Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชิ้นงานโครงการ

ชิ้นงานโครงการ

Published by 6022040031 1103703188984, 2020-02-04 02:36:00

Description: ชิ้นงานโครงการ

Search

Read the Text Version

ส่อื การเรียนการสอนในรปู แบบหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ วิชาการผลติ สอื่ ส่ิงพิมพ์ สาหรบั นกั เรียนระดับช้นั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี

01 สื่อสิ่งพมิ พ์ 02 การวางแผนผลติ สิง่ พมิ พ์ 03 การออกแบบนิตยสารและวารสาร 04 การออกแบบนติ ยสารและวารสาร 05 พรบ. การจดแจง้ การพมิ พ์ พ.ศ. 2550

คานา หนังสอื เรยี นวิชา การผลติ ส่อื ส่ิงพิมพ์ รหัส 2204 - 2104 เล่มนี้ไดจ้ าทาข้นึ เพือ่ ใช้ในการประกอบการเรยี นการสอนสาหรบั นกั เรยี นตามหลกั สูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. 2556 ของสานกั งานคณะกรรมการ อาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึง่ ได้จดั ทาเน้ือหาครอบคลมุ ตามจดุ ประสงค์ รายวชิ า และมามาตรฐานการเรยี นรู้ของหลักสูตร ผ้จู ัดทาหวังเป็นอย่างยิงวา่ หนงั สือเล่มนี้ จะทาใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อ กระบวนการเรยี นการสอนได้เปน็ อย่างดี หากอาจารย์ผูส้ อนหรอื ผู้เรียนมี ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ ประการใด ขอใหแ้ จง้ ข้อเสนอแนะมายงั สานกั พิมพ์หรือ ติดตอ่ ผูจ้ ัดโดยตรง จักเป็นพระคุณอยา่ งยง่ิ

สมรรถนะรายวชิ า จดุ ประสงค์รายวชิ าเพือ่ ให้ 1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั หลักการพนื้ ฐานของสือ่ สิ่งพิมพ์ 1. มีความรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับการวเิ คราะหแ์ ละการจาแนก 2. ออกแบบส่อื สงิ่ พมิ พต์ ามการใช้งาน ประเภทของสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ 3. สือ่ สง่ิ พมิ พด์ ้วยโปรแกรมผลติ สอื่ สิ่งพมิ พ์ 2. มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการพิมพ์ คาอธบิ ายรายวชิ า 3. มีทักษะในการออกแบบสอ่ื สงิ่ พิมพแ์ ละจัดองค์ประกอบ ศึกษาและปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับความรูพ้ ้นื ฐานของสื่อส่งิ พิมพ์ ศิลป์ในสือ่ ส่งิ พมิ พ์ กระบวนการพมิ พ์ การออกแบบส่ือส่งิ พิมพ์ เทคนิคการใช้ 4. ผลติ ส่อื ส่ิงพิมพ์ด้วยโปรแกรมผลติ สอื่ สิ่งพมิ พ์ ภาพถา่ ยในส่ือสง่ิ พิมพ์และการใชโ้ ปรแกรมผลิตส่ือส่ิงพมิ พ์ 5. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมที่ดีในการใช้ คอมพวิ เตอร์

อาจารย์ท่ปี รกึ ษา นางสาวธาตุทอง สรรพเจรญิ นายจกั ราชยั จามรมาน นายศภุ เจรญิ นิลพนั ธ์ุ

นางสาวตรีรตั น์ ใชป้ ัญญา นางสาววฤนดา คาผา

01 เข0้า2สู่บทเร03ยี น 04

หน่วยท่ี 1 สอ่ื สิ่งพมิ พ์ สื่อสิ่งพิมพ์จัดได้ว่าเป็นส่ือที่ช่วยในการเผยแพร่ได้อย่างกว้างขวางและเป็นที่นิยมใช้มาก ทส่ี ดุ ส่อื หนึ่งเพราะนอกจากจะสะดวกแล้วยงั เป็นการประหยัดงบประมาณได้อย่างมากและสามารถเก็บไว้ ดไู ดเ้ ปน็ เวลานานอีกดว้ ย ส่ือส่งิ พมิ พ์จงึ เปน็ ทางเลอื กหน่ึงนอกจากวิทยกุ ระจายเสยี ง โทรทศั น์ แผ่นปา้ ย โฆษณา ฯลฯ ประเภทของสิ่งพิมพ์ สื่อสงิ่ พมิ พ์สามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภท กล่มุ ใหญ่ ๆ คอื 1. หนงั สือพมิ พ์ (Newspapers) 2. นติ ยสารและวารสาร (Magazines and Joules) 3. หนังสือเล่ม (Book) 4. สง่ิ พมิ พ์เฉพาะกิจต่าง ๆ เช่น ใบปลิว แผ่นพบั เอกสารเลม่ เล็กหรอื จลุ สาร จดหมายข่าว

1. หนังสือพิมพ์ หนังสือเป็นส่อื ส่งิ พมิ พท์ เ่ี ป็นสื่อมวลชนประเภทหน่ึง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัวคือ มี เนื้อหาเน้นหนักในเร่ืองของการรายงานข่าว และการสาหรับคนทั่วไปมีความ หลากหลายในเน้ือหา ไม่เน้นเฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง นอกจากนี้หนังสือพิมพ์จะต้อง พิมพ์เป็นลายประจาแน่นอนเสมอ อาจเป็นรายวันหรือรายสัปดาห์ก็ได้ และพิมพ์ เผยแพร่สู่สาธารณะชนจานวนมาก ๆ เปิดโอกาสให้คนซ้ืออ่านได้ ปัจจุบันน้ีมี หนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทยอยู่หลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ เดลินิวส์ คมชัดลึก มติชน ขา่ วสด สว่ นหนังสอื พิมพ์ภาษาองั กฤษไดแ้ ก่ บางกอกโพสต์ เดอะเนช่นั นอกจากนยี้ งั มีหนังสือพิมพ์ประเภทธุรกิจอีกหลายฉบับ เช่น ฐานเศรษฐกิจ ประชาชาติธุรกิจ ผู้จัดการ และยังมีหนังสือพิมพ์ในส่วนภูมิภาคท่ีพิมพ์เผยแพร่เฉพาะในบางจังหวัดอีก เป็นจานวนมาก

2. นิตยสารและวารสาร (Magazines and Journals) นติ ยสารและวารสารเปน็ หนงั สอื ทีม่ รี ะยะเวลาออกเป็นรายคาบไวแ้ น่นอน เชน่ ราย สัปดาห์ รายปักษ์ (คร่ึงเดือน) รายเดอื น ราย 3 เดอื น เปน็ ตน้ นิตยสาร (Magazines) มลี กั ษณะตา่ งจากส่ิงพิมพ์อื่น ๆ คือ เน้นหนักทางด้านเสนอบทความ สารคดี และขอ้ เขยี น ตา่ ง ๆ ทใี่ ห้ความรู้ ความบันเทิงกับผู้อ่านโดยทั่วไป มีการจดั หน้าและรูปเล่มที่สวยงาม ใน ประเทศไทยมีนิตยสารอยู่มากมายหลายฉบับ ท้ังนิตรสารท่ีให้ความรู้ความบันเทิงเฉพาะ ด้านแตกต่างกันไป เช่น เศรษฐกิจ การเมือง ศิลปะ วัฒนธรรม ธุรกิจ การท่องเท่ียว บันเทิง สุขภาพ กีฬา ตลอดจนนิตยสารท่ีออกมาเพื่อผู้อ่านเฉพาะวัย ได้แก่ นิตยสาร สาหรับเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้ชายและผู้หญิง นิตยสารและวารสารท่ีจัดว่ามีประโยชน์มากต่องาน ส่งเสริมและเผยแพร่ คือ นิตยสารประเภทธุรกิจ การค้า อุตสาหกรรม นิตยสารวิชาชีพ เช่น ธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมไทย ใกล้หมอ ชีวติ และสุขภาพ เปน็ ต้น

วารสาร Journals วารสาร เป็นสงิ่ พมิ พ์ จัดพมิ พอ์ อกเผยแพร่เปน็ คราวๆ หรือเป็นวาระ ซ่งึ อาจมี กาหนดเวลาหรือไม่มีกาหนดเวลาแนน่ อนก็ได้ วารสารและนิตยสาร จดั อยู่ใน ส่งิ พมิ พ์ประเภทออกตามรายคาบ หรือออกตอ่ เนอ่ื งตามลาดับ เน่ืองจาก ส่งิ พิมพ์ประเภทน้ีมชี อ่ื เรียกหลายช่ือ ทง้ั ใน ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ บาง คามคี วามหมายกว้างๆ ใชแ้ ทนกันได้ แต่บางคามคี วามหมายแคบ แสดงถึง ลักษณะเฉพาะบางอยา่ ง จนไมอ่ าจใช้แทนคาอืน่ ได้ เพอ่ื ให้เข้าใจตรงกนั

3. หนงั สอื (Book) หนังสือเล่ม คอื สงิ่ พมิ พ์ท่เี ยบ็ รวมกนั เป็นเล่มที่มคี วามหนาและขนาดต่าง ๆ กนั ไมม่ กี าหนดออกแนน่ อน และไม่ตอ่ เนือ่ งกนั มเี นือ้ หาท่เี ปน็ เรือ่ งเดียวกัน ไม่ หลากหลายและมคี วามสมบูรณใ์ฺ นตวั เอง หนงั สือเล่มแบ่งออกเปน็ หลายประเภทตามแต่ลักษณะของเน้อื หา เช่น หนงั สอื นิยาย หนงั สอื เรยี น หนังสือวิชาการ สารคดี หนังสอื เพลง หนงั สอื การ์ตูน บทกวี นพิ นธ์ หนงั สือเล่ม เปน็ สิ่งพิมท่ีมีผูส้ นใจเฉพาะกลุ่ม เช่นเดยี วกบั หนงั สอื วารสาร เช่น กลมุ่ นกั เรียน นกั ศึกษาหรือกล่มุ อาชพี ทีม่ ีความสนใจเฉพาะด้านยกเว้นแตห่ นังสอื ที่ เน้นหนักไปทางด้านบันเทงิ สว่ นใหญห่ นังสือเลม่ จะมจี านวนพิมพไ์ มม่ ากนัก

4. สิง่ พมิ พเ์ ฉพาะกิจ เป็นหนงั สอื ท่ีผลิตขึ้นเพือ่ ใชใ้ นกจิ การใดกจิ การหนงึ่ โดยเฉพาะ เชน่ การ โฆษณาประชาสัมพันธ์ โครงการเผยแพรค่ วามรูด้ ้านต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็น ส่งิ พิมพท์ ก่ี ล่าวมาแลว้ ใน 3 ชนดิ แรก ท่ีผลิตขนึ้ เฉพาะเพื่อใชง้ านในดา้ นใด ดา้ นหนง่ึ แต่ในที่นีจ้ ะขอเนน้ เฉพาะสิง่ พมิ พ์ในรูปแบบอื่น ๆ ที่ นอกเหนือไปจากส่งิ พมิ พ์ 3 แบบท่กี ล่าวมาแลว้ คือ

1.แผ่นปลวิ หรือใบปลิว เป็นกระดาษเพียงแผน่ เดยี วซงึ่ จะพิมพ์เนอ้ื เรื่องส้นั ๆ เพียงเรอื่ งเดยี ว 2.แผน่ พับ เปน็ แผน่ กระดาษท่ีพมิ พ์แผน่ เดยี วแต่พบั เปน็ หลายหนา้ บรรจเุ น้ือหาสรุป สั้นๆเพอื่ ข่าวแนะนา หรอื เตอื นความจา 3.เอกสารเย็บเลม่ เป็นเอกสารที่เยบ็ รวมเปน็ เลม่ บางๆ มเี นื้อหาและสสี นั น่าอา่ น ใช้เผยแพร่แนะนา มเี น้ือหา ละเอียดขึน้ 4.สาร (Booklet หรือ Pamphlet) เปน็ เอกสารท่ีเยบ็ เลม่ เชน่ เดยี วกนั มปี กหมุ้ มเี นอ้ื หาให้รายละเอียดเกีย่ วกับ นโยบายของหน่วยงานและคูม่ ือการปฏบิ ตั ิงานในหัวเรือ่ งใดเรื่องหนงึ่ อาจเปน็ เอกสารที่ใช้ในการเรียนการ สอนและการศกึ ษารายบุคคลกไ็ ด้ สาหรบั จลุ สารที่เรยี กว่า Pamphlet เปน็ สารชนิดหนง่ึ ทร่ี วมกันหลายๆหน้า แต่ไมเ่ ยบ็ เล่ม 5.จดหมายขา่ ว มีลักษณะเชน่ เดยี วกนั กบั แผ่นปลิว ใช้สาหรบั แจ้งให้ทราบขา่ วเฉพาะเรือ่ ง หรอื ชกั จูงใจสัน้ ๆ เช่น รายละเอยี ดกิจกรรมต่างๆ หรือ ข่าวความรูใ้ หมๆ่ 6.หนงั สือพมิ พ์ฝาผนงั เปน็ หนังสือพมิ พ์ที่ทาเปน็ แผ่น ไว้ติดบนกาแพงหรอื ท่ีบอร์ด ใหผ้ ูส้ นใจอ่าน มเี พยี ง แผน่ เดยี ว เน้อื หาประกอบไปด้วยขา่ ว การพาดหวั ขา่ วเปน็ ตน้ 7.จูงใจ หรือเรยี กความสนใจเพื่อรณรงค์ในเรื่อง

ขอ้ ดีของสื่อส่งิ พมิ พ์ 1) กระบวนการในการผลิตสื่อส่ิงพมิ พ์สามารถทาได้หลายแบบ เปดิ โอกาสใหเ้ ลือกในรูปแบบที่เหมาะสมกบั สถานการณน์ น้ั ๆ 2๗) สามารถจดั พิมพ์ได้หลายรูปแบบตามวตั ถุประสงค์ท่ีจะ นาไปใช้ เช่น แผน่ ปลิว จดหมายเวียนหรือเอกสารเผยแพร่ 3) สามารถใช้สื่อสง่ิ พิมพ์ไดห้ ลายๆทาง อาจเป็นส่อื ให้ การศึกษาโดยตรงหรอื ใช้สนบั สนนุ อน่ื ​ ๆ ก็ได้ นอกจากนี้ยัง สามารถเลอื กจัดพิมพใ์ หม้ รี ะยะเวลาการใช้งานตา่ ง ๆ 4๗) สิง่ พิมพส์ ามารถผลิตเพอื่ ใหใ้ ชเ้ หมาะกับกลมุ่ เป้าหมาย เฉพาะด้านได้ 5) การผลติ สง่ิ พิมพส์ ามารถปรับใช้เหมาะสมกบั กระบวนการ ใช้และผลลัพธ์ทีต่ ้องตามสภาพของเคร่ืองอานวยความสะดวก ท่มี อี ยู่

1) วัสดทุ ีใ่ ชม้ คี วามอบบางและฉกี ขาดงา่ ย ข้อจากดั การพิมพ์ 2) เก็บรกั ษายากเน่อื งจากมลี ักษณะรูปทรงและขนาดแตกต่างกนั มาก 3) การเกบ็ รกั ษาในระยะยาวสาหรบั สอ่ื สิ่งพิมพจ์ านวนมาก ๆ ยากทจ่ี ะป้องกันความเปยี กช้นื ความรอ้ นและฝุ่นละออง 4) การพิมพใ์ นระบบทม่ี ีคณุ ภาพต้องใชก้ ารลงทนุ สูงมาก โดยเฉพาะการพิมพ์ ในระบบสีส่ ี 5) อาจมปี ัญหาและอุปสรรคในการแจกจา่ ย เน่ืองจากวัสดสุ ง่ิ พมิ พท์ ม่ี ี ความสัมพันธก์ ับการขนสง่ 5 หากการขนสง่ หนงั สือพิมพไ์ ปไมถ่ งึ กลุ่มเปา้ หมาย การรับรู้ข่าวสารด้วยส่งิ พมิ พ์ก็จะขาดตอนลง 6) การใช้วสั ดสุ ิง่ พมิ พก์ ับกล่มุ เปา้ หมายทไ่ี มร่ ูห้ นงั สือตอ้ งอาศัยการออกแบบ สอื่ สิง่ พมิ พ์มคี วามหมายและความนา่ สนใจ เน่อื งจากผู้ทใี่ หใ้ ช้วสั ดุสิ่งพมิ พ์ ตอ้ งใช้ความสนใจ และอาศัยเวลามากกวา่ การสอ่ื สารด้วยส่ืออ่ืน​ ๆ

หนว่ ยท่ี 2 การวางแผนผลติ สงิ่ พมิ พ์ การวางแผนผลิตส่ิงพมิ พ์มี 4 ข้ันตอน คือ

การจดั หน้าสิ่งพิมพ์ 1) กาหนดจุดมงุ่ หมายและกลมุ่ เป้าหมาย สิ่งพมิ พ์ทกุ ชนิ้ จะตอ้ งมจี ุดมงุ่ หมายในการสือ่ สารและกลุ่มเป้าหมายของผูร้ บั จงึ เปน็ งานแรกของ ผูจ้ ัดทาส่ิงพมิ พ์ ทจี่ ะทากาหนดให้ได้วา่ จะผลติ สง่ิ พมิ พ์นน้ั เพ่อื วัตถุประสงค์อะไรและเผยแพร่ไปยัง ผู้ใด 2) หลังจากท่ที ราบถึงจุดมุง่ หมายและกลุม่ เป้าหมายแลว้ ก็จะทาใหท้ ราบได้วา่ ส่ิงพมิ พน์ นั้ ควรจะออกมาในลกั ษณะเช่นใด เช่น ควรจะทาอย่างเรียบงา่ ย จะ เปน็ 2 สี หรอื 4 สี มีภาพประกอบหรอื ไม่ 3) ทดสอบแนวคิดและเรม่ิ แนวรา่ ง หลังจากท่ไี ดร้ บั ความคดิ สรา้ งสรรค์แลว้ จะถึงเวลาทเ่ี ร่ิมทดสอบแนวคดิ และรา่ งส่งิ พิมพอ์ อกมาเปน็ รา่ งหยาบ​ ๆ​ แบบการสเกต็ ภาพเพือ่ ให้เปน็ รูปรา่ งข้นึ มา 4) ปรึกษาโรงพิมพ์ ถา้ จะผลติ สิง่ พิมพเ์ ป็นจานวนมากซึ่งไมส่ ามารถผลติ ได้ด้วยเครือ่ งพิมพเ์ ลเซอร์หรือเครอ่ื งถา่ ยสาเนา จาเปน็ ต้องให้โรงพิมพใ์ นการพิมพโ์ ดยจดั ทาต้นฉบับพิมพ์นั้นเอง ในกรณนี ี้ปรึกษาโรงพมิ พก์ อ่ น รายละเอียดตา่ ง ๆ

ประเภทกระดาษ 2) กระดาษแบงค์ (Bank Paper) 1) กระดาษบรูฟ๊ ​ท์ (newsprint) เปน็ เป็นกระดาษลงั บางไม่เคลือบผิว น้าหนักไมเ่ กิน 50 กรมั /ตารางเมตร มสี ีใหเ้ ลือกหลายสี ใช้สาหรบั งาน กระดาษที่มสี ว่ นผสมของเยอ่ื บททม่ี เี สน้ ใยสัน้ และ พิมพแ์ บบฟอร์มต่าง ๆ พ่ีมหี ลายสาเนาหลายชั้น มักนาเยือ่ จากกระดาษใชแ้ ลว้ มาผสมด้วย กระดาษ​ บรู๊ฟทม์ เี พยี งน้าหนกั 40-52 กรมั /ตารางเมตร​ มสี ี อมเหลือง ราคาไม่แพงแต่ความแข็งแรงนอ้ ย เหมาะสาหรบั งานพมิ พห์ นังสือพิมพ์

3) กระดาษป​ อนด​์ (Bond paper) 4.) กระดาษอารต์ ​ เปน็ กระดาษทที่ ามาจากเยอื่ เคมี เปน็ กระดาษท่ีทาจากเยอื่ บทท่มี ีการผ่านการฟอก (เยอ่ื ​ท่ผี ลิตโดยใชส้ ารเคมี) และเคลอื บผิวให้ และอาจมีสว่ นผสมของเย่ือท่ีมาจากเศษผ้า มีสขี าว เรยี บด้านเดยี วหรือท้งั 2 ด้าน การเคลอื บอาจจะ ผิวไมเ่ รยี บ นา้ หนกั อยู่ระหว่าง.60-100.กรมั /ตาราง เคลือบมันเงาหรือแบบดา้ นกไ็ ด้ มสี ขี าวน้าหนกั อยู่ เมตร​ ใช้สาหรบั งานพมิ พท์ ีต่ อ้ งการความสวยงามปาน ระหวา่ ง 80-160กรัม/ตารางเมตร​ กลาง พมิ พ์สเี ดยี วหรือหลายสกี ไ็ ด้

5.) กระดาษฟอกขาว woodfree 6) กระดาษเหนียว kart paper Paper เป็นกระดาษทท่ี าจากเยอ่ื เคมี ( เป็นกระดาษทท่ี าจากเยอ่ื ซลั เฟต (เยอ่ื ใย เหยอ่ื ทผ่ี ลติ โดยใชส้ ารเคม)ี และฟอกใหข้ าว ยาวทผ่ี ลติ โดยใชส้ ารซลั เฟต)​ จงึ มคี วาม เป็นกระดาษทม่ี คี ุณภาพและมคี วาม เหนียวเป็นพเิ ศษ มสี เี ป็นสนี ้าตาล น้าหนกั หนาแน่นสงู การดดู ซมึ น้อย ใชส้ าหรบั งาน อยรู่ ะหวา่ ง 80-180ก​ รมั /ตารางเมตร ใช้ พมิ พห์ นงั สอื กระดาษพมิ พเ์ ขยี น สาหรบั สงิ่ พมิ พบ์ รรจุภณั ฑ์ กระดาษหอ่ ของ ถุงกระดาษ

7) กระดาษการด์ Card Board 8) กระดาษกล่อง Box paper เป็นกระดาษทม่ี คี วามหนาและแขง็ แรง เป็นกระดาษทท่ี าจากเยอ่ื บด และมกั นาเยอ่ื จาก ประกอบดว้ ยชนั้ ของกระดาษหลายชนั้ ชนั้ นอก 2 กระดาษใชแ้ ลว้ มาผสม มสี คี ล้าไปทางเทาหรอื ดา้ นนอกเป็นสขี าว แต่กม็ กี ารด์ สตี ่างๆ ใหเ้ ลอื กใช้ น้าตาล จะเรยี กกระดาษกล่องขาว หากเป็น บางชนิดมผี วิ เคลอื บมนั เรยี บ ซง่ึ เรยี ก กระดาษ กระดาษเคลอื บมนั จะเรยี ก กระดาษกล่องแป้ง อารต์ การด์ น้าหนกั กระดาษการด์ อยรู่ ะหวา่ ง110- น้าหนกั กระดาษกลอ่ งอยรู่ ะหว่าง180-600​ 400.กรมั /ตารางเมตร ใชส้ าหรบั ทาปกหนงั สอื กรมั /ตารางเมตร ใชส้ าหรบั ทาสงิ่ พมิ พบ์ รรจุ บรรจภุ ณั ฑท์ ม่ี รี าคา เช่น กล่องเครอ่ื งสาอาง ภณั ฑ์ เชน่ กลอ่ ง ป้ายแขง็ ฯลฯ

9) กระดาษแขง็ Hard Board เป็นกระดาษ 10) กระดาษแฟนซี Fancy Paper เป็นคา หลายชนั้ แขง็ หนาทาจากเยอ่ื ไมบ้ ดและเยอ่ื เรยี กโดยรวมสาหรบั กระดาษทม่ี รี ปู ร่าง กระดาษเก่า มผี วิ ขรขุ ระสคี ล้า มคี าเรยี ก ลกั ษณะของเน้ือและผวิ กระดาษทต่ี ่างจาก กระดาษชนิดน้ีว่า กระดาษจวั ๋ ปงั มนี ้าหนกั กระดาษใชง้ านทวั่ ไป บางชนิดมกี ารผสมเยอ่ื ตงั้ แต่430 กรมั /ตารางเมตรขน้ึ ไป ใชท้ าไสใ้ น ทต่ี ่างออกไป บางชนิดมผี วิ เป็นลายตามแบบ ของปกหนงั สอื ฐานปฏทิ นิ ตงั้ โต๊ะ บรรจุ บนลกู กลง้ิ หรอื ตะแคงทก่ี ดทบั ในขนั้ ตอนการ ภณั ฑต์ ่าง ๆ ผลติ

บทท่ี 3 การออกแบบหนังสอื พมิ พ์ เน่ืองจากหนังสือพมิ พ์สว่ นใหญจ่ ัดทาข้ึนเพอ่ื ออกเผยแพร่เป็นประจา การออกแบบหนังสือพิมพ์จงึ เปน็ เรอ่ื งที่ตอ้ งมีการแข่งขันกบั เวลามาก ท่ีสดุ เม่ือเทียบกับ การออกแบบสื่อส​ ิ่งพิมพอ์ นื่ ๆ นอกจากนี้หนงั สือพมิ พท์ ั่วไปซ่งึ ไม่ใชห่ นังสือพมิ พ์เฉพาะ ดา้ น เชน่ หนังสือพิมพก์ ีฬา จะมีเน้อื หาข้อมลู ที่เปน็ ขา่ วสารมากมายหลายดา้ น เชน่ การเมอื ง บันเทิง ศาสนา ถ้าเพยี งแค่พิจารณาตวั แปร 2 ประการดงั กล่าวกจ็ ะเห็นได้ว่า การออกแบบหนังสอื พมิ พเ์ ปน็ เร่อื งท่ที ้าทายความสามารถของนักออกแบบอย่างมาก หลกั การทั่วไปในการออกแบบหนังสือพมิ พ์ มี 2 เรอื่ งสาคญั คือสิ่งที่ตอ้ งกาหนดและ วางแผนกอ่ นการออกแบบหนงั สือพมิ พ์กบั องค์ประกอบและการจดั วางองคป์ ระกอบใน การออกแบบหนงั สอื พมิ พก์ อ่ นจะทาการออกแบบหนังสอื พิมพ์น้นั มีเรอื่ งที่จะตอ้ งทามี การกาหนดและวางแผนเฉพาะในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการออกแบบ ดงั น้ี

การกาหนดขนาดและรปู แบบของหนงั สอื พิมพ์ ในการกาหนดขนาดและรูปแบบของหนังสอื พมิ พ์นน้ั ส่ิงแรกท่จี ะตอ้ งคานึงถึงกค็ ือ ประเภทของหนังสือพิมพ์น้ัน ซึง่ โดยท่ัวไปแล้วขนาดของหนังสอื พิมพท์ น่ี ิยมใชก้ ันเป็นมาตรฐานมี ดงั นี้ 1) หนงั สือพมิ พแ์ ผน่ ใหญ่ Broad Sheet หรอื ขนาดเตม็ หนา้ กระดาษ​ Full size เป็นขนาดท่ีใช้ กันทั่วไปในหนงั สอื พิมพ์ประเภทหนังสือพิมพร์ ายวนั ทร่ี ายงานขา่ วท่ัวไป 2) หนงั สือพิมพแ์ ผ่นเล็ก​ Half size หรือ​ Tabloid เปน็ หนังสอื พิมพ์ทีร่ ายงานข่าวเฉพาะดา้ น เชน่ หนงั สอื พิมพ์กีฬา เป็นตน้ ในต่างประเทศนิยมใช้หนังสือพมิ พป์ ระเภทรายงานขา่ วแล้วใจใน ประเทศไทยนยิ มใช้ทาหนา้ แทรกในโอกาสต่าง ๆ Supplement นอกจากการกาหนดขนาดและ รูปแบบตามประเภทของข่าวทห่ี นังสือพมิ พน์ ้ันรายงานแล้วยังตอ้ งคานึงถงึ ความสะดวกสบาย ใน การอา่ นและการจัดเก็บเม่อื อา่ นเสร็จแล้ว นอกจากน้ยี งั ต้องนึกถึงความประหยดั ในดา้ นต้นทนุ การ พิมพ์การผลิตด้วย

แบบและขนาดตัวอักษร เน่ืองจากความหลากหลายในประเภทเนือ้ หาของขา่ วในหนงั สือพิมพ์ ทาใหด้ ูเหมอื นวา่ จะต้อง มีการใช้ตัวอักษรหลายๆแบบเพื่อใหเ้ หมาะสมกับประเภทเนือ้ หาของขา่ วแต่ละเรอื่ ง ซง่ึ ก็มีสว่ นถูกอยู่บา้ ง แตห่ ากมกี ารใช้แบบของตัวอกั ษรเปล่ียนแปลงไปเรอ่ื ย ๆ ก็อาจจะกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาทางดา้ นประโยชน์ใชส้ อย หรอื ดา้ นการสื่อสาร กลา่ วคืออาจจะเกดิ ความสบั สนในการอา่ นและความยุ่งยากในการติดตามขา่ วเนอ่ื งจาก รูปแบบท่ีหลากหลายยอ่ มทาใหด้ ูซบั ซอ้ นได้ง่าย นอกจากน้ี การไม่มีรปู แบบแนน่ อนยงั จะมีผลทาให้ผูอ้ ่านไม่ สามารถจบั ภาพลกั ษณ์หรอื เปน็ เอกลกั ษณข์ องหนงั สือพิมพ์ได​้ นอกจากแบบของตวั อักษรแล้วขนาดของ ตวั อกั ษรก็ควรจะมีการกาหนดด้วย ทงั้ นีจ้ ะตอ้ งคานึงถึงความยืดหยนุ่ เชน่ เดยี วกนั โดยขนาดตวั อกั ษรทใี่ ช้เปน็ ตวั อักษรเนอ้ื เรอื่ งนน้ั ไมค่ วรมขี นาดเลก็ กวา่ 12 พอยต​์ เพราะจะทาใหย้ ากต่อการอ่านเมือ่ มเี นอื้ หาของข่าว จานวนมาก ส่วนตวั อักษรทใ่ี ชเ้ ปน็ ตวั พิมพห์ ัวเรื่อง หัวรอ้ ง

หนา้ แรกของหนงั สอื พมิ พ์ คือส่วนของหนังสือพมิ พซ์ ง่ึ ผผู้ ่านไปจะพบเหน็ และอ่านกอ่ นหนา้ อืน่ ๆ และเน่ืองจากผูท้ ีผ่ า่ นไปมานั้นเลือก ซ้อื หนงั สือพมิ พ์ก็เพราะข่าวที่นาเสนอ ซ่งึ ทนี่ กั ออกแบบควรจะทาให้หน้าแรกมปี ระสิทธภิ าพสูงสุดก็คอื การเลอื กนาเสนอ ข้อมลู ทเ่ี ป็นหัวเรือ่ งหรือพาดขา่ ว แร็พภาพของขา่ วทีน่ า่ สนใจนน้ั อยา่ งชดั เจน ง่ายแก่การอ่านหรือดู รูเ้ รือ่ งได้ในเวลา อนั รวดเร็ว ทงั้ น้นี กั ออกแบบจะตอ้ งจดั การกับองค์ประกอบซ่งึ ปรากฏอยูใ่ นหนา้ แรก รูปแบบมาตรฐานของหนา้ แรก หนา้ แรกของหนังสือพมิ พ์ควรจะไดร้ ับการออกแบบใหม้ ีรปู แบบมาตรฐานในการจดั วาง องค์กรตา่ ง ๆ ทง้ั นเี้ ป็นตวั อกั ษรและภาพ รูปแบบน้ีจะต้องไดร้ บั การรักษาไวใ้ ช้ทุกฉบับต่อเนอื่ งกันไปเร่อื ย ๆ ไม่ว่าจะ เปน็ ตาแหน่งและขนาดของตวั อักษรและภาพเพอ่ื ให้กลมุ่ เป้าหมายเกดิ ความคนุ้ เคยและจดจาได้จนกลายเปน็ เอกลกั ษณ์ เฉพาะตัวของหนังสือพมิ พไ์ ปในทีส่ ดุ อยา่ งไรกต็ ามรูปแบบมาตรฐานน้ีจะตอ้ งมคี วามยืดหย่นุ สงู เน่ืองจากภาพและ ตัวอกั ษรของแต่ละฉบับน้นั จะตอ้ งขึ้นอยูก่ บั ข่าวของแต่ละวนั ว่ามปี รมิ าณและคณุ ภาพเป็นอย่างไร เช่น หากวนั ใดมภี าพที่ ส่ือสารได้ดกี ็อาจจะลดขนาดตัวอกั ษรท่เี ปน็ หัวข่าวหรือพาดข่าวหวั ให้มีขนาดเลก็ ลง เป็นตน้ รูปแบบการจัดวางองค์ประกอบ ในหนา้ แรกของหนังสือพมิ พ์นี้อาจ แยกเป็นแบบนิยมใช้กันโดยทว่ั ไป 5 แบบดงั นี้

1) แบบสมมาตร 2) แบบอสมมาตร เป็นการจัดวางองคป์ ระกอบทางด้านซา้ ยและ เปน็ การจัดวางองค์ประกอบแบบที่ทางดา้ นซา้ ยและขวาไม่ ด้านขวาของหนา้ ใหเ้ หมอื นกนั หรอื สมดลุ แบบเท่ากนั เหมอื นกนั แตม่ ีการวางให้เกิดความรู้สึกโดยรวมแล้วดสู มดลุ 2 ด้าน โดยวางหัวหนังสอื พมิ พ์ไว้ตอนบนตรงกลาง รูปแบบการจดั วางแบบอสมมาตร​น้​เี ปน็ ท​ ีน่ ิยม​ ใช้มากเนอ่ื งจากมี หนา้ รูปแบบการจัดวางแบบสมมาตรน​ ้ี​ไม่​คอ่ ยเ​ ปน็ ​ท่ี ความยดื หย่นุ ในการนาเสนอภาพและขอ้ ความ​อกี ทัง้ ยังทาให้ นยิ ม แลว้ ในปจั จุบันเน่ืองจากไม่ค่อย มคี วามยดื หยุ่น หน้าหนังสอื พิมพ์ดูตนื่ เตน้ มชี วี ติ ชีวา ในการนาเสนอและทาใหห้ น้าหนังสอื พมิ พด์ ูนิง่ ไม่นา่ ตืน่ เต้น 2) แบบยืดโยง เปน็ การจดั วางองค์ประกอบโดยจดั ให้ขา่ วแต่ละเรือ่ งเรยี งตัวเปน็ ลักษณะรูปตัว L ใหญ่ ทง้ั ตัว L ปกติ และตวั L ท่ีกลับซ้าย​-ขวา​ เพื่อให้แตล่ ะขา่ ว สอดยึดโยงกนั และกันเอาไว้ รูปแบบการจดั วาง แบบยดึ โยงน้ไี ม่คอ่ ยเปน็ ท่นี ิยมมากนกั ในปัจจุบันแม้จะมีความยดื หยนุ่ และดูตนื่ เตน้ กต็ าม

4) แบบละครสัตว์ 5) แบบสมมาตร เป็นการจดั วางองค์ประกอบแบบสนุกสนานดไี มเ่ ป็น เปน็ การจัดวางองค์ประกอบโดยจัดให้เขาแต่ละเร่อื ง ทางการมีความยืดหยุ่นในการจัดวางมากและดูตนื่ เตน้ เรียงตัวละเป็นแ​ นวนอนไ​ ลจ่ ากดา้ นบนข​ อง​กระดาษล​ ง แต่ความเป็นทางการของรปู แบบนท้ี าให้ไม่เป็นที่นิยม มาส​่ดู า้ นลา่ ง​ รูปแบบนม้ี คี วามยดื หยุ่น ในการจัดวาง ใช้กบั หนังสือพมิ พร์ ายวันท่ัวไป เพราะมผี ลทาให้ มากแต่กด็ ไู ม่ตนื่ เตน้ นกั นอกจากการ จะทาทง้ั 5 แบบ ขอ้ มลู ท่นี าเสนอดไู ม่น่าเช่อื ถอื ที่นิยมใชก้ ันโดยทั่วไป ยงั มีจัดแบบแนววตั้ง Vertical

บทท่ี 4 การออกแบบนิตยสารและวารสาร วารสารและนติ ยสาร เป็นสอื่ มวลชนทสี่ าคัญสาหรับการศึกษาประเภทหน่งึ ​ ทใ่ี ห้ทงั้ ขา่ ว สาร ความรูค้ วามคิด และความบนั เทงิ แกผ่ ูอ้ า่ นอยา่ งกวา้ งขวาง และยงั ทาหนา้ ท่ีในการบนั ทึกความเป็นไปไดใ้ น สังคม ในชว่ งเวลาหน่งึ ไดเ้ ปน็ อย่างดี และมีสว่ นชว่ ยกระตุ้นให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงพฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ เนอ่ื งจากวรศาสตร์และนติ ยสารเป็นแหล่งรวบรวมและเผยแพรค่ วามรู้ความคดิ ในรูปแบบของการเสนอ บทความทางวชิ าการ ขา่ ว ภาพ ความคิดเห็น​ บทวจิ ารณอ์ ยา่ งหลากหลาย มีการจดั ทาออกมาอย่างต่อเน่อื ง​ และเผยแพร่ความรู้ที่ทันสมัยทนั เหตุการณ์ ไปสูก่ ลุ่มผูอ้ ่านท่เี ปน็ ประชาชนทัว่ ไปไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง กวา่ สิ่งพมิ พ์ประเภทหนังสอื จึงมคี ุณคา่ ต่อการศกึ ษาอย่างสูง ทัง้ ในด้านการศกึ ษาตามอัธยาศยั การศึกษานอก ระบบโรงเรยี น และการใชป้ ระกอบการศกึ ษาในระบบโรงเรยี น

นติ ยสาร นิตยสารเปน็ สิ่งพมิ พท์ จี่ ัดพมิ พอ์ อกเผยแพรต่ ามกาหนดเวลา หรอื คราบเวลาท่แี น่นอน เช่น ออกทุกสปั ดาห์ หรือออกทกุ เดือน ลกั ษณะโดยท่วั ไป เป็นส่งิ พิมพ์เข้าเลม่ เดียวกันกบั หนังสือ วารสาร คอื วารสารเปน็ สิง่ พิมพจ์ ะพมิ พ์ออกเผยแพร่เปน็ คราวๆหรือเป็นวาระ ซึ่งอาจมีกาหนดเวลาหรือไม่มี กาหนดเวลาแนน่ อนก็ได้

ลักษณะของวารสาร 1) เปน็ ส่ิงพิมพ์ตอ่ เนือ่ ง​ Periodical or serial มกี าหนดเวลาออกแน่นอนแต่เวลาท่นี ิยมกาหนดออก เช่น รายสัปดาห​์ weekly กาหนดออกสปั ดาหล์ ะครั้ง ปีละ 52 ฉบบั รายปกั ษ์ Fortunately กาหนดออกทุก 2 สัปดาห์ ปีละ 26 ฉบับ รายครึ่ง​เดอื น​ semimonthly กาหนดออกเดอื นละ 2 ครั้ง ปีละ 24 ฉบบั รายเดือน​ monthly กาหนดออกเดือนละครั้ง ปีละ 12 ฉบบั รายหกเดือน​หรอื รายครงึ่ ป​ ี​ semiannually กาหนดออกทุก 6 เดอื น รายป​ี annually กาหนดออกปีละฉบบั นอกจากนี้บางฉบับอาจมกี ารกาหนดระยะเวลาออกทแี่ ตกต่างออกไปจากทก่ี ลา่ วมาแลว้

2) มเี ลขกากบั ประจาฉบบั ไดแ้ ก่​ เลขปีท่ี​ volume เลขท่ีฉบบั ​ lssus number และวนั ​ เดือนป​ ี​ Data การนบั ลาดบั ฉบับท่ี อาจ นับเปน็ ปี เชน่ วารสารรายเดอื น แตล่ ะปจี ะมีตั้งแต่ฉบบั ท่ี 1-12 หรอื อาจนับต่อเนื่องไป เร่ือยๆ เชน่ วารสารรายเดือน ฉบบั แรกของปที ี่ 2 กน็ ับเปน็ ฉบับที่ 13 นอกจากเลขปีทฉี่ บบั ที่ และวันเดือนปี 3) รูปเล่ม มักทาใหม้ บี างส่วนมลี กั ษณะเหมือนกันทุกฉบบั เพ่อื ใหผ้ ูอ้ า่ นสงั เกตและจาไดง้ ่าย เช่น ขนาดความกวา้ ง ยาว รูปแบบ และสีของตัวอักษร ช่อื วารสารท่หี นา้ ปก และสญั ลักษณ์ ประจาวารสาร​

4) เน้อื หา ประกอบดว้ ยบทความหลายบทความ จากผู้เขยี นหลาย ๆ คน ถา้ เปน็ วารสารมักจะ เปน็ วิชาการเฉพาะแขนง​วิชา​ ถา้ เปน็ นิตยสารมกั จะมีบทความท่ัว ๆ ไป สารคดี หรอื บันเทงิ เชน่ นวนยิ าย เรื่องส้ัน ลงติดต่อกันเป็นหลายๆมีคอลมั น์บรรณาธกิ าร คอลมั น์ประจา วารสาร บางชอ่ื เนอ้ื หาอาจเปน็ รูปภาพ เป็นบทวจิ ารณ์ สรุปข่าวและวเิ คราะห์ เหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื ง ทง้ั น้ี เปน็ ไปตามประเภทและวตั ถปุ ระสงค์ของวารสารแตล่ ะฉบบั 5) ผู้จดั พมิ พ์ ผูจ้ ดั พิมพว์ ารสารอาจเป็นเอกชน หน่วยงานราชการ รฐั วิสาหกจิ สถาบัน องค์การสมาคม ชมรม โดยมีวตั ถุประสงค์บางอยา่ ง เชน่ เพ่อื เผยแพร่ความรูท้ างวชิ าการ ประชาสมั พันธ์หนว่ ยงาน เพม่ิ ความบนั เทิง ความรู้ทัว่ ไป หรือเพอ่ื ธุรกจิ การคา้ เปน็ ตน้ 6) การเผยแพร่ มที ัง้ การจาหนา่ ยและการแจกฟรี การจาหนา่ ยอาจวางจาหน่ายตามร้านขาย หนังสอื การให้ผู้อ่านบอกรบั เป็นสมาชกิ ประจา ชาระค่างวดโทรศพั ท์ลว่ งหน้าและผู้จัดพมิ พ์เปน็ ผู้ส่งเอกสารไปให้สมาชกิ

ประเภทของนิตยสาร 1) นติ ยสาร​ทว่ั ไป​ general magazines นิตยสารท่ีมเี นื้อหาสาหรับผู้อ่านทั่วไป นติ ยสารประเภทนบ้ี างคนเรยี กวา่ นิตยสารท่ีคนท่ัวไปสนใจหรอื นติ ยสาร สาหรับผู้ซ้ือท่วั ไป​ general consumer magazines บางคนกจ็ ะนติ ยสารประเภทน้เี ป็นพวกนิตยสารสาหรับมวลชนทวั่ ไป​ magazines for the masses ในเมืองไทยนติ ยสารทจ่ี ัดวา่ เปน็ วิทยาศาสตร์ทั่วไป โดยวดั จากจานวนจาหน่ายนั้นคงไมม่ แี ต่ถ้า จะดจู ากเนือ้ หาท่ัวไปแลว้ กม็ ีอยู่บ้างเหมือนกัน เชน่ นติ ยสารฟ้าเมืองไทย ทีห่ ยดุ พิมพไ์ ปแลว้ นิตยสารสารคดี และนติ ยสาร อน่ื ๆที่มีเนอ้ื หากวา้ งขวาง ทว่ั ไปในทานองเดยี วกนั ซ่งึ อาจรวมทั้งนติ ยสารขา่ วทว่ั ไปทนี่ ติ ยสารสาหรับครอบครวั เชน่ นติ ยสาร ผู้หญิงเปน็ ต้น

2) นติ ยสารเฉพาะกลมุ่ ผู้บรโิ ภคหรือเฉพาะดา้ น​ Specialized magazines นิตยสารประเภทนมี้ อี ยู่มากมายหลายชนิด มีการจดั กลุม่ แตกต่างกันออกไป โดยทว่ั ไปแลว้ มักจะจัดตามลกั ษณะของกลมุ่ ผูบ้ รโิ ภคตามหลกั การของการตลาด ในท่ีนีข้ อแบง่ เปน็ กลุม่ ใหญ่ ๆ ดงั น้ี 2.1 นิตยสารขา่ ว เน้นในเร่อื งข่าว เบ้ืองหลังข่าว วิเคราะห์และวจิ ารณ์ขา่ ว พรอ้ มท้งั บทความและสารคดีอน่ื ๆ เช่น นติ ยสารสยามรฐั สปั ดาห์วิจารณ์ และ มติชนสดุ สปั ดาห์ เนชนั่ ถึงสดุ สปั ดาห์ นติ ยสารประเภทนบี้ างทกี ็จะเปน็ นติ ยสาร​ ทว่ั ไป​ได​้ เพราะเปน็ เร่ืองทท่ี กุ คนสนใจ 2.2 นติ ยสารผู้หญิง เปน็ นติ ยสารท่ีเน้นในเรื่องท่ีเปน็ ความสนใจของผูห้ ญงิ ทัว่ ไปเนื่องจากผู้หญงิ เป็นกลมุ่ ผู้บริโภคสาคญั นิตยสารท่เี กี่ยวกบั ผูห้ ญิงจึงมมี ากมาย นติ ยสารประเภทนส้ี ามารถ จะหาโฆษณาได้ไม่ยากนกั เพราะมีสินค้า และผลิตภณั ฑ์หลายอยา่ งทีม่ งุ่ เจาะตลาดผู้หญงิ โดยเฉพาะตัวอยา่ งนติ ยสารผู้หญิงในเมอื งไทยมี ใหเ้ ห็นกนั กลาดเกลอ่ื นทวั่ ไป เชน่ สกลุ ไทย ขวญั เรือน ดิฉัน เปร้ยี ว แพรว

2.2 นติ ยสารผู้หญงิ เปน็ นิตยสารทเ่ี น้นในเรื่องท่เี ป็นความสนใจของผู้หญงิ ทว่ั ไปเนื่องจากผู้หญงิ เป็นกลมุ่ ผูบ้ รโิ ภคสาคัญ นิตยสารทเ่ี กยี่ วกบั ผูห้ ญิงจงึ มีมากมาย นติ ยสารประเภทนี้สามารถ จะหาโฆษณาไดไ้ ม่ยากนักเพราะมสี นิ ค้าและผลิตภณั ฑห์ ลาย อยา่ งที่มุ่งเจาะตลาดผู้หญงิ โดยเฉพาะตัวอยา่ งนติ ยสารผู้หญงิ ในเมอื งไทยมี ให้เหน็ กันกลาดเกล่ือนทว่ั ไปเช่น สกลุ ไทย ขวญั เรือน ดิฉนั เปรี้ยว แพรว 2.3 นิตยสารผู้ชาย นิตยสารพวกนี้ส่วนมากจะเน้นในเรอ่ื งเพศเป็นสาคัญมีภาพโปเ๊ ปลอื ย​ ของผูห้ ญงิ สาวเปน็ เรื่องลอ่ ใจผู้ซือ้ แตว่ า่ ฉบับกม็ ีบทความดี ๆ แทรกอยู่เชน่ กนั ตวั อยา่ งเช่น นติ ยสาร Boss ผู้นา Playboy ของสหรัฐอเมริกา เพนเฮาส์ ทเ่ี ป็น คแู่ ข่งของนิตยสาร Playboy ในสหรัฐอเมริกาก็มพี มิ พใ์ นเมอื งไทย 2.4 นติ ยสารธรุ กิจ เป็นนิตยสารอีกประเภทหนง่ึ ทม่ี จี าหนา่ ยแพรห่ ลายในท้องตลาด เนน้ ในเรือ่ งธรุ กจิ การค้า อุตสาหกรรม การเงนิ การธนาคาร การบริหารและการจดั การเปน็ ต้น กลมุ่ ผูอ้ า่ นไดแ้ ก่ ผูบ้ รหิ ารและผู้อยูใ่ นวงการธรุ กจิ ทว่ั ไป นิตยสารใน แนวนมี้ ีหลายประเภท เช่น การเงินการธนาคาร ดอกเบีย้ ผูจ้ ดั การ​ อคี อนนิวส์ เปน็ ​ต้น 2.5 นิตยสารด้านอ่นื ๆ นอกเหนอื จากนิตยสารเฉพาะดา้ นหรือเฉพาะกล่มุ ดังทไี่ ด้กลา่ วมาแล้วสิกลมุ่ ใหญ่ๆ กย็ งั มนี ติ ศิ าสตร์ เฉพาะดา้ นต่าง ๆ อกี มากมายหลายประเภท เช่น นิตยสารเด็ก นิตยสารวยั รุน่ นิตยสารครอบครัว นติ ยสารดารานักร้อง นิตยสารภาพยนตร์ ดนตรี นิตยสารกีฬาต่าง ๆ นติ ยสารความคดิ เหน็

3) นิตยสารและวารสารสมาคม​ Association magazines นติ ยสารสมาคม เปน็ นิตยสารทอ่ี อกในนามสมาคมต่าง ๆ เชน่ สมาคมผู้คมุ้ ครองผู้บริโภค สมาคมโฆษณาธรุ กิจ สมาคมคหกร รมศาสตร์ สมาคมธรรมศาสตร์ นิตศิ าสตรท์ อ่ี อกโดยสมาคมเหลา่ นบ้ี างคร้ังอาจจะเขา้ เปน็ นิตยสารเฉพาะด้านหรอื เฉพาะกลมุ่ ผู้บรโิ ภคประเภทใดประเภทหนึง่ ไดเ้ ช่นกัน นติ ยสารและวารสารวชิ าชีพ.Professional magazines 4) นติ ยสารวิชาชีพ เป็นนิตยสารคล้ายๆกบั นติ ยสารสมาคมแต่เนน้ ในเรื่องวชิ าชีพเฉพาะ เช่น วิชาชพี หนังสอื พิมพ์ วชิ าชพี ทนายความ วิชาชพี แพทย์ วชิ าชีพครู เปน็ ตน้ วารสารวชิ าการ jornals ทั้งหลายอาจจะรวมอยู่ในกลมุ่ น้ีไดเ้ พราะวรสารเชงิ วชิ าการตา่ ง ๆ มักจะเนน้ ในวิทยาการดา้ นน้นั ๆ เป็นหลัก เช่น วารสารวิชาการด้านการแพทย์ ดา้ นวิทยาศาสตร์ ดา้ น สังคมศาสตร์ ดา้ นนเิ ทศศาสตร์ ด้านบรรณารักษ์ศาสตร์ เปน็ ต้น แต่บางทีอยู่วนั ละ 3 วิชาการกอ็ าจจะจดั อยูใ่ นนิตยสาร สมาคม ไดเ้ ช่นกันถา้ หากเรามองในแง่ผ้จู ดั พิมพ์ ท่ีเป็นสมาคมวิชาการหรือวชิ าชีพต่าง ๆ

5) นิตยสารและวารสารการประชาสมั พนั ธ​์ Public relation magazines นิตยสารการประชาสมั พันธ์เปน็ เอกสารทอ่ี อกโดยบริษทั หรือหน่วยงานตา่ ง ๆ เพอื่ เผยแพร่แกส่ าธารณชนโดยมจี ุดประสงคใ์ น การประชาสัมพันธห์ นว่ ยงานหรอื บรษิ ทั น้นั ๆ บรษิ ัทใหญ่ ๆ เช่น เซลล์ เอสโซ่ การบินไทย ธนาคารกรุงเทพ ต่างก็มี วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การประชาสมั พนั ธข์ องตนเองออกเป็นประจาเสมอ นอกจากนี้ยงั จะมีการประชาสมั พนั ธ์เผยแพรภ่ ายใน ระหวา่ งลูกจ้างพนกั งานหรือระหวา่ งบรษิ ทั กบั ลูกค้า นิตยสารประเภทน้บี างทกี ็เรยี กวา่ วารสารหนว่ ยงาน House​ journals หรือนติ ยสารบริษัท Company magazines 6) นติ ยสารฉบับแทรกหนังสอื พิมพ์ newspapers magazines. หรอื . Sunday supplement magazines นิตยสารประเภทนี้ หมายถงึ นติ ยสารท่อี อกเปน็ อาทติ ยน์ ันทนาการหรือเป็นฉบบั แถมของหนังสือพิมพ์ในวนั พิเศษ หรือวนั อาทิตยใ์ นตา่ งประเทศ เชน่ สหรัฐอเมริกา นยิ มมนี ิตยสารประเภทน้ี อภินนั ทนาการ แก่ผูอ้ า่ นในวันอาทติ ย์ นติ ยสารเหลา่ น้ี เชน่ แฟมิล​ี่ วคิ ลี​่ Family weekly มีจานวนพิมพม์ ากกวา่ 10 ลา้ นฉบบั เพราะหนังสอื พมิ พ์ตา่ งๆรับไปแจกเป็นอภินันทนาการ แก่ผูอ้ ่านในวนั อาทิตยท์ กุ สปั ดาห์

หนา้ แรกของนิตยสาร 1) ปกหนา้ เป็นหนา้ ท่สี าคญั ทส่ี ุดของนิตยสาร เนือ่ งจากจะตอ้ งทาหน้าทถี่ งึ 2 ประการคือ ทง้ั ดึงดดู ความ สนใจของผู้ท่ีพบเห็นและนาเสนอภาพลกั ษณอ์ ันเป็นเอกลกั ษณ์ของนิตยสาร ให้ผู้ทีเ่ ห็นรับรูไ้ ดอ้ ย่างรวดเรว็ ซง่ึ สว่ นต่าง ๆ ในปกหนา้ ที่นกั ออกแบบจะต้องใหค้ วามสนใจดงั น้ี 1.1 หวั นติ ยสาร​ name plate และรายละเอียดของฉบบั โดยหัวนิตยสาร หรอื หัวหนงั สือ นจ่ี ะเปน็ ตราสญั ลักษณท์ ่ปี ระกอบขนึ้ จาก ตวั อกั ษรท่ีเป็นชื่อหนังสือส่วนรายละเอยี ดของฉบบั ก็จะบง่ บอกฉบับท่ี ปีท่ี 1.2 ภาพประกอบ ปก หน้า มักจะเปน็ ภาพของเนอื้ เรอื่ งภายในฉบบั ส่วนมากจะนยิ มใช้ภาพจากเร่ืองที่โดดเด่นทส่ี ุดและมักจะนยิ มใช้ ภาพใหญ่เพยี งภาพเดียวมากกว่า จะเป็นภาพเล็ก ๆ หลาย ๆ ภาพ 1.3 ขอ้ ความบนปก เปน็ ขอ้ ความทเี่ ปน็ ตวั อักษรขนาดไม่ใหญน่ กั เพอ่ื ใหข้ อ้ มูลวา่ ในฉบับมเี รือ่ งราวทนี่ า่ สนใจอะไรบ้าง ตวั อักษร เหล่าน้ีอาจจะวางทบั อยู่บนภาพเลยกไ็ ด้

2) หนา้ สารบัญ เป็นหนา้ ท่ีบ่งบอกตาแหน่ง ของเนื้อหาท่อี ยูใ่ นนิตยสารวา่ เรอ่ื งอยู่ที่ หนา้ ไหน ซงึ่ หน้านจ้ี ะเปน็ หน้าทผี่ ู้ พบเหน็ วิทยาศาสตร์ซงึ่ ไมใ่ ชล่ ูกค้าประจาเปดิ ดวู ่ามเี รอ่ื งอะไรค้มุ คา่ แกก่ ารซือ้ หรือไม่ ดงั น้นั หน้าสารบญั จะต้องพบเหน็ ไดง้ ่ายส่วนมากมักจะวางไว้หนา้ 3 หรอื 5 ซง่ึ เป็นหนา้ ทผี่ ูไ้ มค่ ่อยค้นุ เคยกับนติ ยสาร มกั จะ มองหาหน้าสารบญั 3) บรรณาธิการ เป็นหน้าทบ่ี รรณาธิการเขียนเพอ่ื นแนะนาเรอ่ื งหรือนกั เขยี นภายในฉบบั หรอื บอกเล่า เรื่องทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั นติ ยสารนัน้ สง่ิ ทป่ี รากฏอยูใ่ นหน้านี้ทส่ี าคญั คือตวั เนื้อหาทเี่ ปน็ ข้อความเอง และชือ่ ของบรรณาธิการซงึ่ อาจจะมรี ายมือช่ือประกอบด้วยก็เป็นที่นยิ มทากัน นอกจากนีอ้ าจจะมีพาดหวั ขา่ วสน้ั ๆ หรือภาพถ่ายของบรรณาธกิ าร หรอื ภาพการต์ ูน ขนาดเลก็ ประกอบดว้ ยกไ็ ด้ สวนหน้าบรรณาธิการ นจี่ ะ อยูท่ ่นี ัน่ ใดของนติ ยสารก็ไมม่ ขี ้อจากัดตายตัว สว่ นมากจะนิยมไวเ้ ป็นหน้าต่อจากหนา้ สารบัญ อยา่ งไรก็ตาม ส่ิงท่สี าคญั จะต้องวางบรรณาธิการไว้ทห่ี นา้ เดมิ ทกุ ฉบับไมเ่ ปล่ียนไปมา

4) หนา้ เปิดเร่อื ง เป็นหนา้ แรกของเรื่องนั้น ๆ ซึ่งปกติแลว้ นายนิตยสารจะมีเรื่องอยู่หลายเร่อื ง แล้ว หนา้ เปิดเรอ่ื งมักจะเปน็ หนา้ ขวาของน​ ิตยสาร​ แตก่ ไ็ มจ่ าเป็นเสมอไปสง่ิ ทีจ่ ะปรากฏอยู่ในหน้านที้ ี่สาคญั ก็ คอื ชอ่ื เรื่องชื่อผูเ้ ขยี นและส่วนทเี่ ป็นตอนต้นของเนอ้ื เร่ือง นอกจากนอ้ี าจจะมภี าพประกอบดว้ ยก็ได้ ซึ่ง หากมภี าพประกอบกอ็ าจจะมีเน้อื หาสั้นๆเก่ยี วกับภาพประกอบนั้นวางอยู่ตดิ กับภาพด้วย เนื้อหานี้ เรียกว่า คาบรรยายภาพ.Caption 5) เนอ้ื เรือ่ ง เปน็ หนา้ ทบ่ี รรจุเนอื้ เรอ่ื ง ต่าง ๆ ของนติ ยสาร ในขณะทป่ี กหน้า หน้าสารบญั หน้า บรรณาธิการจะมีเพียงอย่างละ 1 หน้าตอ่ ฉบบั และหน้าเปิดเรอื่ งกจ็ ะมเี ทา่ กับจานวนเร่ืองในฉบบั แต่ หนา้ เนอื้ เรอ่ื งซ่ึงอยู่ต่อจากหน้าเปดิ เร่ืองจะมีปรมิ าณมากทีส่ ุดสง่ิ ที่จะปรากฏอยูใ่ นหนา้ น้ีก็คือเนอ้ื เร่อื ง ท้งั หมดรวมทัง้ ภาพประกอบและคาบรรยายภาพ

บทท่​ี 5 พ.ร.บ จดแจ้งการพมิ พ์ พ.ศ 2550

มาตรา 1 พระราชบัญญตั ินเ้ี รยี กวา่ พระราชบญั ญัติจดแจ้งการพมิ พ์พ. ศ. 2550 มาตรา 2 พระราชบญั ญัตนิ ้ใี ห้ใช้บังคบั ตัง้ แต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ​ตน้ มาตรา 3 ให้ยกเลิก 1) พระราชบัญญตั กิ ารพมิ พ์ พทุ ธศักราช 2484 2) พระราชบญั ญัตกิ ารพิมพ์ ฉบับที่ 2 พุทธศกั ราช 2485 3) พระราชบญั ญัติการพิมพ์ ฉบบั ท่ี 3 พทุ ธศกั ราช 2488 4) คาสัง่ ของคณะปฏิรูปการปกครองแผน่ ดนิ ฉบับท่ี 5 ลงวันที่ 6 ตลุ าคม พทุ ธศักราช 2519 5) คาส่ังของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดนิ ฉบับท่ี 36 ลงวนั ท่ี 21 ตลุ าคมพุทธศกั ราช 2519 มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ินี้ “พมิ พ์” หมายความวา่ ทาให้ปรากฏด้วยตวั อกั ษร รูปลอย ตวั เลข หรอื ภาพโดยวิธีการอย่างใด ๆ “ ส่งิ พมิ พ์” หมายความว่า สมุด หนังสอื ​ แผ่นกระดาษ​ หรอื วตั ถใุ ด ๆ ทพ่ี ิมพข์ น้ึ เป็นหลายสาเนา “หนงั สือพมิ พ”์ หมายความว่า สิ่งพิมพซ์ ่งึ มีชือ่ จาหน้า เช่นเดยี วกัน และออกหรอื เจตนาจะออกตามลาดบั เรอื่ ยไป มกี าหนดระยะเวลาหรอื ไม่ก็ตาม มขี ้อความตอ่ เนื่องกันหรอื ไมก่ ็ตาม ท้ังนใ้ี หห้ มายความรวมถึงนิตยสารวารสารสง่ิ พิมพ์ ที่เรยี กช่ืออย่างอ่นื ทานองเดยี วกัน

“ผูพ้ มิ พ์” หมายความวา่ บุคคลซึง่ จัดการและรับผิดชอบในการพิมพ์ “ผู้โฆษณา” หมายความวา่ บคุ คล ซึ่งรบั ผดิ ชอบในการจัดใหส้ ิ่งพิมพแ์ พร่หลายดว้ ยประการใด ๆ ไม่วา่ จะเปน็ การขาย หรือใหเ้ ปล่า “บรรณาธกิ าร” หมายความว่า บุคคลรับผิดชอบในการจัดทาและควบคมุ เนอื้ หา ข้อความหรือภาพท่ลี งพิมพ์ใน หนังสือพิมพ์รวมท้งั วัสดุหรอื เอกสารทแ่ี ทรกในหนงั สือพมิ พโ์ ดยความเห็นชอบของบรรณาธกิ ารดว้ ย “เจ้าของกิจการหนงั สอื พมิ พ”์ หมายความวา่ บคุ คลซง่ึ เป็นเจา้ ของกจิ การหนังสือพิมพ์ “พนกั งานเจ้าหน้าท่ี” หมายความวา่ ผูซ้ งึ่ นายกรัฐมนตรแี ตง่ ตั้งใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีตามพระราชบญั ญัติน้ี

มาตรา 5 พระราชบัญญตั นิ ไ้ี มบ่ ังคบั ใช้กบั สิ่งพมิ พ์ ดังตอ่ ไปน้ี คอื 1) สงิ่ พิมพข์ องสว่ นราชการหรือหนว่ ยงานรัฐ 2) บัตร บัตรอวยพร ตราสาร แบบพิมพ์ และรายงานซ่งึ ใชก้ นั ตามปกตใิ นสว่ นตัวการสงั คมการเมือง การคา้ หรอื สง่ิ พมิ พท์ มี่ ีอายุการใช้งานสัน้ เชน่ แผ่นพับ หรือแผน่ โฆษณา 3) สมดุ บนั ทกึ สมดุ แบบฝึกหดั หรอื สมดุ ภาพระบายสี 4) วิทยานพิ นธ์ เอกสารคาบรรยาย หลกั สูตรการเรยี นการสอน หรือสิง่ พิมพอ์ ่นื ทานองเดียวกันที่เผยแพรใ่ น สถานศกึ ษา มาตรา 6 ใหน้ ายกรัฐมนตรรี ักษาการตามพระราชบญั ญัติน้แี ละให้มีอานาจแต่งตั้งพนกั งานเจ้าหน้าที่ กับออกกฎกระทรวงเพอื่ ปฏบิ ัตกิ ารให้เปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ีก้ ฎกระทรวงนน้ั เม่ือไดป้ ระกาศในราชกิจจา นเุ บกษาแล้ว​ใหใ​้ ชบ​้ ังคับ​ได้​

หมวด 1 สง่ิ พิมพ์ มาตรา 7 ผู้พิมพ์หรือผู้โฆษณาสง่ิ พิมพท์ ่พี ิมพ์และเผยแพร่ในราชอาณาจกั รตอ้ งมีคุณสมบตั แิ ละไมม่ ลี กั ษณะตอ้ งห้าม ดงั ต่อไปน้ี 1) มอี ายุไม่ตา่ กว่า 20 ปีบรบิ รู ณ์ 2) มถี ่ินทอี่ ยูป่ ระจาในราชอาณาจักร 3) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรอื คนเสมือนไร้ความสามารถ 4) ไมเ่ คยตอ้ งโทษตามคาพิพากษาถงึ ท่สี ุดให้จาคุกเวน้ แตพ่ น้ โทษมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปีหรือความผิดโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษในกรณีนติ บิ คุ คลเปน็ ผพู้ ิมพ์หรือผู้โฆษณากรรมการ ผู้จดั การหรือผูแ้ ทนอนื่ ของนิตบิ ุคคลนัน้ ตอ้ งมี คณุ สมบตั แิ ละไมม่ ีลักษณะต้องห้ามตามวรรคหนง่ึ ดว้ ย มาตรา 8 ในสิ่งพิมพ์ซึ่งเป็นหนังสือที่ไม่ใชห่ นงั สือพมิ พ์และพิมพใ์ นราชอาณาจักรให้แสดงข้อความ ดังตอ่ ไปนี้ 1) ชื่อของผู้พมิ พ์และทต่ี ง้ั โรงพิมพ์ 2) ชื่อและทีต่ ้ังของผู้โฆษณา

มาตรา 9 ใหพ้ ูดพิมพส์ ่งสงิ่ พิมพ์ตามมาตรา 8 จานวน 2 ฉบับใหห้ อสมุดแหง่ ชาติภายใน 30 วนั นบั แตว่ ัน เผยแพร่ มาตรา 10 ใหผ้ ู้บัญชาการตารวจแห่งชาตมิ อี านาจออกคาส่งั โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ห้ามสั่งเข้า หรือนาเขา้ เพอื่ เผยแพร่ในราชอาณาจักร ซึง่ สิ่งพิมพใ์ ด ๆ ทเี่ ปน็ การหมน่ิ ประมาท ดูหมน่ิ หรอื แสดงอาฆาตมาดร้าย​ พระมหากษัตริย์​ พระราชนี รชั ทายาทหรอื ผูส้ าเรจ็ ราชการแทนพระองค์ หรอื จะกระทบตอ่ ความมน่ั คงแห่งแห่ง ราชอาณาจกั ร หรือความสงบเรียบรอ้ ย หรอื ศลี ธรรมอันดีของประชาชน โดยจะกาหนดเวลาหา้ มไวใ้ นคาสง่ั ดังกล่าวด้วยก็ ได้ การออกคาสง่ั ตามวรรคหนึง่ หา้ มมิใหน้ าข้อความท่ีมลี กั ษณะทีเ่ ปน็ การหม่ินประมาท ดหู มิ่นหรอื แสดงความอาฆาตมาด รา้ ยพระมหากษัตริย์ พระราชนิ ี รัชทายาทหรอื ผู้สาเรจ็ ราชการแทนพระองค์หรือขอ้ ความที่กระทบต่อความม่ันคงแหง่ ราชอาณาจกั ร หรอื ความสงบเรียบรอ้ ยหรือศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชนมาแสดงไว้ดว้ ยสิ่งพิมพท์ เี่ ป็นการฝา่ ฝนื ​วรรณ​หน่ึง​ ให้ผูบ้ ญั ชาการตารวจแหง่ ชาติมีอานาจจรบิ หรือทาลายหนงั สือพมิ พ์​

หมวด 2 หนงั สือพมิ พ์ มาตรา 11 หนงั สอื พมิ พ์ซึง่ พิมพ์ข้นึ ภายในราชอาณาจกั รตอ้ งจดแจ้งการพมิ พ์ ตาม บทบญั ญตั ิแหง่ พระราชบญั ญตั ินผ้ี ูย้ น่ื จดแจ้งการพมิ พห์ นังสือพมิ พ์ต้องยืน่ แบบการจดแจ้งการพมิ พแ์ ละ หลกั ฐานซ่ึงต้องมีรายการ ดังตอ่ ไปน้ี 1) ช่ือ สัญชาติ ถนิ่ ท่ีอยูข่ องผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธกิ ารหรือเจา้ ของกจิ การหนงั สือพมิ พแ์ ล้วแต่กรณี 2) ชื่อของหนงั สือพมิ พ์ 3) วตั ถุประสงคแ์ ละระยะเวลาออกหนงั สือพมิ พ์ 4) ภาษาท่ีหนงั สือพมิ พจ์ ะออกใช้ 5) ช่อื และทต่ี ้งั โรงพิมพ์หรอื สถานทพ่ี มิ พ์ 6) ชื่อและท่ีต้งั สานักงานของหนังสือพิมพ์ เมื่อพนักงานเจา้ หนา้ ท่ไี ดร้ ับการจดแจ้งการพมิ พ์และเอกสาร ตามวรรคสองแลว้ ให้รับจดแจง้ และออกหนงั สือสาคัญแสดงการจดแจ้งให้แกผ่ ู้ย่นื จดแจง้ โดยไม่ชักช้า เว้นแต่ผูจ้ ดแจ้งดาเนนิ การไม่ถกู ตอ้ งหรือครบถว้ นตาม มาตรา 13 มาตรา 14

มาตรา 12 ในหนงั สอื พมิ พใ์ หแ้ สดงขอ้ ความ ดังตอ่ ไปน้ี 1) ชอื่ ของผูพ้ ิมพแ์ ละทต่ี ง้ั โรงพมิ พ์ 2) ช่อื และท่ีตั้งของผู้โฆษณา 3) ชื่อของบรรณาธกิ าร หนังสือพิมพ์ 4) ชอื่ และที่ตง้ั ของเจา้ ของกจิ การหนังสือพมิ พข์ อ้ ความตามวรรคหนึ่งใหพ้ ิมพไ์ วใ้ นลกั ษณะท่เี ห็นไดช้ ัด และบรรดาชื่อตามวรรคหนึ่งมใิ หใ้ ช้ช่ือย่อหรือนามแฝง มาตรา 13 ชื่อของหนงั สอื พิมพ์ตอ้ งไมม่ ลี กั ษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ไมพ่ อ้ งหรอื มงุ่ หมายให้คล้ายพระปรมาภิไธย​ พระนามาภไิ ธย​ พระปรมาภิไธย​ ย่อพระนามาภไิ ธย​ ยอ่ หรือนามพระราชวงศ์​ 2) ไม่พ้องห​ รือมงุ่ หมายใหค้ ลา้ ยพระราชทินนาม เว้นแต่ราชทนิ นามของตน ของบุพการีหรือของ ผู้สบื สันดาน 3) ไมซ่ ้ากบั ชือ่ หนังสือพมิ พ์ทีไ่ ด้รับการจดแจง้ แลว้ 4) ไมม่ ีคาหรอื ความหมายหยาบคาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook