Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย

Published by Sunsern Poonsukkhho, 2020-05-10 02:01:33

Description: อาณาจักรสุโขทัย

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 3 พฒั นาการของอาณาจักรสุโขทัย ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ◆ครูผูส้ อน นายสรรเสรญิ พูลสุขโข◆

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั /จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภาคภูมิใจและธารงความเป็นไทย ตัวชีว้ ัด 1.อธิบายพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยโดยสังเขป 2.อธิบายภูมิปญั ญาไทยที่สาคญั สมัยสโุ ขทัยทนี่ า่ ภาคภูมใิ จและควรคา่ แก่การอนุรักษ์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.วเิ คราะห์และเห็นคุณคา่ และความสาคัญในการศึกษาเรียนรู้พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย 2.อธบิ ายและวเิ คราะหเ์ ศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัย 3.วิเคราะหแ์ ละเห็นคุณค่าผลงานทางศิลปวัฒนธรรมทีเ่ ป็นภูมปิ ญั ญาไทยสมัยสุโขทัย

สุโขทัย มาจาก 2 คา คือ สุข+ทัย หมายถงึ รุง่ อรุณแหง่ ความสขุ ของคนไทย

ก่อนการสถาปนา อาณาจักรสโุ ขทยั เปน็ ราชธานี ▪ พุทธศตวรรษที่ 17 เป็นยุคทีข่ อมเรืองอานาจมากที่สุดทัง้ ▪ พุทธศตวรรษที่ 18 อาณาจักรขอมเสื่อมอานาจลง ด้านเศรษฐกจิ และอานาจของกษัตรยิ ์ อาณาจักรตา่ ง ๆ ของไทยที่ตกอยูภ่ ายใตอ้ ิทธิพลของ ขอมจงึ ต่างพากันตั้งตนเปน็ อสิ ระ

ก่อนการสถาปนา อาณาจักรสโุ ขทยั เปน็ ราชธานี จารกึ วดั ศรชี มุ ไดก้ ลา่ วถงึ การกอ่ ตงั้ อาณาจกั รสโุ ขทยั ไวด้ งั นี้ เมือ่ ส้ินรัชกาลพอ่ ขุนศรีนาวนาถมแลว้ ขอมสบาดโขลญลาพงได้เข้ามายึดครองเมือง ศรสี ัชนาลยั และสุโขทัยไว้ได้ พอ่ ขุนผาเมืองพระโอรสของพ่อขุนศรีนาวนาถม และพ่อขุนบาง กลางหาวพระสหายของพระองค์ ได้รว่ มกันขับไล่ขอมสบาดโขลญลาพงเปน็ ผลสาเร็จ ในเวลา ตอ่ มา พ่อขุนผาเมืองได้อภิเษกพ่อขุนบางกลางหาวข้ึนเป็นกษัตริย์สุโขทัย เฉลิมพระนามว่า ศรีอิทรบดนิ ทราทติ ย์ หลักศลิ าจารกึ วดั ศรชี มุ , หลักที่ 2 ด้านที่ 1 พ่อขนุ ศรอี นิ ทราทติ ย์ ประมาณพุทธศกั ราช ๑๘๘๔-๑๙๑๐ ปฐมกษตั รยิ ข์ องอาณาจกั รสโุ ขทยั และราชวงศพ์ ระรว่ ง

พระมหากษตั รยิ แ์ หง่ อาณาจกั รสโุ ขทัย ราชวงศ์พระร่วงปกครองอาณาจักรสุโขทัย โดยมีพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นพระมหากษัตริย์ พระองคแ์ รก และมีพระมหากษตั ริย์สืบต่อมารวม 9 พระองค์ ตลอดเวลาเกือบ 200 ปี ดังนี้ รัชกาลที่ พระนาม ปที ี่ขนึ้ ครองราชย์ ปีทีส่ วรรคต เหตุการณ์สาคัญ 1 พอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ (พ.ศ.) (พ.ศ.) 2 กอ่ ต้งั ราชวงศพ์ ระร่วง และรวบรวมอาณาจักรสุโขทัยใหเ้ ปน็ ปึกแผน่ อกี พอ่ ขุนบานเมือง 1792 ไมป่ รากฏ ทัง้ สูร้ บกับขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดจนรบั ชัยชนะ - ไมป่ รากฏ 1822 3 พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช 1822 ทรงประดษิ ฐค์ ดิ ค้นอกั ษรไทย และขยายเขตแดนออกไปอย่างกว้างขวาง 1841 รับพุทธศาสนานิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ ซึ่งต่อมาได้เผยแผ่อยู่ใน อาณาจักรสุโขทัยและดนิ แดนทางตอนเหนือ 4 พระยาเลอไทย 1841 ไม่ปรากฏ พระสงฆ์ชาวสุโขทัยเดินทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่อินเดีย 5 พระยางัว่ นาถม ไม่ปรากฏ 1890 -

พระมหากษตั รยิ แ์ หง่ อาณาจกั รสโุ ขทัย รัชกาลที่ พระนาม ปที ี่ขึ้นครองราชย์ ปีที่สวรรคต เหตุการณส์ าคัญ (พ.ศ.) (พ.ศ.) ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่พิษณุโลก/สุโขทัยเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ 6 พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ทย) 1890 1911 พระพุทธศาสนา/พระมหาธรรมราชาที่ 1 ทรงผนวชในระหว่างที่ทรง ครองราชย์/เกดิ ปัญหาความขัดแยง้ กับอาณาจักรอยุธยา 7 พระมหาธรรมราชาที่ 2 (ลือไทย) 1911 1942 1942 1962 อาณาจักรสุโขทัยยอมอ่อนนอ้ มต่ออยุธยา 8 พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสยลือไทย) 1962 1981 อาณาจักรสุโขทัยทาสัญญาเปน็ พันธมติ รกับพระเจ้านา่ น 9 พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) อาณาจักรสุโขทัยถูกรวมเข้าเปน็ ส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. 2006 พระมหากษตั รยิ แ์ หง่ อาณาจกั รสโุ ขทยั ยคุ สมยั เปน็ อสิ ระและขน้ึ ตรงตอ่ อยธุ ยา รัชกาลที่ 1-6 เปน็ ยุคที่อาณาจักรสุโขทัยปกครองตนเองโดยอสิ ระ รัชกาลที่ 7-8 เปน็ ยุคทีอ่ าณาจกั รสุโขทัยขึ้นตรงตอ่ อาณาจกั รอยธุ ยา

พัฒพัฒนานกาากรดาา้รนดกา้ านรกเมาอื รงเกมาอืรปงกกคารรอปงกในคสรโุ อขงทยั สมัยสุโขทยั การสรา้ งความมนั่ คงของสโุ ขทยั อาณาสุโขทัยยังมีดนิ แดนไมก่ วา้ งใหญ่มากนกั และตอ้ งทาสงครามกับอาณาจกั รใกลเ้ คียงเพอ่ื ขยายอานาจ ขุนสามชนเจา้ เมืองฉอด ได้ยกทัพมาตีเมืองตากของสุโขทัยในการรบนพ้ี ระโอรสองค์เลก็ ของพ่อขุนศรอี นิ ทราทติ ยช์ นชา้ ง เอาชนะขุนสามชนได้พอ่ ขุนศรีอินทราทติ ย์ทรงตงั้ ชือ่ ใหท้ า่ นว่า “พระรามคาแหง” หมายถงึ รามผู้กล้าหาญ

ในสมัยของพ่อขุนรามคาแหง สุโขทัยมีอานาจม่นั คงและขยาย มอญ ดนิ แดนได้กวา้ งขวาง โดยพระองค์ใชว้ ธิ ี ผูกมติ รกับเพอ่ื นบ้านดว้ ย พะเยา การสง่ ทูตไปจีน และการทาสงคราม ลา้ นนา สุโขทัย สุโขทยั นครศรีธรรมราช ผูกมิตร ล้านนา พะเยา นครศรีธรรมราช มอญ

พัฒนาการดา้ นสงั คมสมยั สโุ ขทยั สังคมสมัยสุโขทัยมีโครงสรา้ งการจัดลาดับชั้นในสงั คม ลดหลัน่ ลงไปตามหน้าที่ที่แตกตา่ งกันออกไป คือ

รูปแบบ การปกครองในสมยั สโุ ขทยั รูปแบบการปกครองในสมัยอาณาจักรสุโขทัยเปน็ แบบ สมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชว่ งคอื ▪ การปกครองแบบพอ่ ปกครองลกู (ปิตุราชา) กษตั ริยก์ ับประชาชนมีความใกลช้ ิดแบบเครอื ญาติ เรยี กพระมหากษตั รยิ ว์ ่า พ่อขุน สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช โปรดให้สร้างกระด่ิงแขวนไว้ที่หน้าประตูพระราชวัง เมื่อประชาชนมีเรื่องเดือดร้อนก็ให้สั่นกระด่ิงร้องเรียนแล้วกษัตริย์จะออกมาตัดสินคดีความ ด้วยพระองคเ์ อง กษัตรยิ ์ 5 พระองคแ์ รกปกครองแบบพอ่ ปกครองลูก(ปติ รุ าชา) พ่อขุนศรีอินทราทติ ย์>พอ่ ขุนบานเมอื ง>พอ่ ขนุ รามคาแหง>พระยาเลอไท>พระยางั่วนาถม

รูปแบบ การปกครองในสมยั สโุ ขทยั ▪ การปกครองแบบธรรมราชา (ราชาผทู้ รงธรรม) กษตั ริย์เปน็ แบบอยา่ งของธรรมราชา ประชาชนเรยี กพระมหากษตั ริย์ ว่า พระมหาธรรมราชาเริ่มตั้งแต่สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) พระองค์มีดาริว่าจะใช้แต่กาลังทหารปกครองบ้านเมืองอย่างเดียวไม่ได้ กษตั ริยจ์ าเป็นต้องมีหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปกครองดว้ ย กษัตรยิ ์ 5 พระองคห์ ลงั ปกครองแบบธรรมราชา (ราชาผทู้ รงธรรม) พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท)>พระมหาธรรมราชาที่ 2 (ลือไท)>พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไท) พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)

แผนผังการจดั ระเบยี บ การปกครองสมยั สโุ ขทยั เมืองประเทศราช เมืองประเทศราช เมืองพระยามหานคร/หวั เมอื งชนั้ นอก หัวเมอื งชนั้ ใน/เมอื งลกู หลวง หัวเมอื งชนั้ ใน/เมอื งลกู หลวง เมืองหลวง หัวเมอื งชนั้ ใน/เมอื งลกู หลวง หัวเมอื งชนั้ ใน/เมอื งลกู หลวง เมืองพระยามหานคร/หวั เมอื งชนั้ นอก เมืองประเทศราช เมืองประเทศราช

การจดั ระเบยี บ การปกครองสมยั สุโขทยั การปกครองในสมัยสุโขทัย แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 สว่ น คือ ▪ การปกครองสว่ นกลาง ▪ การปกครองส่วนภูมภิ าค การปกครองสว่ นกลางหรอื การปกครองราชธานี อาณาจกั รสโุ ขทัย เป็นศูนยก์ ลางการปกครอง และเปน็ ศูนยก์ ลางวัฒนธรรม

การปกครองส่วนภูมภิ าค ▪ เมืองลกู หลวง/เมอื งหนา้ ดา่ น/หวั เมอื งชนั้ ใน คือเมืองที่ตัง้ อยูร่ อบราชธานี 4 ทิศ ไดแ้ ก่ o ทิศเหนือ > เมอื งศรีสัชนาลยั (สวรรคโลก) o ทิศตะวันออก > เมืองสองแคว (พิษณุโลก) o ทศิ ใต้ > เมอื งสระหลวง (พจิ ติ ร) o ทิศตะวันตก > เมืองนครชุม หมายเหตุ : เมอื งทั้ง 4 ใช้เวลาเดินทางด้วยเท้าถงึ เมืองหลวงไมเ่ กนิ 2 วัน

การปกครองส่วนภูมภิ าค ▪ เมืองเจา้ พระยามหานคร/หวั เมอื งชนั้ นอก o เป็นเมืองทีอ่ ยู่ไกลจากราชธานีมากกวา่ เมืองลกู หลวง o กษตั รยิ ์ทรงแต่งตัง้ พระราชวงศห์ รือขุนนางชัน้ สูงไปปกครองดูแลดนิ แดน o หัวเมืองชั้นนอกในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชมีหลายเมือง เชน่ เมืองพระบาง (นครสวรรค)์ เมืองเชียงทอง (ตาก) เมืองบางพาน (กาแพงเพชร) กษัตริยส์ ่งขุนนางไปปกครองดูแลเมืองแตเ่ มืองนั้นยังขึ้นตรงต่อสุโขทยั อยู่

▪ เมืองประเทศราช การปกครองสว่ นภูมภิ าค o เป็นเมืองทีอ่ ยู่ไกลจากราชธานีออกไปมาก o ผนวกมาไดโ้ ดยการทาสงครามหรอื การยอมออ่ นนอ้ มต่อสโุ ขทัย o กษัตริยพ์ ระองคเ์ ดิมเป็นผู้ปกครอง โดยมีอสิ ระในการปกครอง ตนเอง o เมืองประเทศราชตอ้ งส่งเคร่อื งราชบรรณการ (ต้นไมเ้ งิน ตน้ ไม้ทอง) และกาลังพลมาชว่ ยสุโขทัยเมื่อเกิดสงคราม

เศษฐกิจสมยั สโุ ขทยั ด้านการเกษตร ▪ อาชีพหลักของคนในสมัยสุโขทัย คือ เกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การทาไร่ ทาสวน เลีย้ งสัตว์ ▪ ชาวสุโขทัยมีการสรา้ งระบบชลประทานที่เป็นพน้ื ฐานสาคัญในการประกอบอาชีพ เนื่องจาก ปัญหาความแห้งแลง้ ในฤดูแลง้ คือ - การสรา้ งเขือ่ นดนิ ทางทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ เรียกวา่ สรีดภงสห์ รอื ทานบพระรว่ ง - การสรา้ งสระนา้ เพือ่ เก็บน้าไว้ใชส้ อย เรยี กวา่ ตระพัง ▪ พืชที่ปลูกมาก คือ ข้าว

เศษฐกิจสมยั สโุ ขทยั ดา้ นอุตสาหกรรม ▪ ผลผลิตทางดา้ นอุตสาหกรรมทีม่ ีชือ่ เสียงมากที่สดุ ของสุโขทัย คือ เครือ่ งสงั คโลก มีแหลง่ ผลิตอยูท่ ีอ่ าเภอศรีสัชนาลยั และเมืองสุโขทัย ▪ สนิ ค้าเครื่องสังคโลกทีผ่ ลติ ได้แก่ ถ้วย โถ จาน ไห กระปุก ▪ เตาทีใ่ ช้ในการผลิตเคร่อื งสังคโลก เรยี กว่า เตาทเุ รยี น

เศษฐกิจสมยั สโุ ขทยั ดา้ นการคา้ ขาย การค้าขายในสมัยสุโขทัยตามหลักศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1 แสดงใหเ้ ห็นวา่ มีการคา้ ขายอยู่ 2 ประเภท คือ การคา้ ขายภายในอาณาจกั ร การคา้ ขายกบั ตา่ งประเทศ การค้าภายในอาณาจักรเป็นการค้าแบบเสรี การค้าขายกับหงสาวดี ขอม มลายู ชวา สินค้าที่ มีตลาดเป็นศูนย์การค้า เรียกว่า ปสาน ไว้สาหรับให้ ส่งออกที่สาคัญไดแ้ ก่ เครื่องเทศและของป่า เช่น พริกไทย ประชาชนเดนิ ทางมาแลกเปลีย่ นสินคา้ ไม้ฝาง งาช้าง หนังสัตว์ ไม้หอม นอแรด สินค้าที่นาเข้าที่ สาคัญได้แก่ ผา้ ไหม เครื่องประดับ การค้าขายระหว่างเมืองจะไม่มีการเก็บภาษี ผ่านด่านที่เรียกว่า จกอบ ดังศิลาจารึกที่กล่าวไว้ว่า “เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ลู่ทาง” ทาให้ประชาชน ค้าขายไดอ้ ยา่ งเสรี

ระบบเงนิ ตรา การนาระบบเงินตรามาใช้มีส่วนช่วยให้ระบบเศรษฐกิจดีข้ึน เป็นการจูงใจให้ประชาชน ประกอบอาชีพเพือ่ จะไดม้ ีทรัพย์สินเปน็ ของตนเอง ภายในอาณาจักรมีแร่ธาตุหลายชนิด เช่น ทอง ดีบุก เหล็ก เงิน จึงมีการนาแร่เงินมาใช้ใน การทาเงินตราทีเ่ รียกวา่ “เงนิ พดด้วง” เงินพดด้วง สามารถแบ่งออกได้เป็น สลึง บาท และตาลึง (เงินตราที่มีค่าน้อยที่สุด คือ เบี้ย ทาจากหอยเรียกว่า เบีย้ หอย)

จากหอยเบยี้ สูร่ ะบบเงนิ ตรา หอยเบี้ยทีถ่ ูกนามาใชส้ ว่ นใหญ่ มาจากหมู่เกาะมัลดีฟสใ์ นมหาสมุทรอินเดีย

แอบกระซิบ! ▪ เงินพดด้วงทาขึ้นจากแท่งเงินทุบปลายงอเข้าหากันแล้วตอกประทับตราประจาแผ่นดิน และตราประจารัชกาลลงไป ด้วยเหตุที่มีสัณฐานกลมคล้ายตัวด้วง คนไทยจึงเรียกว่า เงินพดด้วง ขณะที่ชาวต่างประเทศเรียกเงินชนิดนีว้ า่ เงินลูกปืน (BULLET MONEY) ▪ สมัยสุโขทัย เงนิ พดดว้ งมักมีตราประทับไวม้ ากกวา่ 2 ดวง และเป็นรูปสัตว์ชั้นสูง เช่น วัว ช้าง กระต่าย หอยสังข์ และราชสีห์

ภูมิปัญญาไทย ภาษา (การประดษิ ฐตวั อกั ษรไทย) พ่อขุนรามคาแหงมหาราช กษัตริย์พระองค์ที่ 3 แห่งอาณาจักรสุโขทัย ได้ประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 1628 โดยดัดแปลงจาก อักษรขอมหวัด+อักษรไทยเดิม ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรมอญและคิดอักษรไทย ขน้ึ ใหม่ให้มีสระและวรรณยุกตใ์ หพ้ อใช้กับภาษาไทย และเรียกว่า “ลายสือไทย” ▪ โดยสอดคลอ้ งกบั ขอ้ ความในหลกั ศลิ าจารกึ ตอนหนงึ่ วา่ “เมื่อกอ่ นลายสือไทยนี้บม่ ี ๑๒๐๕ ศกปีมะแม พ่อขุนรามคาแหงหาใคร่ใจในใจ แลใสล่ ายสือไทยนี้ ลายสือไทยนี้จึงมีพอ่ ขุนรามคาแหงผนู้ นั้ ใสไ่ ว้”

ภูมปิ ัญญาไทย วรรณกรรม ไตรภูมพิ ระร่วง มีหลายชอื่ เรยี กไดแ้ ก่ \"ไตรภูมพิ ระรว่ ง\" \"เตภูมิกถา\" \"ไตรภูมิกถา\" \"ไตรภูมโิ ลกวนิ จิ ฉัย\" และ \"เตภูมโิ ลกวนิ ิจฉัย\" เป็นวรรณกรรมศาสนาพุทธที่แต่งในสมัยสุโขทัยประมาณ พ.ศ. 1888 โดย พระราชดาริในพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไท) โดยรวบรวมจากคัมภีรใ์ นศาสนาพุทธ มีเนื้อหาเกี่ยวกับนรก-สวรรค์ และโลกสัณฐาน ที่แบ่งเปน็ 3 ส่วน หรือ ไตรภูมิ ไดแ้ ก่ กามภูมิ รปู ภูมิ อรปู ภูมิ

แอบกระซิบ! ▪ ประชากรในสมัยของพญาลไิ ทปกครองนั้นเร่ิมมีมากข้ึนกว่าแต่ก่อน ทาให้การปกครอง บ้านเมืองให้สงบสุขปราศจากโจรผู้ร้ายเป็นไปได้ยากย่ิงขึ้น พญาลิไทจึงได้คิดนิพนธ์ วรรณกรรมทางศาสนาเรื่องไตรภูมิพระร่วงข้ึนมาเพื่อที่ต้องการสอนให้ประชาชนของ พระองคท์ าความดี เพือ่ จะไดข้ ้ึนสวรรค์มีชีวิตที่สุขสบาย และหากทาความชั่วก็จะต้องตก นรก ▪ ด้วยเหตุนี้วรรณกรรมเรื่องไตรภูมจิ งึ เป็นสิ่งทีใ่ ชค้ วบคุมทางสังคมไดเ้ ปน็ อย่างดีย่ิง เพราะ สามารถเขา้ ถงึ จิตใจทุกคนไดโ้ ดยไม่ต้องมีออกกฎบังคับกันแตอ่ ยา่ งไร

ภูมิปัญญาไทย สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมในสมัยสุโขทัยเป็นศิลปะที่เกิดจากความเสื่อมใสใน พระพุทธศาสนาและได้รับการถ่ายทอดมาจากวัฒนธรรมภายนอก เช่น วัฒนธรรมมอญ วัฒนธรรมลังกา และไดพ้ ฒั นารูปแบบสถาปัตยกรมในรูปแบบ ของตนเอง ดังจะเห็นไดจ้ ากโบราณสถานต่าง ๆ เชน่ สถูปเจดีย์ พระปรางค์ วัด โบสถ์ และวิหารเปน็ ต้น พระพุทธชนิ ราช ประดิษฐานอยู่ ณ อุโบสถวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก ที่เปน็ เอกลักษณข์ องสมัยสุโขทัย

ภูมิปัญญาไทย สถาปัตยกรรม เจดยี ท์ รงระฆงั หรือทรงลังกา ทีว่ ัดชา้ งล้อม จังหวัดสุโขทัย เจดยี ท์ รงยอดดอกบัวตูม หรือพุ่มข้าวบิณฑ์ ทีว่ ัดตระพังเงิน สุโขทัย

ความเสอื่ มของอาณาจักรสโุ ขทัย อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมอานาจลงในที่สุด และต้องสูญเสียอานาจให้กับอยุธยาด้วย สาเหตุดังตอ่ ไปนี้ 1.การแยง่ ชงิ ราชสมบัตริ ะหวา่ งเชือ้ พระวงศข์ องสุโขทัยทาใหอ้ านาจการปกครองออ่ นแอลง 2.พระมหากษตั รยิ ์ของสุโขทัยสมัยตอ่ จากพอ่ ขุนรามคาแหงทรงสนพระทัยทางด้านศาสนามาก กวา่ การปอ้ งกันประเทศ 3.อาณาจกั รอยุธยาสถาปนาขนึ้ ทางตอนใต้ และมีความเข้มแข็งมากขน้ึ อีกทั้งไดม้ ีการตัด เสน้ ทางการคา้ สูท่ ะเลของอาณาจักรสโุ ขทัย

สือ่ วีดทิ ัศน์ ที่มา :https://www.youtube.com/watch?v=pUMNyOKHIY4&t=18s

เอกสารอา้ งองิ พลับพลงึ คงชนะ. (2563). หนังสอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานประวตั ิศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4. กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ(พว.).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook