Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาบทที่1235

เนื้อหาบทที่1235

Published by 6022040031 1103703188984, 2020-01-30 03:14:38

Description: เนื้อหาบทที่1235

Search

Read the Text Version

การผลิตสือ่ ส่งิ พิมพ์ รหสั วิชา 2204 - 2104 หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556 จดุ ประสงคร์ ายวิชาเพ่อื ให้ 1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับการวเิ คราะห์และการจาแนกประเภทของสื่อสิง่ พิมพ์ 2. มีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับกระบวนการพิมพ์ 3. มีทกั ษะในการออกแบบสือ่ ส่งิ พมิ พแ์ ละจัดองคป์ ระกอบศิลป์ในสือ่ สง่ิ พิมพ์ 4. ผลติ สื่อส่ิงพมิ พ์ด้วยโปรแกรมผลิตส่อื สิ่งพิมพ์ 5. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่ดใี นการใชค้ อมพวิ เตอร์ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลักการพื้นฐานของสอื่ สง่ิ พมิ พ์ 2. ออกแบบสื่อสิ่งพมิ พ์ตามการใช้งาน 3. ส่ือสิง่ พมิ พด์ ้วยโปรแกรมผลติ สือ่ สิ่งพมิ พ์ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกย่ี วกบั ความรูพ้ น้ื ฐานของสื่อสง่ิ พิมพ์ กระบวนการพิมพ์ การออกแบบสื่อส่งิ พมิ พ์ เทคนคิ การ ใชภ้ าพถา่ ยในส่ือสิ่งพิมพแ์ ละการใชโ้ ปรแกรมผลิตส่อื สิง่ พิมพ์

คานา หนงั สือเรียนวชิ า การผลติ ส่อื สง่ิ พมิ พ์ รหสั 2204 - 2104 เลม่ นไ้ี ด้จาทาขึน้ เพอ่ื ใชใ้ นการประกอบการเรยี น การสอนสาหรบั นกั เรียนตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) พ.ศ. 2556 ของสานกั งานคณะกรรมการ อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซ่งึ ไดจ้ ดั ทาเน้ือหาครอบคลุมตามจดประสงค์รายวิชา และมามาตรฐานการ เรียนร้ขู องหลักสตู ร ผจู้ ัดทาหวงั เปน็ อย่างยิงว่า หนงั สอื เล่มนี้ จะทาใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ กระบวนการเรียนการสอนไดเ้ ปน็ อย่างดี หากอาจารยผ์ ู้สอนหรอื ผู้เรยี นมขี ้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ประการใด ขอให้แจง้ ข้อเสนอแนะมายงั สานกั พิมพ์หรือ ติดต่อผู้จัดโดยตรง จักเป็นพระคุณอย่างย่ิง บทเรยี น หนว่ ยที่ 1 สอื่ สิ่งพิมพ์ หนว่ ยที่ 2 การวางแผนผลติ สื่อส่งิ พิมพ์ หน่วยท่ี 3 การออกแบบหนังสอื หนงั สอื หน่วยที่ 4 การออกแบบนิตยสารและวารสาร หน่วยท่ี 5 พรบ. จดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ. 2550

บทที่ 1 สอ่ื ส่งิ พิมพ์ สื่อสง่ิ พมิ พจ์ ัดไดว้ ่าเปน็ ส่อื ทีช่ ่วยในการเผยแพร่ไดอ้ ย่างกวา้ งขวางและเป็นทน่ี ิยมใช้มากที่สุดส่อื หนึ่งเพราะ นอกจากจะสะดวกแลว้ ยังเปน็ การประหยดั งบประมาณไดอ้ ย่างมากและสามารถเกบ็ ไวด้ ูไดเ้ ปน็ เวลานานอีก ดว้ ย สอ่ื สง่ิ พิมพจ์ งึ เปน็ ทางเลอื กหน่งึ นอกจากวิทยกุ ระจายเสยี ง โทรทัศน์ แผ่นป้ายโฆษณา ฯลฯ ประเภทของส่งิ พิมพ์ สอื่ ส่งิ พมิ พส์ ามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภท กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1. หนงั สอื พมิ พ์ (Newspapers) 2. นิตยสารและวารสาร (Magazines and Joules) 3. หนังสอื เลม่ (Book) 4. ส่ิงพมิ พ์เฉพาะกจิ ต่าง ๆ เช่น ใบปลิว แผน่ พบั เอกสารเล่มเล็กหรอื จลุ สาร จดหมายข่าว 1. หนังสือพิมพ์ หนังสอื เปน็ สือ่ สง่ิ พมิ พท์ เี่ ป็นส่ือมวลชนประเภทหนง่ึ ซ่งึ มลี กั ษณะเฉพาะตัวคือ มเี น้ือหาเน้นหนักในเรือ่ งของ การรายงานข่าว และการสาหรบั คนท่วั ไปมีความหลากหลายในเนอ้ื หา ไมเ่ น้นเฉพาะเรอื่ งใดเรอ่ื งหนึ่ง นอกจากนหี้ นังสือพมิ พ์จะต้องพิมพ์เปน็ ลายประจาแนน่ อนเสมอ อาจเปน็ รายวันหรือรายสปั ดาห์ก็ได้ และพิมพ์ เผยแพรส่ ูส่ าธารณะชนจานวนมาก ๆ เปิดโอกาสใหค้ นซ้ืออ่านได้ ปัจจุบนั น้ีมหี นงั สือพิมพ์รายวันภาษาไทยอยู่ หลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ เดลนิ ิวส์ คมชดั ลกึ มตชิ น ขา่ วสด ส่วนหนังสอื พมิ พ์ภาษาองั กฤษไดแ้ ก่ บางกอกโพสต์ เดอะเนช่ัน นอกจากนย้ี ังมีหนังสอื พิมพป์ ระเภทธุรกจิ อีกหลายฉบับ เช่น ฐานเศรษฐกจิ ประชาชาตธิ ุรกจิ ผู้จัดการ และยงั มีหนังสือพิมพใ์ นสว่ นภมู ิภาคที่พิมพ์เผยแพร่เฉพาะในบางจงั หวัดอีกเป็นจานวนมาก 2. นติ ยสารและวารสาร (Magazines and Journals) นิตยสารและวารสารเปน็ หนังสือที่มีระยะเวลาออกเปน็ รายคาบไวแ้ น่นอน เชน่ รายสัปดาห์ รายปักษ์ (ครึง่ เดอื น) รายเดือน ราย 3 เดือน เปน็ ตน้ นติ ยสาร (Magazines) มีลักษณะต่างจากสิง่ พิมพ์อื่น ๆ คือ เนน้ หนักทางด้านเสนอบทความ สารคดี และ ขอ้ เขยี นตา่ ง ๆ ท่ใี ห้ความรู้ ความบนั เทงิ กับผู้อา่ นโดยท่ัวไป มีการจัดหนา้ และรปู เลม่ ทสี่ วยงาม ในประเทศไทย มนี ติ ยสารอยมู่ ากมายหลายฉบับ ท้ังนติ รสารท่ีให้ความรคู้ วามบันเทิงเฉพาะด้านแตกต่างกันไป เชน่ เศรษฐกจิ การเมือง ศิลปะ วัฒนธรรม ธรุ กิจ การท่องเทย่ี ว บันเทงิ สุขภาพ กีฬา ตลอดจนนิตยสารทีอ่ อกมาเพ่ือผูอ้ า่ น เฉพาะวัย ได้แก่ นิตยสารสาหรับเด็ก ผูใ้ หญ่ ผู้ชายและผูห้ ญิง นิตยสารและวารสารทจี่ ัดวา่ มีประโยชนม์ ากต่อ งานสง่ เสริมและเผยแพร่ คือ นิตยสารประเภทธรุ กจิ การค้า อุตสาหกรรม นติ ยสารวชิ าชีพ เชน่ ธุรกิจเกษตร อุตสาหกรรมไทย ใกล้หมอ ชีวิตและสขุ ภาพ เป็นตน้

วารสาร Journals วารสาร เปน็ สงิ่ พิมพ์ จดั พิมพ์ออกเผยแพรเ่ ป็นคราวๆ หรอื เปน็ วาระ ซ่ึงอาจมีกาหนดเวลาหรอื ไม่มีกาหนดเวลา แนน่ อนก็ได้ วารสารและนิตยสาร จัดอยใู่ นสง่ิ พิมพป์ ระเภทออกตามรายคาบ หรอื ออกต่อเนือ่ งตามลาดบั เน่อื งจากส่งิ พิมพป์ ระเภทน้ีมีชอ่ื เรียกหลายชอ่ื ทั้งใน ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บางคามีความหมายกวา้ งๆ ใชแ้ ทนกันได้ แต่บางคามีความหมายแคบ แสดงถึงลักษณะเฉพาะบางอยา่ ง จนไมอ่ าจใชแ้ ทนคาอ่ืนได้ เพื่อให้ เขา้ ใจตรงกัน 3. หนงั สือ (Book) หนังสือเลม่ คือ สิ่งพมิ พ์ท่เี ยบ็ รวมกันเปน็ เลม่ ทม่ี คี วามหนาและขนาดตา่ ง ๆ กนั ไม่มกี าหนดออกแนน่ อน และไม่ต่อเน่ืองกัน มีเนื้อหาทเ่ี ปน็ เร่อื งเดยี วกนั ไมห่ ลากหลายและมคี วามสมบูรณฺใ์ นตัวเอง หนังสอื เลม่ แบ่งออกเปน็ หลายประเภทตามแตล่ กั ษณะของเนอื้ หา เช่น หนงั สอื นิยาย หนงั สือเรยี น หนังสือ วิชาการ สารคดี หนงั สอื เพลง หนังสอื การต์ นู บทกวีนิพนธ์ หนงั สือเลม่ เป็นส่งิ พิมที่มผี สู้ นใจเฉพาะกลมุ่ เชน่ เดียวกบั หนงั สือวารสาร เช่น กลมุ่ นกั เรียน นักศกึ ษาหรือกลุ่มอาชีพที่มคี วามสนใจเฉพาะด้านยกเว้นแต่ หนังสือทเ่ี นน้ หนักไปทางดา้ นบันเทงิ สว่ นใหญ่หนงั สอื เลม่ จะมีจานวนพิมพ์ไมม่ ากนัก 4. สง่ิ พมิ พเ์ ฉพาะกจิ เป็นหนังสือที่ผลิตข้ึนเพื่อใช้ในกิจการใดกิจการหน่ึงโดยเฉพาะ เช่น การโฆษณาประชาสัมพันธ์ โครงการ เผยแพรค่ วามรู้ด้านตา่ งๆ ซ่งึ อาจเป็นสง่ิ พิมพ์ทกี่ ล่าวมาแลว้ ใน 3 ชนดิ แรก ทผี่ ลิตข้นึ เฉพาะเพ่ือใช้งานในด้านใด ด้านหนึ่ง แต่ในที่น้ีจะขอเน้นเฉพาะสิ่งพิมพ์ในรูปแบบอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากสิ่งพิมพ์ 3 แบบที่กล่าวมาแล้ว คือ 1 แผน่ ปลวิ หรอื ใบปลวิ เปน็ กระดาษเพียงแผน่ เดียวซ่งึ จะพิมพ์เนือ้ เรอ่ื งส้นั ๆ เพียงเรื่องเดียว 2 แผ่นพับ เป็นแผ่นกระดาษท่ีพิมพ์แผ่นเดียวแต่พับเป็นหลายหน้า บรรจุเนื้อหาสรุป ส้ันๆเพ่ือข่าวแนะนาหรือ เตอื นความจา 3 เอกสารเย็บเล่ม เปน็ เอกสารที่เย็บรวมเป็นเล่มบางๆ มเี นอ้ื หาและสีสันน่าอ่าน ใช้เผยแพร่แนะนา มีเนื้อหา ละเอียดขึน้ 4 จุลสาร (Booklet หรือ Pamphlet) เป็นเอกสารที่เย็บเล่มเช่นเดียวกัน มีปกหุ้มมีเนื้อหาให้รายละเอียด เกี่ยวกับนโยบายของหน่วยงานและคู่มือการปฏิบัติงานในหวั เร่ืองใดเร่ืองหน่งึ อาจเปน็ เอกสารที่ใช้ในการเรียน การสอนและการศึกษารายบุคคลก็ได้ สาหรับจุลสารท่ีเรียกว่า Pamphlet เป็นสารชนิดหน่ึงที่รวมกันหลายๆ หนา้ แต่ไมเ่ ย็บเลม่ 5 จดหมายข่าว มีลักษณะเช่นเดียวกันกับแผ่นปลิว ใช้สาหรับแจ้งให้ทราบข่าวเฉพาะเร่ือง หรือชักจูงใจสั้นๆ เช่น รายละเอียดกจิ กรรมตา่ งๆ หรือ ขา่ วความรูใ้ หมๆ่ 6 หนังสือพิมพ์ฝาผนัง เป็นหนังสือพิมพ์ท่ีทาเป็นแผ่น ไว้ติดบนกาแพงหรือที่บอร์ด ให้ผู้สนใจอ่าน มีเพียงแผ่น เดยี ว เนอ้ื หาประกอบไปด้วยข่าว การพาดหัวข่าวเป็นต้น

7 โปสเตอร์ เป็นกระดาษเพียงแผ่นเดยี ว มีข้อความหรือรูปภาพประกอบช่วยส่ือความหมายในการบอกข่าว ชัก จงู ใจ หรือเรยี กความสนใจเพ่อื รณรงคใ์ นเร่อื ง ข้อดีของส่ือส่ิงพมิ พ์ 1 กระบวนการในการผลิตสอื่ ส่ิงพิมพส์ ามารถทาได้หลายแบบ เปดิ โอกาสให้เลือกในรูปแบบที่เหมาะสมกบั สถานการณน์ น้ั ๆ เช่น พมิ พ์เป็นเอกสารโรเนียวเป็นวธิ ีท่ีง่ายท่สี ดุ หากตอ้ งการให้มีคณุ ภาพยงิ่ ขึ้น กใ็ ช้การพมิ พ์ ด้วยเครือ่ งพิมพ์ ซง่ึ สามารถเลือกพิมพเ์ ปน็ ขาวดาหรือสีก็ได้ 2 สามารถจัดพิมพ์ได้หลายรูปแบบตามวตั ถปุ ระสงค์ทจี่ ะนาไปใช้ เชน่ แผน่ ปลิว จดหมายเวยี นหรือเอกสาร เผยแพร่ 3 สามารถใช้ส่ือสงิ่ พิมพไ์ ด้หลายๆทาง อาจเปน็ สอื่ ให้การศึกษาโดยตรงหรอื ใชส้ นบั สนนุ อ่นื ๆ ก็ได้ นอกจากน้ี ยงั สามารถเลอื กจดั พมิ พใ์ หม้ รี ะยะเวลาการใชง้ านต่างๆ กัน เชน่ พมิ พ์เพือ่ ใชง้ านระยะสนั้ อา่ นแล้วกท็ งิ้ ไป หรอื พมิ พเ์ พ่ือเกบ็ ไวใ้ ช้อยา่ งถาวร สามารถออกแบบใหใ้ ช้เฉพาะบุคคล ใช้เป็นกลุ่มหรือมวลชนกไ็ ด้ 4. ส่งิ พิมพส์ ามารถผลิตเพื่อให้ใช้เหมาะกบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะดา้ นไดว้ 5 การผลติ สง่ิ พิมพส์ ามารถปรับใช้เหมาะสมกบั กระบวนการใช้และผลลัพธท์ ต่ี อ้ งตามสภาพของเคร่ืองอานวย ความสะดวกทม่ี ีอยู่ 6 การใช้สอ่ื สิง่ พมิ พเ์ ปน็ ไปอย่างอิสระ ในการศึกษาสง่ิ พมิ พ์ ไมจ่ าเปน็ ต้องใช้วิธีพเิ ศษหรือเคร่อื งอานวยความ สะดวกอย่างอื่นเข้ามาช่วยแต่อย่างใด 7 ผ้อู า่ นสามารถใชส้ ่ือส่งิ พิมพ์ในการเรียนรแู้ ละอ่านซ้าๆกันไดห้ ลายๆครง้ั ข้อจากดั ของส่ือส่ิงพิมพ์ 1 วสั ดุทใ่ี ช้มีความอบบางและฉกี ขาดงา่ ย 2 เกบ็ รกั ษายากเน่ืองจากมลี กั ษณะรูปทรงและขนาดแตกต่างกันมาก 3 การเกบ็ รักษาในระยะยาวสาหรับส่อื สง่ิ พิมพ์จานวนมากๆ ยากที่จะป้องกันความเปยี กชื้นความร้อนและฝนุ่ ละออง 4 การพิมพ์ในระบบท่ีมคี ุณภาพตอ้ งใช้การลงทุนสงู มาก โดยเฉพาะการพมิ พใ์ นระบบสีส่ ี 5 อาจมปี ญั หาและอุปสรรคในการแจกจ่าย เน่ืองจากวัสดสุ งิ่ พมิ พท์ ม่ี ีความสัมพนั ธก์ บั การขนส่ง 5 หากการ ขนส่งหนงั สือพมิ พ์ไปไมถ่ ึงกลุ่มเป้าหมาย การรับร้ขู ่าวสารด้วยส่ิงพมิ พ์ก็จะขาดตอนลง 6 การใชว้ สั ดสุ ง่ิ พิมพ์กับกลมุ่ เปา้ หมายที่ไมร่ ้หู นังสือต้องอาศัยการออกแบบส่อื สิง่ พิมพม์ ีความหมายและความ นา่ สนใจ เน่ืองจากผู้ที่ใหใ้ ช้วสั ดสุ ง่ิ พมิ พต์ อ้ งใชค้ วามสนใจ และอาศัยเวลามากกว่าการสอื่ สารดว้ ยส่อื อ่นื ๆ

บทที่ 2 การวางแผนผลติ สิง่ พมิ พ์ การวางแผนผลิตสิ่งพิมพ์มี 4 ข้ันตอน คอื 1 กาหนดจุดมุ่งหมายและกลุ่มเป้าหมาย สง่ิ พิมพ์ทกุ ชน้ิ จะตอ้ งมจี ดุ มุง่ หมายในการส่ือสารและกลุ่มเป้าหมายของผู้รับ จึงเปน็ งานแรกของผูจ้ ดั ทาส่งิ พมิ พ์ ทีจ่ ะทากาหนดให้ไดว้ า่ จะผลติ ส่งิ พมิ พ์น้นั เพื่อวตั ถปุ ระสงค์อะไรและเผยแพร่ไปยงั ผู้ใด เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถจัดทา สงิ่ พมิ พ์นน้ั ได้ตรงกบั สิ่งที่ตอ้ งการจะเผยแพร่ไปยังกล่มุ ผู้รับ ได้อย่างถกู ต้อง เชน่ เม่ือจะทาแผ่นพบั เพ่อื เผยแพร่ ผลงานของสถาบันศกึ ษา ต้องวางแผนในแผน่ พับนนั้ จะสื่อสารเฉพาะข้อความหรือจะมีภาพประกอบดว้ ย จะ ใชถ้ อ้ ยคาอยา่ งไร จึงจะสามารถสอ่ื ความหมายได้ตรงกบั วัตถุประสงค์ เป็นต้น 2 จัดงบประมาณและเวลาการจัดทา หลังจากท่ีทราบถงึ จุดมุ่งหมายและกลุ่มเป้าหมายแล้ว กจ็ ะทาให้ทราบได้ว่าสง่ิ พิมพน์ ั้นควรจะออกมาใน ลกั ษณะเชน่ ใด เชน่ ควรจะทาอยา่ งเรยี บง่าย จะเปน็ 2 สี หรอื 4 สี มีภาพประกอบหรือไม่ ส่ิงเหลา่ นี้จะมี ความสัมพันธก์ ับงบประมาณและเวลาในการจัดทาดว้ ย เชน่ อาจจะพมิ พเ์ พยี ง 2 สี แตถ่ ้าจะเป็นแผ่นพับเพ่ือ ประชาสมั พนั ธห์ นว่ ยงานหรอื สถาบันการศึกษาใหแ้ ก่บุคคลภายนอก ใหท้ ราบถงึ บทบาทและความสัมพนั ธ์ของ หนว่ ยงาน การพิมพ์แผ่นพดั อาจจะพิมพเ์ ปน็ 4 สี หรอื อาจจะเป็นจลุ สารเลม่ เลก็ ๆพรอ้ มภาพประกอบ 4 สี เพื่อประชาสัมพนั ธ์หนว่ ยงานก็จะทาใหด้ ดู ีย่ิงขนึ้ สง่ิ เหล่าน้ีจะเกยี่ วข้องกับงบประมาณท้ังสิ้น เพราะถ้าส่งิ พิมพ์ เลก็ ๆ กย็ ่อมจะใชต้ ้นทุนในการผลิตน้อยกวา่ พิมพเ์ ป็นเล่มและใช้ 4 สี และรวมถงึ ระยะเวลาในการผลิตสง่ิ พมิ พ์ แต่ละประเภทดว้ ย ซ่งึ ในเรือ่ งระยะเวลาในการจดั ทาน้ีเป็นสงิ่ ทต่ี อ้ งคานึงถึงดว้ ยเช่นกัน เชน่ หา้ มมเี วลาในการ จัดทานอ้ ยก็อาจจาเปน็ ตอ้ งผลติ สง่ิ พิมพ์ประเภทท่ีผลติ ได้เร็ว เชน่ แผ่นพบั มากกวา่ จลุ สาร เปน็ ต้น 3 ทดสอบแนวคิดและเริ่มแนวร่าง หลงั จากทีไ่ ด้รับความคิดสรา้ งสรรค์แล้วจะถงึ เวลาทเี่ ริ่มทดสอบแนวคิดและร่างสงิ่ พิมพ์ออกมาเป็นรา่ งหยาบ ๆ แบบการสเกต็ ภาพเพ่ือใหเ้ ป็นรูปรา่ งขึน้ มา ซ่ึงอาจจะขอความคิดเห็นจากผู้ร่วมงาน เพ่ือทดสอบความเขา้ ใจ และขอความคดิ เหน็ เพอื่ ช่วยให้สิ่งเหลา่ น้ันสามารถสื่อสารไดต้ รงกบั กลุ่มเปา้ หมายอย่างแท้จรงิ 4 ปรกึ ษาโรงพิมพ์ ถ้าจะผลิตส่งิ พิมพ์เปน็ จานวนมากซึง่ ไม่สามารถผลติ ได้ดว้ ยเคร่อื งพมิ พ์เลเซอร์หรือเคร่ืองถา่ ยสาเนาจาเปน็ ต้อง ให้โรงพิมพ์ในการพิมพโ์ ดยจัดทาตน้ ฉบับพิมพ์นั้นเอง ในกรณนี ้ีปรกึ ษาโรงพิมพก์ ่อนรายละเอยี ดตา่ งๆ เพื่อให้ เหมาะสมกบั งบประมาณ เชน่ - วิธกี ารพิมพ์ในปจั จบุ ันมักใช้วิธกี ารพิมพแ์ บบออฟเซต - จะใช้กระดาษแบบใด เชน่ กระดาษปอนด์ อาร์ตมัน กระดาษการด์ เป็นต้น - จานวนสที ี่จะพิมพ์ เช่น 2 สี หรือ 4 สี - จานวนพมิ พ์ - วธิ กี ารเยบ็ เลม่

สิ่งต่างๆ เหล่าน้ีควรจะปรึกษาโรงพิมพ์ก่อนส่ังพิมพ์เพ่ือให้ได้สิ่งพิมพ์ท่ีตามความต้องการเหมาะสมกับ ราคา โดยอาจจะขอดูตัวอย่างสิ่งพิมพ์ท่ีโรงพิมพ์ ท่ีโรงพิมพ์ได้พิมพ์ไว้เป็นตัวอย่าง หรือ ส่ิงพิมพ์ของ หน่วยงานอื่นๆ ในการประกอบการพิจารณาเพ่ือความเข้าใจท่ีถูกต้องร่วมกัน นอกจากน้ีควรมีเวลา เพียงพอในการจัดพมิ พเ์ พื่อให้เสรจ็ ทันตามเวลาทตี่ ้องการ การจดั หน้าสิ่งพมิ พ์ หลังจากการวางแผนต่างๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ข้ันตอนต่อไปก็คือเป็นการเตรียมข้อมูลและจัดหน้าส่ิงพิมพ์ เพ่ือทาให้เป็นรูปรา่ งข้ึนมา โดยประกอบด้วย 4 ขนั้ ตอนคือ 1 เตรยี มส่วนประกอบต่างๆ ส่ิงพิมพ์ส่วนมากจะมีส่วนประกอบต่างๆมากมาย หลายอย่าง เพื่อนามาจัดวางในหน้ากระดาษ ในข้ันตอนนี้จึง เป็นการเตรียมข้อมูล เช่น พิมพ์เน้ือหาเรื่องราว เตรียมภาพประกอบ ที่หาเพิ่มเติมหรือจากแฟ้มท่ีมีอยู่ วาด ภาพประกอบ เตรียมแผนภูมิหรือแผ่นสถิติต้องใช้เว ฯลฯ ส่ิงเหล่านี้จะต้องทาการจัดเตรียมให้เรียบร้อยเสร็จ ก่อนทจี่ ะทางานโปรแกรม Adobe Pagemaker เพ่อื ทาการจัดหนา้ ตอ่ ไป 2 จัดวางข้อความแบบภาพ ภายหลังจากมีส่วนประกอบต่างๆ เรียบร้อยแล้วถึงการเปิดใช้งาน โปรแกรม Adobe illustrator โดยอาจจะ ใช้ Templates เช่น แผน่ พับ ปกเทป.ฯลฯ เพอ่ื นาส่วนประกอบท่ีเตรยี มไว้ใสล่ งในต้นฉบับแบบนน้ั เลย หรอื จะ สร้างหน้ากระดาษขึ้นมาใหม่ โดยจัดขอบว่างตามขณะท่ีกาหนดไว้มีเส้นแนวต่างๆ ในการจัดวางข้อความหรือ ภาพก็ได้ เม่ือมีหน้าส่ิงพิมพ์เรียบร้อยแล้วจึงทาการจัดวางข้อความและภาพรวมถึงส่วนประกอบอ่ืนๆ ท่ีเตรียม ไว้แลว้ ลงในหน้าสง่ิ พมิ พ์นี้ตามแนวราบหรือท่ีเคยวาดไว้แลว้ 3 ปรับแตง่ สิ่งพมิ พ์ ในข้นั ตอนน้ีได้แก่การปรับแต่งต่างๆเช่น ปรับระยะห่าง ระหว่างไม้บรรทัด จดั ยอ่ หน้า ขอ้ ความ จดั แต่งหวั เร่ือง โดยอาจเปล่ียนแบบอักษรหรือขนาดใหม่ให้เหมาะสม อาจมีการใหส้ ีข้อความ จากข้อความรอบๆภาพ ฯลฯ เพ่อื ให้ได้ส่งิ พมิ พท์ สี่ วยงาม 4 จะทาสารบญั และดัชนี ถ้าเนื้อหาในการจัดพิมพ์มีเนื้อหายาวๆ ควรอานวยความสะดวกแก่ผู้อ่านด้วยการกระทา สารบัญ และ ดัชนี เพือ่ ช่วยในการอา่ นด้วย และบางครัง้ อาจมรี ายการตารางและรายการภาพประกอบด้วยกจ็ ะละเอียดยง่ิ ข้ึน ภายหลังจากท่ีจัดแต่งหน้ากระดาษสิ่งพิมพ์เรยี บร้อยแล้ว และถ้าจะพิมพ์เองโดยเครื่องพิมพ์เลเซอร์หรือเคร่อื ง ถา่ ยสาเนาก็สามารถผลิตสิ่งพมิ พ์นั้นออกมาได้เลย แต่ถา้ เป็นการผลติ จานวนมากจะต้องสง่ ต้นฉบับทจี่ ัดทาโดย โปรแกรม Adobe PageMaker ไปโรงพิมพ์เพ่อื จัดพิมพต์ ่อไป

ประเภทกระดาษ 1 กระดาษบรู๊ฟ (newsprint) เป็นกระดาษที่มสี ่วนผสมของเยอ่ื บททม่ี ีเสน้ ใยสัน้ และมักนาเย่อื จากกระดาษใช้ แลว้ มาผสมดว้ ย กระดาษบรู๊ฟมีเพยี งนา้ หนัก40-52 กรมั /ตารางเมตร มีสอี มเหลือง ราคาไม่แพงแตค่ วาม แข็งแรงน้อย เหมาะสาหรับงานพิมพ์หนังสอื พมิ พ์ 2 กระดาษแบงค์ (Bank Paper) เป็นกระดาษลงั บางไม่เคลอื บผวิ นา้ หนักไม่เกนิ 50 กรัม/ตารางเมตร มสี ใี ห้ เลือกหลายสี ใช้สาหรับงานพิมพ์แบบฟอรม์ ต่างๆ พมี่ หี ลายสาเนาหลายช้ัน 3 กระดาษปอนด์ (Bond paper) เปน็ กระดาษท่ีทาจากเย่ือบทที่มกี ารผา่ นการฟอก และอาจมสี ว่ นผสมของ เย่อื ท่มี าจากเศษผ้า มีสีขาว ผิวไม่เรียบ น้าหนกั อย่รู ะหว่าง.60-100.กรมั /ตารางเมตร ใช้สาหรบั งานพิมพท์ ่ี ต้องการความสวยงามปานกลาง พิมพ์สเี ดียวหรือหลายสีก็ได้ 4.กระดาษอารต์ () เป็นกระดาษทท่ี ามาจากเยื่อเคมี(เยื่อทีผ่ ลิตโดยใชส้ ารเคมี) และเคลือบผวิ ให้เรยี บดา้ น เดยี วหรอื ทัง้ 2 ด้าน การเคลือบอาจจะเคลือบมันเงาหรือแบบด้านกไ็ ด้ มีสขี าวน้าหนกั อยู่ระหวา่ ง 80-160 กรัม/ตารางเมตร ใชส้ าหรับงานพิมพ์ทตี่ ้องการความสวยงาม งานพมิ พส์ อดสี เช่น แคตตาลอ็ ก โบว์ชวั ร์ 5. กระดาษฟอกขาว woodfree Paper เป็นกระดาษทที่ าจากเยอ่ื เคมี ( เหยอื่ ท่ผี ลติ โดยใช้สารเคมี) และ ฟอกใหข้ าว เปน็ กระดาษท่มี ีคุณภาพและมคี วามหนาแน่นสูง การดดู ซมึ น้อย ใชส้ าหรับงานพมิ พห์ นังสอื กระดาษพิมพ์เขียน 6. กระดาษเหนียว karft paper เปน็ กระดาษทท่ี าจากเยอ่ื ซัลเฟต (เยอื่ ใยยาวทีผ่ ลิตโดยใช้สารซัลเฟต) จงึ มี ความเหนียวเป็นพิเศษ มสี เี ป็นสีน้าตาล น้าหนกั อยูร่ ะหวา่ ง 80-180กรัม/ตารางเมตร ใชส้ าหรับส่ิงพมิ พ์บรรจุ ภณั ฑ์ กระดาษห่อของ ถุงกระดาษ 7.กระดาษการ์ด Card Board เปน็ กระดาษท่ีมคี วามหนาและแข็งแรงประกอบดว้ ยชน้ั ของกระดาษหลายชน้ั ชั้นนอก 2 ด้านนอกเป็นสีขาว แตก่ ็มีการด์ สตี า่ งๆ ให้เลอื กใช้ บางชนดิ มผี วิ เคลือบมันเรยี บ ซ่ึงเรียก กระดาษ อารต์ การ์ด นา้ หนักกระดาษการ์ดอยู่ระหว่าง110-400.กรัม/ตารางเมตร ใช้สาหรบั ทาปกหนงั สือ บรรจภุ ัณฑ์ท่ี มรี าคา เชน่ กล่องเครอื่ งสาอาง 8.กระดาษกล่อง Box paper เปน็ กระดาษที่ทาจากเย่ือบด และมักนาเย่ือจากกระดาษใช้แลว้ มาผสม มสี ีคลา้ ไปทางเทาหรอื นา้ ตาล ผิวด้าน หนงึ่ มักจะประกอบด้วยช้ันของกระดาษขาวซ่ึงอาจมผี ิวเคลอื บมันหรอื ไม่กไ็ ด้เพ่ือความสวยงามและพิมพ์ภาพ ลงไปได้ หากเปน็ กระดาษไมเ่ คลอื บ จะเรียกกระดาษกล่องขาว หากเปน็ กระดาษเคลือบมัน จะเรียก กระดาษ กล่องแป้ง นา้ หนกั กระดาษกล่องอย่รู ะหวา่ ง180-600กรมั /ตารางเมตร ใช้สาหรับทาสงิ่ พิมพบ์ รรจภุ ณั ฑ์ เช่น กล่อง ปา้ ยแข็ง ฯลฯ 9 กระดาษแขง็ Hard Board เปน็ กระดาษหลายชั้นแข็งหนาทาจากเยื่อไมบ้ ดและเยอื่ กระดาษเกา่ มีผวิ ขรขุ ระ สคี ลา้ มคี าเรียกกระดาษชนิดนี้ว่า กระดาษจ๋ัวปงั มีนา้ หนกั ตง้ั แต4่ 30 กรมั /ตารางเมตรข้ึนไป ใชท้ าไสใ้ นของ ปกหนังสือ ฐานปฏทิ นิ ตง้ั โต๊ะ บรรจภุ ณั ฑต์ า่ งๆ

10 กระดาษแฟนซี Fancy Paper เป็นคาเรียกโดยรวมสาหรับกระดาษที่มีรูปร่างลักษณะของเน้ือและผิว กระดาษทีต่ ่างจากกระดาษใช้งานทัว่ ไป บางชนิดมีการผสมเยือ่ ท่ีตา่ งออกไป บางชนดิ มีผวิ เป็นลายตามแบบบน ลกู กลิ้งหรือตะแคงท่ีกดทับในข้นั ตอนการผลติ มีสสี นั ให้เลือกหลากหลาย มีทง้ั กระดาษบางและหนา ประโยชน์ สาหรบั กระดาษชนดิ นสี้ ามารถนาไปใชแ้ ทนกระดาษทีใ่ ชอ้ ยู่ท่วั ไป ต้งั แต่นามบตั ร หวั จดหมาย ไปจนถงึ กล่อง บรรจุภณั ฑ์ บทที่ 3 การออกแบบหนงั สือพิมพ์ เน่ืองจากหนังสือพิมพ์ส่วนใหญ่จัดทาข้ึนเพ่ือออกเผยแพร่เป็นประจา การออกแบบหนังสือพิมพ์จึงเป็นเร่ืองที่ ต้องมีการแข่งขันกับเวลามาก ที่สุดเมื่อเทียบกับการออกแบบส่ือสิ่งพิมพ์อ่ืนๆ นอกจากนี้หนังสือพิมพ์ท่ัวไปซึ่ง ไม่ใช่หนังสือพิมพ์เฉพาะด้าน เช่น หนังสือพิมพ์กีฬา จะมีเนื้อหาข้อมูลที่เป็นข่าวสารมากมายหลายด้าน เช่น การเมือง บันเทิง ศาสนา ถ้าเพียงแค่พิจารณาตัวแปร 2 ประการดังกล่าวก็จะเห็นได้ว่า การออกแบบ หนังสอื พิมพเ์ ปน็ เร่อื งท่ีทา้ ทายความสามารถของนักออกแบบอยา่ งมาก หลกั การท่ัวไปในการออกแบบหนงั สือพิมพ์ มี 2 เรื่องสาคัญ คือสิง่ ทตี่ ้องกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบ หนังสอื พมิ พ์กับองค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบหนงั สือพิมพ์ก่อนจะทาการออกแบบ หนังสือพมิ พ์นนั้ มีเร่อื งทจ่ี ะตอ้ งทามีการกาหนดและวางแผนเฉพาะในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการออกแบบ ดงั นี้ การกาหนดขนาดและรูปแบบของหนงั สอื พิมพ์ ในการการกาหนดขนาดและรูปแบบของหนังสือพิมพ์นั้น ส่ิงแรกท่ีจะต้องคานึงถึงก็คือประเภทของ หนังสือพมิ พน์ ั้น ซ่ึงโดยทวั่ ไปแลว้ ขนาดของหนงั สือพิมพ์ท่นี ยิ มใชก้ นั เปน็ มาตรฐานมีดังน้ี 1 หนังสือพิมพ์แผ่นใหญ่ Broad Sheet หรือขนาดเต็มหน้ากระดาษ Full size เป็นขนาดที่ใช้กันทั่วไปใน หนงั สอื พิมพ์ประเภทหนังสอื พิมพ์รายวนั ทรี่ ายงานขา่ วทว่ั ไป 2หนังสือพิมพ์แผ่นเล็ก Half size หรือ Tabloid เป็นหนังสือพิมพ์ที่รายงานข่าวเฉพาะด้าน เช่น หนังสือพิมพ์ กีฬา เป็นต้น ในต่างประเทศนิยมใช้หนังสือพิมพ์ประเภทรายงานข่าวแล้วใจในประเทศไทยนิยมใช้ทาหน้า แทรกในโอกาสตา่ งๆ.Supplement นอกจากการกาหนดขนาดและรูปแบบตามประเภทของขา่ วที่หนงั สือพิมพ์ นั้นรายงานแล้วยังต้องคานึงถึงความสะดวกสบาย ในการอ่านและการจัดเก็บเม่ืออ่านเสร็จแล้ว นอกจากนี้ยัง ต้องนึกถงึ ความประหยัดในด้านต้นทนุ การพิมพ์การผลติ ดว้ ย

แบบและขนาดตวั อักษร เน่ืองจากความหลากหลายในประเภทเนอ้ื หาของข่าวในหนงั สือพิมพ์ ทาให้ดเู หมือนวา่ จะต้องมีการใช้ตวั อักษร หลายๆแบบเพื่อให้เหมาะสมกับประเภทเน้ือหาของข่าวแต่ละเร่ือง ซ่ึงก็มีส่วนถูกอยู่บ้าง แต่หากมีการใช้แบบ ของตัวอักษรเปล่ียนแปลงไปเร่ือยๆ ก็อาจจะก่อให้เกิดปัญหาทางด้านประโยชน์ใช้สอยหรือด้านการสื่อสาร กล่าวคืออาจจะเกิดความสับสนในการอ่านและความยุ่งยากในการติดตามข่าวเน่ืองจากรูปแบบที่หลากหลาย ย่อมทาให้ดูซับซ้อนได้ง่าย นอกจากนี้ การไม่มีรูปแบบแน่นอนยังจะมีผลทาให้ผู้อ่านไม่สามารถจับภาพลักษณ์ หรือเป็นเอกลักษณ์ของหนังสือพิมพ์ได้ นอกจากแบบของตัวอักษรแล้วขนาดของตัวอักษรก็ควรจะมีการ กาหนดด้วย ท้ังน้ีจะต้องคานึงถึงความยืดหยนุ่ เชน่ เดียวกัน โดยขนาดตัวอักษรที่ใชเ้ ป็นตัวอักษรเนื้อเรือ่ งนั้นไม่ ควรมีขนาดเล็กกว่า 12 พอยต์ เพราะจะทาให้ยากต่อการอา่ นเมื่อมีเนื้อหาของข่าวจานวนมาก ส่วนตัวอักษรที่ ใช้เป็นตัวพิมพ์หัวเร่ือง หัวร้อง น้ันควรจะมีขนาดตั้งแต่ 18พอยต์นเป็นต้นไปเพ่ือจะได้สามารถเน้นหรือ เรียกร้องความสนใจได้ หน้าแรกของหนังสือพิมพ์ คือส่วนของหนังสือพิมพ์ซึ่งผู้ผ่านไปจะพบเห็นและอ่านก่อนหน้าอื่นๆ และเน่ืองจากผู้ท่ีผ่านไปมานั้นเลือกซ้ือ หนังสือพิมพ์ก็เพราะข่าวท่ีนาเสนอ ซึ่งท่ีนักออกแบบควรจะทาให้หน้าแรกมีประสิทธิภาพสูงสุดก็คือ การเลือก นาเสนอข้อมูลท่ีเป็นหัวเร่ืองหรือพาดข่าว แร็พภาพของข่าวที่น่าสนใจนั้นอย่างชัดเจน ง่ายแก่การอ่านหรือดู รู้ เร่อื งได้ในเวลาอันรวดเร็ว ทง้ั นีน้ กั ออกแบบจะตอ้ งจดั การกบั องคป์ ระกอบซ่งึ ปรากฏอยูใ่ นหน้าแรก รูปแบบมาตรฐานของหน้าแรก หน้าแรกของหนังสือพิมพ์ควรจะได้รับการออกแบบให้มีรูปแบบมาตรฐานใน การจัดวางองค์กรต่างๆ ท้ังนเี้ ป็นตวั อกั ษรและภาพ รปู แบบนีจ้ ะตอ้ งได้รับการรักษาไว้ใช้ทุกฉบับต่อเน่ืองกันไป เรื่อยๆไม่วา่ จะเปน็ ตาแหน่งและขนาดของตวั อักษรและภาพเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความคุ้นเคยและจดจาได้ จนกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของหนังสือพิมพ์ไปในที่สุด อย่างไรก็ตามรูปแบบมาตรฐานนี้จะต้องมีความ ยืดหยุ่นสูง เน่ืองจากภาพและตัวอักษรของแต่ละฉบับน้ันจะต้องข้ึนอยู่กับข่าวของแต่ละวันว่ามีปริมาณและ คุณภาพเปน็ อย่างไร เชน่ หากวนั ใดมภี าพท่ีสื่อสารได้ดีก็อาจจะลดขนาดตวั อักษรทเี่ ป็นหวั ข่าวหรือพาดข่าวหัว ให้มีขนาดเล็กลง เป็นต้นรูปแบบการจัดวางองค์ประกอบในหน้าแรกของหนงั สือพิมพ์นี้อาจ แยกเป็นแบบนยิ ม ใชก้ ันโดยท่ัวไป 5 แบบดังนี้ 1. แบบสมมาตร เป็นการจัดวางองค์ประกอบทางด้านซ้ายและด้านขวาของหน้าให้เหมือนกนั หรือสมดุล แบบเท่ากัน 2 ด้าน โดยวางหัวหนังสือพิมพ์ไว้ตอนบนตรงกลางหน้า รูปแบบการจัดวางแบบสมมาตร น้ีไม่ค่อยเป็นที่นิยม แล้วในปัจจุบันเนื่องจากไม่ค่อย มีความยืดหยุ่นในการนาเสนอและทาให้หน้า หนังสอื พิมพ์ดูนงิ่ ไมน่ ่าตน่ื เต้น 2. แบบอสมมาตร เป็นการจัดวางองค์ประกอบแบบท่ีทางด้านซ้ายและขวาไม่เหมือนกันแต่มีการวางให้ เกิดความรู้สึกโดยรวมแล้วดูสมดุล รูปแบบการจัดวางแบบอสมมาตรนี้เป็นท่ีนิยม ใช้มากเน่ืองจากมี ความยดื หยุ่น ในการนาเสนอภาพและข้อความอีก ท้ังยงั ทาให้หนา้ หนงั สือพมิ พด์ ตู ืน่ เต้นมชี ีวิตชวี า

3. แบบยึดโยง เป็นการจัดวางองค์ประกอบโดยจัดให้ข่าวแต่ละเร่ืองเรียงตัวเป็นลักษณะรูปตัว L ใหญ่ ทั้งตวั L ปกติ และตวั L ที่กลบั ซ้าย-ขวา เพอ่ื ใหแ้ ต่ละขา่ ว สอดยึดโยงกนั และกนั เอาไว้ รูปแบบการจัด วางแบบยึดโยงนีไ้ มค่ อ่ ยเป็นทีน่ ิยมมากนักในปัจจุบนั แมจ้ ะมคี วามยืดหยุ่นและดูตื่นเต้นก็ตาม 4. แบบละครสัตว์ เป็นการจัดวางองค์ประกอบแบบสนุกสนานดีไม่เป็นทางการมีความยืดหยนุ่ ในการจดั วางมากและดูต่ืนเต้น แต่ความเป็นทางการของรูปแบบน้ีทาให้ไม่เป็นที่นิยมใช้กับหนังสือพิมพ์รายวัน ทว่ั ไป เพราะมีผลทาใหข้ ้อมูลที่นาเสนอดูไมน่ ่าเชื่อถือ 5. แบบแนวนอน เป็นการจัดวางองค์ประกอบโดยจัดให้เขาแต่ละเร่ืองเรียงตัวละเป็นแนวนอนไล่จาก ด้านบนของกระดาษลงมาสู่ด้านล่าง รูปแบบนี้มีความยืดหยุ่น ในการจัดวางมากแต่ก็ดูไม่ต่ืนเต้นนัก นอกจากการ จะทาทัง้ 5 แบบ ทนี่ ยิ มใช้กนั โดยทว่ั ไป ยงั มีจัดแบบแนววตงั้ Vertical หวั หนังสอื พิมพ์ นิยมออกแบบโดยนาตัวอักษรที่เป็นชื่อของหนังสือพิมพ์น้ันๆมาจัดเรียงและดัดแปลงให้มีลักษณะ เฉพาะตัว โดยจัดองค์ประกอบให้เกิดเป็น สัญลักษณ์ประเภทตัวอักษร logo ซึ่งจะต้องโดดเด่นและ ง่ายแก่การจดจา หนังสือพิมพ์บาง ฉบับอาจจะมีการจัดวางคาขวัญ Slogan ของหนังสือพิมพ์นั้นๆ ประกอบไปกับชื่อ ด้วย ด้วยความฝันน้ีก็จะเป็นตัวอักษรขนาดเล็กกว่าช่ือหนังสือพิมพ์วางอยู่ด้านบน หรือด้านลา่ งของแถบช่ือ หวั ขา้ วหรอื พาดข่าว เน่ืองจากหัวเข่าหรือพาดหัวเป็นเหมือนจุดขายท่ีสาคัญของหนังสือพิมพ์ การเลือกใช้ตัวอักษรที่จะมา เป็นหัวข่าวจึงต้องมีความพิเศษแตกต่างไปจากตัวอักษรอ่ืนๆในหน้า ทั้งในแง่ของขนาดซึ่งจะต้องมี ความใหญ่เด่นกว่าตัวอักษรอื่นๆ ท้ังหมดและยังจะต้องเลือกรูปแบบท่ีมีความโดดเด่นกว่าปกติด้วย โดยอาจจะเลือกเอาจากตัวอักษรประดิษฐ์ Display type ซึ่งมีสาเร็จรูปอยู่มากมายหลายพันแบบ หรืออาจจะมี การออกแบบตัวอักษรสาหรับหัวข่าวขึ้นใช้เองเป็นพิเศษ สาหรับหนังสือพิมพ์นานๆ โดยเฉพาะก็ได้ขนาดของหัวข่าวก็ควรมีขนาดที่เห็นได้ชัดจากระยะไกลและมักนิยมใช้ตัวเน้น Bold หรือเน้นเป็นพิเศษ.Extra bold ทั้งนี้ตัวอักษรที่เป็นหัวข่าวนี้อาจจะมีสีท่ีแตกต่างไปจากตัวอักษรอน่ื ๆ ในหนา้ เช่น ตวั พมิ พเ์ น้ือเรอ่ื งปกติเป็นสดี าอาจจะใชต้ ัวอักษรทเ่ี ปน็ หัวขา่ วเปน็ สีน้าเงนิ เปน็ ตน้ ภาพประกอบขา่ ว ภาพประกอบในหนังสือพิมพ์น้ันเป็นภาพประกอบข่าว ซ่ึงหมายถึงว่านักออกแบบไม่มีทางทราบ ลว่ งหนา้ วา่ ภาพจะมลี ักษณะและคุณภาพเปน็ อย่างไรหนา้ ในหนังสือพิมพ์ หนา้ ในของหนังสอื พมิ พ์เป็น หน้าท่ีรวมความหลากหลายของข่าวประเภทต่างๆโดยทั่วไป หนังสือพิมพ์นิยมแบ่งหน้าต่างๆเป็น เรื่องๆ คือ น้าขาวท่ีเป็นเร่ืองเดียวกันมาไว้หน้าเดียวกัน เช่น นักกีฬา หน้าการศึกษา หน้าสังคม เป็น ต้น สาหรับหนงั สอื พมิ พบ์ างฉบบั ท่ีต้องการจะเนน้ เนื้อหา เรื่องใดเรอ่ื งหน่งึ เปน็ พเิ ศษก็อาจจะแยกเร่ือง น้ันๆออกมาเป็นอีกส่วนต่างหากก็ได้ การแบ่งหน้าในลักษณะน้ีจะมีผลดีต่อนักออกแบบคือจะช่วยให้

การทางานง่ายข้ึน กล่าวคือสามารถออกแบบให้ทั้งหน้าหรือท้ังส่วนน้ันกลมกลืนกันเป็นหน่ึงเดียวได้ นอกจากนี้ยังมีความสะดวกในการผลิตอีกด้วยการออกแบบหน้า นายจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบ ต่างๆไดแ้ ก่ 1 หัวข้าวหรือพาดข่าว เช่นเดียวกันกับหัวเข่าในหน้าแรก ตัวอักษรท่ีจะนามาใช้เป็นหัวข่าวในหน้าใน หน้านีก้ ต็ อ้ งมีขนาดใหญ่กว่าตวั อักษรทีเ่ ปน็ ตวั พิมพ์ เร่อื งทว่ั ไป เพียงแต่ไมม่ ขี นาดใหญ่เทา่ กับหวั เข่าใน หนา้ แรก เนือ่ งจากความจากัดในเน้ือเร่ืองทีซ่ ่ึงมีข้อมูลท่ีตอ้ งการจะนาเสนอมาก ประกอบกบั หัวเข่าใน หน้า ในไม่จาเป็นต้องเรียกร้องความสนใจเท่ากับ หัวข่าวในหน้าแรก นอกจากความแตกต่างจากเน้ือ เร่ือง ในแง่ขนาดแล้ว อาจจะสร้างความเด่นของหัวเข่าได้ด้วย การเปลี่ยนรูปแบบของตัวอักษรให้ แตกตา่ งออกไปหรือเปลย่ี นสีตัวอกั ษรหรอื สีพ้ืนหลังก็ได้ 2 หัวรอง หัวเราะมักจะเป็นตัวอักษรขนาดใหญ่กว่าเนื้อเร่ืองแต่เล็กกว่าหัวเข่า หัวรองแทรกอยู่ใน สว่ นเน้ือเรื่องมกั นิยมวางแบบเสมอกลางเสมอหนา้ หรอื เสมอหนา้ หลังของคอลมั น์ 3 หัวต่อ jump Head หัวต่อมักจะใช้เป็นตัวอักษรขนาดใหญ่กว่าเน้ือเร่ืองแต่เล็กกว่าหัวเข่า มีขนาด ใกล้เคียงกับหัวร้องโดยจะอยู่ ในส่วนเน้ือเรื่องซ่ึงเป็นเนื้อเรื่องท่ีต่อมาจากหน้าแรกหรือในหน้ามืดมัก นยิ มวางแบบเสมอกลางหรือเสมอหน้าของคอลมั น์ 4 เนอ้ื ข่าว เนอื้ ขาวนเี้ ปน็ องค์ประกอบที่เปน็ ข้อความที่มขี นาดยาวท่สี ุด การเรยี งเรยี งเป็นคอลมั นต์ าม ระบบคดิ ท่ไี ด้ วางเอาไวม้ กั นยิ มวางแบบเสมอหน้าหลังของคอลัมน์ โดยขนาดความกวา้ งของคอลัมน์น้ี ก็ไม่ควรจะกว้างหรือยาวเกินไปเพราะจะมีผลต่อการอ่านง่าย ในการกาหนดขนาดความกว้างของ คอลัมน์จะต้องคานึงถึงขนาดของตัวอักษรเป็นสาคัญ คือควรจะมีความกว้างแปรผันตามขนาด ตัวอักษรตัวอักษรย่ิงเล็กคอลัมน์ย่ิงแคบ (บรรทัดส้ัน) ตัวอักษรย่ิงใหญ่กว่าคอลัมน์ยิ่งกว้าง(บรรทัด ยาว) บทท่ี 4 การออกแบบนิตยสารและวารสาร วารสารและนิตยสาร เป็นสื่อมวลชนท่ีสาคัญสาหรับการศึกษาประเภทหน่ึง ท่ีให้ทั้งข่าว สารความรู้ความคิด และความบันเทิงแก่ผู้อ่านอย่างกว้างขวาง และยังทาหน้าท่ีในการบันทึกความเป็นไปได้ในสังคม ในช่วงเวลา หน่ึงได้เป็นอย่างดี และมีส่วนช่วยกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาด้านต่างๆ เนื่องจากวรศาสตร์และ นิตยสารเป็นแหล่งรวบรวมและเผยแพร่ความรู้ความคิดในรูปแบบของการเสนอบทความทางวิชาการ ข่าว ภาพ ความคิดเห็น บทวิจารณอ์ ย่างหลากหลาย มกี ารจัดทาออกมาอยา่ งต่อเน่ือง และเผยแพรค่ วามร้ทู ่ีทันสมัย ทันเหตุการณ์ ไปสู่กลุ่มผู้อ่านท่ีเป็นประชาชนท่ัวไปได้อย่างกว้างขวาง กว่าสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ จึงมีคุณค่า ต่อการศึกษาอย่างสูง ทั้งในด้านการศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษานอกระบบโรงเรียน และการใช้ประกอบ การศึกษาในระบบโรงเรียน ผู้ใช้วรสารควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะ วิธีการนาเสนอ เน้ือหา แนวทางการใช้ เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ทางการศึกษาจากวารสารและนิตยสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

นติ ยสาร นิตยสารเป็นส่ิงพิมพ์ที่จัดพิมพ์ออกเผยแพร่ตามกาหนดเวลา หรือคราบเวลาที่แน่นอน เช่น ออกทุกสัปดาห์ หรือออกทกุ เดือน ลกั ษณะโดยทวั่ ไป เปน็ สิง่ พมิ พเ์ ขา้ เล่มเดยี วกันกบั หนงั สอื วารสาร คือวารสารเป็นส่ิงพิมพ์จะพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นคราวๆหรือเป็นวาระ ซึ่งอาจมีกาหนดเวลาหรือไม่มี กาหนดเวลาแน่นอนกไ็ ด้ ลกั ษณะของวารสาร 1 เป็นสง่ิ พิมพ์ต่อเนอ่ื ง Periodical or serial มีกาหนดเวลาออกแนน่ อนแตเ่ วลาที่นิยมกาหนดออก เช่น รายสปั ดาห์ weekly กาหนดออกสัปดาหล์ ะครัง้ ปลี ะ 52 ฉบับ รายปักษ์ Fortunately กาหนดออกทกุ 2 สัปดาห์ ปลี ะ 26 ฉบับ รายครึง่ เดือน semimonthly กาหนดออกเดือนละ 2 คร้งั ปีละ 24 ฉบบั รายเดอื น monthly กาหนดออกเดือนละครั้ง ปีละ 12 ฉบับ รายหกเดือนหรือรายครึ่งปี semiannually กาหนดออกทุก 6 เดอื น รายปี annually กาหนดออกปลี ะฉบบั นอกจากน้ีบางฉบับอาจมีการกาหนดระยะเวลาออกท่ีแตกต่างออกไปจากที่กล่าวมาแลว้ เช่น ลายครึ่งสัปดาห์ กาหนดออกสัปดาห์ละ 2 ฉบับ ปีละ 100 4 ฉบับ ลายทศ กาหนดออกทุก 10 วัน ปีละ 36 ฉบับ และราย สะดวกมีกาหนดออกไม่แนน่ อน ลกั ษณะความต่อเน่ืองของวารสารไม่มีกาหนดว่าจะส้นิ สุดลงในฉบบั ใด 2. มีเลขกากับประจาฉบับ ได้แก่ เลขปีที่ volume เลขที่ฉบับ lssus number และวัน เดือนปี Data การนับลาดับฉบับที่อาจ นับเป็นปี เช่น วารสารรายเดือน แต่ละปีจะมีตั้งแต่ฉบับที่ 1-12 หรืออาจนับต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เช่นวารสารรายเดือน ฉบับแรกของปีที่ 2 ก็นับเป็นฉบับที่ 13 นอกจากเลขปีท่ีฉบับท่ีและวันเดือนปี ซึ่งเป็นเลขที่ต้องต่อเน่ืองเป็น ลาดับกนั ไปแล้วยังมเี ลขอีกชดุ หนงึ่ เป็นเลขเฉพาะ ท่แี น่นอน ไม่มีการเปล่ียนแปลงถือเป็นรหสั ประจาวันละสาร แต่ละชื่อ เม่ือการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ เรียกว่า เลขสากลประจา วารสาร international standard serial number-issn ซึ่งศูนย์ข้อมูลวารสารระดับชาติระดับสากลมอบให้ ศูนย์ข้อมูลวารสารระดับชาติ ประจาประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ เป็นผู้กาหนดให้แก่วารสารแต่ละช่ือใน ประเทศของตน สาหรับประเทศไทยมีหอสมุดแห่งชาติเป็นศูนย์ ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย

เป็นผู้กาหนดว่าสารแต่ละช่ือให้ได้รับหมายเลขสากลประจาวันวารสาร และจะต้องพิมพ์ไว้ท่ีหน้าปกหรือหน้า ปกใน หรือ สัญลักษณ์สารใกล้ๆกับช่ือวารสาร มีอักษร ISSN ตามด้วยเลขอารบิก 8 ตัว มีเคร่ืองหมายยติภังค์ (-) คั่นระหวา่ ง เลข 4 ตวั แรก กลับเลข 4 ตวั หลงั เช่น วรสาร ซีเนแม็ก ISSN 0858-9305 3 รูปเล่ม มักทาให้มีบางส่วนมีลักษณะเหมือนกันทุกฉบับ เพ่ือให้ผู้อ่านสังเกตและจาได้ง่าย เช่น ขนาดความ กวา้ ง ยาว รปู แบบ และสีของตัวอักษร ชื่อวารสารที่หนา้ ปก และสัญลกั ษณ์ประจาวารสาร 4 เนื้อหา ประกอบด้วยบทความหลายบทความ จากผู้เขียนหลาย ๆ คน ถ้าเป็นวารสารมักจะเป็นวิชาการ เฉพาะแขนงวิชา ถ้าเป็นนิตยสารมักจะมีบทความทั่วๆไป สารคดี หรือบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ลง ติดต่อกันเป็นหลายๆมีคอลัมน์บรรณาธิการ คอลัมน์ประจา วารสาร บางช่ือเนื้อหาอาจเป็นรูปภาพ เป็นบท วิจารณ์ สรุปข่าวและวิเคราะห์ เหตุการณ์บ้านเมือง ท้ังน้ีเป็นไปตามประเภทและวัตถุประสงค์ของวารสารแต่ ละฉบบั 5 ผู้จัดพิมพ์ ผู้จัดพิมพ์วารสารอาจเป็นเอกชน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน องค์การสมาคม ชมรม โดยมีวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ ประชาสัมพันธ์หน่วยงาน เพ่ิมความบันเทิง ความรู้ท่ัวไป หรอื เพ่ือธุรกิจการค้า เปน็ ต้น 6 การเผยแพร่ มีท้ังการจาหน่ายและการแจกฟรี การจาหน่ายอาจวางจาหน่ายตามร้านขายหนังสือ การให้ ผอู้ ่านบอกรบั เปน็ สมาชิกประจา ชาระคา่ งวดโทรศพั ทล์ ่วงหน้าและผ้จู ดั พิมพเ์ ปน็ ผสู้ ง่ เอกสารไปให้สมาชิก ประเภทของนติ ยสาร การแบ่งประเภทนิตยสารนนั้ ส่วนใหญจ่ ะยดึ ถือเน้อื หาหรือกลุ่มผอู้ ่านเปน็ หลัก ดังน้ี 1. นติ ยสารทว่ั ไป general magazines นิตยสารท่ัวไป หมายถึง นิตยสารที่มีเนื้อหาสาหรับผู้อ่านทั่วไป นิตยสารประเภทนี้บางคนเรียกว่า นิตยสารที่คนทั่วไปสนใจหรือนิตยสารสาหรับผู้ซื้อท่ัวไป general consumer magazines บางคนก็จะ นิตยสารประเภทนี้เป็นพวกนิตยสารสาหรับมวลชนท่ัวไป magazines for the masses ในเมืองไทย นิตยสารที่จัดว่าเป็นวิทยาศาสตร์ท่ัวไป โดยวัดจากจานวนจาหน่ายน้ันคงไม่มีแต่ถ้าจะดูจากเน้ือหาท่ัวไป แล้วก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน เช่น นิตยสารฟ้าเมืองไทย ที่หยุดพิมพ์ไปแล้ว นิตยสารสารคดี และนิตยสาร อื่นๆท่ีมีเนื้อหากว้างขวาง ท่ัวไปในทานองเดียวกัน ซ่ึงอาจรวมท้ังนิตยสารข่าวทั่วไปที่นิตยสารสาหรับ ครอบครัวเชน่ นิตยสารผหู้ ญงิ เป็นต้น 2. นิตยสารเฉพาะกลมุ่ ผ้บู รโิ ภคหรือเฉพาะด้าน Specialized magazines นิตยสารประเภทนี้มีอยู่มากมายหลายชนิด มีการจัดกลุ่มแตกต่างกันออกไป โดยทั่วไปแล้วมักจะจัดตาม ลกั ษณะของกล่มุ ผ้บู ริโภคตามหลกั การของการตลาด ในทีน่ ้ีขอแบ่งเปน็ กลมุ่ ใหญ่ๆดงั น้ี

2.1 นิตยสารขา่ ว เนน้ ในเรื่องขา่ ว เบอ้ื งหลงั ข่าว วเิ คราะห์และวิจารณ์ข่าว พร้อมทัง้ บทความและสารคดี อื่นๆ เช่น นิตยสารสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และ มติชนสุดสัปดาห์ เนช่ันถึงสุดสัปดาห์ นิตยสาร ประเภทนีบ้ างทีก็จะเป็นนิตยสารท่ัวไปได้ เพราะเปน็ เร่อื งทที่ ุกคนสนใจ 2.2 นิตยสารผู้หญิง เป็นนิตยสารที่เน้นในเรอ่ื งท่ีเป็นความสนใจของผู้หญิงท่ัวไปเนื่องจากผู้หญิงเป็นกลุ่ม ผู้บริโภคสาคัญ นิตยสารที่เกี่ยวกับผู้หญิงจึงมีมากมาย นิตยสารประเภทน้ีสามารถ จะหาโฆษณาได้ ไม่ยากนักเพราะมีสินค้าและผลิตภัณฑ์หลายอย่างที่มุ่งเจาะตลาดผู้หญิงโดยเฉพาะตัวอย่างนิตยสาร ผูห้ ญงิ ในเมอื งไทยมี ให้เหน็ กนั กลาดเกล่อื นท่วั ไปเชน่ สกลุ ไทย ขวัญเรือน ดฉิ นั เปรยี้ ว แพรว 2.3 นิตยสารผู้ชาย นติ ยสารพวกนส้ี ่วนมากจะเนน้ ในเร่ืองเพศเปน็ สาคัญมภี าพโปเ๊ ปลือย ของผู้หญิงสาว เป็นเรื่องล่อใจผู้ซ้ือ แต่ว่าฉบับก็มีบทความดีๆแทรกอยู่เช่นกัน ตัวอย่างเช่น นิตยสาร Boss ผู้นา Playboy ของสหรัฐอเมริกา เพนเฮาส์ ที่เป็นคู่แข่งของนิตยสาร Playboy ในสหรัฐอเมริกาก็มีพิมพ์ ในเมืองไทย 2.4 นิตยสารธุรกิจ เป็นนิตยสารอีกประเภทหนึ่งที่มีจาหน่ายแพร่หลายในท้องตลาด เน้นในเร่ืองธุรกิจ การค้า อุตสาหกรรม การเงินการธนาคาร การบริหารและการจัดการเป็นต้น กลุ่มผู้อ่านได้แก่ ผู้บริหารและผู้อยู่ในวงการธุรกิจทั่วไป นิตยสารในแนวนี้มีหลายประเภท เช่น การเงินการธนาคาร ดอกเบย้ี ผูจ้ ดั การ อีคอนนิวส์ เป็นตน้ 2.5 นิตยสารด้านอื่น ๆ นอกเหนือจากนิตยสารเฉพาะด้านหรือเฉพาะกลุ่มดังท่ีได้กล่าวมาแล้วสิกลุ่ม ใหญ่ๆ ก็ยังมีนิติศาสตร์เฉพาะด้านต่างๆอีกมากมายหลายประเภท เช่น นิตยสารเด็ก นิตยสารวัยรุ่น นิตยสารครอบครัว นิตยสารดารานักร้อง นิตยสารภาพยนตร์ ดนตรี นิตยสารกีฬาต่างๆ นิตยสาร ความคิดเห็น นิตยสารเฉพาะชุมชน นิตยสาร วิทยาศาสตร์ นิตยสารเคร่ืองเสียง นิตยสาร คอมพิวเตอร์ นิตยสารวีดีทัศน์ ทีวี นิตยสารรถยนต์ นิติศาสตร์บ้านและการตกแต่ง นิตยสาร การเกษตรต่างๆ นิติศาสตร์การท่องเที่ยว นิตยสารสุขภาพ นิติสาส์นการออกกาลังกายและการใช้ เวลาว่าง นติ ยสารถ่ายภาพ นติ ยสารศลิ ปวัฒนธรรม นติ ยสารศาสนา นิตยสารพระเครอื่ ง 3. นิตยสารและวารสารสมาคม Association magazines นิตยสารสมาคม เป็นนิตยสารที่ออกในนามสมาคมต่างๆ เช่น สมาคมผู้คุ้มครองผู้บริโภค สมาคมโฆษณา ธรุ กิจ สมาคมคหกรรมศาสตร์ สมาคมธรรมศาสตร์ นติ ศิ าสตร์ท่อี อกโดยสมาคมเหล่าน้ีบางครัง้ อาจจะเข้า เป็นนิตยสารเฉพาะดา้ นหรือเฉพาะกลมุ่ ผบู้ รโิ ภคประเภทใดประเภทหนง่ึ ไดเ้ ชน่ กัน 4. นติ ยสารและวารสารวชิ าชพี .Professional magazines นิตยสารวิชาชีพ เป็นนิตยสารคล้ายๆกับนิตยสารสมาคมแต่เน้นในเร่ืองวิชาชีพเฉพาะ เช่น วิชาชีพ หนังสือพิมพ์ วิชาชีพทนายความ วิชาชีพแพทย์ วิชาชีพครู เป็นต้น วารสารวิชาการ jornals ทั้งหลาย อาจจะรวมอยู่ในกลุ่มนี้ได้เพราะวรสารเชิงวิชาการต่างๆ มักจะเน้นในวิทยาการด้านนั้นๆเป็นหลัก เช่น วารสารวิชาการด้านการแพทย์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านนิเทศศาสตร์ ด้านบรรณารักษ์ ศาสตร์ เป็นต้น แต่บางทีอยู่วันละ 3 วิชาการก็อาจจะจัดอยู่ในนิตยสารสมาคม ได้เช่นกันถ้าหากเรามอง ในแง่ผ้จู ดั พิมพ์ ที่เป็นสมาคมวิชาการหรอื วชิ าชพี ตา่ งๆ

5. นติ ยสารและวารสารการประชาสมั พนั ธ์ Public relation magazines นิตยสารการประชาสัมพันธ์เป็นเอกสารที่ออกโดยบริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ เพ่ือเผยแพร่แก่สาธารณชน โดยมีจุดประสงค์ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงานหรือบริษัทน้ันๆบริษัทใหญ่ๆเช่น เซลล์ เอสโซ่ การบิน ไทย ธนาคารกรุงเทพ ต่างก็มีวิทยาศาสตร์เพ่ือการประชาสัมพันธ์ของตนเองออกเป็นประจาเสมอ นอกจากน้ียังจะมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภายในระหว่างลูกจ้างพนักงานหรือระหว่างบริษัทกับลูกค้า นติ ยสารประเภทนบี้ างทกี ็เรียกว่า วารสารหน่วยงาน House journals หรือนิตยสารบรษิ ัท Company magazines 6. นิตยสารฉบับแทรกหนังสือพิมพ์ newspapers magazines. หรือ. Sunday supplement magazines นติ ยสารประเภทนี้ หมายถึง นิตยสารท่ีออกเป็นอาทติ ย์นนั ทนาการหรือเป็นฉบับแถมของหนังสือพิมพ์ใน วันพเิ ศษ หรือวนั อาทิตย์ในต่างประเทศ เชน่ สหรัฐอเมริกา นิยมมนี ิตยสารประเภทน้ี อภินนั ทนาการ แก่ ผู้อ่านในวันอาทิตย์ นิตยสารเหล่านี้ เช่น แฟมิล่ี วิคลี่ Family weekly มีจานวนพิมพ์มากกว่า 10 ล้าน ฉบบั เพราะหนงั สอื พิมพต์ ่างๆรับไปแจกเปน็ อภินันทนาการแก่ผู้อา่ นในวันอาทิตย์ทกุ สปั ดาห์ สว่ นประกอบของนิตยสาร 1 ปกหน้า เป็นหน้าที่สาคัญท่ีสุดของนิตยสาร เน่ืองจากจะต้องทาหน้าที่ถึง 2 ประการคือ ทั้งดึงดูดความ สนใจของผู้ท่ีพบเห็นและนาเสนอภาพลักษณ์อันเป็นเอกลกั ษณ์ของนิตยสาร ให้ผู้ท่ีเห็นรับรู้ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่ง ส่วนต่างๆในปกหนา้ ทน่ี ักออกแบบจะต้องให้ความสนใจดงั นี้ 1.1 หวั นิตยสาร name plate และรายละเอียดของฉบับ โดยหัวนิตยสาร หรือ หัวหนังสือ น่ีจะเป็นตราสัญลักษณ์ที่ประกอบข้ึนจากตัวอักษร ทเ่ี ป็นชอ่ื หนังสือส่วนรายละเอยี ดของฉบบั กจ็ ะบ่งบอกฉบับที่ ปที ี่ 1.2 ภาพประกอบ ปก หนา้ มักจะเป็นภาพของเน้ือเรื่องภายในฉบับ ส่วนมากจะนิยมใช้ภาพจากเร่ืองท่ีโดดเด่นที่สุดและมักจะนิยมใช้ภาพ ใหญ่เพยี งภาพเดียวมากกวา่ จะเป็นภาพเล็กๆหลายๆภาพ 1.3 ข้อความบนปก เป็นข้อความที่เป็นตัวอักษรขนาดไม่ใหญ่นักเพ่ือให้ข้อมูลว่าในฉบับมีเร่ืองราวที่น่าสนใจอะไรบ้าง ตัวอักษร เหลา่ น้ีอาจจะวางทับอย่บู นภาพเลยกไ็ ด้ 2 หน้าสารบญั เป็นหน้าท่ีบ่งบอกตาแหน่ง ของเน้ือหาท่ีอยู่ในนิตยสารว่าเร่ืองอยู่ท่ี หน้าไหน ซึ่งหน้านี้จะเป็นหน้าท่ีผู้พบเห็น วทิ ยาศาสตร์ซ่ึงไมใ่ ช่ลูกค้าประจาเปิดดวู ่ามเี ร่ืองอะไรคุ้มค่าแกก่ ารซ้ือหรือไม่ ดงั น้นั หนา้ สารบัญ จะตอ้ งพบเห็น ไดง้ ่ายส่วนมากมักจะวางไวห้ นา้ 3 หรือ 5 ซ่งึ เปน็ หนา้ ทผี่ ้ไู ม่ค่อยคนุ้ เคยกับนิตยสาร มักจะมองหาหน้าสารบัญ 3 บรรณาธิการ เป็นหน้าที่บรรณาธิการเขียนเพื่อนแนะนาเรื่องหรือนักเขียนภายในฉบับ หรือบอกเล่าเร่ืองท่ี เก่ียวข้องกับนิตยสารน้ัน ส่ิงที่ปรากฏอยู่ในหน้านี้ท่ีสาคัญคือตัวเน้ือหาที่เป็นข้อความเอง และช่ื อของ บรรณาธิการซึ่งอาจจะมีรายมือชื่อประกอบด้วยก็เป็นที่นิยมทากัน นอกจากน้ีอาจจะมีพาดหัวข่าวสั้นๆหรือ

ภาพถ่ายของบรรณาธกิ าร หรือภาพการ์ตูน ขนาดเลก็ ประกอบด้วยก็ได้ สวนหน้าบรรณาธิการ นจี่ ะอยู่ที่นั่นใด ของนิตยสารก็ไม่มีข้อจากัดตายตัว ส่วนมากจะนิยมไว้เป็นหน้าต่อจากหน้าสารบัญ อย่างไรก็ตามส่ิงท่ีสาคัญ จะตอ้ งวางบรรณาธกิ ารไว้ท่หี นา้ เดมิ ทกุ ฉบับไม่เปลี่ยนไปมา 4 หนา้ เปิดเรอ่ื ง เปน็ หนา้ แรกของเรอื่ งน้นั ๆ ซ่ึงปกตแิ ลว้ นายนติ ยสารจะมีเร่ืองอยูห่ ลายเร่ือง แล้วหน้าเปดิ เรอื่ ง มักจะเป็นหน้าขวาของนิตยสาร แต่ก็ไม่จาเป็นเสมอไปสิ่งท่ีจะปรากฏอยู่ในหน้านี้ท่ีสาคัญก็คือช่ือเร่ืองช่ือ ผู้เขียนและส่วนท่ีเป็นตอนต้นของเน้ือเรอ่ื ง นอกจากนี้อาจจะมีภาพประกอบด้วยก็ได้ ซึ่งหากมีภาพประกอบก็ อาจจะมีเน้ือหาส้ันๆเก่ียวกับภาพประกอบนั้นวางอยู่ติดกับภาพด้วย เนื้อหาน้ี เรียกว่า คาบรรยายภาพ. Caption 5 เน้ือเร่ือง เป็นหน้าท่ีบรรจุเนอ้ื เรื่อง ต่างๆของนิตยสาร ในขณะที่ปกหน้า หน้าสารบัญหน้าบรรณาธิการจะมี เพียงอย่างละ 1 หน้าต่อฉบับและหน้าเปิดเรื่องก็จะมีเท่ากับจานวนเรื่องในฉบับ แต่หน้าเน้ือเรื่องซ่ึงอยู่ต่อจาก หน้าเปิดเรอ่ื งจะมปี ริมาณมากทีส่ ดุ สงิ่ ท่จี ะปรากฏอยู่ในหน้าน้ีก็คือเน้ือเร่ืองทั้งหมดรวมท้ังภาพประกอบและคา บรรยายภาพ บทที่ 5 พ.ร.บ จดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ 2550 มาตรา 1 พระราชบญั ญัตนิ ้เี รยี กวา่ พระราชบัญญตั ิจดแจ้งการพมิ พ์พ. ศ. 2550 มาตรา 2 พระราชบัญญัตนิ ีใ้ หใ้ ชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เป็นตน้ มาตรา 3 ใหย้ กเลกิ 1 พระราชบัญญตั กิ ารพมิ พ์ พุทธศักราช 2484 2 พระราชบญั ญตั กิ ารพิมพ์ ฉบบั ท่ี 2 พทุ ธศักราช 2485 3 พระราชบญั ญัตกิ ารพิมพ์ ฉบบั ท่ี 3 พทุ ธศักราช 2488 4 คาสง่ั ของคณะปฏริ ูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับท่ี 5 ลงวนั ที่ 6 ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช 2519 5 คาสง่ั ของคณะปฏริ ูปการปกครองแผน่ ดนิ ฉบบั ที่ 36 ลงวนั ที่ 21 ตุลาคมพุทธศักราช 2519 มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ินี้ “พิมพ”์ หมายความวา่ ทาใหป้ รากฏดว้ ยตวั อักษร รปู ลอย ตวั เลข หรือภาพโดยวธิ ีการอย่างใดๆ “ ส่ิงพมิ พ”์ หมายความวา่ สมุด หนงั สอื แผน่ กระดาษ หรอื วตั ถุใดๆ ทพี่ ิมพ์ขึ้นเป็นหลายสาเนา “หนังสือพิมพ์” หมายความว่า สิ่งพิมพ์ซ่ึงมีช่ือ จาหน้า เช่นเดียวกัน และออกหรือเจตนาจะออกตามลาดับ เร่ือยไปมีกาหนดระยะเวลาหรือไมก่ ็ตาม มีข้อความต่อเนอ่ื งกันหรือไม่กต็ าม ท้ังน้ีให้หมายความรวมถงึ นติ ยสาร วารสารสงิ่ พมิ พ์ท่เี รียกชอื่ อยา่ งอ่ืนทานองเดียวกัน “ผพู้ ิมพ”์ หมายความว่า บุคคลซงึ่ จัดการและรับผดิ ชอบในการพิมพ์ “ ผู้โฆษณา” หมายความว่า บุคคล ซึ่งรับผิดชอบในการจัดให้สิ่งพิมพ์แพร่หลายด้วยประการใดๆไม่ว่าจะเป็น การขายหรอื ใหเ้ ปล่า “บรรณาธิการ” หมายความว่า บุคคลรับผิดชอบในการจัดทาและควบคุมเน้ือหา ข้อความหรือภาพที่ลงพิมพ์ ในหนงั สอื พมิ พร์ วมทง้ั วสั ดหุ รือเอกสารท่ีแทรกในหนังสือพิมพโ์ ดยความเห็นชอบของบรรณาธกิ ารดว้ ย

“เจ้าของกจิ การหนังสือพิมพ์” หมายความว่า บุคคลซ่ึงเป็นเจ้าของกจิ การหนังสอื พิมพ์ “พนักงานเจา้ หน้าที่” หมายความว่า ผู้ซง่ึ นายกรฐั มนตรแี ตง่ ต้งั ให้ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ มาตรา 5 พระราชบัญญตั นิ ไ้ี มบ่ งั คับใช้กบั สงิ่ พิมพ์ ดงั ต่อไปนี้ คอื 1 สง่ิ พิมพข์ องสว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานรัฐ 2 บัตร บัตรอวยพร ตราสาร แบบพิมพ์ และรายงานซึ่งใช้กันตามปกติในส่วนตัวการสังคมการเมือง การค้า หรือสิง่ พมิ พท์ ่ีมอี ายุการใช้งานสนั้ เชน่ แผ่นพับ หรือแผ่นโฆษณา 3 สมดุ บนั ทกึ สมุดแบบฝกึ หัด หรือสมดุ ภาพระบายสี 4 วิทยานิพนธ์ เอกสารคาบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอน หรือส่ิงพิมพ์อื่นทานองเดียวกันที่เผยแพร่ใน สถานศกึ ษา มาตรา 6 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออก กฎกระทรวงเพ่ือปฏบิ ัติการใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบัญญตั ินกี้ ฎกระทรวงนนั้ เม่อื ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา แลว้ ใหใ้ ช้บังคับได้ หมวด 1 สิ่งพิมพ์ มาตรา 7 ผู้พิมพ์หรือผู้โฆษณาส่ิงพิมพ์ที่พิมพ์และเผยแพร่ในราชอาณาจักรต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ตอ้ งหา้ มดงั ต่อไปนี้ 1 มีอายไุ มต่ ่ากว่า 20 ปบี ริบรู ณ์ 2 มถี น่ิ ทีอ่ ยู่ประจาในราชอาณาจักร 3 ไมเ่ ป็นคนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ 4 ไม่เคยต้องโทษตามคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกเว้นแต่พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีหรือความผิดโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษในกรณีนิติบุคคลเป็นผู้พิมพ์หรือผู้โฆษณากรรมการ ผู้จัดการหรือผู้แทนอ่ืนของ นิตบิ คุ คลนนั้ ต้องมคี ุณสมบัตแิ ละไมม่ ีลักษณะตอ้ งห้ามตามวรรคหนง่ึ ด้วย มาตรา 8 ในส่ิงพมิ พ์ซ่ึงเป็นหนังสอื ท่ไี ม่ใช่หนังสือพิมพ์และพิมพ์ในราชอาณาจกั รให้แสดงข้อความ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1 ช่อื ของผู้พิมพแ์ ละที่ต้งั โรงพมิ พ์ 2 ชอ่ื และทต่ี ้ังของผู้โฆษณา 3 เลขมาตรฐานสากลประจาหนังสือทีห่ อสมุดแห่งชาติได้ออกให้ ข้อความตามวรรคหนงึ่ ให้พมิ พ์ไวใ้ นลักษณะท่ี เห็นได้ชัด และบรรดาชื่อตาม (๑) และ(๒) เมียให้ใช้ชื่อย่อ หรือนามแฝงสิ่งพิมพ์ตามวรรคหน่ึงให้หมายความ รวมถึงสง่ิ พิมพท์ ี่บนั ทึกดว้ ยวธิ กี ารทางอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือขายหรือใหเ้ ปลา่ ด้วย มาตรา 9 ให้พูดพิมพ์ส่งสิ่งพิมพ์ตามมาตรา 8 จานวน 2 ฉบับให้หอสมุดแห่งชาติภายใน 30 วันนับแต่วัน เผยแพร่ มาตรา 10 ให้ผบู้ ัญชาการตารวจแหง่ ชาตมิ ีอานาจออกคาสัง่ โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา หา้ มสั่ง เข้าหรือนาเข้าเพ่ือเผยแพร่ในราชอาณาจักร ซึ่งส่ิงพิมพ์ใดๆที่เป็นการหมิ่นประมาท ดูหม่ิน หรือแสดงอาฆาต มาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชนี รัชทายาทหรือผู้สาเร็จ ราชการแทนพระองค์ หรือ จะกระทบต่อความ ม่ันคงแห่งแห่งราชอาณาจักร หรือความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน โดยจะกาหนดเวลา

ห้ามไว้ในคาส่ังดังกล่าวด้วยก็ได้ การออกคาส่ังตามวรรคหนึ่ง ห้ามมิให้นาข้อความท่ีมีลักษณะที่เป็นการหม่ิน ประมาท ดูหมนิ่ หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษตั ริย์ พระราชินี รัชทายาทหรือผู้สาเรจ็ ราชการแทน พระองค์หรือข้อความที่กระทบต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร หรือความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชนมาแสดงไว้ด้วยส่ิงพิมพ์ท่ีเป็นการฝ่าฝืนวรรณหน่ึง ให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติมีอานาจจริบ หรือทาลายหนังสือพิมพ์ หมวด 2 หนงั สือพิมพ์ มาตรา 11 หนังสือพิมพ์ซึ่งพิมพ์ข้ึนภายในราชอาณาจักรต้องจดแจ้งการพิมพ์ ตามบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัตินี้ผู้ย่ืนจดแจ้งการพิมพ์หนังสือพิมพ์ต้องยื่นแบบการจดแจ้งการพิมพ์และหลักฐานซึ่งต้องมี รายการ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1 ชอื่ สัญชาติ ถิ่นทีอ่ ยขู่ องผพู้ มิ พ์ ผ้โู ฆษณา บรรณาธิการหรือเจา้ ของกิจการหนังสือพิมพ์แล้วแต่กรณี 2 ชอื่ ของหนังสือพมิ พ์ 3 วตั ถปุ ระสงค์และระยะเวลาออกหนงั สอื พิมพ์ 4 ภาษาทีห่ นงั สือพิมพจ์ ะออกใช้ 5 ชือ่ และท่ีต้ังโรงพิมพ์หรือสถานทพี่ มิ พ์ 6 ช่ือและท่ีตั้งสานักงานของหนังสือพิมพ์ เม่ือพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับการจดแจ้งการพิมพ์และเอกสารตาม วรรคสองแล้ว ให้รับจดแจ้งและออกหนังสือสาคัญแสดงการจดแจ้งให้แก่ผู้ยื่นจดแจ้งโดยไม่ชักช้าเว้นแต่ผู้จด แจ้งดาเนินการไม่ถูกต้องหรือครบถ้วนตาม มาตรา 13 มาตรา 14 มาตรา 15 หรือมาตรา 16 ให้พนักงาน เจา้ หน้าท่ีแนะนาใหผ้ ู้ยื่นจดแจ้งดาเนนิ การให้ถูกต้องและครบถว้ นทุกเร่ืองในคราวเดยี วกนั ภายใน 15 วนั นับแต่ วันท่ีได้รับ แบบการจดแจ้งการพิมพ์และหลักฐานการจดแจ้งเพื่อได้ดาเนินการถูกต้องและครบถ้วนให้จดแจ้ง พร้อมออกหนังสือสาคัญแสดงการจดแจ้งให้แกผ่ แู้ จ้ง มาตรา 12 ในหนงั สือพิมพ์ใหแ้ สดงขอ้ ความ ดงั ต่อไปนี้ 1 ชอื่ ของผู้พมิ พ์และทต่ี ัง้ โรงพมิ พ์ 2 ชอ่ื และท่ตี ้งั ของผโู้ ฆษณา 3 ชื่อของบรรณาธิการ หนังสอื พิมพ์ 4 ชื่อและท่ีตั้งของเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ข้อความตามวรรคหน่ึงให้พิมพ์ไว้ในลักษณะที่เห็นได้ชัด และ บรรดาชือ่ ตามวรรคหนงึ่ มใิ ห้ใชช้ อ่ื ย่อหรือนามแฝง มาตรา 13 ช่ือของหนังสือพมิ พต์ อ้ งไม่มลี ักษณะ ดังตอ่ ไปนี้ 1 ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย พระปรมาภิไธย ย่อพระนามาภิไธย ย่อหรือ นามพระราชวงศ์ 2 ไม่พอ้ งหรอื มงุ่ หมายให้คล้ายพระราชทินนาม เว้นแตร่ าชทนิ นามของตน ของบพุ การีหรอื ของผ้สู บื สันดาน 3 ไมซ่ ้ากบั ชื่อหนงั สือพิมพ์ที่ได้รับการจดแจง้ แลว้

4 ไมม่ ีคาหรือความหมายหยาบคาย มาตรา 14 บรรณาธิการหนงั สือพมิ พต์ ้องมคี ุณสมบัตแิ ละไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดงั น้ี 1 มีอายไุ มต่ า่ กว่า 20 ปบี ริบูรณ์ 2 มถี น่ิ ท่ีอยู่ประจาในราชอาณาจักร 3 ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ 4 ไม่เคยต้องโทษตามคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกเว้นแต่พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีหรือความผิดโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผู้ซึ่งไม่มีสัญชาติไทยผู้ใดประสงค์จะเป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ต้องได้รับ อนญุ าตตามเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไข ท่กี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 15 เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ท่ีเป็นบุคคลธรรมดา ผู้พิมพ์หรือผู้โฆษณาต้องมีคุณสมบัติและไม่มี ลักษณะตอ้ งหา้ ม ดงั ตอ่ ไปนี้ 1 มอี ายไุ มต่ ่ากว่า 20 ปบี รบิ รู ณ์ 2 มสี ัญชาติไทย 3 มถี นิ่ อยู่ประจาในราชอาณาจกั ร 4ไม่เปน็ คนไร้ความสามารถหรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ 5 ไม่เคยต้องโทษตามคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุกเว้นแต่พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีหรือความผิดโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา 16 เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ท่ีเป็นนิติบุคคลต้องมีบุคคลซ่ึงมีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของหุ้นท้ังหมด และต้องมีกรรมการไม่น้อยกว่าสามในส่ีของจานวนกรรมการท้ังหมด เป็นผู้มีสัญชาติไทย ด้วยห้ามมิให้บุคคลใดถือหุ้นแทนบุคคลซึ่งมิได้มีสัญชาติไทยในนิติบุคคลที่เป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ตาม วรรคหนึ่ง เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ที่เป็นนติ ิบุคคลหรือมีบุคคลสัญชาติไทยถือหุ้นมีกรรมการเปน็ ผ้มู ีสัญชาติ ไทยน้อยกว่าจานวนที่กาหนดในวรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เพิกถอนการจดแจ้งทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และ วิธกี าร ทก่ี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 17 ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา บรรณาธิการหรือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ผู้ใดเปล่ียนแปลงรายการอย่างใด อยา่ งหน่งึ ตามมาตรา 11 วรรค 2 ตอ้ งแจง้ ให้พนักงานเจา้ หน้าทีท่ ราบเพื่อดาเนนิ การเปลี่ยนแปลงรายการ ใน หลักฐานการจดแจ้ง ภายใน 30 วันนับแต่วันที่เร่ิมเป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณา บรรณาธิการหรือเจ้าของกิจการ หนงั สือพมิ พ์

หมวด 3 บทกาหนดโทษ สว่ นที่ 1 โทษทางปกครอง มาตรา 19 ผู้พิมพ์หรือผู้พัฒนาผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 8 หรือมาตรา 9 ต้องระวางโทษ ปรับทางปกครองไม่เกิน 10,000 บาท มาตรา 20 ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 12 ต้องระวาง โทษปรบั ทางปกครองไมเ่ กนิ 10,000 บาท มาตรา 21 ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 17 ต้องระวาง โทษปรบั ทางปกครองไมเ่ กิน 20,000 บาท มาตรา 22 ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 18 ต้องระวาง โทษปรบั ทางปกครองไมเ่ กิน 30,000 บาท มาตรา 23 ถ้าการกระทาผิดซึ่งมีโทษปรับทางปกครองเป็นความผิดต่อเน่ืองและพนักงานเจ้าหน้าท่ีมีคาสั่ง ลงโทษทางปกครองสาหรับความผิดน้ัน ผู้กระทาความผิดต้องระวางโทษปรับรายวันอีกนับแต่วันที่มีคาสั่ง ลงโทษปรับทางปกครองดังกลา่ ว ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝนื หรอื จนกวา่ จะปฏิบตั ิใหถ้ กู ต้องในอัตราดงั ต่อไปน้ี 1 กรณีปรับโทษทางปกครองตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ใหป้ รบั อกี วนั ละไมเ่ กิน 1,000 บาท 2 กรณีปรบั ทางปกครองตามมาตรา 21 ให้ปรับอกี วนั ละไม่เกนิ 2,000 บาท 3 กรณปี รบั ทางปกครองมาตรา 22 ใหป้ รับวนั ละไม่เกิน 3,000 บาท มาตรา 24 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีคาสั่งลงโทษปรับทางปกครองแก่ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรือ เจา้ ของส่งิ พิมพ์หรือหนังสือพิมพ์ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการทน่ี ายกรฐั มนตรีประกาศกาหนด ส่วนที่ 2 โทษอาญา มาตรา 25 ผู้ใดออกหนังสือพิมพ์โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ยังไม่ได้รับจดแจ้งตามมาตรา 11 หรือผู้ว่าตนไม่มี คุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามของการเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรือเจ้าของกิจการ หนังสือพิมพ์ แล้วได้เป็น กูพิมพ์ บรรณาธิการ หรือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ โดยฝ่าฝืนมาตรา๗มาตรา 14 มาตรา 15 หรือมาตรา 16 มีความผิดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือ ทั้งจาท้งั ปรับ มาตรา 22 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 16 วรรคสอง มีความผิดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับตั้งแต่ 5 แสน บาทถึง 5 ล้านบาทหรือ ทั้งจาทั้งปรับ และให้ศาลส่ังให้เลิกการใหค้ วามชว่ ยเหลือหรือสนับสนุน หรือส่ังให้เลิก การร่วมประกอบธุรกิจ หรือส่ังให้เลิกการถือหุ้น หรือการเป็นหุ้นส่วน แล้วแต่กรณี หากฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม คาสงั่ ศาลต้องระวางโทษปรบั วนั ละ 50,000 บาทถึง 200,000 บาทตลอดเวลาท่ียังฝนื อยู่ มาตรา 27 ผู้ใดฝา่ ฝนื คาสั่งของผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติตามมาตรา 10 มีความผิดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่ เกินหกหมนื่ บาทหรือทัง้ จาทง้ั ปรับ

บทเฉพาะกาล มาตรา 28 หนังสือพิมพ์ซ่ึงได้แจ้งความแก่เจ้าหน้าท่ีการพิมพ์ตามพระราชบัญญัติการพิมพ์ พุทธศักราช 2484 อยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญตั ิน้ีใชบ้ ังคับ ให้ถือว่าหนังสือพิมพ์ดังกล่าวเป็นหนังสือพิมพ์ท่ีได้จดแจง้ การพิมพ์ตาม บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้แล้ว มาตรา 29 ผู้ใดเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรือเจ้าของกิจการ หนังสือพิมพ์ที่ได้จดแจ้งตามพระราชบัญญัติการพิมพ์ พุทธศักราช 2484 อยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้ บงั คบั ให้ถือว่าเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ที่ได้มีการจดแจ้งการพิมพ์ตาม พระราชบญั ญตั ิน้ีแลว้ หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบญั ญัติฉบับน้ี คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยได้ บัญญัติรับรอง เก่ียวกับสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ และเสรีภาพในการแสดงความ คิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชนกอปรกับพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ. ศ. 2484 คาส่ังของคณะปฏิรูปการ ปกครองแผ่นดิน ฉบับท่ี 5 ลงวันท่ี 6 ตุลาคมพศ 2519 และออกคาสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 36 ลงวันท่ี 21 ตุลาคมพศ 2519 ได้ประกาศใช้บังคับมานานแล้วบทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้อง กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสถานการณ์ในปัจจุบัน นอกจากน้ียังมีกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการ พิมพ์อน่ื ๆ อกี หลายฉบบั บญั ญตั ิรองรบั ไว้เพียงพอ ต่อการคุม้ ครองประโยชนข์ องรัฐและประชาชนแล้ว สมควร ยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการพิมพ์ และออกคาส่ังของคณะปฏิรูปดังกล่าว และให้มีกฎหมายว่าด้วยการจดแจ้ง การพิมพ์เพื่อวางหลักเกณฑ์ในการรับจดแจ้งการพิมพ์เป็นหลักฐานให้ทราบว่าผู้ใดเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบของประชาชนผู้ท่ีได้รับความ เสียหายในการฟ้องร้องดาเนินคดี ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวกระทาผิดกฎหมายอันเนื่องมาจากผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธกิ าร หรือเจา้ ของกจิ การหนังสือพิมพ์ จึงจาเป็นตอ้ งตรา พระราชบัญญัตนิ ้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook