Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จังหวัดกาญจนบุรี

จังหวัดกาญจนบุรี

Published by น้ําฝน ทิมจ้อย, 2019-09-11 02:32:46

Description: จังหวัดกาญจนบุรี

Search

Read the Text Version

1

สารบญั 2 เรื่อง หน้า ประวตั ิและความเป็นมา 4 กาญจนบรุ ใี นยุคประวัตศิ าสตร์ 6 การปกครองของเมืองกาญจนบรุ ี 9 ตราสัญลักษณ์ 11 คาขวญั 12 ต้นไม้ประจาจังหวัด 13 ดอกไม้ประจาจังหวัด 14 ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์ 15 ระยะทางจากอาเภอเมืองไปยังอาเภอต่างๆ 19 การเดินทาง 20 ตัวอย่างโปรแกรมท่องเท่ียว 28 หมายเลขโทรศัพทส์ าคญั 30

3 จังหวดั กาญจนบุรี เปน็ จังหวัดหนง่ึ ในภาคกลางท่มี ีผู้คนนยิ มเดินทางไปท่องเทย่ี ว เตม็ ไปดว้ ยเรอื่ งราวใน อดีตที่น่าสนใจ เป็นแหลง่ อารยธรรมเกา่ แก่ยคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์ เปน็ สถานทีต่ งั้ ของ สะพานขา้ มแมน่ ้าแคว ซ่ึงเป็นสถานท่สี าคัญทางประวตั ศิ าสตร์ของไทยในสมยั สงครามโลกคร้ังที่ 2 และมชี ่อื เสียงโดง่ ดงั ไปทว่ั โลก นอกจากนยี้ งั มแี หล่งท่องเท่ยี ว ทางธรรมชาติทีอ่ ุดมสมบรู ณ์ ไม่วา่ จะเปน็ ป่าเขาลาเนาไพร ถา้ หรือน้าตก

4 ประวตั ิและความเป็นมา พืน้ ท่กี ว้างใหญ่ ซงึ่ เป็นท่ตี ั้ง จ.กาญจนบรุ ี ในปจั จบุ นั มีประวตั ิความเปน็ มา ทต่ี ่อเน่อื ง และยาวนาน ประวตั ิ หน้าสดุ ทา้ ยของกาญจนบุรี ย้อนกลับไปเช่อื มโยงกบั ประวตั ิศาสตร์หนา้ แรก ได้อยา่ งบังเอิญ เม่อื เชลยศกึ ทีถ่ ูกเกณฑ์ มาสรา้ งทางรถไฟคนหนงึ่ คน้ พบเครือ่ งมือหิน ของมนุษย์ ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ระหว่าง การกอ่ สรา้ งทางรถไฟ บรเิ วณ สถานีบ้านเกา่ ต.จระเขเ้ ผือก อ.เมือง ทาให้เกิดการขดุ คน้ ทางโบราณคดี และสามารถ ค้นพบหลักฐานของ มนษุ ย์ก่อนประวตั ศิ าสตรจ์ านวนมาก แมจ้ นถงึ ปัจจบุ นั ยงั ขุดพบอยู่ ● ในสมัยทวารวดี ซึ่งอยใู่ นสมัยประวตั ิศาสตร์ ของ ประเทศไทย พบซาก โบราณสถาน และ โบราณวตั ถุ ที่ ต.ปรงั เผล อ.สังขละบรุ ี (ปัจจบุ ัน เปน็ พน้ื ทอ่ี า่ งเก็บนา้ เขอ่ื นเขาแหลม ) ซึ่งเปน็ เจดีย์ ลกั ษณะเดียวกับ จุลประโทณเจดยี ์ จ.นครปฐม เจดีย์ ท่ีบ้านคูบัว จ.ราชบุรี และที่เมอื งอู่ทอง จ.สพุ รรณบรุ ี นอกจากน้ี ยัง พบฐาน เจดยี ์ และ พระพิมพ์ สมัยทวารดี จานวนมาก ที่ บา้ นทา่ หวี รมิ แม่นา้ แควใหญ่ ต.ลาดหญ้า อ. เมอื ง อกี ด้วย แสดงว่าในสมัยนน้ั พื้นที่ รมิ แมน่ ้าหลายแห่ง ซ่ึงเป็นเสน้ ทาง คมนาคม สาคัญ มีชุมชน หรือ เมอื งโบราณ ซ่ึง มคี วามสัมพนั ธ์ กับชมุ ชน โบราณ ใกล้เคยี งกัน ● ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16-18 ขอม ได้แผ่อิทธพิ ล เข้ามาใน ประเทศไทย ซึ่งพบหลกั ฐานสาคัญ คอื ปราสาทเมอื งสงิ ห์ ซึ่งมีลักษณะเปน็ ศลิ ปะขอม สมัยบายน มีอายุในช่วงสมัย พระเจา้ ชัยวรมันท่ี 7 ในพุทธ ศตวรรษที่ 18 นอกจากนี้ ยงั พบหลกั ฐานที่เปน็ ศลิ ปะขอม สมัยเดียวกนั ท่ีเมอื งครฑุ และ เมืองกลอนโด อ. ไทรโยค ● ในสมัยสโุ ขทัย พบหลักฐาน ในพงศาวดารเหนือ วา่ กาญจนบรุ ี ตกเปน็ เมืองขน้ึ ของ สพุ รรณบรุ ี ตามที่ กลา่ วว่า พญากง ได้มาครอง เมือง กาญจนบุรี แตก่ ็ไม่มีหลักฐานอื่น มาสนับสนุน ตอ่ มา ในสมัย อยธุ ยา กาญจนบรุ ี มีฐานะเปน็ เมืองหน้าด่านสาคัญ โดยตัวเมือง ตั้งอยู่ ท่ีบา้ นท่าเสา ต.ลาดหญา้ ใกล้เขาชนไก่ และ ยงั ปรากฏ หลกั ฐาน เป็นซากโบราณสถาน และ โบราณวตั ถุ ดงั ทเี่ หน็ ในปัจจบุ ัน

5 กาญจนบุรี ยังคงเป็นเมอื งหนา้ ด่าน สืบเนอื่ งมาจนถึง สมัยกรุงธนบุรี และ รัตนโกสนิ ทร์ โดย ในสมยั รัชกาลที่ 1 พระองค์ โปรดเกลา้ ฯ ให้ย้ายเมือง กาญจนบรุ ี มาตง้ั ใหม่ ที่บ้าน ปากแพรก เพ่ือมาต้ังรับทัพ พมา่ ทเ่ี ดนิ ทพั ลงมาตามลาน้าแมก่ ลอง เพ่ือเขา้ ตี กรงุ เทพฯ ได้มกี ารสร้างกาแพงลอ้ มรอบเมือง อย่าง ม่นั คง ใน สมัยรัชกาลที่ 3 และใหม้ เี จา้ เมือง คือ พระประสทิ ธิสงคราม นอกจากน้นั ยังตั้งหัวเมืองเลก็ ๆ ตามรายทาง เปน็ หนา้ ดา่ นอกี เจด็ แหง่ ●สมัยรชั กาลที่ 5 เม่ือมีการจดั รูปแบบการปกครองประเทศใหม่ เป็นมณฑลเทศาภบิ าล เมือง กาญจนบุรี ถกู โอนมาขึน้ กับมณฑล ราชบรุ ี และ แบง่ การปกครองเป็นสามอาเภอ คอื อ.เมือง อ.เหนือ (ปัจจบุ ันคือ อ. ทา่ ม่วง) และ อ.ใต้ (ปัจจุบนั คือ อ.พนมทวน) และต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2467 ไดต้ ั้งอาเภอเพ่ิมอกี สองแห่ง คือ อ.ท่ามะกา และ อ.ทองผาภูมิ กบั ก่ิง อ.สังขละบุรี ในช่วงสงคราม มหาเอเชียบูรพา ญี่ปุ่น ตดั สินใจสรา้ งทางรถไฟ สาย ไทย – พมา่ เชื่อมจากสถานหี นอง ปลาดกุ จ.ราชบรุ ี ผ่าน กาญจนบุรี เลาะรมิ แมน่ ้าแควนอ้ ย ไปเชอ่ื มกับ ทางรถไฟ ท่ีสรา้ งมาจาก พมา่ ท่ี ด่านเจดยี ์สามองค์ เปน็ ทางรถไฟ ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก และมีผคู้ นจานวนมาก เดินทางมาเย่ียมชม เพ่ือคา ราวะ ตอ่ ดวงวิญญาณ ผู้เสียชีวิต และราลกึ ถงึ ความโหดรา้ ย ทารณุ ของสงคราม

6 กาญจนบุรีในยุคประวตั ิศาสตร์ เมือง กาญจนบุรี เป็นเมืองโบราณเกา่ แก่มีประวตั ศิ าสตรค์ วามเป็นมาทุกยคุ สมัย สามารถแบ่ง ออกเป็นยคุ สมัยตามหลักฐานท่ีพบ ได้ดังนี้  สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ เริ่ม ต้ังแต่สมัยเร่มิ กาเนดิ มีมนุษย์ข้ึนในโลก จากสภาพภมู ิศาสตรท์ ี่มีภูเขา แมน่ า้ ปา่ ไม้ สิงสาราสตั ว์ มากมาย เหมาะที่จะเป็นทีต่ ั้งอาศัยของมนุษย์มาตัง้ แต่ในสมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ พบหลกั ฐานทางดา้ น โบราณคดมี ากมายได้แก่ เครอ่ื มือหินกะเทาะ เครอ่ื งมอื สมัยหินใหม่ เครื่องมอื สมยั โลหะ โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดนิ เผา เครือ่ งประดบั ภาพเขยี นสีทผี่ นังถา้ โลงศพ ฯลฯ ตามถา้ เพิงผา และตามลานา้ แควนอ้ ยแคว ใหญ่ ตลอดไปจนลุ่มแม่น้าแม่กลอง ● สมยั ทวาราวดี เมือ่ อนิ เดียไดเ้ ดินทางเขา้ มาคา้ ขาย และเผยแพรพ่ ทุ ธศาสนายังแควน้ สุวรรณภูมิ ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 11 – 16 พบหลักฐานศลิ ปะอินเดียสมัยคุปตะในสมัยทวาราวดี ตามลาน้าแควน้อย แควใหญ่ และแม่กลอง ท่ี บา้ นวังปะโท่ บ้านท่าหวี บา้ นวงั ตะเคียน และพงตึก โบราณวตั ถสุ ถานท่พี ล เช่น ซากเจดีย์ วหิ าร พระพุทธรูป พระพิมพ์ เสมาธรรมจักร ระฆังหนิ เครอื่ งประดับ ภาชนะดนิ เผา และพบตะเกียงโรมันสาริดที่ มอี ายุราว พศ.600 นับเปน็ โบราณวตั ถทุ ่ีเกา่ แกท่ ี่สดุ ของไทย ● สมัยอทิ ธิพลขอม จากหลกั ฐานทางเอกสารที่เก่าแก่ท่ีสุดทีก่ ลา่ วถึงเมืองกาญจนบรุ ี คอื พงศาวดารเหนอื กลา่ วว่า “กาญจนบรุ เี ป็นเมอื งพญากง พระราชทานบิดาของพระยาพาน เป็นเมอื งสาคัญของแควน้ อูท่ อง หรือ สุวรรณภูมิ มผี ู้สนั นิษฐานว่าพญากงสร้างข้ึนราว พ.ศ.1350” ตอ่ มาขอมไดแ้ ผ่อิทธิพลนาเอาศาสนาพุทธ มหายานเข้ามาประดษิ ฐานในเมอื งกาญจนบุรี ปรากฏหลักฐานคอื ปราสาทเมืองสิงห์ เมอื งครุฑ เมืองกลอน โด จนอานาจอิทธพิ ลขอมเสื่อมลงไป

7 ● สมยั อยธุ ยาเป็นราชธานี ในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานี เมืองกาญจนบรุ ีปรากฏชอ่ื เสียงเปน็ ทรี่ ้จู ักกนั ทั่วไป ต้องกลายมาเปน็ เมืองหนา้ ด่าน เพราะตงั้ อย่ตู ิดกบั ประเทศคสู่ งครามคือพมา่ กาญจนบรุ จี ึงเปน็ เส้นทางเดินทพั และสมรภมู ิ ด้วยเหตุวา่ มีช่องทางเดินติดต่อกบั พม่า คือ ดา่ นพระเจดียส์ ามองค์ และดา่ นบ้องตี้ จึงนับว่ามีความสาคญั ท่ีสดุ เมอื งหนึ่งในทางยุทธศาสตร์ ยังปรากฏช่ือสถานทีใ่ นพงศาวดารหลายแห่งเชน่ ด่านพระเจดยี ์สามองค์ สามสบ ท่าดนิ แดง พุตะไคร้ เมอื งดา่ นต่าง ๆ เมอื งกาญจนบุรีตงั้ อยู่ในช่องเขาริมลานา้ แควใหญ่มลี า ตะเพนิ อยู่ทางดา้ นทิศ เหนอื ด้านหลังติดเขาชนไก่ ห่างจากทต่ี งั้ ปัจจบุ ันไปประมาณ 14 กิโลเมตร ชาวบ้านเรยี กกนั วา่ เมืองกาญจนบุรเี ก่ามีผังเมืองเปน็ รปู ส่ีเหลยี่ มผืนผ้า ขนาด 170x355 เมตร มีปอ้ มมุม เมอื งก่อด้วยดนิ และหินทับถมกัน ลักษณะของการตงั้ เมืองเหมาะแก่ยทุ ธศาสตรใ์ นสมัยนัน้ อย่างย่ิง ด้วย เป็นซอกเขาท่สี กัดกั้นพมา่ ที่ยกมาทางด่านพระเจดยี ส์ ามองค์ มุ่งจะไปตีเมืองสพุ รรณบรุ ีและอยธุ ยา จาเป็นต้องตีเมอื งกาญจนบรุ ีใหไ้ ด้เสีย ก่อน หากหลกี เลี่ยงไปอาจจะถูกกองทพั ที่เมืองกาญจนบุรีตี กระหนาบหลัง ปัจจบุ ันยังมีซากกาแพงเมือง ป้องปราการ พระปรางค์ เจดยี ์ และวัดร้างถึง 7 วดั ด้วยกัน สมยั อยธุ ยาน้ีไทยต้องทาสงครามกบั พมา่ ถึง 24 ครงั้ กาญจนบุรีเปน็ สมรภมู หิ ลายคร้งั และเปน็ ทางผ่านไป ตอี ยธุ ยาจนต้องเสยี กรุงครั้งท่ี 2 ในปี พ.ศ.2310 และต้องยา้ ยราชธานีใหม่ ● สมัยธนบรุ ีเปน็ ราชธานี กรงุ ธนบุรเี ปน็ ราชธานีใหมจ่ ากการกูเ้ อกราชโดยพระเจ้ากรุงธนบุรี ในสมัยนี้เกดิ สงครามกับพม่าถึง 10 ครัง้ กาญจนบรุ เี ป็นสมรภมู ิอกี หลายคร้ัง เช่น สงครามท่ีบางกุ้ง และทบี่ างแกว้ ซึ่งมีสมรภูมริ บกันทีบ่ ริเวณบ้าน หนองขาว ● สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทรเ์ ป็นราชธานี เมอ่ื ไทยยา้ ยราชธานีมาอยู่ที่กรงุ เทพฯ เพียง 3 ปี ก็เกิดสงครามใหญ่คอื สงคราม 9 ทัพ แตไ่ ทยสามารถยนั กองทัพพมา่ แตกพา่ ยไปได้ ณ สมรภมู ริ บเหนือทุ่งลาดหญ้าในปตี ่อมาก็ต้องทาสงครามที่สามสบและท่าดนิ แดงอีก และไทยตีเมืองทวาย จากนนั้ จะเป็นการรบกนั เลก็ นอ้ ยและมีแตเ่ พียงขา่ วศกึ เพราะพม่าตอ้ งไปรบ กับอังกฤษในท่สี ดุ ก็ตกเป็นเมืองขนึ้ และเลกิ รบกับไทยตลอดไป ในสมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนต้นยทุ ธศาสตร์ การรบเปล่ยี นไป โดยเหตุท่พี มา่ ต้องนาทัพลงมาทางใตเ้ พ่ือเขา้ ตกี รุงรัตนโกสินทร์ จาเปน็ ต้องมีทัพเรอื ลอ่ ง ลงมาจากสังขละบุรี มาตามลานา้ แควน้อยผา่ นอาภอไทรโยคมายังปากแพรก ซงึ่ เปน็ ท่ีรวมของแม่น้าท้ัง สอง ด้วยเหตุนี้หลังจากสน้ิ สงคราม 9 ทัพแล้ว จึงได้เลอ่ื นทีต่ ้ังฐานทัพจากเมอื งกาญจนบุรที ี่ลาดหญ้า มา

8 ตัง้ ทีต่ าบลปากแพรก ซงึ่ เปน็ ท่รี วมของแมน่ า้ ทง้ั 2 สาย กลายเป็นแม่นา้ แม่กลอง พระบาทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกล้าฯ ทรงอธิบายวา่ “ท่จี รงิ ภมู ิฐานเมืองปากแพรกดกี ว่าเขาชนไก่ เพราะต้งั อยใู่ นทรี่ วมของแม่น้า ทั้ง 2 สาย พื้นแผน่ ดนิ ทีต่ ้งั เมืองกส็ ูงแลเห็นแม่น้าน้อยได้ไกล ปอ้ มกลางยา่ นตัง้ อยูก่ ลางลานา้ ทีเดียว แต่ เมืองกาญจนบรุ ีทย่ี า้ ยมาต้งั ใหมน่ ี้เดิมปักเสาระเนยี ดแลว้ ถมดนิ เป็น เชิงเทินเท่านน้ั ” ในสมัยรัชกาลท่ี 2 กรมหม่นื เจษฎาบดินทร์ไดเ้ สดจ็ ออกมาขดั ตาทพั กาแพงเมอื งก็คงเป็นระเนยี ดไม้อยู่ ต่อมาจนถึง พ.ศ. 2374 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจา้ อย่หู ัว รัชกาลที่ 3 ได้โปรดให้กอ่ สร้างกาแพงเมืองและป้อมปราการ ขึน้ เป็นถาวร ท้ังน้โี ดยมีพระราชประสงค์ส่วนใหญเ่ พ่ือติดตอ่ คา้ ขายกบั เมืองราชบรุ ี ดงั พระราชนพิ นธ์เสดจ็ พระพาสไทรโยค กล่าวไวต้ อนหนึ่งว่า “แตม่ ีเมอื งปากแพรกเปน็ ทค่ี า้ ขาย ดว้ ยเขาชนไกเ่ มอื งเดิมอยเู่ หนอื มากมแี กง่ ถึงสองแกง่ ลกู คา้ ไปมาลาบาก จึงลงมาตัง้ เมืองเสียทปี่ ากแพรกนีเ้ ป็นทางไปมาแก่เมอื งราชบรุ ี งา่ ย เมืองท่ีสร้างขึน้ ใหม่ กว้าง 5 เสน้ ยาว 18 วา มีป้อม 4 มมุ เมือง ปอ้ มย่านกลางด้านยาวตรงหนา้ เมอื ง ทิศตะวนั ตกเฉยี งใตม้ ปี ้อมใหญ่อยู่ตรวเนิน ด้านหลังมีปอ้ มเล็กตรงกบั ปอ้ มใหญ่ 1 ป้อม” การสรา้ งเมือง กาญจนบุรใี หมน่ ี้ ดังปรากฏในศิลาจารกึ ดังน้ี ให้พระยาราชวรินทร์ เจ้ากรมพระตารวจเป็ฯนพระยาประ สิทธสิ งครามรามภักดศี รพี ิเศษประเทศนคิ มภิรมย์ ราไชยสวรรค์พระยากาญจนบุรี คร้ังกลับเขา้ ไปเฝ้าโปรด เกล้าฯวา่ เมืองกาญจนบรุ ีเป็นเมืององั กฤษ พมา่ รามญั ไปมาให้สร้างเมอื งกอ่ กาแพงขน้ึ ไว้จะไดเ้ ป็ฯชาน พระนครเขื่อนเพชรเขอ่ื นขณั ฑ์ มัน่ คงไวแ้ ห่งหนงึ่ ในปจั จบุ ันกาแพงถูกทาลายลงโดยธรรมชาติและหนว่ ย ราชการเพ่ือประโยชน์อยา่ งอ่ืน เหลอื เพียงประตูเมอื งและกาแพงเมอื งบางส่วน

9 การปกครองของเมืองกาญจนบุรี ในสมัยรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ ประกอบดว้ ยเมืองด่าน 8 เมอื ง อยใู่ นแควน้อย 6 เมอื ง แควใหญ่ 2 เมือง ตง้ั ข้นึ เพ่อื ประโยชน์ในทางยุทธศาสตร์ เพราะได้ต้งั ให้พวกมอญอาสา มอญเชลย และกะเหรี่ยง เป็นเจ้าเมอื งปกครองกันเอง เพ่ือให้มีเกียรตศิ ัพท์ดงั ออกไปเมอื งพมา่ ว่ามีหัวเมอื งแน่นหนาหลายชน้ั และมี หน้าท่ีคอยตระเวนดา่ นฟังข่าวคราวข้าศึกตดิ ตอ่ กันโดยตลอด เม่ือสงครามว่างเว้นลงแล้ว เจา้ เมืองกรมการ เหล่านกี้ ็มหี น้าท่สี ่งส่วย ทองคา ดบี กุ และส่งิ อน่ื ๆ แก่รัฐบาลโดยเหตทุ ใี่ นสมัยน้ันมไิ ด้จัดเกบ็ ภาษีอากรจาก พวกเหล่านี้แตอ่ ยา่ ง ใด เมืองดา่ น 7 เมือง(รามญั 7 เมอื ง) ประกอบดว้ ยเมอื งในสุ่มแม่น้าแควนอ้ ย 6 เมือง และแควใหญ่ 1 เมือง คือ  เมอื งสงิ ห์  เมืองลุ่มสุ่ม  เมืองทา่ ตะกวั่  เมอื งไทรโยค  เมอื งทา่ ขนนุ  เมอื งทอผาภมู ิ  เมอื งท่ากระดาน เมืองตา่ งๆ เหล่าน้ีผ้สู าเรจ็ ราชการเมืองยงั ไม่มพี ระนาม ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเปน็ ภาษาสันสกฤตแก่ผูส้ าเรจ็ เมือง ดังนี้ ▪ เมืองสงิ ห์ เป็น พระสมงิ สิงห์บรุ นิ ทร์ ปัจจุบันเปน็ ตน้ สกุล สงิ คบิ ุรินทร์ ธารงโชติ ▪ เมอื งลุ่มสุม่ เปน็ พระนนิ ภมู ิบดี ปจั จุบันเปน็ ต้นสุกล นนิ บดี จา่ เมอื ง หลวงบรรเทา ▪ เมืองทา่ ตะกั่ว เป็นพระชนิ ติฐบดี ปัจจุบันเปน็ ตน้ สกุล ท่าตะกวั่ ชนิ อักษร ชินหงสา ▪ เมืองไทรโยค เป็น พระนโิ ครธาภโิ ยค ปจั จบุ นั เปน็ ต้นสกุล นิโครธา ▪ เมืองทา่ ขนนุ เป็นพระปนัสตฐิ บดี ปจั จุบันเป็นต้นสกลุ หลักคงคา ▪เมอื งทองผาภมู ิ เปน็ พระเสลภมู ิบดี เป็นต้นสกุลเสลานนท์ เสลาคุณ

10 ▪เมอื งท่ากระดาน เป็นพระผลกตฐิ บดี เป็นต้นสกุล พลบดี ตลุ านนท์ ครน้ั เม่ือมีการปกครองตามระเบียบสมัยใหม่ ร.ศ.114 เมืองด่านเหลา่ นีถ้ กู ยบุ ลงเป็นหม่บู า้ น ตาบล กิ่ง อาเภอ เปน็ อาเภอบา้ งตามความสาคญั ของสถานท่ี ดงั น้ี - เมืองทองผาภมู ิ (เดมิ เรียกวา่ ทอ้ งผาภูมิ) ยบุ ลงเปน็ หมาู บ้านอยู้ในเขตก่ิงอาเภอสังขละบรุ (ี ต่อมาเปน็ อาเภอสังขละบุรี) ปจั จุบนั เป็นอาเภอทองผาภูมิ - เมอื งท่าขนุน(สังขละบุร)ี ยบุ ลงเป็นกง่ิ อาเภอสังขละบุรี ข้ึนตอ่ อาเภอวังกะ ซง่ึ ตัง้ ใหม่อยู่หา่ งจากทา่ ขนุนขนึ้ ไป ตงั้ ที่วา่ การริมน้าสามสบ ต่อมาอาเภอวังกะและกง่ิ อาเภอสงั ขละบุรไี ด้ถูกเปล่ยี นฐาน สลับกนั หลายครั้ง และต่อมากง่ิ อาเภอสังขละบุรตี ัง้ อยู่ท่ีตาบลวงั กะ เดมิ ขึ้นตอ่ อาเภอทองผาภูมแิ ละ เปล่ยี นชอื่ เป็นอาเภอสังขละบุรี ส่วนกิ่งอาเภอสังขละบุรีเดมิ ต้งั อยทู่ ่ตี าบลทา่ ขนนุ เปลีย่ นเปน็ อาเภอ ทองผาภูมิ ตง้ั แต่ พ.ศ.2492 เป็นต้นมา - เมอื งไทรโยค ยุบลงเปน็ กิ่งอาเภอวังกะ ใน พ.ศ.2492 ต่อมาได้โอนข้ึนกับอาเภอเมอื งกาญจนบุรี ได้ ยา้ ยที่ทาการหลายครัง้ ปจั จุบนั นีต้ ัง้ ที่ทาการอยู่ที่ตาบลวังโพธ์ิ และได้ยกขึน้ เป็นอาเภอไทรโยค เมื่อ วนั ท่ี 17 กรกฎาคม พ.ศ.2506 - เมอื งทา่ ตะกัว่ ยุบลงเปน็ หมู่บา้ นอยใู่ นตาบลทา่ เสา อาเภอไทรโยค - เมืองลุ่มสุ่ม ยุบลงเปน็ หมู่บ้านในตาบลลุ่มส่มุ อาเภอไทรโยค - เมืองสิงห์ ยบุ ลงเปน็ หมู่บา้ นอยใู่ นตาบลสิงห์ อาเภอไทรโยค

11 ตราสัญลักษณ์ รปู เจดีย์สามองคซ์ งึ่ เป็นปูชนยี สถานทสี่ าคญั ทางศาสนา ของจังหวดั กาญจนบรุ ี ความหมาย สัญลกั ษณเ์ จดีย์สามองค์ทรงป้าน เป็นศลิ ปะแบบมอญ สูงประมาณ 6 เมตร ช่องหา่ ง ระหวา่ งเจดีย์ 5-6 เมตร เสน้ ทางสายน้ใี นอดีตใช้เปน็ เสน้ ทางเดินทพั ที่สาคัญและใกลท้ สี่ ดุ ของประเทศ คศู่ กึ ไทยกับพมา่ หากจะนับแล้วไม่ตา่ กว่า 15 ครั้ง ที่มกี ารยกทัพผ่านเสน้ ทางประวตั ิศาสตร์สายนี้ จากความสาคัญดงั กลา่ ว จึงใช้รปู เจดยี ์สาม องคเ์ ป็นตราประจาจังหวัด และองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั กาญจนบรุ ี เพื่อเปน็ สิง่ เตอื นใจสาหรบั ชนรุ่น หลงั ให้ราลึกถึง วรี กรรมอนั หา้ วหาญของบรรพชนทีย่ อมสละแม้กระทัง่ ชีวติ ในอันท่จี ะพิทักษผ์ ืนแผ่นดนิ ไทยเอาไว้

12 คาขวญั ‘แคว้นโบราณ ด่านเจดยี ์ มณเี มอื งกาญจน์ สะพานข้ามแมน่ ้าแคว แหล่งแรน่ า้ ตก’ ความหมายของแต่ละคา แควน้ โบราณ หมายถึง เป็นดินแดนท่ีมีหลกั ฐานกอ่ นยุคประวตั ศิ าสตร์หรือมากกว่า ๑๐,๐๐๐ ปี ดา่ นเจดีย์ หมายถงึ ในอดีตดา่ นเจดยี เ์ คยเปน็ เมืองหนา้ ด่าน เสน้ ทางประวตั ศิ าสตร์ในการเดินทพั ระหว่าง ไทยกับพม่า มณีเมืองกาญจน์ หมายถงึ เปน็ แหล่งที่มีอัญมณที ี่นยิ มแพร่หลายมาก อาทเิ ชน่ พลอยไพลิน หรือ พลอยสนี า้ เงนิ สะพานขา้ มแม่น้าแคว หมายถงึ สะพานที่มคี วามสาคญั ทางประวตั ิศาสตรส์ มัยสงครามโลกครง้ั ท่ีสอง ซ่งึ ญี่ปุ่นตอ้ งการสรา้ งทางรถไฟสายยทุ ธศาสตร์ขา้ มแม่นา้ แควผ่าน ประเทศพม่า โดยเกณฑเ์ ชลยศกึ สัมพนั ธมิตรเป็นผ้สู ร้าง แหลง่ แรน่ ้าตก หมายถงึ มแี หลง่ ธรรมชาติ แรธ่ าตุ และน้าตก เช่น นา้ ตกไทรโยคซ่งึ เหมาะแก่การศึกษา ธรรมชาตวิ ทิ ยาและเป็นแหล่งการทอ่ งเท่ยี ว

13 ตน้ ไม้ประจาจังหวัด ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Homalium วงศ์ FLACOURTIACEAE ชอ่ื สามัญ Moulmein lancewood ชอ่ื อืน่ ค่านาง ช้างเผอื กหลวง เปลือย ลงิ ง้อ ไมต้ ้น ผลัดใบ สูง 15 – 30 เมตร ลาตน้ เปลาตรง เปลือก สีเทาขาวนวล เรอื นยอดเปน็ พุ่ม ทึบ กงิ่ อ่อนมีขนสีน้าตาลนุ่ม ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั แผน่ ใบรูปไข่กลับ กว้าง 5 – 13 ซม. ยาว 10 – 20 ซม. ขอบใบหยกั คลา้ ยฟันเลอ่ื ย ดอก ดอกเล็ก สีเหลืองอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อ ตามงา่ มใบและปลายกิ่ง ผล เลก็ มฐี านดอกขยายคล้ายปีกติดที่ข้ัวผล นเิ วศวิทยา ขึน้ ในปา่ เบญจพรรณชนื้ พบมากในเขตจังหวัดกาญจนบรุ ี ราชบรุ ี บริเวณทีเ่ ปน็ เขาหนิ ปูน ทสี่ ูงจากระดับนา้ ทะเล 100 – 350 เมตร ออกดอก ธนั วาคม – มกราคม ผลแก่ มีนาคม – พฤษภาคม ขยายพนั ธุ์ โดยเมลด็ ประโยชน์ เนอ้ื ไม้สนี ้าตาลอมเหลือง แข็ง เหนยี ว ใช้ทาเครอื่ งเรอื น เสา ด้ามเครือ่ งมอื ทางการเกษตร

14 ดอกไมป้ ระจาจงั หวัด ดอกไมป้ ระจาจงั หวดั ดอกกาญจนิกา ชือ่ ดอกไม้ ดอกกาญจนกิ า ชือ่ สามญั Night Flower Jasmin ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Nyctathes arbotristis ลกั ษณะทั่วไป เป็นไม้พมุ่ ยนื ตน้ ขนาดกลางสงู ประมาณ 15 เมตร ใบเดย่ี วออกเป็นคู่ สลบั กันไปตามข้อของต้น สีเขยี วมี ขนออ่ นๆ ออกดอกเป็นช่อ ตามสว่ นยอดและโคนกา้ นใบ แตล่ ะช่อมดี อกประมาณ 5-8 ดอก ดอกสขี าวมี 6 กลีบ กลีบดอกจะบดิ เวียนไปทางขวางคลา้ ยกงั หัน ปลายกลีบเหมือนหางปลา วงในดอกเปน็ สีแดงแสด หลอดดอกสีแง เกสรเป็นเส้นเล็กละเอยี ดซ้อนอยใู่ นหลอดดอก มีกลน่ิ หอม บานกลางคนื ออกดอกตลอดปี การขยายพันธ์ุ เพาะเมล็ด ตอนกิง่ และปักชา สภาพที่เหมาะสม ดินร่วนซยุ ระบายน้าไดด้ ี ความช้ืนปานกลาง แสงแดดจดั ถิน่ กาเนดิ ประเทศอินเดีย

15 ลักษณะทางภมู ิศาสตร์ - ทต่ี งั้ และอาณาเขต จงั หวัดกาญจนบรุ ีอย่หู ่างจากกรุงเทพฯไปทางทศิ ตะวนั ตก ประมาณ ๑๒๙ กโิ ลเมตร ตามเสน้ ทาง นครปฐม – บา้ นโปง่ – กาญจนบรุ ี มีพ้ืนท่ีทง้ั หมด ๑๙,๔๘๓,๑๔๘ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๒ ล้านไร่ มีขนาดพื้นทีใ่ หญ่เปน็ อนั ดับ ๓ ของประเทศรองจากจงั หวัดนครราชสีมาและจงั หวดั เชยี งใหม่ - อาณาเขต ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับจงั หวดั ตากและจังหวดั อุทยั ธานี ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับจังหวัดสุพรรณบรุ แี ละนครปฐม ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั ประเทศพม่า ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั จังหวัดราชบุรี - ลักษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภมู ิประเทศจงั หวัดกาญจนบรุ ี แบ่งออกได้ ๓ ลักษณะดังนี้ ๑. เขตภเู ขาและที่สูง พนื้ ที่ทางด้านทิศเหนอื ของจงั หวัด ไดแ้ กบ่ รเิ วณอาเภอสังขละบุรี อาเภอทองผาภูมิ อาเภอศรสี วัสดิแ์ ละอาเภอไทรโยค มลี ักษณะเป็นเทือกเขาต่อเนื่องมาจากเทอื กเขาถนนธงชัยถดั ไปทางดา้ นตะวันตกของจังหวัด เทือกเขา ตะนาวศรซี ่งึ ก้ันพรมแดนระหวา่ งไทยกบั ประเทศเมียนมารท์ อดยาวลงไปทางดา้ นใต้ บริเวณนีจ้ ะเปน็ แหลง่ กาเนิดต้นน้าที่สาคัญของจังหวดั คอื แมน่ ้าแควใหญ่ และแควน้อย ๒.เขตทีร่ าบลกู ฟูก ไดแ้ ก่พืน้ ท่ีตะวันออกเฉียงเหนอื ของจังหวดั มลี กั ษณะเป็นทีร่ าบเชิงเขาสลับกบั เนนิ เขา เตีย้ ๆ อยู่บริเวณอาเภอเลาขวญั อาเภอบ่อพลอยและบางส่วนของอาเภอพนมทวน

16 ๓ เขตทรี่ าบลุ่มนา้ ได้แก่พนื้ ที่ทางดา้ นใต้ของจงั หวัด ลักษณะเปน็ ที่ราบ ดนิ มคี วามอุดมสมบรู ณ์ อยู่ บริเวณอาเภอท่ามะกา อาเภอท่าม่วงและบางส่วนของอาเภอพนมทวน อาเภอเมืองกาญจนบุรี - ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูกาล ฤดูรอ้ น ระหว่าง กลางเดือนกมุ ภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม มีลมฝ่ายใต้พัดมาปกคลุม ทาให้มอี ากาศ ร้อนอบอา้ วทั่วไป โดยมีอากาศรอ้ นจดั อยู่ในเดอื นเมษายน ฤดูฝน ระหวา่ งกลางเดือนพฤษภาคม ถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน ในระยะนี้เปน็ ชว่ งทีล่ มมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้ พดั ปกคลุม ทาให้มฝี นตกชุก โดยตกชกุ ท่ีสุดในเดือนกนั ยายน ฤดหู นาว ระหว่างเดือนพฤศจกิ ายนถึงกลางเดือนกมุ ภาพันธ์ โดยในช่วงนี้ ความกดอากาศสูงจากประเทศ จนี และลมมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือพดั ปกคลุมทาให้อากาศหนาวเยน็ และความแห้งแล้งแผป่ กคลุม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบรุ ีมีอณุ หภมู ิต่าสดุ โดยเฉลี่ย ๒๓.๗ องศาเซลเซยี ส อณุ หภูมสิ ูงสุด โดยเฉลย่ี ๓๔.๐ องศา เซลเซียส และอุณหภูมิต่าท่ีสดุ วดั ได้ ๑๓.๑ องศาเซลเซียส (เมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๙ อุณหภมู ิสูงสุด วัดได้ ๔๐.๙ องศาเซลเซียส ( เมื่อ ๑ เมษายน ๒๕๓๙) ปรมิ าณน้าฝน เฉลยี่ ๑,๔๙๖.๒ มลิ ลเิ มตร/ปี ประชากร จังหวดั กาญจนบรุ ี มีประชากรทัง้ สิ้น ๗๘๖,๐๐๑ คน เปน็ ชาย ๓๙๘,๖๓๙ คน เปน็ หญงิ ๓๘๗,๓๖๒ คน (ข้อมลู ณ เดือน ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๓) ความหนาแนน่ ของประชากรประมาณ ๒๕ คน/ตารางกิโลเมตร

17 เขตการปกครอง จงั หวัดกาญจนบรุ ี แบง่ การปกครองออกเป็น ๑๓ อาเภอ ๙๕ ตาบล ๙๐๕ หมบู่ า้ น ๒๒๐,๑๒๖ หลงั คา เรอื น เทศบาล ๒๗ แห่ง และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ๙๕ แหง่ (ขอ้ มูลปี ๒๕๔๔) อาเภอต่างๆ ได้แก่ อาเภอเมือง อาเภอไทรโยค อาเภอบอ่ พลอย อาเภอศรีสวสั ดิ์ อาเภอทา่ มะกา อาเภอท่า ม่วง อาเภอทองผาภูมิ อาเภอสังขละบรุ ี อาเภอพนมทวน อาเภอเลาขวัญ อาเภอดา่ นมะขามเตี้ย อาเภอหนองปรอื และอาเภอห้วยกระเจา - สภาพเศรษฐกจิ สภาพเศรษฐกจิ ของจงั หวดั กาญจนบุรี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ พบว่าประชากรมีรายได้เฉล่ียตอ่ หัว ๔๘,๗๔๐ บาทต่อปี เป็นอนั ดบั ท่ี ๑๙ ของประเทศ โดยทั้งจังหวัดมีผลิตภณั ฑม์ วลรวม ๓๒,๕๕๘,๒๗๓ ลา้ นบาท รายไดส้ ่วนใหญ่ขึ้นอย่กู บั สาขาเกษตรร้อยละ ๓๕.๕๖ คิดเปน็ มูลคา่ ๑๑,๕๗๖,๒๖๘ ล้านบาท รองลงมา เปน็ การคา้ สง่ และการคา้ ปลกี รอ้ ยละ ๒๐.๓๐ คดิ เป็นมลู ค่า ๖,๖๐๙,๐๘๗ ลา้ นบาท และสาขาอตุ สาหกรรม รอ้ ยละ ๑๖.๓๐ คดิ เปน็ มูลค่า ๕,๓๐๖,๑๓๐ ล้านบาท อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจร้อยละ ๔.๔๐ ในปี ๒๕๔๐ ประชากรมรี ายได้เฉลีย่ ต่อคนตอ่ ปี ๖๔,๙๓๘ บาท - การเกษตรกรรม จังหวัดกาญจนบรุ มี ีพ้นื ที่ ๑๒,๑๗๖,๙๖๗ ไร่ เป็นอนั ดับสามของประเทศแต่สัดสว่ นพ้นื ทีท่ าการเกษตรตอ่ พน้ื ท่ที งั้ หมด ค่อนข้างต่า เนอื่ งจากพืน้ ที่ส่วนใหญ่เปน็ ภเู ขาและป่าไม้ พชื เศรษฐกจิ ที่สาคัญ ๓ อันดับแรก คือ อ้อย ข้าว มันสาปะหลงั - การอุตสาหกรรม อตุ สาหกรรมเปน็ สาขาการผลิตทีม่ ีมูลคา่ สูงทส่ี ดุ ของจังหวัดกาญจนบุรี มอี ัตรา การขยายตวั กวา่ ร้อยละ ๑๐ ต่อปี การประกอบอุตสาหกรรมในจงั หวดั กาญจนบุรี ได้แก่ อุตสาหกรรมนา้ ตาล อุตสาหกรรมแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร อตุ สาหกรรมเกย่ี วกับการก่อสร้าง อุตสาหกรรมการผลิตอัญมณี เปน็ ต้น

18 - การท่องเที่ยว จังหวดั กาญจนบรุ มี ศี กั ยภาพในการพฒั นาการท่องเทีย่ วสูงมาก เน่อื งจากสมบูรณ์ ไปดว้ ยแหล่งท่องเท่ียว ทางธรรมชาติและแหล่งท่องเทย่ี ว ทางประวตั ศิ าสตร์ จึงทาให้จังหวัดกาญจนบุรมี ีจานวนนักท่องเทยี่ วจากตา่ งประเทศเดนิ ทางมามากทีส่ ดุ ในภาคตะวนั ตก - สาธารณปู โภค มกี ารประปาส่วนภูมภิ าค การประปาของเทศบาลสุขาภิบาล และประปาของเอกชน สาหรับเข่ือนทใ่ี ชเ้ ปน็ แหล่งผลิตไฟฟา้ โดยใช้พลังนา้ ของการไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย มี ๓ แห่ง คือ เข่อื นศรนี ครินทร์ เขือ่ นเขาแหลม เข่ือนทา่ ทุ่งนา และการคมนาคมสามารถติดต่อกบั จังหวดั ตา่ ง ๆไดท้ ั้งทางรถยนต์และรถไฟ - การโทรคมนาคมและการสอ่ื สาร มที ่ที าการไปรษณีย์โทรเลขทุกอาเภอ รวม ๑๖ แหง่ และท่ที าการไปรษณีย์อนญุ าตเอกชน จานวน ๒๖ แหง่ และชุมสายโทรศัพท์ ๑๕ ชุมสาย ชมุ สายบรษิ ทั ร่วมการงาน (TT&T) ๓๒ ชุมสาย จานวนค่สู ายโทรศัพท์ ๑๗,๙๐๐ คู่สาย และจานวน หมายเลขโทรศพั ท์ ๒๐,๑๕๖ เลขหมาย - บรกิ ารสาธารณสุข มโี รงพยาบาลภาครัฐ ๑๔ แห่ง โรงพยาบาลเอกชน ๕ แหง่ สาธารณสุขชุมชนประจาจงั หวดั ๒ แห่ง สถานี อนามัย ๑๓๐ แห่ง หนว่ ยมาเลเรีย หนว่ ยโรคเทา้ ช้าง และหน่วยกามโรค อยา่ งละ ๑ แห่ง - การศึกษาและการศาสนา ประชาชนสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ ๙๐ เป็นชาวพทุ ธ สาหรับศาสนสถานตา่ ง ๆ มีวัดพทุ ธ ๔๒๗ แห่ง สานักสงฆ์ ๑๗๐ แห่ง ท่พี กั สงฆ์ ๑๐๔ แห่ง มสั ยดิ ๓ แห่ง โบสถ์คริสต์ ๑๑ แห่ง การศกึ ษาในระบบโรงเรียน มีโรงเรียนรวมทงั้ สน้ิ ๕๔๔ แหง่ การศึกษานอกระบบ โรงเรียน จานวน ๒๔ แหง่

19 ระยะทางจากอาเภอเมืองไปยงั อาเภอตา่ งๆ อาเภอเมอื ง – กิโลเมตร อาเภอทา่ ม่วง 12 กิโลเมตร อาเภอพนมทวน 24 กิโลเมตร อาเภอท่ามะกา 30 กิโลเมตร อาเภอด่านมะขามเตี้ย 30 กิโลเมตร อาเภอบอ่ พลอย 40 กิโลเมตร อาเภอไทรโยค 50 กโิ ลเมตร อาเภอหว้ ยกระเจา 64 กโิ ลเมตร อาเภอหนองปรอื 75 กโิ ลเมตร อาเภอเลาขวญั 98 กโิ ลเมตร อาเภอศรีสวัสดิ์ 102 กิโลเมตร อาเภอทองผาภมู ิ 145 กโิ ลเมตร อาเภอสังขละบุรี 230 กิโลเมตร

20 การเดนิ ทาง ทางรถยนต์ ไปตามถนนเพชรเกษมหรอื ไปตามถนนบรมราชชนนี ผา่ นนครชัยศรี นครปฐม บา้ นโปง่ ท่ามะกา ทา่ ม่วง ถึงจังหวดั กาญจนบรุ ี รวมระยะทาง 129 กิโลเมตร ใชเ้ วลาประมาณหนง่ึ ช่ัวโมงครึ่ง หรอื ใช้ทางพิเศษเฉลมิ มหานคร สอบถามเพ่ิมเติม โทร. 1543 รถโดยสารประจาทางปรับอากาศ ออกจากสถานีขนส่งสายใต้ รถปรบั อากาศชัน้ หนง่ึ (ว่ิงสายใหมเ่ สน้ ถนนบรมราชชนนี-นครชัยศร)ี ออกทุก 20 นาที ตั้งแตเ่ วลา 05.00-22.30 น. รถปรับอากาศช้ันสองออกทกุ 20 นาที มีบริการ 2 เสน้ ทาง คอื เส้นทางสายเกา่ (ถนนเพชรเกษม-อ้อมใหญ่-นครชัยศร)ี และเส้นทางสายใหม่ (ถนนบรมราชชนนี-นครชัย ศร)ี ต้งั แตเ่ วลา 05.10-21.00 น. ใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชัว่ โมง สอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเติมได้ที่ กาญจนบุรที ัวร์ โทร. 0 2435 5012 หรอื ทเี่ วบ็ ไซต์ http://www.transport.co.th/ รถไฟ ออกจากสถานรี ถไฟบางกอกน้อย วนั ละ 2 เที่ยว เวลา 07.40 น. และ 13.50 น. แวะจอดทีส่ ถานี กาญจนบรุ ี สะพานข้ามแมน่ ้าแคว ทา่ กเิ ลน สถานีน้าตก ใช้เวลาประมาณ 4 ช่ัวโมงครึ่ง สอบถาม รายละเอยี ดเพ่ิมเติมได้ที่สถานีรถไฟบางกอกนอ้ ย โทร. 0 2411 3102 การเดนิ ทางภายในจังหวดั สถานขี นสง่ กาญจนบุรี ถ.แสงชโู ต มบี รกิ ารรถโดยสารภายในจงั หวัดที่ค่อนข้างสะดวก มรี ถโดยสารไปยัง อาเภอต่างๆ เชน่ อาเภอบ่อพลอย อาเภอหนองปรือ อาเภอทองผาภมู ิ และอาเภอสงั ขละบุรี หรอื เดนิ ทาง ไปยงั สถานทท่ี ่องเทย่ี วตา่ งๆ เชน่ นา้ ตกเอราวัณ น้าตกเขาพัง น้าตกไทรโยคใหญ่ รายละเอียดสอบถาม สถานขี นส่งกาญจนบรุ ี โทร. 0 3451 1182

21 เทศกาล/งานประเพณี ราเหยย่ เทศกาลตรษุ สงกรานต์ ปใี หม่ เป็นการละเล่นพ้ืนเมืองของชาวกาญจนบรุ ีมาแตบ่ รรพกาลราวๆ 500 ปเี ศษ มาแล้ว จะเล่นกนั ในเทศกาลตรษุ สงกรานต์ ปีใหม่ เป็นต้น วธิ กี ารเล่น คอื ฝ่ายชายฝ่ายหญิงยนื ลอ้ มวงกัน มีการร้องนา ร้องแก้ และลูกคู่ ร้องรับพร้อมปรบมือเปน็ จังหวะ ขณะร้องแกน้ ้ันฝา่ ยชายและฝ่ายหญิง จะ ออกมาร่ายราทีละคู่เปล่ียนกันไป มีกลองยาวหน่งึ วง การแต่งกาย ชายนงุ่ โจงกระเบน ใสเ่ สอื้ คอกลม ผา้ ขาวมา้ พาดไหล่ หญิงแต่งชุดไทยห่มสไบเฉียง ปจั จบุ ันนยิ มเลน่ กันในเขตท้องที่อาเภอพนมทวนเทา่ น้นั งานเทศกาลชาวเรอื ชาวแพ จดั ขนึ้ เปน็ ประจาทกุ ปีในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนที่บรเิ วณถนนสองแคว รมิ น้าหน้าเมอื งกาญจนบุรี ภายในงานมกี ิจกรรมการละเลน่ พ้นื บ้าน การแสดงมหกรรมลกู ทุ่ง นิทรรศการทางวิชาการ เกย่ี วกบั การ อนรุ กั ษ์แม่นา้ ลาคลอง และการแข่งขนั กฬี าทางน้าประเภทตา่ งๆ อาทิ เรอื ยาว เรอื เร็ว เจ็ตสกี เปน็ ต้น งานวนั อาบนา้ แร่แช่น้าตก ในชว่ งต้นเดือนพฤศจิกายน บริเวณพุนา้ รอ้ นหินดาด หมู่ 5 ตาบลหนิ ดาด อาเภอทองผาภมู ิ ภายในงานมี กิจกรรมออกร้านผลติ ผล และผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร นทิ รรศการการท่องเท่ียวของอาเภอทองผาภมู ิ นกั ทอ่ งเที่ยวยงั จะได้อาบน้าแร่ทพ่ี ุน้ารอ้ นหินดาด และเทีย่ วชมความงามของน้าตกผาดาด งานสปั ดาห์สะพานข้ามแมน่ ้าแคว ปลายเดือนพฤศจกิ ายนถึงต้นเดอื นธนั วาคม บริเวณสะพานขา้ มแมน่ ้าแคว เพ่ือราลกึ ถึงความสาคญั ของ การสรา้ งทางรถไฟสายมรณะและสะพานข้ามแม่นา้ แคว ซึ่งเปน็ เหตุการณป์ ระวตั ิศาสตรช์ ว่ งสงครามโลก ครงั้ ท่ี 2 มีการแสดงนทิ รรศการทางประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี การแสดงพ้ืนบา้ น การออกร้านจาหนา่ ย สินคา้ ต่างๆ กจิ กรรมบนั เทงิ และการแสดงแสงและเสยี ง

22 สถานทท่ี อ่ งเทีย่ ว “แควน้ โบราณ ดา่ นเจดยี ์ มณเี มืองกาญจน์ สะพานขา้ มแม่น้าแคว แหล่งแร่น้าตก” “เมอื งกาญจน์” หรือ กาญจนบรุ ี เป็นจังหวัดหน่งึ ในภาคกลางทมี่ ีผคู้ นนยิ ม เดนิ ทางไปทอ่ งเท่ยี ว เป็นจานวนมาก “เมอื งกาญจน์” เต็มไปด้วยเร่ืองราวในอดตี ทน่ี า่ สนใจ แหลง่ อารยธรรมเกา่ แกย่ ุคก่อน ประวตั ิศาสตร์ และเป็นสถานทต่ี ้ังของสะพานข้ามแม่นา้ แคว ซงึ่ เป็นสถานที่สาคญั ทางประวัติศาสตรข์ อง ไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมชี ่อื เสียงโด่งดังไปท่ัวโลก นอกจากน้ี ยังมีแหล่งทอ่ งเท่ียวทาง ธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบูรณ์ ไม่วา่ จะเป็นป่าเขาลาเนาไพร ถ้าและน้าตก กาญจนบุรีอยู่หา่ งจากกรุงเทพฯ 129 กิโลเมตร มพี ้ืนทีป่ ระมาณ 19,473 ตารางกโิ ลเมตร แบ่งการ ปกครองออกเปน็ 13 อาเภอ คอื อาเภอเมือง อาเภอบอ่ พลอย อาเภอเลาขวัญ อาเภอพนมทวน อาเภอไทร โยค อาเภอสังขละบุรี อาเภอศรีสวัสด์ิ อาเภอท่ามะกา อาเภอทา่ มว่ ง อาเภอทองผาภมู ิ อาเภอด่านมะขาม เตยี้ อาเภอหนองปรอื และอาเภอหว้ ยกระเจา ภูมิประเทศสว่ นใหญเ่ ป็นปา่ มที ัง้ ปา่ โปรง่ และป่าดงดิบ มี แม่น้าสาคัญสองสาย คือ แม่นา้ แควใหญแ่ ละแมน่ ้าแควน้อย ซ่ึงไหลมาบรรจบรวมกนั เป็นแมน่ ้าแมก่ ลอง ทีบ่ ริเวณอาเภอเมืองกาญจนบรุ ี

23 พรอ้ มมติ ร ฟิล์ม สตูดโิ อ สถานท่ถี า่ ยทาภาพยนตร์ ตานานสมเด็จพระนเรศวร พร้อมมิตร ฟลิ ์ม สตดู ิโอ สถานทถ่ี า่ ยทาภาพยนตร์ เรือ่ ง ตานานสมเดจ็ พระนเรศวร ภาพยนตร์ ประวตั ิศาสตร์ที่สรา้ งความภาคภมู ใิ จให้กับชาวไทยทัง้ มวล ชมความสวยงามอลงั การของฉากต่างๆ จาก ในภาพยนตร์ท่ที ่านจะได้สมั ผสั จรงิ ในพ้ืนท่ีกวา่ 2,000 ไร่ อาทิ วัดมหาเถรคนั ฉอ่ ง ห้องเก็บพระแสงปืนต้น อาณาจักรหงสาวดี สีหสาสนบัลลังก์ คกุ ใต้ดนิ นอกจากน้ี นักทอ่ งเที่ยวยงั สามารถรว่ มกิจกรรมสนุกตา่ งๆ อาทิ การแตง่ กายชุดประวัติศาสตร์ ข่ีมา้ ขชี่ ้าง นงั่ เกวียน อุทยานแห่งชาตถิ า้ ธารลอด อาเภอศรีสวสั ด์ิ จ.กาญจนบุรี อุทยานแห่งชาตถิ า้ ธารลอด (เดิมชื่ออุทยานแห่งชาติเฉลมิ รัตนโกสนิ ทร)์ มีเน้ือท่ี 36,875 ไร่ ประกาศ เปน็ อทุ ยานฯ เมอื่ วันที่ 12 กุมภาพนั ธ์ 2523 มีสถานที่ท่ีนา่ สนใจหลายแหง่ อาทเิ ช่น เส้นทางเดินปา่ ในเขต อทุ ยานฯ ซ่ึงแบง่ ออกเป็น 2 เส้นทาง คอื เส้นทางแรก เป็นเสน้ ทางเดนิ ป่าจากถา้ ธารลอดน้อยถงึ ถ้าธารลอดใหญ่ ภายในถ้าธารลอดน้อยจะเห็นหินงอก หินยอ้ ยสวยงาม และมลี าธารไหลผ่านภายในถ้าช่อื ลากระพร้อย เมอ่ื พ้นถา้ ธารลอดน้อยออกมาจะต้อง เดนิ ป่าต่อไปอีก 1.5 กิโลเมตร จะถึง น้าตกไตรตรงึ ษ์ เดินต่อไปอกี ราว 1 กโิ ลเมตร จะถึงถ้าธารลอดใหญ่ รวมระยะทาง 2.5 กโิ ลเมตร

24 เส้นทางทส่ี อง เป็นเส้นทางเดินป่าไปยงั นา้ ตกธารเงนิ และนา้ ตกธารทอง ระยะทางประมาณ 1.8 กิโลเมตร อุทยานแห่งชาตเิ ขาแหลม อาเภอสงั ขละบรุ ี จ.กาญจนบรุ ี อทุ ยานแห่งชาติเขาแหลม อยหู่ า่ งจากตวั เมืองประมาณ 180 กโิ ลเมตร ตงั้ อยู่ริมทางหลวงหมายเลข 323 (ทองผาภูมิ – สังขละบุรี) กโิ ลเมตรท่ี 39 – 40 กอ่ นถึงอาเภอสงั ขละบรุ ปี ระมาณ 30 กิโลเมตร พื้นท่ี ครอบคลมุ ท้องทอี่ าเภอทองผาภมู ิและอาเภอสังขละบุรี ป่าเขา และอ่างเก็บนา้ เข่ือนวชิราลงกรณ์ (เขา แหลม) เปน็ ต้น มีพ้นื ท่ีประมาณ 815 ตารางกโิ ลเมตร บรเิ วณอุทยานฯ รม่ รืน่ มหี ้วยกระเต็งเจ็งไหลผา่ น สามารถกางเต็นท์พักแรมได้ และมีเสน้ ทางเดินศกึ ษาธรรมชาติไปนา้ ตกกระเต็งเจ็ง นา้ ตกกระเต็งเจ็ง อยใู่ กลก้ บั ท่ีทาการอุทยานแห่งชาติเขาแหลม เป็นนา้ ตกขนาดกลางทีม่ ีความสูง ประมาณ 30 เมตร มีชัน้ น้าตกถงึ 23 ช้ัน แตล่ ะชั้นมีความงามแตกต่างกนั ออกไป เหมาะกับการทศั นศึกษา ดูสภาพปา่ ชนิดต่างๆ ไม่วา่ จะเปน็ ป่ากลว้ ย ป่าไผ่ ป่าดิบ ปา่ เบญจพรรณ และมตี ้นไม้ขนาด 13 คนโอบ การไปชมนา้ ตกกะเต็งเจ็ง จากท่ีทาการอทุ ยานฯ นน้ั ต้องเดนิ เทา้ ตอ่ ไปอีกประมาณ 2 – 3 ชว่ั โมง เปน็ ระยะทางประมาณ 2 กโิ ลเมตร

25 เข่ือนศรนี ครินทร์ อาเภอศรีสวัสด์ิ จ.กาญจนบุรี เข่อื นศรีนครินทร์ อยู่ห่างจากน้าตกเอราวัณ ประมาณ 4 กโิ ลเมตร ทางตอนบนของแม่นา้ แควใหญ่ เปน็ เข่ือนหินถมแกนดนิ เหนียวท่ีใหญท่ ี่สดุ ในประเทศไทย ก้นั แม่นา้ แควใหญ่ เป็นเขอ่ื นเอนกประสงค์ท่ีอานวย ประโยชน์ท้ังในดา้ นการชลประทาน การลดอทุ กภัยในลุม่ แม่น้าแมก่ ลอง รวมทั้งการผลติ กระแสไฟฟา้ การ ประมง และเหนือสันเขอ่ื นยังมีทิวทศั นท์ ีส่ วยงามเหมาะสาหรบั เป็นท่พี ักผ่อนหย่อนใจ อีกด้วย สสุ านทหารสัมพนั ธมิตรดอนรัก อาเภอเมอื ง จ.กาญจนบุรี สุสานทหารสัมพันธมิตรดอนรัก ตง้ั อยรู่ ิมถนนแสงชโู ต (ทางหลวงหมายเลข 323) ก่อนจะเข้าตัวเมือง สุสานแห่งนี้เปน็ สสุ านของเชลยศึกสมั พันธมิตร ท่ีเสียชวี ติ ในระหวา่ งการสรา้ งทางรถไฟสายมรณะ บรเิ วณ สุสานมีเน้อื ทกี่ วา้ งขวางสวยงามและเงียบสงบ ชวนใหร้ าลึกถงึ เหตกุ ารณก์ ารสู้รบและผลลพั ธท์ ี่ตามมา ทัง้ น้ี สสุ านแห่งน้บี รรจุศพทหารเชลยศึกถงึ 6,982 หลมุ (อู้ว)

26 ชอ่ งเขาขาดพิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ความทรงจา อาเภอเมือง จ.กาญจนบรุ ี ช่องเขาขาดพิพิธภัณฑสถานแหง่ ความทรงจา ตัง้ อยู่ภายในกองการเกษตรและสหกรณ์ สานักงาน ทหารพฒั นา หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา บรเิ วณกิโลเมตรท่ี 64 – 65 บนทางหลวงหมายเลข 323 (กาญจนบุรี – ไทรโยค – ทองผาภมู ิ) เปน็ สถานที่จัดแสดงมินิเธียเตอร์ และรวบรวมข้อมลู ภาพถ่าย ข้าว ของเครือ่ งใชร้ ะหว่างการสร้างทางรถไฟสมัยสงครามโลกครงั้ ที่ 2 โดยรัฐบาลออสเตรเลยี ได้จัดตง้ั พิพธิ ภัณฑข์ นึ้ พิพิธภณั ฑน์ ี้จัดไวอ้ ย่างเปน็ ระเบียบสวยงาม ภายในบรเิ วณมเี ส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติไป ยังช่องเขาขาด ซงึ่ เป็นสวนหน่งึ ของทางรถไฟสายมรณะท่ีเชลยศกึ ในสมัยสงครามโลกคร้งั ที่ 2 ตัดเจาะ ภเู ขาหนิ ด้วยมือปราศจากเครื่องมืออันทนั สมัย ใหเ้ ปน็ ช่องสาหรบั สรา้ งทางรถไฟ ปัจจุบันยังมรี อ่ งรอยของ ทางรถไฟปรากฏให้เห็นอยู่ อุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค อาเภอไทรโยค จ.กาญจนบุรี อทุ ยานแห่งชาติไทรโยค มีเน้ือท่ี 598,750 ไร่ ประกาศเปน็ อุทยานฯ เมือ่ วนั ที่ 27 ตุลาคม 2523 สภาพ พ้ืนท่ีส่วนใหญเ่ ป็นภเู ขาหินปูน ประกอบด้วยพน้ื ที่ปา่ เบญจพรรณและป่าดบิ แล้ง ไทรโยคได้ชือ่ วา่ เปน็ พืน้ ที่ แหง่ เดียวในประเทศไทยที่มีคา้ งคาวทเี่ ล็กทีส่ ุด ในโลก คือ ค้างคาวกติ ติ และ ปรู าชนิ ี ปูนา้ จดื ชนดิ ใหมข่ อง โลก อาศัยอยูใ่ นสมัยสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ไทรโยคเคยเป็นค่ายพกั แรมของทหารญีป่ ่นุ ปัจจบุ นั ปรากฎ ร่องรอยเตาหุงข้าวและซากเตาไฟอย่ใู นพนื้ ท่ี นอกจากนี้ ยังพบร่องรอยมนษุ ย์ยุคหินเกา่ อีกด้วย

27 ทางรถไฟสายมรณะ อาเภอเมือง จ.กาญจนบุรี ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายนเ้ี รม่ิ ต้นจากสถานีหนองปลาดุก อาเภอบา้ นโป่ง จงั หวัดราชบรุ ี ผา่ น เขา้ กาญจนบุรีขา้ มแมน่ า้ แควใหญ่ไปทางทศิ ตะวนั ตกผา่ นดา่ นเจดียส์ ามองค์ จนถงึ ปลายทางทเ่ี มอื งตันบอี ุ ซายัต ประเทศพมา่ เสน้ ทางสายนเ้ี ป็นน้าพกั นา้ แรงการบุกเบกิ สร้างของทหารเชลยศึกพันธมิตร ทก่ี องทัพ ญปี่ ุ่นเกณฑม์ าสรา้ ง เพื่อใชเ้ ป็นเสน้ ทางยทุ ธศาสตรผ์ ่านประเทศพมา่ ทิวทัศน์ตลอดเสน้ ทางน้ีสวยงามมาก โดยเฉพาะบริเวณถ้ากระแซ ทเ่ี ส้นทางรถไฟจะลัดเลาะผ่านไปตามหนา้ ผาเลียบไปกับแมน่ า้ แควน้อย ปจั จุบันเส้นทางสายนี้ ไปสุดปลายทางทีบ่ ้านทา่ เสาหรอื สถานีน้าตก ระยะทางจากสถานีกาญจนบรุ ีถึง สถานีนา้ ตกเป็นระยะทางประมาณ 77 กิโลเมตร สะพานข้ามแมน่ ้าแคว อาเภอเมือง จ.กาญจนบุรี สะพานข้ามแม่น้าแคว ตั้งอยู่ท่ีตาบลทา่ มะขาม หา่ งจากตัวเมืองไปทางทิศเหนอื ตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กโิ ลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร มปี า้ ยชบ้ี อกทางไว้ชัดเจน เปน็ สถานทท่ี าง ประวัติศาสตร์ทส่ี าคญั ยิง่ แห่งหนง่ึ สรา้ งขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งท่ี 2 โดยกองทัพญีป่ นุ่ ได้เกณฑ์เชลยศึก ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมรกิ ัน ออสเตรเลีย ฮอลนั ดาและนวิ ซีแลนดป์ ระมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พมา่ อินเดยี อีกจานวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสาย ยุทธศาสตร์ เพ่ือเปน็ เส้นทางผ่านไปส่ปู ระเทศพมา่

28 ตวั อย่างโปรแกรมท่องเท่ียว นงั่ รถไฟเที่ยว ( 3 วัน 2 คืน ) วันแรก - เชา้ เดินทางโดยรถไฟ สายบางกอกน้อย – กาญจนบุรี – น้าตก ทีส่ ถานีรถไฟ บางกอกน้อย ผา่ นเสน้ ทาง รถไฟสายมรณะ ลงที่สถานนี ้าตก - จากน้นั ต่อรถรบั จ้างไปท่าเรอื ปากแซง น่ังเรือชมทิวทัศน์ ลาน้าแควน้อย เที่ยวถ้าละวา้ - พกั ทเี่ รือนแพ ริมแมน่ า้ แควน้อย วันท่ี 2 - เชา้ เที่ยวน้าตกไทรโยคนอ้ ย ถ้ามเี วลาไปถ้าสวรรค์วังบาดาล - บ่าย ขึ้นรถไฟ จากสถานนี ้าตก ไปตวั เมืองกาญจนบุรี ถงึ สถานีกาญจนบรุ ี ชมสสุ านดอนรกั เดินเท่ยี ว ยา่ นตัวเมอื งเก่า ชมวดั เหนือ วัดใต้ พิพิธภัณฑส์ งครามโลก ครง้ั ท่ี 2 วัดญวน พพิ ิธภณั ฑท์ างรถไฟไทย – พมา่ - เดินทางไป สังขละบรุ ี (รถประจาทางสาย กาญจนบุรี – สังขละบรุ ี ) - ถึงสงั ขละบรุ ชี ่วงเยน็ เดนิ เท่ียวชมสะพานไม้ อตุ ตมานุสรณ์ วัดวงั ก์วเิ วการาม - พักท่ีรสี อร์ต หรือ แพริมนา้ วนั ท่ี 3 - เช้า ชมทวิ ทศั นย์ ามเช้าบริเวณที่พัก เหมารถไปเที่ยวดา่ นเจดีย์สามองค์ - ช่วงบา่ ย กลับไป อ.เมือง เดินเทย่ี วชมในตวั เมือง - กลับกรงุ เทพฯ โดยรถประจาทางปรบั อากาศ

29 เทย่ี วดอย – ท่องสงั ขละบุรี ( 3 วัน 2 คนื ) วนั แรก - ออกจากกรงุ เทพฯ แต่เชา้ มุง่ หน้าสู่ อ.ทองผาภูมิ ออกเดนิ ทางตอ่ ไปตามเสน้ ทางสู่บ้านอีตอ่ ง แวะชม เข่อื นวชริ าลงกรณ์ - ชว่ งบา่ ย เดนิ ทางสู่ อช.ทองผาภมู ิ ถ้าไปถึงไม่เยน็ มาก สามารถเดนิ ทางไปบ้านอีต่อง ชมทิวทศั น์ ท่ีเนิน เสาธง และแวะแปลงปลูกดอกไม้เมืองหนาว ท่ี ปิล็อกฮิลล์ - พกั แรมที่ อช.ทองผาภูมิ กางเต็นท์ หรอื พักบ้านทาร์ซาน กไ็ ด้ วนั ที่ 2 - เช้า ชมทิวทัศน์ ทีส่ วยงาม ของขุนเขา สลับซับซ้อน และสายหมอก จากเนินกูดดอย - เดินทางไปน้าตกจออกกระดิ่น ตอ้ งเดนิ ประมาณ 2 กม. ชมธรรมชาติ เลน่ นา้ ตก - เดนิ ทางกลับ มงุ่ หน้าสู่ อ.สังขละบุรี แวะชมนา้ ตกเกรงิ กระเวยี พกั แรมทีร่ สี อร์ตริมน้า ท่ี อ.สังขละบุรี วนั ที่ 3 - เช้า ชมทวิ ทศั น์ ที่สวยงาม ของทะเลสาบเหนอื เขอ่ื น - เดนิ เที่ยวสะพานไมอ้ ตุ ตมานุสรณ์ ในสายหมอก ชมวัดวังกว์ ิเวการาม ซ้ือของฝากจาก พมา่ - เดินทางไปดา่ นเจดยี ์สามองค์ สามารถขับรถเข้าไปท่องเทยี่ ว ฝ่ังพม่าได้ หรือเลือกเดินเท่ียวซ้ือหาสนิ คา้ ท่ีดา่ นฝั่งไทยกไ็ ด้ - บา่ ย เดินทางกลับกรงุ เทพฯ

30 หมายเลขโทรศพั ทส์ าคัญ (รหสั ทางไกล 034) งานขา่ วสารการท่องเท่ียว ททท. 02-694-1222 ต่อ 8 , 02-282-9773 ททท.ภาคกลาง เขต 1 (กาญจนบรุ ี) 034-511-200 , 034-512-500 ประชาสมั พนั ธ์จังหวดั 034-512-410 , 034-514-756 ตารวจทอ่ งเที่ยว 034-512-795 สภ.อ.เมอื งกาญจนบรุ ี 034-621-040-2 สภ.อ.ด่านมะขามเตยี้ 034-642-098 สภ.ต.ดา่ นแมแ่ ฉลบ 034-597-067 สภ.อ.ทองผาภมู ิ 034-599-120 , 034-599-113 สภ.อ.ทา่ ม่วง 034-611-888 , 611-020 สภ.อ.ท่ามะกา 034-541-040 , 034-640-579 สภ.ต.ทา่ เรอื 034-561-030 สภ.อ.ไทรโยค 034-591-030 , 034-591-026 สภ.อ.บ่อพลอย 034-581-244 สภ.อ.พนมทวน 034-579-053 , 034-579-303-4 สภ.ต.ลาดหญา้ 034-589-244 สภ.ต.ลูกแก 034-566-068 สภ.อ.เลาขวญั 034-576-119 , 034-576-331

31 สภ.อ.ศรสี วสั ดิ์ 034-574-220 สภ.อ.สังขละบุรี 034-595-300 สภ.ต.หนองขาว 034-586-113 สภ.อ.หนองปรอื 034-645-234 สภ.อ.หว้ ยกระเจา 034-650-042 รพ.กาญจนบุรีเมมโมเรียล 034-624-189-93 รพ.ชนะกาญจน์ 034-622-366 รพ.พหลพลพยุหเสนา 034-511-233 , 034-622-999 รพ.แสงชูโต 034-621-127 รพ.เจ้าคุณไพบูลยพ์ นมทวน 034-630-409 รพ.ดา่ นมะขามเตี้ย 034-642-102-3 รพ.ท่ากระดาน 034-516-535 รพ.ท่าม่วง 034-611-033 , 034-626-268-9 รพ.ทา่ เรอื 034-561-084 , 034-561-335 รพ.ไทรโยค 034-591-034 รพ.บ่อพลอย 034-581-139 , 034-581-160 รพ.พระบารมี 034-645-234 รพ.มะการักษ์ 034-542-031 , 034-542-035

32 รพ.เลาขวญั 034-576-050 รพ.สังขละบรุ ี 034-595-058 สานักงานเทศบาลเมอื งกาญจนบุรี 034-511-502-2 ที่ว่าการอาเภอเมืองกาญจนบรุ ี 034-511-040 , 034-622-952 บริษทั ขนสง่ จากัด 034-511-387 สถานขี นส่งจังหวดั กาญจนบุรี 034-511-182 สถานรี ถไฟกาญจนบุรี 034-511-285

33 บรรณานุกรม http://www.kanchanaburi.go.th/au/travel/kanintro.php https://sites.google.com/site/jaovocal2212/ https://sites.google.com/site/jungwudkanjanaburi/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook