื่อ เรยี กกต็ อ้ งสกัดสีนนั ไดจ้ รงิ จงึ ทดลองท้าเรอ่ื ยมาจนไดส้ ตู ร สขี าวจากเปลอื กหอย ดินขาวและ ปนู ขาว ด้านนอกสตูดิโอมเี ปลือกหอยหลายตันตากแหง้ เพอื่ ให้คลายความเคม็ กอ่ นจะนา้ ไป ล้างและเกรอะน้าจนจดื จากนนั น้าไปเผาและบดใหล้ ะเอียดจะไดส้ ฝี ุ่นสีขาวทีต่ ิดคงทน ส่วนสี ขาวกระบงั ไดจ้ ากดนิ ขาวท่ีเผาใหส้ กุ แลว้ บดละเอยี ด จากนนั กรองและเอากากออกสขี าวปูน ได้จากปนู ขาวทตี่ อ้ งลา้ งใหค้ ลายความเค็มแลว้ เกรอะเอาแตเ่ นอื ปูนมาบดใหล้ ะเอยี ด และ กรองใหส้ ะอาด นอกจากสีชาดแลว้ เฉดสขี าวเปน็ อกี เฉดสีท่ีขายดีทสี่ ุด สเี หลอื งจากยางตน้ รงทอง และดนิ สเี หลอื งสดไดจ้ ากยางของต้นรงทองและสเี หลอื งดนิ จากดนิ ในธรรมชาติ สีดา้ จาก หมกึ และเขมา่ ด้าไดจ้ ากทงั เขมา่ ก้นกระทะท่ีนา้ มาบดใหล้ ะเอยี ด และจากหมกึ ดา้ ธรรมชาติ ของจีน เกง่ ยงั คงหลงใหลในเสน่หข์ องสฝี ่นุ ทไ่ี ดจ้ ากธรรมชาตทิ เี่ ขาท้ามากว่า 10 ปี ตังแต่ยัง เปน็ นกั ศกึ ษาศิลปะท่ีวทิ ยาลยั เพาะชา่ ง ดว้ ยเหตุว่า “อยากรู้ อยากใช้และอยากทา้ ใหเ้ ปน็ ของ แท้ โดยไมใ่ ชส้ ารเคม”ี “แตล่ ะสีมลี ักษณะเฉพาะตวั และมปี ระกายระยบิ ระยบั ในตัวเนือสี คา่ สมี ีความเสถยี รคือเวลาผ่านไปเฉดสีไม่เปลย่ี นและยังมีความคงทนอยไู่ ดเ้ ป็นพนั ปีถา้ เกบ็ รกั ษา ดี ๆ นอกจากนเี ฉดสยี งั ออกนวลไมจ่ ดั จา้ นเหมอื นสเี คมี และเมอื่ หลายสอี ย่รู วมกันในหนงึ่ ภาพแต่ละสีไม่ดรอปและอยรู่ ว่ มกนั ได้ด”ี เกง่ อดีตอาจารยส์ อนจิตรกรรมไทยทีว่ ทิ ยาลัยในวงั ชาย กล่าวถึงความพเิ ศษของสฝี ุ่นจากวสั ดุธรรมชาติ 2.3 สารสีจากธรรมชาติ ในปัจจบุ นั นิยมใช้สสี ังเคราะหใ์ นการสร้างสรรคผ์ ลงาน เนื่องจากสสี ังเคราะห์ สามารถซือได้ง่าย ตามท้องตลาด มรี าคาถูก แต่สงิ่ ที่แฝงมากับสีสังเคราะห์ ล้วนเป็นสารเคมี ตา่ งๆทีอ่ าจสะสมใหเ้ กดิ อันตรายใน การใชง้ าน ซงึ่ อาจสง่ ผลเสยี ต่อสขุ ภาพผสู้ ร้างสรรคไ์ ด้ใน

9 ระยะยาว มนุษย์ใชส้ ีสงั เคราะหเ์ ปน็ สว่ นประกอบ ต่างๆในชีวิตประจา้ วนั เช่น ผสมในอาหาร ใช้ยอ้ มเครื่องน่งุ หม่ หรอื น้ามาประกอบในยารกั ษาโรค เพอื่ ท้าให้ เกดิ ความนา่ สนใจและสสี ัน ท่ีสวยงาม แตส่ ง่ิ ทแ่ี ฝงมาในความงามนนั ยอ่ มมคี วามเป็นพิษและอนั ตราย พเยาว์ เหมือนวงษ์ ญาติ (2525 หน้า 11-12) กล่าวว่าในสหรฐั อเมริกามหี ลายสถาบนั ทีท่ า้ การทดลองทางเภสชั วิทยาและพษิ วทิ ยาของสี โดยศึกษาว่าสที ี่ใหส้ ตั ว์ทดลองกินเขา้ ไปมีผลตอ่ การขยายพันธแุ์ ละ ลกู อ่อนทเ่ี กิด มาผดิ ปกติ หรือไม่และจากการทดลองนันผลของการทดลองพบว่าลกู ออ่ นที่ เกดิ มาผิดปกตแิ มว้ ่าจ้านวนของ ลกู ทอี่ อกมาแตล่ ะคอกกม็ ีจา้ นวนเทา่ เดมิ ในขณะเดียวกันผล การทดลองในรสั เซียพบวา่ จา้ นวนลกู ทีอ่ อกมา แต่ละคอกลดนอ้ ยลง ดงั นนั การประยกุ ต์ใชส้ ารสีจากธรรมชาติจึงเป็นทางเลือกหนงึ่ ในการแกป้ ญั หาจาก การใชส้ สี งั เคราะห์ โดยสารสจี ากธรรมชาติสามารถทา้ มาจากทรัพยากรธรรมชาตหลากหลาย ชนิด ได้แก่ วัสดุธรรมชาติ ท่ใี หโ้ ทนสเี หลือง-แสด ยกตัวอยา่ งเชน่ ส่วนรากของยอป่าซึ่งใหส้ ี แดง-ส้ม แตถ่ า้ ใชส้ ว่ นของเนอื รากจะให้สเี หลือง หรอื แกน่ ไม้แกแลทใ่ี หส้ เี หลอื งทอง เหลอื ง เขม้ เหลืองเขยี ว เปลือกเพกากส็ ามารถให้ได้ทงั โทนสเี ขียว-เหลือง และฝักของต้นราชพฤกษ์ หรอื คณู ซึง่ พบได้ท่ัวไปตามทอ้ งถนน ก็สามารถใหส้ ีสม้ อ่อนอมเทาไดเ้ ช่นกนั นอกจากทีก่ ล่าว ไปข้างต้น ยงั มีวัสดุหรือพชื ธรรมชาตทิ ่ีคนไทยน้ามาใชส้ กัดสเี พ่ือใชป้ ระโยชน์และเป็นวัสดทุ ่ี หาไดง้ ่าย จึงขอยกตวั อย่างวสั ดธุ รรมชาตทิ ี่ใหส้ ีโทนดงั กล่าวทีม่ ีการใช้อย่างแพรห่ ลายใน ทอ้ งถิน่ หลายแหง่ ไดแ้ ก่ ขมนิ ชนั แก่นขนุน และเมล็ดค้าแสด เป็นตน้ ขมินชนั วสั ดธุ รรมชาติท่ใี หส้ ีเหลอื งทเ่ี รานึกถงึ เปน็ อนั ดับแรกกค็ งเปน็ ขมนิ ชนั แนน่ อนวา่ เป็นพชื ที่เรารจู้ กั กันดเี พราะมีการใชป้ ระโยชน์มาเปน็ เวลานาน โดยจะใชจ้ ากสว่ น หัวหรอื เหง้าขมิน นยิ มใชใ้ นการประกอบอาหาร แต่งสี แตง่ กลิ่น โดยเฉพาะอย่างยง่ิ สรรพคุณ ทางยามากมาย จงึ มกั เปน็ สว่ นผสมส้าคัญในตวั ยาแผนไทยและเครื่องส้าอางหลายประเภท เหง้าของขมินชนั มผี ิวนอกเปน็ สเี หลือง-นา้ ตาล ส่วนด้านในมีสเี หลืองเขม้ หรอื สสี ้มปนน้าตาล เมื่อบดเปน็ ผงจะมสี เี หลอื งทองหรอื สเี หลืองสม้ ปนนา้ ตาล สารสเี หลอื งจากขมนิ ชนั นันมี สารสา้ คญั คือ เคอร์คิวมิน (cur cumin) เปน็ สารกลมุ่ เคอรค์ ิวมนิ นอยด์ อยรู่ ้อยละ 5 เปน็ สารสีเหลืองปนส้ม ใชแ้ ต่งสอี าหารรวมถึงยอ้ มผ้าด้วย การสกดั สยี ้อมจากขมนิ ชนั ทา้ ไดไ้ ม่ยาก สามารถนา้ มาตา้ และคนั กรองเอาน้าสี แลว้ น้าผา้ ฝา้ ยลงไปยอ้ มในน้าสี อาจเติมน้ามะนาวเป็น สารช่วยย้อม เพอื่ ใหส้ ีตดิ ผ้าแน่นย่ิงขนึ (กระบวนการสกัดสแี ละย้อมอาจแตกตา่ งกนั ไป) ในขณะท่ไี ม้ขนุน เป็นไมโ้ บราณท่อี ยู่คู่กบั คนไทยมานาน เหน็ ไดจ้ ากช่ือของสถานทใี่ นประเทศ

10 ไทยหลายแหง่ กม็ คี ้าว่าขนนุ อยู่ อีกทังยงั เป็นหนง่ึ ในไมม้ งคลตามความเช่อื วา่ จะมคี นเกอื หนนุ หนุนน้า มีบารมี เงินทอง จงึ นยิ มปลูกในบรเิ วณบ้าน และเนอื ไม้ก็สามารถใช้ท้าเฟอร์นเิ จอร์ ไดด้ ้วย โดยส่วนทีน่ ิยมใช้สกดั สี คอื “แก่นขนุน” หรอื เรยี กอกี อย่างว่า “กรัก” ไดม้ าจากต้น ขนนุ ทีเ่ ราพบเห็นทวั่ ไป นยิ มน้ามาใชย้ ้อมสี จะใหส้ ีออกเหลอื งแก่ หรอื สกี รัก โดยสีเหลืองทไ่ี ด้ นันมาจากสาร Morin ซึ่งเปน็ สารในกลมุ่ ฟลาโวนอยด์ เมล็ดคา้ แสด ถูกหมุ้ ดว้ ยเปลอื กแขง็ ของผลทรงสามเหลีย่ มปลายแหลม เมอื่ ผลแก่จะ แตกออกเหน็ เมล็ดค้าแสดท่ีซอ่ นอยู่ภายใน ลักษณะเป็นเมลด็ กลมเล็ก ๆ สีน้าตาลแดงจา้ นวน มาก เนือหมุ้ เมลด็ มสี ีแดงหรือสีแสด ซง่ึ เป็นส่วนทใี่ หส้ ไี ดเ้ ชน่ กัน ค้าแสด เป็นพชื ท่มี ีการใช้ ประโยชนจ์ ากการสกัดสี สที ีไ่ ด้จากเมล็ดค้าแสด เรยี กวา่ สี annatto ซงึ่ ตรงกบั ชือ่ สามญั ของ ไม้ชนิดนี คอื Annatto tree โดยสีทีไ่ ดจ้ ากเมลด็ ค้าแสดเปน็ สแี สดสดหรอื สสี ม้ อมแดง สที ี่ สกดั จากเมล็ดค้าแสดมกี ารใชป้ ระโยชน์ในหลายประเทศ ทงั ในการย้อมผา้ และสผี สมอาหาร โดยเฉพาะในผลติ ภณั ฑน์ ม จึงมีการสง่ ขายในชอื่ เมลด็ annatto หรอื Annatto Seed องคป์ ระกอบของสจี ากเมลด็ คา้ แสดประกอบดว้ ยสาร Bixin (สแี สด) และ Bixol (สีเขยี วเข้ม) ในประเทศอนิ เดียเองกใ็ ชส้ ่วนของผลทห่ี ุ้มผลสกุ เรยี กวา่ กมลา (kamala) ยอ้ มผ้าไหมและ ผา้ ขนสตั วเ์ ป็นสสี ม้ สด และมกี ารใชเ้ มลด็ คา้ แสดยอ้ มผ้าฝ้าย รวมถงึ ในไทยเช่นกัน ปจั จบุ นั เมลด็ คา้ แสดมกี ารพัฒนาเปง็ ผงสสี า้ เร็จรูปแลว้ หรือจะนา้ เมล็ดค้าแสดมาบด เตมิ นา้ และ กรองเอากากออก ปล่อยใหส้ ีตกตะกอน แล้วรนิ น้าใส ๆ ทิง นา้ ท่เี หลือนา้ ไประเหยแหง้ จะได้ สีเป็นกอ้ นสแี ดงสม้ หลงั จากนันกน็ ้ากอ้ นสีทม่ี าบดและตม้ และยอ้ มผ้าโดยกรรมวิธียอ้ มร้อน อย่างไรก็ตาม กระบวนการย้อมและสารช่วยย้อมทีแ่ ตกตา่ งกัน จะใหส้ ที ห่ี ลากหลายถงึ แม้จะ ใช้วัสดุธรรมชาตชิ นิดเดียวกนั ก็ตาม วัสดุธรรมชาติท่ใี หส้ โี ทนนา้ ตาล สารทที่ ้าให้เกดิ สนี า้ ตาลหลกั ๆ คอื สารแทนนิน ซึง่ พบได้แทบทกุ สว่ นของพชื มงั คดุ ผลไมส้ ุดโปรดของใครหลายคน ดว้ ยรสชาตหิ วานอรอ่ ย เปน็ ท่ีนิยมมากใน แถบเอเชีย จนได้รบั การขนานนามว่า “ราชินีแห่งผลไม”้ จึงเป็นท่ีนิยมบริโภคและเป็นผลไม้ เศรษฐกจิ ในปจั จุบนั ไมเ่ พยี งแตเ่ นือของผลทม่ี รี สชาตอิ รอ่ ย เปลือกของมังคุดเองกม็ ีการใช้ ประโยชน์อยา่ งแพรห่ ลาย โดยสารแซนโทนทมี่ มี ากในเปลอื กมงั คดุ นัน มีฤทธยิ์ บั ยงั แบคทเี รยี ยบั ยังการอกั เสบ และยบั ยงั อนมุ ลู อสิ ระ จึงมกี ารพฒั นาเปน็ ส่วนผสมในเคร่ืองสา้ อางและตวั ยาเพอื่ การเลยี งสตั ว์หรอื ด้านการเกษตร เป็นต้นในส่วนของการใชป้ ระโยชนใ์ นด้านการย้อม

11 ผ้า สีที่ไดจ้ ะเป็นสีนา้ ตาล-นา้ ตาลแดง ขึนอยูก่ ับกระบวนการย้อม สารหลกั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การ ใหส้ ขี องเปลือกมงั คุด คอื “แทนนิน” ซงึ่ ให้สเี หลืองหรอื นา้ ตาล โดยแทนนนิ มีการใชใ้ น อุตสาหกรรมฟอกย้อมมาเป็นเวลานานหากใครเคยเผลอกัดเปลือกมังคุดเข้าให้ ก็จะเจอเข้า กับรสฝาดและขม น่ันก็คือรสชาตขิ องแทนนนิ นอกจากนี ใบของมงั คุดก็น้ามาย้อมได้ โดย เติมสารสม้ ชว่ ยติดสีก็จะใหส้ ีออกนา้ ตาลแดงเชน่ กัน และเราก็มักจะพบแทนนินในพชื ท่ีถูกใช้ ในการยอ้ มสีหลายชนดิ ไมว่ ่าจะเปน็ ประดู่ หกู วาง หรือสาบเสือ เป็นต้น สา้ หรับการนา้ เปลอื กมงั คุดมายอ้ ม สามารถใช้ได้ทังเปลอื กผลสดและเปลอื กผลแห้ง และยอ้ มดว้ ย กระบวนการย้อมร้อน สที ี่ได้จากเปน็ สีนา้ ตาลอมเหลอื ง หรอื ใช้เปน็ สารชว่ ยยอ้ มซ่ึงทา้ ใหส้ ี ธรรมชาตบิ นผา้ ติดทนยง่ิ ขนึ ก็ดี มะขามปอ้ ม ท่เี ป็นส่วนผสมของตัวยาหลายขนาน โดยเฉพาะในยาอมและเป็น ส่วนผสมในเครอื่ งสา้ อางอกี ดว้ ย ในอินเดยี มกี ารใชป้ ระโยชนม์ ะขามป้อมเปน็ เวลาหลายพนั ปี แล้ว โดยเรียกผลไม้ชนิดนวี ่า “Akmalaka” ซง่ึ แปลวา่ พยาบาล และไม้ชนดิ นยี ังมกี าร กลา่ วถึงในพุทธประวัตติ ามความเชอ่ื ของชาวฮินดู สา้ หรับประเทศไทย มะขามป้อมเปน็ ผลไม้ ป่าทีค่ นไทยรจู้ กั มานาน นยิ มรบั ประทานทงั แบบผลสดและแปรรปู และเปน็ ผลไมป้ ระจา้ จังหวดั สระแกว้ การใช้ประโยชนใ์ นการเป็นสยี อ้ มนัน ทางภาคเหนอื นิยมใช้เปลอื กของ ตน้ มะขามปอ้ มยอ้ มเส้นใย ไหม หรอื ผา้ ขนสตั ว์ โดยเฉพาะในใบแห้ง มแี ทนนินมากเมอ่ื ย้อม ผ้าจะให้สีนา้ ตาลแกมเหลอื ง แต่ถ้าผสมเกลอื จะไดส้ ีนา้ ตาลอมด้า และหากย้อมเสอ่ื ดว้ ย เปลอื กต้นกจ็ ะใหส้ ีด้า หรือจะใชล้ กู มะขามปอ้ มแช่น้าไว้ขา้ มวนั จนน้าเปลยี่ นเป็นสดี ้า แล้วจงึ น้าผา้ ลงไปยอ้ มร้อน จะไดผ้ า้ สีด้าแกมเขยี วหรอื สเี ทา ปจั จบุ นั มกี ารพฒั นาสกดั สยี ้อมผม ธรรมชาตจิ ากมะขามปอ้ มแลว้ นอกจากนี เปลือกไม้โกงกางแห้งก็ใหส้ ีน้าตาลไดเ้ ช่นกัน เน่ืองจากเปลอื กไม้มสี ารแทนนินและฟนี อลเป็นจา้ นวนมาก สีสันทแ่ี ตกตา่ งกนั แปรเปลย่ี นไป ตามประเภทและความสด-แก่ของวสั ดทุ น่ี ้ามาใช้และสารช่วยย้อม พืชหลายชนิดกส็ ามารถให้ ได้ทังโทนสชี มพไู ปจนถึงสีน้าตาล หรอื โทนเขยี ว-น้าตาล ยกตัวอย่างเชน่ ใบหรอื แกน่ ของต้น สัก ก็สามารถใหส้ กี ากหี รอื สนี ้าตาลได้เช่นกนั หรอื เปลอื กเพกาตม้ กับนา้ ผลมะเกลอื หรอื น้า โคลนเป็นสารชว่ ยย้อม จะไดส้ เี หลืองส้มอมน้าตาล หรอื เปลอื กมะพร้าวแก่กบั สารส้ม/นา้ ด่าง ขเี ถ้าจะได้สนี ้าตาลแดง ขณะทเี่ ปลอื กผลมะพร้าวอ่อนกบั สารสม้ จะไดส้ ีครมี

12 วัสดุธรรมชาตทิ ีใ่ หส้ ีด้า-เทา โดยวัสดทุ ่ีมีการใชป้ ระโยชน์หลกั ๆ และใชก้ นั อย่าง แพร่หลาย คือ ผลของมะเกลอื เน่อื งจากใหส้ ดี ้าสนทิ และมคี วามคงทนตอ่ การซักและแสงดี มาก มะเกลือ เปน็ วัตถดุ บิ ธรรมชาติทใ่ี ช้ประโยชนไ์ ด้อย่างหลากหลาย พบไดต้ ามป่าเบญจ พรรณ โดยผลมะเกลือมสี รรพคณุ ทางยานิยมใชใ้ นการถ่ายพยาธิ แตต่ ้องใช้ในปริมาณที่ เหมาะสม ในขณะทเี่ นือไม้ก็มีความละเอยี ด แขง็ แรงทนทาน ใช้ท้าเครอื่ งเรือน เฟอรน์ เิ จอร์ และอนื่ ๆ เป็นตน้ นอกจากนียงั นิยมใชใ้ นการยอ้ มผ้าอยา่ งแพรห่ ลาย โดยใชผ้ ลแกท่ ่มี ียาง ซง่ึ มีสารไดออสไพรอลไดกลโู คไซต์ เมอ่ื สมั ผสั อากาศจะกลายเปน็ สารไดออสไพรอลท่มี สี ดี ้า เมือ่ น้าไปย้อมผ้าสีใหส้ ีด้าสนทิ ติดทนดี การย้อมผา้ ด้วยมะเกลอื มมี าตังแตส่ มยั รชั กาลที่ 5 เปน็ กจิ กรรมของคนจีนในสมยั นัน เน่ืองจากนิยมใส่กางเกงผา้ แพรสีดา้ แต่สมัยนนั ยงั ไม่มสี สี งั เคราะหจ์ ึงใชผ้ ้าย้อมสีด้าจากผล มะเกลือ และเกดิ กจิ การ “โรงย้อมมะเกลือ” กระจายหลายแห่งในฝงั่ ธนบุรี โดยจะมลี าน กวา้ งสา้ หรบั ยอ้ มผา้ และตงั อยตู่ ดิ กบั ล้าคลองเพอื่ ใชใ้ นกระบวนการลา้ งสีย้อม เรยี กว่า “ลาน มะเกลือ” การย้อมผา้ ด้วยผลมะเกลือจะตอ้ งใชเ้ วลา โดยใชไ้ ดท้ งั ผลดิบและผลสกุ แต่ใช้ผล สุกจะสะดวกกวา่ โดยนา้ ผลสกุ สีด้ามาบดละเอียด กรองเอาแต่นา้ สีดา้ มายอ้ มแล้วตาก ตอ้ ง ยอ้ มซา้ อีกประมาณ 3 ครัง หมกั กับโคลนประมาณ 1-2 คนื เพอื่ ชว่ ยติดสี จะไดผ้ า้ สดี ้าสนทิ ในขณะทเี่ ปลอื กเงาะโรงเรยี น ทเี่ รานยิ มรับประทานกส็ ามารถนา้ มาใชย้ ้อมผา้ ได้เช่นกนั เนื่องจากในเปลือกสารแทนนนิ อยู่ การย้อมผ้าด้วยเปลอื กเงาะจะใช้เปลือกสดมาบดเป็นชนิ เลก็ ๆ ไปตม้ กับนา้ เพ่อื สกดั สี โดยสีทไ่ี ดน้ ีจะเป็นสีน้าตาลเขม้ หลงั จากนนั จึงนา้ ผา้ ลงไปย้อม รอ้ นกับนา้ สีทไี่ ด้ แล้วหมักกบั โคลนเปน็ เวลาวนั ละ 7-8 ชวั่ โมง นาน 3 วัน ผา้ ทีไ่ ดจ้ ะ กลายเปน็ สดี ้าใกลเ้ คียงกบั มะเกลอื นอกจากนยี งั มรี ายงานการใช้ประโยชนย์ อ้ มผา้ จากลูกกระบกผสมกบั โคลนกจ็ ะไดส้ ี เทา-เทาดา้ เช่นกนั แต่ปจั จบุ นั ไม่พบการยอ้ มผ้าดว้ ยกระบกมากนกั อาจเป็นเพราะเปน็ ไมท้ ีไ่ ม่ นยิ มปลกู มกั ขึนเองตามธรรมชาติ และออกผลตามฤดกู าล จะเหน็ ไดว้ า่ ผ้าจากสียอ้ ม ธรรมชาตทิ เี่ ป็นสดี า้ จะตอ้ งนา้ ไปหมกั กับโคลน เน่ืองจากช่วยใหส้ ยี ้อมจากวสั ดธุ รรมชาติทีไ่ ด้ ตดิ ทนมากยิ่งขึน และใหส้ ที ่ีเข้มขึนอกี ดว้ ย

13 วสั ดธุ รรมชาติท่ีให้สีคราม พืชทใ่ี หส้ ีครามหรอื สีน้าเงนิ ในบ้านเราท่ีนยิ มใช้ในการย้อม ผา้ จะมหี ลกั ๆ อยู่ 3 ชนิด คือ ต้นคราม ตน้ ฮอ่ ม และต้นเบอื ก/เบกิ แตท่ ่นี ยิ มใช้ประโยชน์ คอื ต้นคราม/ถัว่ คราม และต้นฮอ่ ม แตอ่ าจเพราะชื่อเรียกทแ่ี ตกตา่ งกนั ในแต่ละทอ้ งถนิ่ และ บางพนื ทก่ี ็เรยี กตน้ ฮอ่ มว่าคราม จึงมักถูกเขา้ ใจผิดคดิ วา่ เปน็ พชื ชนดิ เดียวกนั แท้จริงแลว้ พชื ทงั สองชนดิ นีอย่กู ันคนละวงศก์ ัน อีกทงั ยงั เติบโตได้ดใี นพืนทที่ ต่ี ่างกนั สีครามทังจากครามถวั่ และฮ่อมทีไ่ ด้นนั มาจากกระบวนการหมกั ใบพืช โดยมีสาร Indigo ทใี่ หส้ ีน้าเงนิ ซงึ่ เป็นสารกล่มุ อลั คาลอยด์ โดยกระบวนการดังกล่าวจะต้องหมักพชื ผสมกับปนู ขาว ก็จะไดก้ ้อนสีครามเปยี ก ซงึ่ สามารถนา้ ไปพฒั นาเป็นผงสตี อ่ ไปได้ คราม เปน็ พชื ลม้ ลุกตระกูลถว่ั จึงเรียกว่าถ่วั ครามกไ็ ด้ จดั อยใู่ นสกลุ Indigofera spp. วงศ์ FABACEAE โดยในเอเชียมอี ยู่ 2 ชนดิ คือ คราม (I. tinctoria L.) และครามใหญ่ (I. suffruticosa Mill.) มใี บประกอบแบบขนนกเรยี งสลบั ดอกช่อออกตามซอกใบรปู ดอกถั่ว สีชมพู ผลเป็นฝัก มที ังฝักตรงและฝกั โคง้ ต้นถวั่ ครามชอบพนื ทีท่ เ่ี ป็นดนิ ร่วน น้าน้อย แดดจัด จงึ ควรปลกู บรเิ วณท่ดี อนโลง่ มีแสงแดดเพียงพอ ตามหวั ไรป่ ลายนากไ็ ด้ อนั ที่จรงิ แล้วมนุษย์ มกี ารใช้ประโยชน์ถ่วั ครามในการยอ้ มผ้ามาเป็นเวลากว่า 2,000 ปีแล้ว ในประเทศไทยการ ยอ้ มสจี ากครามเป็นภมู ปิ ัญญาท่มี กี ารปฏิบัติมาแตโ่ บราณ โดยเฉพาะแถบภาคอีสานเหนอื มี การสอดแทรกเรอ่ื งคตคิ วามเชือ่ การยอ้ ม จิตวิญญาณในครามและหมอ้ ย้อมคราม ทเ่ี รยี กว่า “หม้อนลิ ” ซง่ึ ผยู้ อ้ มครามต้องคอยเอาใจใส่กระบวนการยอ้ ม เพือ่ ให้ไดส้ ยี อ้ มครามท่ดี ีและผ้า ยอ้ มสคี รามทตี่ ดิ สอี ยา่ งสม่า้ เสมอ ในขณะท่ีเมือ่ พดู ถงึ ฮอ่ ม เราจะนกึ ถงึ เสอื ผ้าสีคราม ของฝากขนึ ชอ่ื จากจังหวัดแพร่ เรียกว่า “ผ้าม่อฮ่อม” โดยค้าวา่ “มอ่ ” เพยี นมาจาก มอ มคี วามหมายวา่ สมี ืด สคี ราม บ้างก็ เขยี นวา่ “หมอ้ ”หมายความถงึ ภาชนะทีใ่ ช้ในการหมักใบฮอ่ ม สว่ นค้าวา่ “ฮ่อม” หมายถงึ สี ครามทไี่ ดจ้ ากตน้ ฮ่อม ซึง่ ตน้ ฮ่อมนเี ป็นไมล้ ้มลกุ มชี ่ือวทิ ยาศาสตร์ คอื Strobilanthes cusia (Nees) Kuntze. วงศ์ ACANTHACEAE ลา้ ต้นสงู 50 – 150 ซม. ลักษณะเปน็ ใบเดีย่ วเรยี ง ตรงข้ามรปู วงรี ขอบใบหยักฟันเลื่อยละเอยี ด การยอ้ มสจี ากฮอ่ มมีการปฏิบตั กิ นั มากทาง ภาคเหนือโดยเฉพาะกลมุ่ ชาติพันธเุ์ ผ่าไท แต่ปจั จบุ ันกลบั ลดนอ้ ยลง ดว้ ยข้อจ้ากดั ทตี่ อ้ งปลกู ในพืนท่ีสูง ใกลล้ า้ ธาร มแี สงร้าไร หรอื มกั ขนึ ในบรเิ วณป่าดบิ เขาหรือปา่ สนเขาทม่ี ีอากาศเยน็ ตลอดทังปี อกี ทงั ไม่คอ่ ยมกี ารสง่ เสรมิ ปลูกในเชงิ อตุ สาหกรรมมากนกั ซง่ึ ผา้ มอ่ ฮ่อมที่ จา้ หนา่ ยในปจั จบุ นั สว่ นมากยอ้ มมาจากสสี งั เคราะหห์ รอื สจี ากครามถ่วั ท่ีมสี ว่ นผสมของฮอ่ ม

14 บางส่วนเท่านนั จงึ อาจกล่าวได้ว่าสถานการณ์การยอ้ มสีครามจากต้นฮอ่ มคอ่ นขา้ งวกิ ฤติ ด้วยวัตถดุ บิ ทห่ี ายาก อันสง่ ผลใหภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ การใช้สยี อ้ มจากฮอ่ มอาจสญู หายไปใน อนาคต วสั ดธุ รรมชาติทใ่ี ห้สเี ขียว/เขียวเหลือง ส้าหรบั วสั ดธุ รรมชาติทีใ่ หส้ เี ขยี วนนั มี หลากหลายมาก อยา่ งไรก็ตามวสั ดุท่ใี ห้โทนสเี ขยี วนนั สามารถใหเ้ ฉดสีทหี่ ลากหลายตงั แต่ เขยี ว-เขยี วอ่อน-เหลอื ง ไปจนถึงสีกากี ขนึ อยู่กบั สารชว่ ยย้อม สว่ นผสมของวัสดอุ ่ืนในการ ย้อม และกรรมวธิ ใี นการยอ้ ม เพกา หรือ ลินฟ้าสามารถพบกระจายไดท้ ่วั ไป จะใช้เปลือกของล้าตน้ ในการย้อมสี สามารถใช้ไดท้ งั เปลอื กสดและเปลอื กแหง้ การสกดั สีจากเพกาท้าไดห้ ลายวิธแี ละการใช้สาร ช่วยตดิ สที ่ตี ่างกัน ก็จะให้สที ี่แตกตา่ งกัน หากใช้เปลอื กสดกบั สารส้มช่วยยอ้ ม จะใหส้ เี หลอื ง สดใส แต่หากตอ้ งการโทนสีเขียว อาจใช้สารตดิ สีจา้ พวกโซเดยี มคารบ์ อเนต น้าสนมิ เหลก็ หรอื จนุ สลี งไปขณะยอ้ ม หูกวางเปน็ พันธ์ุไมท้ ี่นิยมปลกู กันมาก โดยเฉพาะในเมืองกส็ ามารถพบเหน็ ได้งา่ ย จรงิ ๆ แลว้ หกู วางเป็นไมท้ ม่ี กี ารใชป้ ระโยชนท์ หี่ ลากหลายมานานแล้ว ทกุ ส่วนของต้นหกู วาง สามารถนา้ มาใช้ประโยชน์ได้ทังหมด มที ังสรรพคณุ ทางยา รากและผลดบิ ใชใ้ นการฟอกยอ้ ม หนัง เสอ่ื และท้าน้าหมึก สีย้อมจากใบหูกวาง จะใชใ้ บท่ีไม่ออ่ นหรือแกจ่ นเกนิ ไป โดยสารให้ สีในใบหกู วางมี 2 กลุ่มโครงสร้าง คือ 1. เตตราพิโรล ซงึ่ เปน็ สารทใ่ี ห้สเี ขียวเป็นหลัก ได้แก่ พอรฟ์ ิรนิ คลอโรฟลิ ล์ ซง่ึ เป็นแมกนเี ซยี มคอมเพลก็ ซ์ โดยสเี ขียวนีไม่ทนต่อสภาพสารละลายทีเ่ ป็น กรดหรือมคี วามร้อน เพราะท้าให้แมกนีเซียมหลดุ ออกจากโมเลกุล สจี ะ เปลย่ี นเปน็ สเี ขียวขมี ้าหรือน้าตาลแกมเขยี วของสารประกอบฟีโอไฟติน 2. โอ-เฮเทอโรไซคลิก ไดแ้ ก่ ฟลาโวนอยด์ ประกอบด้วยสาร 3 ชนิด คือ ฟลา โวน ฟลาโวนอล และแอนโทไซยานิน นอกจากนใี บหูกวางมแี ทนนินเปน็ องคป์ ระกอบทส่ี า้ คัญ ซ่ึงเป็นสารทมี่ คี ุณสมบตั ทิ ้าใหส้ ยี อ้ มตดิ แน่นทนทาน มะม่วงเป็นพืชทีน่ ยิ มปลกู กนั มากในประเทศไทย โดยสว่ นมากปลกู เพื่อรบั ประทาน นอกจากนเี ปลอื กมะมว่ งยงั มีคุณสมบัตใิ นการย้อมผา้ โดยใหส้ เี หลืองออ่ น เขยี ว เขยี วขีมา้ ขนึ อยู่กบั สารและวสั ดุอน่ื ทช่ี ่วยยอ้ ม มกี ารศกึ ษารงควัตถุสีทพ่ี บในเปลือกมะมว่ งส่วนมากอยู่

15 ในกลมุ่ ฟลาโวนอยด์ ซึง่ ใหส้ เี หลืองเข้ม และรงควัตถสุ ีที่เป็นสารอนพุ ันธใ์ นกลุม่ แซนโทน ซึง่ อยใู่ นรูปกลูโคไซด์ คือ แมงจเิ ฟอริน (Mangiferin) และนอกจากนยี งั พบองคป์ ระกอบอน่ื ๆ เช่น Gallic Acid, Epicatechin รวมทงั Tannic Acid เปน็ ตน้ สาบเสือเปน็ พืชลม้ ลุกทพ่ี บไดท้ ัว่ ไปในทร่ี กรา้ ง ทุง่ หญา้ ริมถนน ในไร่ และรมิ สวน ผลไม้ ปจั จบุ ันมกี ารศึกษาพฒั นาสารสกัดเพอ่ื ใช้ในการก้าจดั ศตั รูพชื อีกทงั ยงั มีสรรพคุณทาง ยาช่วยในการหา้ มเลือด เนือ่ งจากมสี าร eupatol, coumarin ซ่ึงออกฤทธท์ิ ผี่ นงั เส้นเลอื ด ทา้ ใหเ้ ส้นเลอื ดหดตวั สาบเสืออาจถกู มองวา่ เปน็ วชั พืช แต่ในหลายพนื ทีม่ กี ารใช้ประโยชน์ใน การย้อมผา้ อกี ดว้ ย โดยจะใชส้ ่วนใบในการย้อมซง่ึ ใหส้ ีเขียวอมเหลืองหรอื เขียวคลา้ ในใบ สาบเสือประกอบดว้ ยสารส้าคญั คอื anisic acid และ flavonoid หลายชนดิ หนงึ่ ในนัน คือ สารกล่มุ แทนนนิ เช่นกนั 2.4 สารนาสี (binder ) สีแต่ละประเภทไม่ว่าจะเป็นสนี า้ สีอคริลิก สีนา้ มัน สีทาบ้าน ลว้ นแต่เปน็ สที ี่เกิดจาก เม็ดสแี บบเดียวกนั แตจ่ ะมสี ารยดึ เกาะท่แี ตกต่างกันตามการใชง้ าน ส้าหรบั สนี า้ นนั อนุภาคของเม็ดสีถูกทา้ ใหก้ ระจายอยใู่ นสารนา้ สที ่เี ป็นของเหลวใน กระบวนการผสม ซง่ึ กว่า 65% ของของเหลวนนั เป็นสารยึดเกาะ สารยึดเกาะทา้ ใหส้ ารน้าสี มีลักษณะทห่ี นดื ข้น ชว่ ยใหเ้ มด็ สตี ิดกบั พู่กนั ท้าให้สียดึ เกาะกับกระดาษและช่วยให้เม็ดสอี ยทู่ ี่ บนผวิ ของกระดาษไมล่ งไปอยรู่ ะหว่างเส้นใยกระดาษ สีจงึ มคี วามสด ในสมัยกอ่ นมกี ารใชก้ าวธรรมชาติหลายประเภทเพ่ือเปน็ สารยดึ เกาะของสนี า้ เชน่ แป้ง หรอื กาวหนังสตั ว์ ในภาพเขียนของยุโรปตงั แต่ศตวรรษท่ี 18 สารยึดเกาะทใ่ี ช้คอื กัมอา รบกิ ท้าจากยางต้นอะคาเซยี ทมี่ หี นามแขง็ ท่ชี ื่อนีเพราะเดมิ ทีเปน็ ของทน่ี ้าเขา้ มาจาก ตะวันออกกลาง กัมอารบิก เปน็ สารที่ประกอบดว้ ยโพลีเซกคาไรดแ์ ละไกลโคโปรดีน เม่ือเปียกจะมี ลกั ษะเหนยี ว เม่อื แหง้ จะคอ่ นขา้ งแขง็ และโปร่งใส มีการนา้ ใชม้ ากในอตุ สาหกรรมอาหาร ท้า ให้อาหารข้นเหนยี ว (ม่ันใจได้เลยว่าเปน็ สารทป่ี ลอดภยั ) กัมอารบกิ ดบิ จะเปน็ ลกั ษณะกอ้ นสี เหลอื งใสคลา้ ยแก้ว แตใ่ นการซือขายสา้ หรบั ท้าสมี กั จะเป็นลกั ษณะผงเพราะละลายนา้ ได้ง่าย และแบบที่เป็นของเหลวบรรจขุ วดก็มี

16 กมั อารบิกคุณภาพดีเม่อื ละลายนา้ จะเป็นสนี ้าผึงจางๆ และไมม่ ตี ะกอน นอกจากกมั อารบกิ แลว้ ผ้ผู ลติ บางรายมีการใช้สารยดึ เกาะอน่ื ๆ ทมี่ ีลกั ษณะใสและมคี ณุ สมบัติยึดเกาะ เชน่ กนั กัมอารบกิ เป็นสารยึดเกาะทีค่ อ่ นขา้ งออ่ นถ้าเทียบกบั สารยดึ เกาะของสปี ระเภทอนื่ สามารถลอกออกไดง้ า่ ย และสามารถละลายน้าได้ซ้าแม้วา่ จะแห้ง คณุ สมบัตนิ ที ้าใหส้ นี ้ามี รูปแบบทเ่ี ป็นกอ้ นแข็ง หรอื สามารถบบี จากหลอดเพอื่ เกบ็ สแี บบแหง้ ทา้ ใหง้ า่ ยต่อการพกพา 2.5 คุณภาพและลักษณะของสนี า คุณสมบตั ิของสนี ้าทว่ั ไป มดี ังนี 1. ลกั ษณะโปร่งใส( Transparent Quality ) เนอื่ งจากสีน้ามสี ่วนผสมของกาว และสีทบี่ ดอย่างละเอยี ด ดงั นัน เมือ่ ระบายนา้ บนกระดาษสขี าวจึงมเี นอื ทไี่ มห่ นาทบึ จนเกดิ ไป ทา้ ให้เกดิ ลักษณะโปร่งใส และการระบายสีนา้ จะต้องระบายไปทเี ดียว ไมร่ ะบายซ้ากนั เพราะจะทา้ ใหส้ ีช้าหรอ หม่นได้ และควรระบายจากสอี อ่ นไปหาสีแก่ ในบางกรณอ๊ าจจะระบายจากสีแกไ่ ป หาออ่ นกไ็ ด้ ทงั นีต้องคอยระวงั อย่าใหน้ ้าทีใ่ ชผ้ สมสีขุ่นหรือคลา้ เพราะจา้ ท้าให้สี หมน่ หรอื ทบึ 2. ลักษณะเปียกชมุ่ ( Soft Quality ) เนือ่ งจากในการระบายสี จะตอ้ งผสมผสานกบั น้าและระบายให้ซมึ เข้าหา กันเม่อื ตอ้ งการใหก้ ลมกลืนกนั ดงั นัน เมือ่ ระบายไปแลว้ ลักษณะของสีทีแ่ ห้งบน กระดาษ จะคงความเปียกชุ่มของสี ปรากฏใหเ้ ห็นอยเู่ สมอ และในบางกรณที ่ใี ชส้ นี ้า ระบายมากเกนิ ไป แลว้ ปลอ่ ยใหส้ ีแหง้ ไปเอง กจ็ ะเกิดคราบของสี (Sfumato ) ปรากฏใหเ้ หน็ ซงึ่ ถอื เป็นลกั ษณะพเิ ศษที่ไดร้ บั ความนิยมเปน็ อย่างมาก ยิ่งศลิ ปนิ สี นา้ ท่านใดสามารถสรา้ งสรรคใ์ หค้ ราบนันนา่ ดแู ละมคี วามหมายขนึ ถือวา่ เปน็ ลักษณะพิเศษของสีน้าทมี่ ีคา่ ควรช่ืนชมเปน็ อย่างยิง่ 3. สีน้ามคี ณุ สมบตั ิท่แี หง้ เรว็ เมื่อเทียบกบั สีนา้ มัน ดงั นนั จงึ ท้าใหเ้ กดิ ความเชือ่ ตอ่ ผสู้ นใจทังหลายวา่ เปน็ ส่ือทร่ี ะบายยาก และเหมาะสา้ หรบั ผู้ทส่ี ามารถตัดสินใจรวดเรว็ ในการถา่ ยทอด เท่านัน อยา่ งไรกด็ คี วามเช่อื ดงั กล่าวอาจแกไ้ ขได้ ดว้ ยการลงมือทา้ จริง เพราะเหตวุ ่า

17 การระบายสนี า้ มีวิธรี ะบายหลายวธิ ี และเราสามารถควบคมุ คณุ สมบัตแิ หง้ เร็วนีได้ ด้วยการผสมกลีเซอรนี ลงในนา้ ผสมสกี จ็ ะช่วยใหแ้ ห้งช้าได้ 4. สีน้ามคี ุณสมบตั ิรกุ รามและยอมรบั ( Advance, Receda ) ทังนีเกี่ยวข้องกบั เนือสแี ละสารเคมีทผ่ี สม ซึง่ ผู้สนใจจะต้องสอบทานด้วย ตนเองว่าสีใดทม่ี ีคณุ สมบตั ริ ุกรานสีอืน่ หรอื สีใดยอมใหส้ อี นื่ รกุ ราน และสใี ดทต่ี ิด กระดาษแน่นล้างน้าไม่ออก ( Stained Color ) (Belly Napatsorn ,2562)

18 บทที่ 3 วธิ กี ารศกึ ษาคน้ คว้า ในการจัดท้าโครงงานเรื่องสารสจี ากวัสดธุ รรมชาติ นี ผูจ้ ัดทา้ โครงงานมีวิธีดา้ เนนิ งาน โครงงาน ตามขันตอนดังนี 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ และ เคร่ืองมอื 3.1.1 เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ พรอ้ มเชือ่ มตอ่ ระบบอนิ เตอรเ์ น็ต 3.1.2 อปุ กรณท์ า้ สีน้า 3.1.3 วสั ดธุ รรมชาติ 3.2 ขันตอนการดาเนินงานโครงงาน 3.2.1 คดิ หัวขอ้ โครงงานเพ่อื นา้ เสนอครทู ่ปี รกึ ษาโครงงาน 3.2.2 ศึกษาและค้นคว้าขอ้ มลู ท่เี กี่ยวขอ้ งกับเรื่องทส่ี นใจ คือเรื่องสารสจี ากวสั ดุธรรมชาติ ว่า มีเนอื หามากนอ้ ยเพียงใด และตอ้ งศกึ ษาค้นคว้าเพ่ิมเตมิ เพยี งใดจากเวบ็ ไซต์ต่างๆและเก็บข้อมลู ไว้เพอื่ จดั ท้าเนอื หาตอ่ ไป 3.2.3 ศกึ ษาการท้าสีนา้ จากเอกสารและเว็บไซต์ต่างๆ ทน่ี า้ เสนอเทคนคิ และวิธีทา้ สนี ้าจาก ธรรมชาติ 3.2.4 จดั ทา้ โครงรา่ งโครงงานคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือน้าเสนอครทู ป่ี รกึ ษาโครงงาน 3.2.5 ปฏิบตั ิการจัดท้าโครงงานอาชีพ เรือ่ งสารสีจากวัสดธุ รรมชาติ นา้ เสนอรายงาน ความกา้ วหน้าของงานเปน็ ระยะๆซ่ึงครทู ีป่ รึกษาจะใหข้ ้อเสนอแนะตา่ งๆ เพือ่ ให้จัดท้าเนือหาและ นา้ เสนอท่นี ่าสนใจต่อไป ทงั นเี มื่อไดร้ บั คา้ แนะน้าก็จะน้ามาปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหด้ ีย่ิงขึน 3.2.6 สา้ รวจความพงึ พอใจ 3.2.7 น้าเสนองานโดยท้าเปน็ อีบุ๊ค

19 3.3 อุปกรณแ์ ละสว่ นผสมการทาสนี าจากสารสีในธรรมชาติ อุปกรณ์ 3.3.1 แพนสี 3.3.2 ผงกมั อารบิก 4 ชอ้ นชา หรือ 20กรมั (ตอ่ 1 แพน) 3.3.3 กลีเซอรนี 1 ชอ้ นชา หรอื 5กรมั (ตอ่ 1 แพน) 3.3.4 ถงุ มอื 3.3.5 ครก 3.3.6 ชอ้ น 3.3.7 คอมพวิ เตอร์ 3.3.8 กระดาษ 3.3.9 พู่กนั 3.3.10 นา้ 3.3.11 หิน 3.3.12 พชื ทใี่ ห้สารสี ไดแ้ ก่ ขมิน อญั ชนั 3.4 ขนั ตอนการทาสนี าจากสารสีในธรรมชาติ ขนั ตอนการท้า 3.4.1 ละลายกมั อารบกิ ในน้า 3.4.2 ผสมน้ากัมอารบกิ กลีเซอรนี เขา้ ดว้ ยกัน สารผสมท่ไี ด้จะเรยี กว่าสารน้าสี (paint vehicle) 1.3.1 3.4.3นา้ หิน และพชื ทจี่ ะใช้น้ามาบดใหล้ ะเอียดจนเป็นเมด็ สจี ากธรรมชาติ (หากเปน็ พืชควรจะนา้ ไปตากแดด แล้วน้ามาบดจนเป็นผงส)ี 3.4.3 ผสมเมด็ สจี ากธรรมชาติกบั กบั สารนา้ สี 3.4.4 คนใหเ้ ข้ากัน 3.4.5 ทดสอบคุณภาพสดี ว้ ยการลองระบาย 3.4.6 ตกั สใี ส่แพน

20 บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ ตารางบันทกึ ผล ลกั ษณะของสีน้า ความโปรง่ ใส ชนิดของวัสดธุ รรมชาติ การละลายนา้ สมบัตกิ ารแหง้ ค่อนข้างทึบ หิน ละลายน้าได้ดี แห้งเร็ว พชื ละลายน้าได้ดี แห้งช้าและยาก คอ่ นขา้ งโปรง่ ใส ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการศกึ ษาการทา้ สีนา้ จากวัสดธุ รรมชาติ จากการตารางสีนา้ จากวัสดธุ รรมชาตทิ ังสองชนิดพบวา่ สนี ้าทีท่ ้าจากพืชจะมลี ักษณะสีเจอื จางคอ่ นข้างโปรง่ ใส ละลายนา้ ไดด้ ี แห้งยาก สว่ นสีนา้ ทท่ี า้ จากหนิ มลี กั ษณะสที ีเ่ ขม้ และละลายน้าได้ ดี

21 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การจัดทา้ โครงงานสารสจี ากวัสดธุ รรมชาตินี สามารถสรปุ ผลการดา้ เนินงานและ ขอ้ เสนอแนะได้ดงั นี 5.1 สรุปผล จากการทดลองทา้ สีนา้ ครงั แรกเกิดปญั หาเนอื่ งจากใช้สารน้าสใี นสัดส่วนทีผ่ ดิ ในการทดลองท้า ครังทส่ี องประสบผลส้าเรจ็ จากการทดลองทา้ สนี ้าจากวัสดธุ รรมชาติทงั สองชนิดพบวา่ สนี ้าทที่ ้าจากพชื จะมลี กั ษณะสเี จอื จางค่อนข้างโปรง่ ใส ละลายน้าได้ดี แหง้ ยาก สว่ นสีน้าที่ทา้ จากหินมลี ักษณะสที เ่ี ขม้ และละลายนา้ ได้ ดี จึงสามารถสรปุ ไดว้ า่ สีน้าทที่ า้ จากหินจะมปี ระสิทธิภาพดวี า่ สนี า้ ทท่ี า้ จากพืช 5.2 ข้อเสนอแนะ 1. ควรใช้เคร่ืองมอื ที่บดหินได้ละเอยี ดและมปี ระสิทธิภาพมากขนึ 2. ควรล้างเครอื่ งมือใหส้ ะอาดกอ่ นผสมสอี ่นื ๆ

22 เอกสารอา้ งอิง ชดิ นภา พุม่ ศิริ. (2556). ประวัติสีน้า. ค้นเมือ่ 24 สิงหาคม 2563, จาก https://skyartblog.wordpress.com/ มูลนิธสิ บื นาคะเสถียร. (2562). สารสีจากธรรมชาต.ิ คน้ เมอ่ื 24 สิงหาคม 2563, จาก https://www.seub.or.th/bloging Water color diy. (2562). ทา้ สีน้าแบบง่ายๆ. ค้นเมื่อ 24 สงิ หาคม 2563, จาก https://www.facebook.com/watercolordiy/posts/2243169619230466/



23 เอกสารอ้างองิ ชดิ นภา พมุ่ ศิริ. (2556). ประวัติสนี ้า. ค้นเมอ่ื 24 สิงหาคม 2563, https://skyartblog.wordpress.com/ มูลนิธสิ บื นาคะเสถยี ร. (2562). สารสีจากธรรมชาติ. คน้ เมอื่ 24 สงิ หาคม 2563, https://www.seub.or.th/bloging Water color diy. (2562). ทา้ สนี ้าแบบงา่ ยๆ. คน้ เมอ่ื 24 สิงหาคม 2563, https://www.facebook.com/watercolordiy/posts/2243169619230466/

ภาคผนวก

25 ภาพกระบวนการทาสนี า การบดหินเพอื่ น้ามาใช้เปน็ สารสี การผสมสารน้าสีกบั ผงสี นา้ สีน้าใส่แพ