Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฎิบัติการโรงเรียนวัดทุ่งหินผุด 2563

แผนปฎิบัติการโรงเรียนวัดทุ่งหินผุด 2563

Published by wattunghinput school, 2021-02-12 08:31:52

Description: แผนปฎิบัติการโรงเรียนวัดทุ่งหินผุด 2563

Keywords: แผนปฏิบัติการ

Search

Read the Text Version

1

2 คำนำ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปกี ารศึกษา 2563 ของโรงเรียนวดั ทุง่ หินผุดฉบบั น้ี จดั ทาขึน้ เพอ่ื เป็นแนวทางใน การบริหารงานของโรงเรียนวัดทุ่งหินผุด ตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยเฉพาะอย่างยิ่งสนอง ยุทธศาสตรใ์ นการพฒั นา เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี น เน้ือหาสาระของแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2563 ประกอบด้วย สภาพทั่วไป ทิศทางของ สถานศึกษาซึ่งได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ผลผลิตและตัวชี้วัดความสาเร็จ รายละเอียด โครงการต่างๆ การจัดทาแผนปฏิบัติการในคร้ังน้ีได้รับการสนับสนุนและการช่วยเหลือจากคณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ทุกคน เป็นอย่างดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า โรงเรียนวัดทุ่งหินผุดจะใช้แผนปฏิบัติการฉบับนี้ดาเนินงานตามโครงการที่ได้ กาหนดไว้ เพ่อื ให้บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ในการพฒั นาการศึกษา และเปน็ ผลดีต่อทางราชการยิง่ ๆ ขนึ้ ไป โรงเรยี นวดั ทุ่งหนิ ผุด

3 สำรบญั เรอ่ื ง หนำ้ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไป 1 - ขอ้ มลู พื้นฐำนของโรงเรยี น 7 8 - โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรโรงเรยี นวัดทงุ่ หินผุด - โครงสร้ำงหลักสูตรสถำนศึกษำโรงเรยี นวัดทุ่งหนิ ผุด (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2563) สว่ นท่ี 2 ทิศทำงกำรพฒั นำกำรศึกษำ 10 - ยทุ ธศำสตรช์ ำติ (พ.ศ. 2561 – 2580) 12 - แผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 15 - นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำนปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 17 - ทิศทำงกำรจัดกำรศึกษำ สำนกั งำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำตรัง เขต 1 17 - ทศิ ทำงกำรจัดกำรศกึ ษำ โรงเรยี นวัดทุ่งหนิ ผุด สว่ นที่ 3 กำรจดั สรรงบประมำณตำมแผนปฏบิ ัติกำร 20 - แผนกำรใชจ้ ่ำยงบประมำณ ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2563 โรงเรยี นวัดทุ่งหินผดุ ภำคผนวก

1 ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป 1.ขอ้ มลู พื้นฐำนของโรงเรยี น 1.1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป 1) ประวตั โิ รงเรยี น โรงเรียนวัดทุ่งหินผุด ตั้งอยู่เลขท่ี 25/3 หมู่ที่ 1 ตาบลนาบินหลา อาเภอเมืองตรัง จังหวัด ตรงั รหสั ไปรษณีย์ 92000 โทรศพั ท์ 0-7527-0124 โทรสาร 0-7527-0124 e-mail : [email protected] website : http://data.bopp-obec.info/web/?School_ID=1092140014 สังกัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ตงั้ ในทดี่ นิ ทรี่ าชพสั ดุ แปลงหมายเลขทะเบยี นที่ ตง.50 หนังสือสาคัญสาหรับ ทด่ี นิ น.ส.3 เลขท่ี 273 เน้ือท่ี 35 ไร่ 2 งาน 58 ตารางวา ปีท่ีได้มา/สรา้ ง พ.ศ.2472 วธิ กี ารได้มาโดยกานัน ตาบลนาบนิ หลาสมยั นั้นสงวนไว้เป็นทปี่ ลูกสร้างโรงเรยี น โรงเรียนวัดทุ่งหินผุด ต้ังขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2470 โดยนายกิจ รัตนรุ่งโรจน์ อดีตครูใหญ่โรงเรียนวัดควน ไดร้ ว่ มมือกบั พระผอม อินทรโร อดตี เจา้ อาวาสวัดทุ่งหินผุดและผู้ปกครองท้องทีไ่ ด้เปิดสถานศกึ ษาสอนหนังสือ จดั ข้นึ ในบรเิ วณวัดทงุ่ หนิ ผดุ ครง้ั น้นั มพี ระไข่ บุญมา เปน็ ครผู สู้ อน ประมาณ ปี พ.ศ. 2476 ได้รับการสนบั สนุนจากทางราชการ โดยมีหลวงยอด ประสาส์น นายอาเภอ เมืองตรัง นายฟุ้ง สุกาญจนะ ธรรมการอาเภอ ในสมัยน้ัน ได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนวัดทุ่งหินผุด เป็น โรงเรียนประชาบาลประจาตาบลนาบินหลา โดยแต่งต้ังให้นายก่ี นาคพันธ์ เป็นครูใหญ่ เปิดสอนตั้งแต่ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 1-4 โดยใช้ศาลาโรงธรรมวัดทุ่งหินผุด เป็นสถานท่ีเรียน มีนักเรียน 20 คน เปิดสอนเมื่อ วันท่ี 1 เมษำยน 2476 ระยะตอ่ มาทางราชการได้เปดิ โรงเรยี นบ้านโคกชะแง้ เป็นโรงเรยี นประชาบาลประจา ตาบลนาบินหลา เป็นแห่งท่ี 2 โดยมีนายวาว นาแจ้ง เป็นครูใหญ่ หลายปีต่อมาสถานที่เรียนชารุด จึงฝาก นักเรียนมาเรียนร่วมกับโรงเรยี นวัดทุ่งหินผดุ ชวั่ ระยะหนึง่ เพ่ือเตรียมการสรา้ งอาคารเรียนหลงั ใหมแ่ ทน พ.ศ. 2500 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากทางราชการ จานวน 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) สมทบกับเงินที่ราษฎรร่วมกันบริจาค จานวน 25,000 บาท (สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน) ก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ป.1 ก โดยอนุโลม 2 ห้องเรยี น และได้ย้ายที่เรยี นของนกั เรยี นจากศาลาโรงธรรมวดั ทุ่งหนิ ผุดมาใชอ้ าคาร เรยี นใหม่ พ.ศ.2518 สภาตาบลนาบินหลาได้อนุมัติงบประมาณเงินยืมจานวน 175,000 บาท (หน่ึงแสนเจ็ด หม่ืนห้าพันบาทถ้วน) ใช้สร้างอาคารเรียนต่อเติมอีก 3 ห้องเรียน รวมเป็น 5 ห้องเรียนแต่ไม่มีฝาก้ันระหว่าง ห้อง เป็นลกั ษณะเปิดโลง่ โดยใช้วสั ดใุ นท้องถ่นิ กั้นชว่ั คราว พ.ศ.2520 ได้รับงบประมาณจากกรมอนามัยจัดสร้างประปาโรงเรียน จานวนเงิน 90,000 บาท(เก้า หมื่นบาทถว้ น) ปัจจบุ นั น้ีอยใู่ นสภาพชารดุ ใชใ้ นราชการไม่ได้ พ.ศ.2521 ได้รับงบประมาณจากทางราชการสร้างโรงอาหารแบบ อก.ตร. 301 งบประมาณ 35,000 บาท (สามหมื่นหา้ พันบาทถว้ น) พ.ศ.2523 ได้รับงบประมาณ 60,500 บาท (หกหมื่นห้าร้อยบาทถ้วน) ในการสร้างส้วมพร้อมที่ ปัสสาวะชาย แบบ อก.ตร.401 จานวน 3 ท่ีนั่ง สภาพท่ัวๆไป ก่อน พ.ศ.2521 โรงเรียนอยู่ในสภาพทรดุ โทรม มาก ในดา้ นอาคารเรียน และบริเวณก็ไมด่ ีเท่าทค่ี วร พ.ศ.2523 สภาตาบลนาบินหลา อนุมัติเงิน กสช. จานวน 20,000 บาท (สองหม่ืนบาทถ้วน) สร้าง สนามเดก็ เล่น ปจั จบุ นั สภาพยงั ใช้การได้ เพราะได้รับการซอ่ มแซม

2 พ.ศ.2528 ได้รับงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เป็น เ งิ น 279,000 บ า ท ( ส อ ง แ ส น เ จ็ ด ห ม่ืน เ ก้ า พัน บ า ท ถ้ ว น ) ใ ช้ ส ร้ า ง อ า ค า ร เรี ยน แ บ บ ส ป ช . 102/26 ขนาด 2 หอ้ งเรยี น พ.ศ.2529 โรงเรียนจัดการศึกษา 2 ระดับ คือ เปิดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ช้ันเด็กเล็ก จ า น ว น 1 ห้ อ ง เ รี ย น เ พื่ อ เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม เ ด็ ก ก่ อ น เ ข้ า เ รี ย น ใ น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 พ.ศ.2538 ได้รับงบประมาณ จานวน 1,803,942 บาท (หน่ึงล้านแปดแสนสามพันเก้าร้อยส่ีสิบสอง บาทถ้วน) สร้างอาคารเรียน แบบ สปช.105/29 จานวน 4 ห้องเรียน และในปี พ.ศ.2541 ได้งบประมาณต่อ เติมอาคาร สปช.105/29 จานวน 4 หอ้ งเรียน งบประมาณ 363,000 บาท (สามแสนหกหมน่ื สามพันบาทถ้วน วนั ท่ี 2 ธนั วาคม 2548 นายสุวทิ ย์ รอดคืนได้มาดารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ทงุ่ หินผุด ตามคาส่ังสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1คาส่ังที่ 428/2548 ลงวันท่ี 2 ธันวาคม พ.ศ.2548 ปีการศึกษา 2549 มีนักเรียนทั้งหมด 140 คน ระดับก่อนประถมศึกษา 32 คน แบ่งเป็น ชาย 17 คน หญงิ 15 คน ระดับประถมศึกษา 108 คน แบ่งเป็นชาย 50 คน หญิง 58 คน ในภาคเรียนที่ 2/2549 โรงเรียนได้ติดต้ังอุปกรณ์เคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียมเพ่ือจัดการเรียนการ สอนทางไกลผา่ นดาวเทียมจากโรงเรยี นไกลกังวล อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ของมูลนิธิการเรียน การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ปีการศึกษา 2550 มีนักเรียนท้ังหมด 140 คน ระดับก่อนประถมศึกษา 29 คน แบ่งเป็น ชาย 17 คน หญิง 12 คน ระดบั ประถมศกึ ษา 111 คน แบ่งเป็นชาย 47 คน หญิง 64 คน ปีการศึกษา 2551 มีนักเรียนทั้งหมด 139 คน แบ่งเป็นระดับก่อนประถมศึกษา 41 ชาย 21 คน หญิง 20 คน ระดบั ประถมศกึ ษา 98 คน ชาย 44 คน หญงิ 54 คน โรงเรียนได้ก่อสร้างห้องพยาบาล 1 ห้อง โดยต่อเติมจากอาคารเรียน สปช.102126 ใช้ งบประมาณ 70,000 บาทเศษ ปีการศึกษา 2552 มีนักเรียนทั้งหมด 129 คน ระดับก่อนประถมศึกษา 45 คน แบ่งเป็น ชาย 24 คน หญิง 21 คน ระดบั ประถมศกึ ษา 84 คน แบ่งเปน็ ชาย 37 คน หญงิ 47 คน ในปีน้ีโรงเรียนได้ปรับปรงุ ห้องสานักงานโรงเรยี นโดยการปูพืน้ กระเบ้ืองเคลือบ ขนาด 165 ตาราง เ ม ต ร ใ ช้ ง บ ป ร ะ ม า ณ ทั้ ง สิ้ น 4 5 ,0 0 0 บ า ท เ ศ ษ ไ ด้ รั บ ส นั บ ส นุ น เ งิ น บ ริ จ า ค จ า ก ผูป้ กครอง ประมาณ 12,000 บาท ใช้ประโยชนเ์ ปน็ ห้องประชมุ ห้องทากจิ กรรมทวั่ ไป บริการชมุ ชนดว้ ย ปพู ื้นกระเบื้องเคลือบหอ้ งเรยี น ขนาด 63 ตารางเมตร 1 ห้อง ใชง้ บประมาณ 22,000 บาทเศษ ปี พ.ศ. 2553 โรงเรียนได้รับงบประมาณงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง งบแปรญัตติ มี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 5 3 ก่ อ ส ร้ า ง ถ น น ค อ น ก รี ต เ ส ริ ม เ ห ล็ ก ข น า ด ก ว้ า ง 5 0 0 เ ม ต ร ย า ว 4 5 0 เ ม ต ร ห น า 1 2 เ ซ น ติ เ ม ต ร ( 2 2 5 0 ต า ร า ง เมตร) จานวน 945,000 บาท แล้วเสร็จเมื่อวันท่ี 10 พฤษภาคม 2553 และสร้างป้ายโรงเรียน ใช้ งบประมาณ 24,000 บาทเศษ ปีการศึกษา 2553 มีนักเรียนทั้งหมด 124 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 53) ระดับก่อน ประถมศึกษา 33 คน แบ่งเป็นชาย 17 คน หญิง 16 คน ระดับประถมศึกษา 91 คน แบ่งเป็น ชาย 46 คน หญิง 45 คน เม่ือสิ้นปีการศึกษาเพิ่มนักเรียนประถมศึกษาปีท่ี 6 (หญิง) จานวน 1 คน รวม เป็นนกั เรยี นทง้ั สิ้น 125 คน ปีการศกึ ษา 2554 โรงเรียนจัดการศกึ ษา 2 ระดบั คอื ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา และระดับประถมศึกษา มีนักเรียนท้ังหมด 124 คน (ข้อมูล 10 พ.ย. 53) ระดับก่อนประถมศึกษา 35 คน แบ่งเป็น ชาย 18 คน หญิง 17 คน ระดับประถมศึกษา 89 คน แบ่งเป็นชาย 53 คน หญิง 36 คน เม่ือส้ินปี การศึกษา 2554 รวมเปน็ นักเรยี นท้งั สิ้น 124 คน

3 ปีการศึกษา 2554 โรงเรยี นได้รับงบประมาณจัดซื้อระบบคอมพิวเตอร์ เพือ่ การเรียนการสอนสาหรับ สถานศึกษา เพ่ือใช้ในการจัดกิจกรรมกาเรียนการสอน ด้วยเงินงบประมาณ ปี พ.ศ. 2554 จานวน งบประมาณ 343,200 บาท ปกี ารศึกษา 2555 โรงเรยี นจัดการศกึ ษา 2 ระดับ คือระดบั ก่อนประถมศกึ ษา และระดับประถมศึกษา มีนักเรียนทั้งหมด 123 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 55) ระดับก่อนประถมศึกษา 41 คน แบ่งเป็น ชาย 19 คน หญิง 22 คน ระดบั ประถมศึกษา 82 คน แบ่งเปน็ ชาย 47 คน หญงิ 35 คน ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียน ด้วยเงินงบประมาณ ปี พ.ศ. 2555 จานวนงบประมาณ 292,000 บาท และ ได้รับงบประมาณติดตั้ง ปรับปรุงและซ่อมแซมระบบ ไฟฟ้า 3 เฟส ดว้ ยเงนิ งบประมาณ ปี พ.ศ. 2555 จานวนงบประมาณ 496,000 บาท ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนจัดการศึกษา 2 ระดับ คือระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถม ศึกษา มีนักเรียนทั้งหมด 109 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 56) ระดับก่อนประถมศึกษา 35 คน แบ่งเป็น ชาย 18 คน หญงิ 17 คน ระดับประถมศกึ ษา 74 คน แบง่ เปน็ ชาย 47 คน หญิง 27 คน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนจัดการศึกษา 2 ระดับ คือระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถม ศึกษา มีนักเรียนทั้งหมด 104 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 57) ระดับก่อนประถมศึกษา 31 คน แบ่งเป็น ชาย 17 คน หญิง 14 คน ระดับประถมศึกษา 73 คน แบ่งเป็นชาย 45 คน หญงิ 28 คน ปีการศกึ ษา 2557 นี้ โรงเรยี นไดร้ ับงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 รายการ ติดตัง้ ดวงโคมไฟฟ้า และอุปกรณ์เพ่ิมเติมภายในอาคาร ระบบไฟฟ้า 3 เฟส งบประมาณทั้งสิ้น 103,000 บาท ได้รับงบประมาณ ก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน สปช. 102/26 งบประมาณ 182,000 บาท ปีการศกึ ษา 2557 โรงเรยี นได้รับงบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 รายการกอ่ สร้างอาคาร สพฐ. (ส้วม 4 ที่น่ัง) งบประมาณจานวน 352,200 บาท งบประมาณโครงการตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจใน ระยะ 3 เดือนแรก จานวนเงินงบประมาณ 437,000 บาท เม่ือส้ินปีการศึกษา 2557 คงเหลือนักเรียน รวมเป็นนักเรียนทั้งสิ้น 104 คน ระดับก่อน ประถมศึกษา 31 คน แบ่งเป็นชาย 17 คน หญิง 14 คน ระดับประถมศึกษา 73 คน แบ่งเป็น ชาย 45 คน หญิง 28 คน ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนจัดการศึกษา 2 ระดับ คือระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศกึ ษา มีนักเรียนทั้งหมด 113 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 58) ระดับก่อนประถมศึกษา 40 คน แบ่งเป็น ชาย 20 คน หญิง 20 คน ระดับประถมศึกษา 73 คน แบง่ เปน็ ชาย 43 คน หญิง 30 คน เมื่อสิ้นปีการศึกษา 2558 คงเหลือนักเรียน รวมเป็นนักเรียนทั้งส้ิน 109 คน ระดับก่อน ประถมศึกษา 40 คน แบ่งเป็นชาย 25 คน หญิง 15 คน ระดับประถมศึกษา 71 คน แบ่งเป็น ชาย 22 คน หญิง 29 คน ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนจัดการศึกษา 2 ระดับ คือระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศกึ ษา มีนักเรียนทั้งหมด 104 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 59) ระดับก่อนประถมศึกษา 37 คน แบ่งเป็นชาย 19 คน หญงิ 18 คน ระดับประถมศกึ ษา 67 คน แบ่งเป็นชาย 37 คน หญิง 30 คน ปีการศึกษา 2560 โรงเรยี นจัดการศึกษา 2 ระดับ คอื ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา และระดับประถมศึกษา มีนักเรียนทั้งหมด 105 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 60) ระดับก่อนประถมศึกษา 42 คน แบ่งเป็นชาย 21 คน หญงิ 21 คน ระดับประถมศึกษา 64 คน แบ่งเปน็ ชาย 36 คน หญงิ 27 คน ปกี ารศึกษา 2561 โรงเรยี นจดั การศกึ ษา 2 ระดับ คอื ระดบั ก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษา มีนักเรียนทั้งหมด 116 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 61) แบ่งเป็นชาย 62 คน หญิง 54 คนระดับก่อน ประถมศึกษา 40 คน แบ่งเป็นชาย 20 คน หญิง 20 คน ระดับประถมศึกษา 76 คน แบ่งเป็น ชาย 43 คน หญงิ 33 คน

4 วันที่ 17 มกราคม 2563 นายอานาจ ขันทกาญจน์ ได้มาดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนวัดทุ่งหินผุด ตามคาสั่งสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 คาส่ังที่ 523/2562 ลง วันท่ี 25 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ปกี ารศกึ ษา 2562 โรงเรียนจัดการศึกษา 2 ระดบั คือระดบั ก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษา มีนักเรียนท้ังหมด 112 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 62) แบ่งเป็นชาย 63 คน หญิง 49 คนระดับก่อน ประถมศึกษา 33 คน แบ่งเป็นชาย 18 คน หญิง 15 คน ระดับประถมศึกษา 79 คน แบ่งเป็น ชาย 45 คน หญงิ 34 คน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนจดั การศกึ ษา 2 ระดบั คือระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา และระดบั ประถมศึกษา มีนักเรียนท้ังหมด 104 คน (ข้อมูล 17 ก.ค.63) แบ่งเป็นชาย 65 คน หญิง 49 คน ระดับก่อน ประถมศึกษา 24 คน แบ่งเป็นชาย 10 คน หญิง 14 คน ระดับประถมศึกษา 80 คน แบ่งเป็น ชาย 45 คน หญิง 35 คน ปจั จบุ นั โรงเรียนมี ผ้บู ริหาร 1 คน ครู 6 คน และบุคลากร 3 คน โรงเรียนมีนโยบายจัดการเรียนการสอน โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียนด้านคุณภาพชีวิตเป็นหลัก จัด กิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนทาได้และได้ทา มุ่งประสบการณ์ คิดเป็นทาเป็น แก้ปัญหาได้อย่างมีเหตุผล มีโลกทัศน์ วิสัยทศั น์กว้างไกล อย่ใู นโลกของธรรมชาตอิ ยา่ งมสี ุนทรียภาพ ดาเนินชีวิตอย่างสงบสขุ

5 เปรียบเทียบภาพรวมผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O - Net) โรงเรียนวัดทุ่งหินผุด ชน้ั ป.6 ปีการศึกษา 2561 – 2562 เปรยี บเทียบผลกำรทดสอบ O-NET โรงเรยี นวดั ทุง่ หนิ ผุด ชนั้ ป. ปีกำรศกึ ษำ และ ปกี ำรศึกษำ 58.92 42.56 41.67 39.83 40.56 28.85 29.67 25.19 สรุป ภาษาไทย ลดลง 16.36 คณิตศาสตร์ ลดลง 10.16 วิทยาศาสตร์ ลดลง 10.16 อังกฤษ ลดลง 15.37

6 ข้อมลู นกั เรยี น โรงเรยี นวดั ทุ่งหนิ ผดุ ปีกำรศกึ ษำ 2563 ช้นั /เพศ ชำย หญงิ รวม หอ้ งเรยี น อบ.1 0 อบ.2 000 1 อบ.3 1 รวม อบ. 549 2 ป.1 1 ป.2 5 10 15 1 ป.3 1 ป.4 10 14 24 1 ป.5 1 ป.6 11 5 16 1 รวมประถม 6 ม.1 549 0 ม.2 0 ม.3 9 10 19 0 รวมมธั ยมต้น 0 ม.4 617 0 ม.5 0 ม.6 5 8 13 0 ปวช.1 0 ปวช.2 9 7 16 0 ปวช.3 0 45 35 80 0 000 8 000 000 000 000 000 000 000 000 000 รวมมธั ยมปลำยและเทยี บเทำ่ 0 0 0 รวมทงั้ หมด 55 49 104 ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 18 กรกฎาคม 2563

7 โครงสร้ำงกำรบริหำรโรงเรยี นวดั ทุ่งหินผดุ

8 โครงสรำ้ งหลักสตู รสถำนศกึ ษำโรงเรยี นวัดทงุ่ หินผดุ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2563) โครงสร้ำงหลกั สูตรเวลำเรียนโรงเรยี นวดั ท่งุ หินผดุ กลุ่มสำระกำรเรียนรู/้ กจิ กรรม เวลำเรียน(ชวั่ โมง/ป)ี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ป. 1 ระดับประถมศกึ ษำ ป. 6 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ 200 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 160 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 160 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 200 200 160 160 120 ประวัติศาสตร์ 40 200 200 160 160 80 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 120 120 120 120 40 ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชพี 40 40 40 40 40 80 ภาษาตา่ งประเทศ 40 40 40 80 80 40 120 40 40 80 80 80 รวมเวลำเรยี น (พืน้ ฐำน) 840 40 40 40 40 840 รำยวิชำเพ่มิ เตมิ 120 120 80 80 80 840 840 840 840 40 - 40 ภาษาอังกฤษพาเพลนิ 0 80 80 40 40 40 - - 40 40 0 หนา้ ที่พลเมือง 000 40 40 40 40 40 0 กจิ กรรมพฒั นำผู้เรยี น 30 40 40 10 40 40 40 30 กิจกรรมแนะแนว 30 30 30 40 10 10 10 10 30 กจิ กรรมนักเรียน บรู ณาการ 10 1,040 ชว่ั โมง/ปี - กิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี - ชุมนมุ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำเรียนทงั้ หมด หน้าทีพ่ ลเมือง บรู ณาการและวัดผลการเรยี นรวมอยู่ในกลมุ่ สาระสงั คมฯ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง บรู ณาการและวดั ผลการเรยี นรวมอย่ใู นกลมุ่ สาระการงานอาชีพ กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ บูรณาการในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ดงั ต่อไปนี้ 1. กลมุ่ สาระฯ คณิตศาสตร์ 2. กลุ่มสาระฯ การงานอาชีพ 3. กลมุ่ สาระฯ สุขศึกษาและพลศึกษา 4. กลุ่มสาระฯ ศลิ ปะ จานวนชัว่ โมงทจี่ ัดใหน้ กั เรียนระดับประถมศกึ ษา ( ป.1-ป.3 ) เรียนท้ังปเี ทา่ กับ 1,040 ชัว่ โมงระดบั ช้ัน ประถมศึกษา ( ป.4-ป.6 ) เท่ากับ 1,040 ชั่วโมงแผนการเรียนรู้/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนท่ีต้องการเน้นเป็น

9 พเิ ศษคือกลุม่ สาระการเรยี นรู้ทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพ่ือพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ คิดวิเคราะห์คิดสังเคราะห์คิดสร้างสรรค์ท่ีดีมีประโยชน์มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนโดยจัดการ เรยี นการสอนและวัดผลประเมนิ ผลเปน็ รายปี สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 น้ัน จากการประเมินผลระดับโรงเรียน ระดับท้องถ่ิน และ ระดบั ชาติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มีมตริ ่วมกันใหจ้ ดั ทาโครงการ สอนเสรมิ ประสบการณ์พิเศษเพือ่ เพมิ่ ศกั ยภาพนักเรียนจานวนชัว่ โมง 80 ช่ัวโมง ต้งั แตช่ ั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1- 6 โดยไม่นาคะแนนและระดับผลการเรียน ในรายวิชาสอนเสริมไปคิดรวมและตัดสินการเลื่อนช้ันของนักเรยี น ในโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งหินผุด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) มีรายวิชาและจานวน ช่ัวโมงดังนี้ โครงกำรสอนเสรมิ ประสบกำรณ์พเิ ศษเพื่อเพม่ิ ศักยภำพนกั เรียน ชนั้ ป.1-3 จำนวน 2 ชั่วโมง / สปั ดำห์ 1. วิชา ภาษาไทยพาเพลิน จานวน 1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 2. วชิ า คณิตคิดสนุก จานวน โครงกำรสอนเสรมิ ประสบกำรณพ์ ิเศษเพื่อเพิ่มศักยภำพนักเรยี น ช้ัน ป.4-6 จำนวน 4 ชัว่ โมง / สัปดำห์ 1. วิชา ภาษาไทยพาเพลิน จานวน 1 ชว่ั โมง 1 ชวั่ โมง 2. วชิ า คานวณชวนคดิ จานวน 1 ช่ัวโมง 1 ช่ัวโมง 3. วิชา วิทยาศาสตร์น่ารู้ จานวน 4. วิชา อังกฤษพาเพลนิ จานวน โครงสรำ้ งหลกั สูตรช้ันปี เป็นโครงสร้างทแ่ี สดงรายละเอยี ดเวลาเรยี นของรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวิชา / กิจกรรม เพิม่ เติมและกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นในแต่ละช้นั ปี

10 ส่วนท่ี 2 ทิศทำงกำรพฒั นำกำรศึกษำ 1. ยทุ ธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. - 80) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติได้ดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) เพ่ือ ใชเ้ ป็นกรอบแนวทางการพฒั นาประเทศในระยะ 20 ปี โดยกาหนดวิสยั ทัศน์ เป้าหมายและยุทธศาสตร์ ดังน้ี วสิ ัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” หรอื เป็นคตพิ จนป์ ระจาชาตวิ า่ “มัน่ คง มัง่ คง่ั ยงั่ ยนื ” ควำมม่ันคง หมายถึง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจก บุคคล และมีความม่ันคงในทุกมิติ ท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตยมีการปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น พระประมขุ สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์มีความเขม้ แข็งเปน็ ศนู ยก์ ลางและเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจ ของ ประชาชน มีระบบการเมืองท่ีม่ันคงเป็นกลไกท่ีนาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเน่ืองและโปร่งใสตามหลักธรร มาภิบาล สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่ม่ันคง พอเพียงกับการดารงชีวิต มีการ ออมสาหรับวัยเกษียณ ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้า มีท่ีอยู่อาศัย และความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน ควำมมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ืองและมีความยั่งยืน จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหล่ือมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุข ได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น และมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วน มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจ ในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่างๆ ท้ังในตลาดโลก และตลาดภายในประเทศเพื่อให้สามารถสร้างรายได้ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้าง ฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพ่ือให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาที่เปล่ียนแปลงไป และประเทศไทย มีบทบาทที่สาคญั ในเวทโี ลก และมคี วามสัมพันธท์ างเศรษฐกจิ และการคา้ อย่างแนน่ แฟ้นกบั ประเทศ ใน ภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากน้ัน ยังมีความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้าง การพัฒนาต่อเน่ืองไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสงั คม และทุนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ควำมยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิต ของประชาชนให้เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยู่บนหลักการใช้ การรักษา และการฟ้ืนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ ตอ่ สิง่ แวดล้อมจนเกนิ ความสามารถในการรองรบั และเยียวยาของระบบนิเวศ การผลติ และการบริโภค เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม สมบูรณ์ มากขึ้นและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอ้ืออาทร เสียสละ เพ่ือ ผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายทีม่ งุ่ ประโยชนส์ ่วนรวมอยา่ งยั่งยืน และให้ความสาคัญกบั การมีสว่ นรว่ ม

11 ของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่อื การพฒั นาอย่างสมดลุ มเี สถยี รภาพและยง่ั ยนื โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ พฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง สังคมเปน็ ธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาติยง่ั ยนื ” โดยยกระดบั ศักยภาพของประเทศ ใน หลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม และมีภาครัฐ ของ ประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบดว้ ย 1) ความอยดู่ มี ีสุขของคนไทยและสงั คมไทย 2) ขดี ความสามารถในการแข่งขนั การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสงั คม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม และความยั่งยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การและการเขา้ ถงึ การให้บรกิ ารของภาครฐั ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. - 80) มี ยทุ ธศำสตร์ ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกับภารกิจของสานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ . ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนควำมม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพฒั นาคน เครื่องมอื เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุก รูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาด้านความม่ันคงท่ีมีอยใู่ นปัจจบุ นั และทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต ใชก้ ลไกการแก้ไขปญั หาแบบบูรณาการท้งั กับส่วน ราชการ ภาคเอกชนประชา สงั คม และองค์กรท่ีไม่ใชร่ ัฐ รวมถึงประเทศเพอื่ นบ้านและมิตรประเทศ ทว่ั โลกบนพ้ืนฐานของหลักธรรมาภิบาล เพื่อ เอ้ืออานวยประโยชน์ต่อการดาเนินการของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านอ่ืนๆ ให้สามารถขับเคล่ือนไปได้ตามทิศทาง และเปา้ หมายทกี่ าหนด . ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาท่ี มุง่ เน้นการยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพนื้ ฐานแนวคดิ 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชวี ิต และจดุ เด่นทางทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีหลากหลาย รวมท้งั ความไดเ้ ปรยี บเชงิ เปรียบเทียบของ ประเทศในด้านอ่ืนๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดรับกับบริบทของ เศรษฐกิจ และสังคมโลกสมยั ใหม่ 2) “ปรับปัจจุบนั ” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผา่ นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ใน มิตติ ่างๆ ทัง้ โครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสรา้ งพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดจิ ิทัล และการ ปรับสภาพแวดล้อมให้เอือ้ ต่อการพฒั นาอตุ สาหกรรมและบริการอนาคต 3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่น ใหม่ รวมถึง ปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ท่ีรองรับ อนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนใน เวทีโลก ควบคู่ไปกบั การยกระดบั รายไดแ้ ละการกินดอี ย่ดู ี รวมถงึ การเพิม่ ขนึ้ ของคนช้ันกลางและลดความเหลอ่ื มลา้ ของ คนในประเทศไดใ้ นคราวเดยี วกนั

12 3. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ มีเป้าหมาย การพัฒนาท่ีสาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความ พรอ้ มทงั้ กาย ใจ สติปญั ญา มีพฒั นาการทดี่ ีรอบดา้ นและมสี ุขภาวะทดี่ ีในทกุ ชว่ งวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบ ตอ่ สงั คมและผ้อู น่ื มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดขี องชาติ มีหลักคิดท่ี ถูกต้อง มีทกั ษะทจี่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มที ักษะส่อื สารภาษาองั กฤษและภาษาท่ี 3 และอนุรกั ษภ์ าษาท้องถนิ่ มีนิสัยรักการเรียนรแู้ ละการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ สู่การเป็น คนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผ้ปู ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอ่นื ๆ โดยมีสัมมาชพี ตามความถนดั ของตนเอง 4. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม มีเป้าหมายการ พัฒนาที่สาคัญที่ให้ความสาคัญการดงึ เอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถนิ่ มาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนบั สนุนการรวมตัวของประชาชน ในการร่วมคิดรว่ มทาเพ่อื ส่วนรวม การกระจาย อานาจและความรบั ผิดชอบไปสู่กลไกบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในระดับทอ้ งถน่ิ การเสรมิ สรา้ ง ความเขม้ แข็งของ ชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติ สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรทมี่ ีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองและทาประโยชน์แก่ครอบครวั ชุมชน และ สงั คมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบรกิ ารและสวสั ดกิ ารทม่ี ีคณุ ภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถงึ . ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้าน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอก ประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวตง้ั ในการกาหนดกลยทุ ธแ์ ละแผนงาน และการให้ทกุ ฝ่ายทเ่ี ก่ียวข้องได้ เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้โดยเป็นการดาเนินการ บนพ้ืนฐานการเติบโต ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง 3 ด้าน อนั จะนาไปสคู่ วามยงั่ ยืนเพอื่ คนรุ่นตอ่ ไปอย่างแทจ้ ริง . ยทุ ธศำสตร์ชำติดำ้ นกำรปรบั สมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจดั กำรภำครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และ ประโยชนส์ ว่ นรวม” โดยภาครฐั ตอ้ งมีขนาดทีเ่ หมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หนว่ ยงานของรฐั ท่ี ทาหน้าท่ใี นการกากบั หรอื ในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มกี ารแข่งขันมีขดี สมรรถนะสงู ยดึ หลกั ธรร มาภบิ าล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์สว่ นรวมมีความทนั สมยั และพร้อม ทจ่ี ะ ปรบั ตัวใหท้ นั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการนานวตั กรรม เทคโนโลยีข้อมูล ขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับ มาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมตอ้ ง ร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบอยา่ งส้ินเชงิ นอกจากนนั้ กฎหมายตอ้ งมคี วามชดั เจน มเี พยี งเท่าที่จาเป็นมีความทนั สมัย มี ความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และ นาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอ้ือต่อการพัฒนา โดยกระบวนการ ยตุ ิธรรมมกี ารบริหารทีม่ ีประสิทธิภาพ เปน็ ธรรม ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิและการอานวยความยุตธิ รรมตามหลัก นิติ ธรรม แผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 0- 79 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนที่วางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัด การศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค ใน การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาท่มี ีประสทิ ธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะ ในการ ทางานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาตาม

13 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ยึดหลกั สาคญั ในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลกั การจดั การศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียม และท่ัวถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For Education) อีกท้ังยึดตาม เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลอื่ มล้า ของการกระจายรายได้ และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยนายุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสาคัญในการ จัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระสาคญั ดงั นี้ วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพและมปี ระสิทธิภาพ 2. เพือ่ พัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมอื งดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแหง่ การเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมอื ผนึกกาลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้า ภายในประเทศลดลง ยุทธศำสตร์ ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของสานักงานปลัด กระทรวงศกึ ษาธิการท้งั 6 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี ยทุ ธศำสตร์ที่ กำรจดั กำรศึกษำเพ่ือควำมมั่นคงของสงั คมและประเทศชำติ เปำ้ หมำย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพ้ืนท่ีพิเศษ ไดร้ บั การศกึ ษาและเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ 3. คนทุกช่วงวยั ไดร้ บั การศึกษา การดแู ลและปอ้ งกนั จากภัยคุกคามในชวี ิตรูปแบบใหม่ แนวทำงกำรพฒั นำ 1. พัฒนาการจดั การศึกษาเพอื่ เสรมิ สรา้ งความม่ันคงของสถาบันหลกั ของชาติและการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข 2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสรมิ โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพ้นื ท่ีพิเศษ (พ้ืนที่สูง พ้นื ที่ตามแนวตะเข็บชายแดน และพืน้ ทเี่ กาะแกง่ ชายฝงั่ ทะเล ทงั้ กล่มุ ชนต่างเชอื้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชน-ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว) 4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เปน็ ตน้ ยุทธศำสตร์ท่ี กำรผลิตและพัฒนำกำลังคน กำรวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้ำงขีด ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขันของประเทศ เป้ำหมำย

14 1. กาลงั คนมที กั ษะทีส่ าคญั จาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ 2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จดั การศกึ ษาผลติ บณั ฑติ ทมี่ ีความเชยี่ วชาญและเป็น เลศิ เฉพาะด้าน 3. การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ มลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ แนวทำงกำรพัฒนำ 1. ผลิตและพฒั นากาลังคนใหม้ สี มรรถนะในสาขาทตี่ รงตามความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ 2. สง่ เสริมการผลติ และพัฒนากาลงั คนทม่ี ีความเชยี่ วชาญและเป็นเลิศเฉพาะดา้ น 3. สง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาเพ่อื สรา้ งองคค์ วามรู้และนวัตกรรมท่ีสรา้ งผลผลิตและ มูลคา่ เพ่ิมทางเศรษฐกจิ ยุทธศำสตรท์ ่ี 3 กำรพฒั นำศักยภำพคนทุกช่วงวัย และกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ เปำ้ หมำย 1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและ คณุ ลกั ษณะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 2. คนทกุ ช่วงวัยมีทกั ษะความร้คู วามสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชพี และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้ตามศักยภาพ 3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้ อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน 4. แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรูม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถึงไดโ้ ดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานที่ 5. ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตามและประเมนิ ผลมีประสทิ ธิภาพ 6. ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7. ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทำงกำรพฒั นำ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ อย่างเหมาะสม เตม็ ตามศักยภาพในแต่ละช่วงวยั 2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่างๆ ให้ มี คณุ ภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหล่งเรียนรไู้ ดโ้ ดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานท่ี 3. สร้างเสริมและปรับเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย จิตสาธารณะ และ พฤติกรรมทพ่ี ึงประสงค์ 4. พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมนิ ผลผู้เรยี นให้มปี ระสิทธิภาพ 5. พัฒนาคลังข้อมลู ส่อื และนวัตกรรมการเรียนรู้ ทมี่ คี ุณภาพและมาตรฐาน 6. พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 7. พฒั นาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 4 กำรสรำ้ งโอกำส ควำมเสมอภำคและควำมเทำ่ เทียมทำงกำรศึกษำ เป้ำหมำย 1. ผู้เรียนทกุ คนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ 2. การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสาหรับคนทุก ชว่ งวยั

15 3. ระบบข้อมลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพือ่ การวางแผนการบริหารจัดการศกึ ษา การติดตามประเมินและรายงานผล แนวทำงกำรพัฒนำ 1. เพมิ่ โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพ 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสาหรบั คนทุกชว่ งวยั 3. พัฒนาฐานข้อมลู ดา้ นการศกึ ษาทีม่ ีมาตรฐาน เชอ่ื มโยงและเขา้ ถึงได้ ยุทธศำสตรท์ ี่ กำรจัดกำรศึกษำเพือ่ สรำ้ งเสริมคุณภำพชีวิตทีเ่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม เปำ้ หมำย 1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ัติ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดลอ้ ม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติ 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ท่ีเป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม แนวทำงกำรพัฒนำ 1. ส่งเสริม สนบั สนนุ การสรา้ งจติ สานึกรักษส์ ิง่ แวดล้อม มีคณุ ธรรม จริยธรรม และ นาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ใิ นการดาเนนิ ชีวติ 2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการ เรียนรู้ต่างๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกับการสร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม 3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวติ ที่ เปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม ยุทธศำสตร์ท่ี กำรพฒั นำประสิทธิภำพของระบบบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำ เปำ้ หมำย 1. โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 2. ระบบการบรหิ ารจดั การศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลตอ่ คุณภาพและ มาตรฐานการศกึ ษา 3. ทกุ ภาคส่วนของสงั คมมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาทีต่ อบสนองความต้องการของ ประชาชนและพน้ื ที่ 4. กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจัดการทรัพยากรทางการศกึ ษารองรบั ลกั ษณะ ท่ี แตกตา่ งกนั ของผู้เรียน สถานศกึ ษา และความต้องการกาลงั แรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเปน็ ธรรม สร้าง ขวญั กาลังใจ และสง่ เสรมิ ใหป้ ฏิบัตงิ านได้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ แนวทำงกำรพัฒนำ 1. ปรบั ปรงุ โครงสร้างการบรหิ ารจัดการศึกษา 2. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา 3. ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการจดั การศกึ ษา 4. ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพและ ประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษา 5. พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

16 นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พืน้ ฐำน ปงี บประมำณ พ.ศ.2563 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึด หลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในอนาคต เป็น แนวทางในการจัด การศึกษาจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติพ.ศ. 2561–2580 แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. 2561-2580) แผนปฏริ ูปประเทศด้านการศึกษา แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับ ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2565) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579 และมุ่งสู่ Thailand 4.0 ดังนี้ นโยบายที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาเพอ่ื ความมน่ั คงของมนษุ ย์และของชาติ นโยบายที่ 2 ดา้ นการจดั การศึกษาเพือ่ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นโยบายที่ 3 ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ นโยบายที่ 4 ดา้ นการสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศกึ ษาที่มคี ุณภาพ มีมาตรฐานและ ลดความ เหลื่อมล้าทางการศึกษา นโยบายที่ 5 ดา้ นการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม นโยบายท่ี 6 ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา วสิ ัยทัศน์ “สรา้ งคณุ ภาพทุนมนษุ ย์สู่สงั คมอนาคตที่ย่งั ยนื ” พนั ธกิจ 1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง ในระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ 2. พฒั นาผู้เรยี นให้มีความสามารถความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขัน 3. พฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพผูเ้ รียนใหม้ ีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะ ในศตวรรษท่ี 21 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รบั บริการทาง การศึกษาอยา่ ง ท่ัวถึง และเท่าเทยี ม 5. พัฒนาผูบ้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้เป็นมอื อาชีพ 6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาท่ียงั่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ัล (Digital Technology) เพือ่ พัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0 เปำ้ หมำย 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข มีทัศนคติทีถ่ กู ต้องตอ่ บ้านเมือง มีหลกั คดิ ทถี่ กู ตอ้ ง และเป็นพลเมอื งดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน ซ่ือสัตย์สุจริต มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินยั รกั ษาศลี ธรรม 2. ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และอ่ืน ๆ ไดร้ ับ การพัฒนาอย่างเต็มตามศกั ยภาพ 3. ผเู้ รยี น เป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรู้ คดิ ริเรมิ่ และสร้างสรรคน์ วัตกรรม มีความรู้ มที กั ษะ มีสมรรถนะ ตาม หลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาวะท่ีเหมาะสมตามวัย มีความสามารถใน การพงึ่ พา แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 25 ตนเอง ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

17 และการเป็นพลเมือง พลโลกท่ีดี (Global Citizen) พร้อมก้าวสู่สากล นาไปสู่การสร้างความสามารถในการ แขง่ ขนั ของประเทศ 4. ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ใน พื้นที่ หา่ งไกลทุรกันดาร ได้รบั การศกึ ษาอย่างท่วั ถงึ เท่าเทียม และมีคุณภาพ 5. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณ ตาม มาตรฐานวชิ าชีพ 6.สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน ( Sustainable Development Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 7. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา สถานศกึ ษา มสี มดลุ ใน การ บรหิ ารจัดการเชงิ บูรณาการ มีการกากับ ติดตาม ประเมนิ ผล มรี ะบบข้อมลู สารสนเทศ ทีม่ ีประสิทธิภาพ และการ รายงานผลอยา่ งเป็นระบบ ใชง้ านวจิ ยั เทคโนโลยีและนวตั กรรม ในการขับเคลอื่ นคณุ ภาพการศึกษา ทิศทำงกำรจดั กำรศกึ ษำ สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำตรงั เขต 1 กลยทุ ธ์ท1ี่ จัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมน่ั คงของมนุษย์และของชาติ กลยุทธท์ ่ี 2 พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ให้มที กั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 และเพมิ่ ขดี ความสามารถ ในการแข่งขนั ของประเทศ กลยทุ ธ์ท่ี 3 พฒั นาผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ใหม้ ีสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี มีศักยภาพ มี คุณธรรม จริยธรรม กลยุทธท์ ่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ มีมาตรฐาน และการลดความ เหล่ือมล้า ทางการศึกษา กลยุทธ์ท่ี 5 จัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม กลยุทธท์ ่ี 6 พัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษา ตามหลักธรรมาภบิ าล และใชเ้ ทคโนโลยดี ิจติ ลั ในการบริหาร ทิศทำงกำรจัดกำรศกึ ษำ โรงเรียนวัดทุง่ หินผดุ การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกของโรงเรียน จากการวเิ คราะหแ์ ละสรุปผลการปฏบิ ตั ิงานของโรงเรียนในรอบปีท่ผี ่านมา ปรากฏผลดงั นี้ . จุดเดน่ 1) ผปู้ กครอง ชมุ ชน เหน็ ความสาคญั ของการศกึ ษาและให้ความร่วมมือในการพฒั นาเปน็ อยา่ งดี 2) ผเู้ รยี นมีสนุ ทรียภาพและลักษณะนสิ ยั ด้านศลิ ปะ ดนตรีและกฬี า มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและ ค่านยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ ผเู้ รียนเลน่ และท ากจิ กรรมร่วมกับผู้อนื่ ได้และช่ืนชมในผลงานของตัวเอง 3) ผู้เรียนมีสุขนสิ ยั สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มนี สิ ัยรกั การอ่าน สนใจแสวงหาความรู้จาก แหล่งตา่ งๆ รอบตวั 4) ครใู นระดับปฐมวยั มีคุณวฒุ ิ ความรคู้ วามสามารถตรงกบั งานที่รับผิดชอบ มีคณุ ลกั ษณะเหมาะสม 5)โรงเรยี นสามารถจัดการบริหารจดั การที่มีการจัดกจิ กรรมส่งเสริมคุณภาพผเู้ รยี นได้อยา่ งหลากหลาย . จุดควรพฒั นำ 1) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิด สร้างสรรค์ คิดไตรต่ รอง และมวี ิสยั ทศั น์ และทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรยี นรูแ้ ละพัฒนา ตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง

18 2) ผเู้ รยี นควรได้รับการพฒั นาใหม้ คี วามม่ันใจกล้าแสดงออก มคี วามสามารถในการจาแนก แจกแจง จัดลาดบั ข้อมูล สรุปเชื่อมโยงความสัมพันธ์ สามารถคาดการณ์ กาหนดเป้าหมายในอนาคต 3) โรงเรียนควรประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สูตรและปรบั ปรุงหลกั สตู รใหเ้ หมาะสมกับท้องถน่ิ และ บรบิ ทของโรงเรียน 4) โรงเรยี นควรนาหลักพทุ ธศาสนา เพอ่ื พัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ให้ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ติ น ตามหลกั ศาสนา จนเป็นลักษณะนสิ ยั ท่แี ทจ้ รงิ และเกดิ ผลต่อผูเ้ รียนอย่างชัดเจน 5) โรงเรยี นควรใหค้ วามสาคญั ในการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ขิ องผเู้ รยี นให้ไดม้ าตรฐานการศกึ ษาและ เพ่อื เป็นพ้นื ฐานในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพในอนาคต 6) ครูควรใหก้ ารเอาใจใส่ มุง่ มั่นพัฒนาผู้เรยี นอย่างอย่างเตม็ ศักยภาพ 7) โรงเรียนควรพฒั นาการประกันคณุ ภาพภายในใหเ้ ป็นระบบครบวงจร โดยเฉพาะขนั้ ตอนการ ประเมนิ ผล และการนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ แผนปฏิบัติงานในปตี ่อไป 3. โอกำส 1) ชมุ ชน องค์การบรหิ ารส่วนทอ้ งถน่ิ และองคก์ รชมุ ชน มคี วามสัมพนั ธ์ทด่ี ีกบั โรงเรียน และให้ ความรว่ มมอื เปน็ อย่างดี 2) โรงเรยี นมพี น้ื ที่กว้างสามารถจัดเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ได้อยา่ งหลากหลายและใหบ้ ริการชมุ ชนได้ เปน็ อยา่ งดี 4. อุปสรรค 1. โรงเรียนมีครูไม่ครบชน้ั ไมค่ รบวิชาเอก ทาให้การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนมผี ลกระทบ ต่อผเู้ รยี นท่ีไม่สามารถศกึ ษาเล่าเรียนได้เต็มศักยภาพ 2. โรงเรียนขาดงบประมาณในการจัดหาวัสดอุ ปุ กรณม์ าใช้ในการจัดการเรยี นการสอน และการ พัฒนาดา้ นอาคารสถานที่ สภาพแวดลอ้ มให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้ทด่ี ีได้ 1. ปรัชญา (Philosophy) ชวี ิต คอื การเรยี นรู มุงสูความเปล่ียนแปลงท่เี ปนสขุ 2. คาขวญั (Slogan) เปนคนดี มคี วามรูคคู ุณธรรม นาพาสขุ 3. วิสยั ทศั น ( vision ) โรงเรียนวดั ทุงหินผุดจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผูเรยี นใหมคี ุณธรรม เปนบุคคลแหงการเรยี นรูโดยนอม นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูการเรียนรู การส่ือสารํล้าสมัย เทคโนโลยีกาวไกลรักษาเอกลักษณของชาติ ไทย 4. พนั ธกิจ ( misson ) 1. จัดการศกึ ษาปฐมวัยและการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 6 ป แกนกั เรียนในเขตบรกิ ารทั่วถึงทุกคน 2. สงเสริมผูเรียนใหมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คานยิ มที่ดี มวี ินัย เสียสละ มจี ติ สานึกและตระหนกั ถึงความ เปนไทย มุงการทาประโยชนตอสวนรวม 3. พัฒนาคณุ ภาพผูเรียนใหสามารถสือ่ สารดวยระบบที่ทันสมยั กาวไกลทันเทคโนโลยี 4. จัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรยี นใหสะอาด เขยี วรมรน่ื นาอยู เปนแหลงเรียนรูที่ดี 5. สงเสรมิ ระบบบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาใหมปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล โดยเนนการมี สวนรวม 6. สงเสรมิ กากับตดิ ตามใหผูเรยี นนาความรูไปใชในการดารงชีวิตไดอยางมีความสขุ . เปำประสงค (GOAL) 1. นักเรียนไดรับการศึกษาตามหลักสูตรท่ัวถึงทุกคนอยางมีคุณภาพ และพัฒนาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มคี วามตระหนัก รักความเปนไทย

19 2. ครู บุคลากร มีความรูความสามารถใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรูโดยยึดผูเรยี น เปนสาคัญ ผลผลิตหลกั คือนกั เรียนสามารถส่ือสารไดอยางเปนระบบถูกตอง รวดเรว็ ชดั เจน เปนสากล 3. ชุมชนมสี วนรวมในการจดั การศกษึ าอยางมีประสทิ ธิภาพ 4. ชุมชนเปนแหลงเรียนรู บุคลากร ผูเรียนมีความสุขในการเรียนรูรวมกัน และใชชีวิตอยูในสังคมได อยางมีความสขุ ตลอดเวลา . กลยุทธโรงเรียนวัดทุงหินผุด กลยทุ ธที่ 1 พัฒนาองคกร จุดเนน คอื 1. พัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจหลักธรรมาภิบาล และเนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนและความรวมมือกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพ่ือสงเสริมและ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษา(สนองนโยบายท่ี 5 สพฐ./กลยุทธท่ี 5 สพป.ตรงั เขต 1) 2. พฒั นาสภาพแวดลอมภายในใหสะอาด เขยี วรมรืน่ สวยงาม 3. สารวจและพัฒนาแหลงเรยี นรูในโรงเรียนและในชมุ ชนนอกโรงเรยี น 4. พฒั นาอาคารสถานท่ีใหเกดิ ประโยชนสูงสดุ 5. พัฒนาหองเรียน หองพิเศษ ใหสวยงาม เกดิ ประโยชน กลยทุ ธที่ 2 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทง้ั ระบบ (ครูขยนั /มีความรู ความสามารถ) จุดเนน คือ 1. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบ (สนองนโยบายที่ 3 ของ สพฐ./กลยุทธ ที่ 3 ของ สพป.ตรงั เขต 1) 2. พฒั นาวิธีปฏิบตั ิงานทีเ่ ปนเลศิ ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 3. พฒั นาระบบการนิเทศภายในโรงเรยี น กลยุทธที่ 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา (นกั เรียนดแี ละเกง) จดุ เนน คอื 1. พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับกอนประถมศกึ ษาและระดบั ประถมศึกษา ตามหลกั สูตร และสงเสริมความสามารถดานเทคโนโลยเี พ่ือเปนเครือ่ งมือในการเรียนรู(สนองนโยบาย ท่ี 2 ของ สพฐ./กลยุทธที่ 2 ของ สพป.ตรงั เขต 1) 2. ปลูกฝงคุณธรรม ความสานึกในความเปนชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง (นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติดี มีวินัย ต้ังใจเรียน) (สนองนโยบายที่ 2 ของ สพฐ./กลยุทธท่ี 2 ของ สพป.ตรงั เขต 1) 3. นักเรียนมีความรูดี 3.1 อานคลอง เขียนคลอง มคี วามสามารถในการสอื่ สาร 3.2.มีทักษะทางคณติ ศาสตรดานตางๆ ตามวัย 3.3 มีทกั ษะการคิดวิเคราะห คิดสงั เคราะห มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรคคิด ไตรตรอง และมวี ิสัยทศั นดวยตนเอง 4. นกั เรยี นมีการพัฒนาสุขภาวะทีด่ แี ละสนุ ทรียภาพ 4.1 การบริหารจัดการตามโครงการอาหารกลางวัน 4.2.ชมุ นุมศลิ ปะ 4.3 ชุมนุมดนตร/ี รองเพลง

20 5. สงเสริมและสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาภาคบงัคับและการศึกษาขั้พื้นฐาน (สนอง นโยบายท่ี 2 ของ สพฐ./กลยทุ ธที่ 2 ของ สพป.ตรัง เขต 1) กลยทุ ธที่ 4 พัฒนาการมสี วนรวม (ชุมชนรวมมอื : SBM) จุดเนน คือ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจ หลักธรรมาภิบาล และเนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนและความรวมมอื กับองคกรปกครองสวนท องถิ่นเพ่ือสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา (สนองนโยบายที่ 4 ของ สพฐ./กลยุทธที่ 4 สพป. ตรังเขต 1) 1. การมสี วนรวมของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 2. การมีสวนรวมของคณะกรรมการโรงเรียนข้นั พื้นฐาน 3. การมสี วนรวมของผูปกครอง 4. การมีสวนรวมของชมุ ชน ภาคเอกชน และทองถิน่ 5. ยกระดับโรงเรียนใหมีมาตรฐานตามบริบทของพ้ืนที่ เพื่อใหพัฒนาผูเรียนมีคุณภาพมี มาตรฐานเสมอกนั สว่ นที่ 3 กำรจดั สรรงบประมำณตำมแผนปฏิบัตกิ ำร แผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณ ประจำปกี ำรศกึ ษำ 25 3 โรงเรียนวดั ทุง่ หินผุด 1. กำรจัดสรรงบประมำณหมวดเงินอุดหนนุ ฯ ของ สพฐ. จานวน 5 รายการ ไดแ้ ก่ 1.1 เงนิ อดุ หนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การเรยี นการสอน 1.2 เงินอุดหนุนค่าหนังสือเรียน 1.3 เงนิ อดุ หนุนค่าเครือ่ งแบบนักเรยี นเรยี น 1.4 เงินอุดหนนุ ค่าอปุ กรณก์ ารเรยี น 1.5 เงนิ อดุ หนนุ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ตามนโยบายสนับสนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษาตง้ั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนถงึ จบการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 2. เกณฑก์ ำรจดั สรรงบประมำณหมวดเงนิ อุดหนนุ ฯ ของ สพฐ. (คดิ ตามรายหวั นกั เรียน) 2.1 เงนิ อุดหนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการเรียนการสอน -ระดับปฐมวัย ปีการศึกษาละ 1,700 บาท / คน (โรงเรียนขนาดเลก็ รบั เพมิ่ 500 บาท) -ระดับประถมศึกษา ปกี ารศกึ ษาละ 1,900 บาท / คน (โรงเรียนขนาดเล็กรับเพ่ิม 500 บาท) 2.2 เงินอุดหนุนค่าหนังสอื เรียน -ระดบั ปฐมวัย คนละ 200 บาท / คน / ปี -ระดบั ประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 คนละ 625 บาท / คน / ปี ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 คนละ 619 บาท / คน / ปี ประถมศึกษาปีท่ี 3 คนละ 622 บาท / คน / ปี ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 คนละ 673 บาท / คน / ปี ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 คนละ 806 บาท / คน / ปี ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 คนละ 818 บาท / คน / ปี 2.3 เงนิ อดุ หนนุ ค่าเครื่องแบบนกั เรยี นเรยี น -ระดับปฐมวัย คนละ 300 บาทตอ่ ปี

21 -ระดับประถมศึกษา คนละ 360 บาทต่อปี 2.4 เงนิ อุดหนุนค่าอปุ กรณก์ ารเรียน -ระดบั ปฐมวัย คนละ 100 บาทตอ่ ภาคเรยี น (ปลี ะ 200 บาท / คน / ป)ี -ระดบั ประถมศกึ ษา คนละ 195 บาทตอ่ ภาคเรยี น (ปีละ 390 บาท / คน / ป)ี 3. ประมำณกำรรำยรับงบประมำณ ประจำปีกำรศกึ ษำ 2563 โดยกำรคำนวณจำกรำยหวั นักเรียน (จากยอด 18 ก.ค. 2563 ) 3.1 เงนิ อดุ หนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการเรยี นการสอน -ระดบั ปฐมวยั จานวน 24 คนๆ ละ 2,200 บาท / ปี จานวน 52,800 บาท -ระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 80 คนๆ ละ 2,400 บาท / ปี จานวน 19,200 บาท รวมจำนวน 44,800 บำท 3.2 เงนิ อดุ หนนุ ฯ คงเหลอื จากปีการศกึ ษา 2562 รวมจำนวน 33, 4 .79 บำท 3.3 เงินอดุ หนนุ ค่าหนงั สือเรียน -ระดับปฐมวยั จานวน 24 คนๆ ละ 200 บาท / ปี จานวน 4,800 บาท -ระดับประถมศกึ ษา ประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 16 คนๆละ 625 บาท/ ปี จานวน 10,000 บาท ประถมศึกษาปที ี่ 2 จานวน 9 คนๆละ 619 บาท/ ปี จานวน 5,571 บาท ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 จานวน 19 คนๆละ 622 บาท/ ปี จานวน 11,818 บาท ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 7 คนๆละ 673 บาท/ ปี จานวน 4,711 บาท ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 จานวน 13 คนๆละ 806 บาท/ ปี จานวน 10,478 บาท ประถมศกึ ษาปีที่ 6 จานวน 16 คนๆละ 816 บาท/ ปี จานวน 13,056 บาท รวมจำนวน , 34 บำท 3.4 เงนิ อดุ หนนุ ค่าเครื่องแบบนักเรียน -ระดับปฐมวยั จานวน 24 คนๆละ 300 บาท/ ปี จานวน 7,200 บาท -ระดับประถมศึกษา จานวน 80 คนๆละ 360 บาท/ ปี จานวน 28,800 บาท รวมจำนวน 36,000 บำท 3.5 เงนิ อดุ หนุนคา่ อปุ กรณ์การเรียน -ระดบั ปฐมวัย จานวน 24 คนๆละ 200 บาท/ ปี จานวน 4,800 บาท -ระดบั ประถมศึกษา จานวน 80 คนๆละ 390 บาท/ ปี จานวน 31,200 บาท รวมจำนวน 36,000 บำท 3.6 เงนิ อุดหนนุ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น -ระดับปฐมวยั จานวน 24 คนๆละ 215 บาท/ ปี จานวน 5,160 บาท -ระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 80 คนๆละ 240 บาท/ ปี จานวน 19,200 บาท รวมจำนวน 4,3 0 บำท 3.7 รวมงบประมาณหมวดเงนิ อดุ หนนุ ฯ ประจาปีการศึกษา 2563 รวมงบประมำณประจำปีกำรศกึ ษำ 2563 จำนวน 430,340 บำท 4. กำรกำหนดแผนกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ ประจำปีกำรศกึ ษำ 2563 4.1 งบบคุ ลากร - ค่าจ้างครูวิทยาศาสตร์ จานวน 60,000 บาท 4.2 งบดาเนนิ งาน

22 - จา่ ยคา่ สาธารณูปโภค จานวน 57,600 บาท 4.3 งบลงทุน - จดั ซ้อื เครอื่ งปรนิ้ เตอร์ จานวน 3,091 บาท 5. กำรจดั ต้ังงบประมำณ ตำมแผนงำน / โครงกำร ตำมแผนปฏิบตั ิรำชกำรประจำปกี ำรศึกษำ 2563 รายการ เงนิ นอกงบประมาณ เงินงบประมาณ รายไดส้ ถานศกึ ษา 5.1 งานวชิ าการ (เงินบรจิ ำค เพือ่ กำรจดั กำรศกึ ษำ) จานวน 5 โครงการ 5.2 งานบรหิ ารทั่วไป 124,000 บาท - 30,000 บาท จานวน 7 โครงการ 5.3 งานบุคลากร 36,000 บาท - 10,000 บาท จานวน 1 โครงการ 5.4 งานงบประมาณ 24,000 บาท - 36,000 บาท จานวน 1 โครงการ 5.5 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 57,600 - - 5.6 เงนิ สนบั สนุนเรยี นฟรี 15 ปี 5.7 งบสารองจ่าย 52,398 บาท - - รวม 127,634 บาท - - 8,708 บาท 430,340 บำท - 76,000 บาท

23 ภำคผนวก

24 ชอ่ื โครงการ โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นปฐมวยั กลยุทธ์ ขอ้ 2,3 พัฒนาครูและบุคลากร,พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา สนองมาตรฐาน ระดับการศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานท่ี 1(1.1,1.2) มฐ.3(1,2,3) ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มาตรฐานท่ี 1(1.1,1.2) มฐ.3(1,2,3) สนองกลยทุ ธ์ สพป.ตรัง เขต 1 ขอ้ 2 สนองจุดเน้น สพป.ตรงั เขต 1 ข้อ 3, 4 ,5 และ6 ลกั ษณะโครงการ โครงการต่อเนอื่ ง ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นางสุณี รองรักษ์ งบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ 10,๐00 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 1 กรกฎาคม 256๓ – 31 มนี าคม 256๔ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. หลักกำรและเหตุผล โรงเรยี นวัดทุ่งหินผุดจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อเปน็ การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาเด็กอย่างสมวัย มีคุณภาพ คือพัฒนาการด้านร่างกาย ให้มีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน มีทักษะการเคล่ือนไหว ตามวัย มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพตน และหลีกเลี่ยงต่อสภาวะท่ีเสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัยและสิ่งเสพติด พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ให้ร่าเริงแจ่มใสมีความรู้สึกท่ีดีต่อตนเอง มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ชืน่ ชมศลิ ปะดนตรี การเคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ พัฒนาการด้าน สังคม ให้มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน เล่นและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาท่ีตนนับถือ และพัฒนาการด้าน สตปิ ัญญา ใหส้ นใจเรียนรู้สิง่ รอบตัว ซกั ถามอยา่ งต้งั ใจและรักการเรียนรู้ มีความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับส่งิ ต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวยั มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ต่อจากนั้นจะส่งผลให้เด็กมคี วามพร้อมที่จะศึกษาต่อ ในชั้นตอ่ ไป อย่างมคี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ มคี วามเสมอภาคอย่างเทา่ เทียม 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพ่อื ใหเ้ ดก็ ระดบั ก่อนประถมศกึ ษาไดม้ ีพัฒนาการท่ีดใี นทุกๆ ดา้ น 2.2 เพ่อื พฒั นาการจัดการศึกษาปฐมวัยให้มคี ุณภาพ ประสิทธิภาพ เสมอภาคอย่างเท่าเทียม

25 2.3 เพือ่ ให้เด็กปฐมวัยไดร้ บั การพัฒนาการเตรียมความพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกาย ด้านอารมณแ์ ละ จติ ใจ ดา้ นสงั คม และดา้ นสตปิ ญั ญาเพื่อเขา้ เรียนต่อระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เรม่ิ ท่ชี น้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 3. เป้ำหมำย 3.1 เชงิ ปริมาณ 3.1.1 นกั เรยี นระดบั กอ่ นประถมศกึ ษาทุกคนมีการพฒั นาการทุกดา้ น 3.1.2 นกั เรียนระดับกอ่ นประถมศกึ ษาทกุ คนไดเ้ ข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 นักเรยี นระดบั กอ่ นประถมศึกษามพี ัฒนาการทีด่ ที ั้ง 4 ดา้ น 3.2.2 นกั เรียนระดบั ก่อนประถมศกึ ษา มีความพรอ้ มทจ่ี ะเขา้ เรียนในชน้ั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1 หรือชั้นทส่ี ูงข้ึนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4. กิจกรรมและกำรดำเนนิ งำน ขน้ั กำรดำเนนิ งำน วิธีกำรดำเนินงำน ระยะเวลำดำเนนิ งำน ผรู้ บั ผดิ ชอบ ๑ ก.ค.๖๓-๓๑ พ.ค.๖๓ นางสุณี รองรักษ์ ๑.ขั้นเตรียมการ 1.ประชมุ กาหนด โครงการ 2.ขออนมุ ัตโิ ครงการ 3.ประชุมครชู ้แี จงโครงการ 4.จดั เตรยี มสอ่ื วสั ดุ อุปกรณ์ กิจกรรมโครงการ ๒.ขั้นดาเนนิ การ 1 กจิ กรรมหนูนอ้ ยคคู่ ุณธรรม ๑ ก.ค.๖๓-๓๐ มี.ค.๖๔ นางสณุ ี รองรกั ษ์ 2 กจิ กรรมบ้านนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย 3 กจิ กรรมหนนู ้อยคนเก่ง นางนภสร แก้วเกิด 4 กจิ กรรมหนรู ักภาษาไทย 5 กิจกรรมสขุ ภาพดีมีสุข 6 กจิ กรรมหอ้ งเรียนคณุ ภาพ ๓.ขน้ั ตรวจสอบและประเมิน รายงานผลการดาเนนิ กิจกรรมโครงการ ๑-๓๐ มี.ค.๖๔ นางสุณี รองรกั ษ์

26 5.รำยละเอยี ดกำรใช้งบประมำณ งบประมาณ เ งิ น น อ ก งบประมาณ ท่ี กจิ กรรมสาคญั งบบคุ ลากร งบดาเนนิ งาน งบลงทนุ รวม 1 กจิ กรรมหนูน้อยคู่คุณธรรม -- - -- 2 กจิ กรรมบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อย -- - -- 3 กจิ กรรมหนนู อ้ ยคนเก่ง (เครื่องพรน้ิ /หมกึ ) -- - 5,000 5,000 4 กจิ กรรมหนรู ักภาษาไทย -- - 1,000 1,000 5 กิจกรรมสุขภาพดีมีสุข -- - 1,000 1,000 6 กิจกรรมหอ้ งเรยี นคุณภาพ -- - 3,000 3,000 รวม 10,000 10,000 (สามารถถวั จ่ายไดท้ กุ รายการ) -- - 6. ผลกำรประเมิน ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ วิธีการประเมิน เครื่องมอื ท่ใี ช้ 1.นักเรียนระดับกอ่ นประถมศึกษามกี ารพัฒนา - การสังเกต 1.แบบบันทึกพฤติกรรม ความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์และจติ ใจ - การบันทกึ 2.แบบบนั ทึกรายวัน สงั คม และสติปญั ญา - การตรวจผลงาน 3.แบบสารวจรายการ 2. เขา้ เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ได้อยา่ งเสมอภาค 4.แบบประเมนิ พฒั นาการกั เรียน 7. ผลทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ ับ 7.1 นักเรยี นระดับกอ่ นประถมศึกษาทกุ คนมกี ารพัฒนาการในทกุ ด้านอย่างมปี ระสิทธิภาพ 7.2 นกั เรียนเขา้ เรยี นในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยมีความพรอ้ มในทุกๆ ด้าน

27 ผเู้ สนอโครงการ ผูเ้ ห็นชอบโครงการ ลงช่อื ลงช่อื (นางสุณี รองรักษ์) (นางอมรรตั น์ ช่วยด้วง) ตาแหน่ง ครโู รงเรยี นวดั ท่งุ หนิ ผุด ตาแหน่ง ครูโรงเรียนวัดทุ่งหินผุด หวั หนา้ งานบริหารวิชาการ ผูอ้ นมุ ัติโครงการ ลงชอ่ื (นายอานาจ ขันทกาญจน์) ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนวดั ทงุ่ หินผดุ

28 โครงการ โครงการยกระดบั การจดั การศกึ ษาปฐมวัย กลยุทธ์ ข้อข้อ 2,3 พัฒนาครแู ละบุคลากร,พัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา สนองมาตรฐาน ระดับการศกึ ษาปฐมวัย มาตรฐานที่ 1(1.1,1.2) มฐ.3(1,2,3) มาตรฐานท่ี 1 (1.1,1.2) มฐ.3(1,2,3) สนองกลยุทธ์ สพป. ขอ้ 3 สนองจดุ เนน้ สพป. ข้อ 2 ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่อื ง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนภสร แก้วเกิด กลุ่มทรี่ ับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานวิชาการ/ปฐมวัย งบประมาณ เงินนอกงบประมาณ 60,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 1 กรกฎาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. หลกั กำรและเหตผุ ล . หลักกำรและเหตุผล ตามพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 52 ส่งเสริมให้มีการพัฒนาครูปฐมวัยให้มี คุณภาพและมีมาตรฐานเหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบตั ิงานและจัดการเรยี นการสอนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ บังเกิดผลดีแก่ผู้เรียนซงึ่ เปน็ เปา้ หมายสงู สุดในการจัดการศกึ ษา . วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ใหค้ รปู ฐมวยั ได้ศึกษาหาความรู้ และเทคนคิ วิธีการใหม่ ๆ 2. เพื่อให้ครูปฐมวัยมีความสามารถในการใช้ส่ือเทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการเรียนรู้ ของเดก็ 3. เพ่อื ใหค้ รปู ฐมวยั มีการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาการเรยี นรขู้ องเดก็ และนาผลไปใชพ้ ฒั นาเด็ก 3. เป้ำหมำย 3.1 เป้าหมายเชงิ ปริมาณ

29 3.1.1 ครูระดับปฐมวัยทุกคนได้ศึกษาหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ ๆ พัฒนาตนเองด้วย การอบรม ประชมุ อย่างต่อเนอื่ ง 3.1.2 ครูปฐมวยั ทกุ คนสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการเรียนรู้ ของเดก็ 3.1.3 ครูปฐมวัยทกุ คนมกี ารทาวิจยั เพื่อพฒั นาคุณภาพนักเรยี น 3.2 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ 3.2.1 ร้อยละของครปู ฐมวัยท่ีได้รับการพัฒนาตนเองดว้ ยการอบรมสมั มนาศึกษาดงู าน 3.2.2 ร้อยละของครูปฐมวัยที่ใช้ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี เหมาะสมและสอดคล้องกับการ เรียนรขู้ องเดก็ 4. กิจกรรมและกำรดำเนินงำน ขั้นการดาเนินงาน วธิ กี ารดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผู้รับผิดชอบ 1 ก.ค 63-31 พ.ค.63 นางนภสร แก้วเกดิ 1.ขั้นเตรยี มการ 1.ประชมุ กาหนด โครงการ 1 ก.ค.63-31 ม.ี ค.64 นายอานาจ ขันทกาญจน์ 2.ขออนุมัตโิ ครงการ นางนภสร แก้วเกิด/ นางสุณี รองรกั ษ์ 3.ประชมุ ครูชแ้ี จงโครงการ นางนภสร แก้วเกิด 4.จัดเตรียมสอ่ื วัสดุ อุปกรณ์ กจิ กรรมโครงการ 2.ขัน้ ดาเนนิ การ 1.จดั จา้ งครปู ฐมวัย 2.กจิ กรรมการผลิตสอื่ 3.ขั้นตรวจสอบและประเมนิ รายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมโครงการ 1-31 มี.ค.64 5. รำยละเอียดกำรใช้งบประมำณ งบประมาณ เ งิ น น อ ก รวม ท่ี กิจกรรมสาคญั งบประมาณ 1 จดั จ้างครปู ฐมวัย งบบคุ ลากร งบดาเนนิ งาน งบลงทุน 60,000 60,000 ---

30 รวม - - - 60,000 60,000 6. ผลกำรประเมนิ วธิ กี ารประเมิน เคร่อื งมือ ตวั ช้วี ัดความสาเร็จ - การสงั เกต 1.แบบบนั ทึกพฤติกรรม 1 ผลสมั ฤทธ์กิ ิจกรรมตามโครงการ - การบันทึก 2.แบบบนั ทึกรายวัน 2 การรายงานผลการดาเนนิ โครงการ - การตรวจผลงาน 3.แบบสารวจรายการ 4.แบบประเมิน 7. ผลทีค่ ำดว่ำจะได้รับ 7.1 ครปู ฐมวยั สามารถการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นร้ไู ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยเน้นเดก็ เปน็ สาคญั 7.2 ครปู ฐมวัยสามารถใช้สอื่ เทคโนโลยที ีท่ นั สมัย ทเี่ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั การเรยี นรขู้ องเด็ก 7.3 ครูปฐมวัยมีการวิจยั เพื่อพฒั นาการเรยี นรูข้ องเด็กและพฒั นาเด็กตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั ผู้เสนอโครงการ ผู้เหน็ ชอบโครงการ ลงช่อื ลงชอ่ื (นางนภสร แก้วเกดิ ) (นางอมรรตั น์ ชว่ ยด้วง) ตาแหนง่ ครโู รงเรียนวดั ทุง่ หนิ ผุด ตาแหนง่ ครโู รงเรียนวัดทงุ่ หินผุด หวั หน้างานบรหิ ารวชิ าการ ผ้อู นุมตั โิ ครงการ ลงชอ่ื (นายอานาจ ขันทกาญจน์) ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรยี นวดั ทุ่งหนิ ผุด

31 โครงการ โครงการยกระดับคณุ ภาพผู้เรียน (ประถมศกึ ษา) สนองกลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ท่ี 3 พฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาโรงเรียน ระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มาตรฐานที่ 2 , มาตรฐานท่ี 4 สนองกลยุทธ์ สพป. ขอ้ 4 สนองจดุ เน้น สพป. ขอ้ 2,3,4 ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอมรรตั น์ ชว่ ยดว้ ง ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เนือ่ ง กลุ่มทรี่ บั ผิดชอบ การบรหิ ารวชิ าการ งบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ 75,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 1 กรกฎาคม 2563 – 10 เมษายน 2564 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. หลักกำรและเหตผุ ล การจดั การเรียนการสอนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา เป็นการสนองเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ ทีม่ ่งุ เน้นให้ใชก้ ารปฏริ ูปการเรยี นรูเ้ ปน็ หัวใจ บนพ้ืนฐานความเชื่อทว่ี ่า “การจดั การเรยี นรู้ ผู้เรียนสาคัญที่สุด” สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นไดม้ โี อกาสเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตามความถนดั ความสนใจ และเต็ม ศกั ยภาพ โดยมเี ปา้ ประสงค์ท่ีสาคัญคือ พัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณภาพ เป็นท้ังคนเกง่ คนดี และมีความสุข ตาม จุดมงุ่ หมายหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานกาหนด ซงึ่ ต้องอาศยั การศึกษาทเี่ ปน็ ระบบ และมปี ระสทิ ธิภาพ ดังนน้ั โรงเรียนวดั ทุ่งหินผุดจงึ ไดจ้ ดั โครงการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นขน้ึ เพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ คี วามรู้ ความสามารถให้ครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยเฉพาะดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม การรจู้ ักตนเอง พึง่ ตนเอง และส่งเสรมิ สนบั สนุนสร้างแรงจูงใจใหผ้ ูเ้ รียนทม่ี ีความมน่ั ใจกลา้ แสดงออก และเปน็ เยาวชนท่ดี ีของสังคม 2.วตั ถุประสงค์ 2.1 เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นมที ักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และเรยี นรรู้ ว่ มกบั ผู้อืน่ ได้ 2.2 เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นมีนักเรียนมีทักษะดา้ นการคดิ การวเิ คราะห์ สามารถแก้ปญั หาได้ 2.3 เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้และทักษะทจ่ี าเปน็ ตามหลักสตู รและมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ข้ึน

32 3 เปำ้ หมำย 3.1 เชิงปรมิ าณ 3.1.1 นกั เรยี นระดับประถมศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขึน้ ทุกคน 3.1.2 นกั เรยี นทุกคนมคี วามรู้และทกั ษะพื้นฐานและแสวงหาความร้เู พ่มิ เติมได้ ร้อยละ 85 3.1.3 นักเรยี นทกุ คนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ ตามสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 3.2 เชงิ คณุ ภาพ 3.2.1 นักเรียนไดพ้ ฒั นาตนเองในดา้ นการแสวงหาความรู้ ความรว่ มมอื ความรบั ผดิ ชอบ การทางาน เป็นกลมุ่ 3.2.2 นักเรยี นมีทกั ษะด้านการคดิ การวิเคราะห์ การแก้ปญั หา และการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ รู้จัก วิธแี สวงหาความรู้เพ่มิ เตมิ และทางานรว่ มกบั ผ้อู ื่นได้ 3.2.3 นักเรียนมคี วามสามารถในการส่ือสาร สามารถแก้ปญั หา และนาเทคโนโลยมี าใช้พฒั นาทักษะ ชวี ติ ได้ 4.กจิ กรรมและกำรดำเนนิ งำน ที่ กจิ กรรม ระยะเวลาดาเนินการ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ภาคเรียนท่ี 1/63 ภาคเรยี นท่ี 2/63 1. กจิ กรรมหอ้ งเรยี นคุณภำพ อมรรัตน์ - ประชมุ คณะครูที่เกี่ยวขอ้ ง ก.ค.- ส.ค.63 ธ.ค.63 - ม.ค.64 /ครทู ุกคน - กาหนดปฏทิ นิ การดาเนนิ กจิ กรรม - จัดซื้อวัสดุอปุ กรณเ์ พ่อื จัดห้องเรยี นและเอกสาร ก.ย. 63 - อมรรัตน์ ประจาช้ัน /ครทู กุ คน - เยยี่ มชั้นเรยี น/ประกวดหอ้ งเรียนคุณภาพ - ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม/รายงานผล ก.ค.63 - พ.ย.63 ธ.ค.63 – ม.ี ค.64 อมรรตั น์ /ครทู กุ คน 2. กิจกรรมค่ำยวิชำกำร - ประชมุ คณะครทู เ่ี ก่ียวขอ้ ง - กาหนดปฏิทนิ การดาเนนิ กิจกรรม - จัดซ้ือส่ืออปุ กรณ์เพ่อื จัดหอ้ งเรยี นและเอกสาร - ดาเนินกิจกรรมคา่ ยวิชาการในกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมฯ และภาษาอังกฤษ - ประเมินผลการจดั กิจกรรม/รายงานผล 3. กจิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน - ประชมุ คณะครทู เ่ี กย่ี วขอ้ ง

33 - กาหนดปฏิทินการดาเนนิ กจิ กรรม - เม.ย.64 อมรรัตน์ - จัดซอื้ สือ่ อปุ กรณเ์ พือ่ จัดห้องเรยี นและเอกสาร - ดาเนนิ กจิ กรรม 1. จัดจ้างครูกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา 2. สอนเสริม RT ป.1, O-net ป.6 และ NT ป.3 - ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรม/รายงานผล 4 ประเมนิ ผล/รายงานผล 5.รำยละเอียดกำรใช้งบประมำณ งบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ ที่ กิจกรรมสาคญั งบบุคลากร งบ งบ อุดหนุน รายได้ รวม ดาเนินงาน ลงทุน รายหัว สถานศกึ ษา 1 กิจกรรมหอ้ งเรียนคณุ ภาพ 15,000 2 กจิ กรรมค่ายวิชาการ - -- 15,000 - - 3 กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ -- 30,000 เรยี น รวม 30,000 30,000 75,000 - -- 45,000 30,000 6. ผลกำรประเมิน วธิ ีการประเมิน เคร่ืองมือทใ่ี ช้ ตัวชวี้ ดั ความสาเรจ็ - การสงั เกต - แบบบันทึกการสงั เกต - การสมั ภาษณ์ - แบบบนั ทึกการสัมภาษณ์ - นกั เรยี นมที กั ษะด้านการคดิ การวิเคราะห์ สามารถ - การทดสอบ - แบบทดสอบ แก้ปญั หา และทางานร่วมกบั ผู้อื่นได้ - นักเรียนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้เตม็ ตาม - ตรวจผลงาน - แบบบนั ทึกผลงาน ศกั ยภาพ - นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นทไ่ี ดค้ ุณภาพมาตรฐาน 8.ผลท่คี ำดว่ำจะได้รับ 8.1 ผู้เรียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง และเรียนร้รู ว่ มกับผอู้ น่ื ได้ 8.2 ผู้เรียนมีนักเรยี นมีทักษะดา้ นการคิด การวเิ คราะห์ สามารถแก้ปัญหาได้

34 8.3 ผ้เู รยี นมคี วามรแู้ ละทกั ษะที่จาเป็นตามหลักสูตรและมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขน้ึ ผู้เสนอโครงการ ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชื่อ ลงชอ่ื (นางอมรรัตน์ ช่วยด้วง) (นางอมรรตั น์ ชว่ ยด้วง) ตาแหน่ง ครูโรงเรยี นวดั ทุ่งหินผดุ ตาแหนง่ ครโู รงเรยี นวดั ทุง่ หินผุด หัวหนา้ งานบริหารวิชาการ ผ้อู นมุ ตั โิ ครงการ ลงชอื่ (นายอานาจ ขนั ทกาญจน์) ตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรียนวัดทุง่ หนิ ผดุ

35 โครงการ โครงการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา สนองกลยทุ ธโ์ รงเรียน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาองคก์ ร มาตรฐานการศึกษาโรงเรยี น ระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน มาตรฐานที่ 2 , มาตรฐานที่ 4 สนองกลยุทธ์ สพป. ข้อ 4 สนองจดุ เนน้ สพป. ขอ้ 2,3,4 ผูร้ ับผิดชอบโครงการ นางอมรรัตน์ ชว่ ยดว้ ง ลกั ษณะโครงการ โครงการตอ่ เนอ่ื ง กลุม่ ทรี่ บั ผิดชอบ การบริหารวชิ าการ/ฝ่ายมาตรฐานวชิ าการ งบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ 6,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 1 กรกฎาคม 2563 – 10 เมษายน 2564 .................................................……………………………………………………………………………………………………………… ……… . หลักกำรและเหตผุ ล การประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียนได้ดาเนินการและพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง เพอ่ื เปน็ การประกัน คณุ ภาพการศกึ ษาและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ เพราะการประกันคณุ ภาพภายในเปน็ ส่วนหน่งึ ของการ บริหารการศึกษาโดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหนว่ ยงานต้นสังกดั หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งและ เผยแพรต่ ่อสาธารณชน เพ่อื นาไปสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาเพอื่ รองรับการประกนั คุณภาพ ภายนอก ซึ่งมีความสอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ทกุ มาตรฐาน และโดยเฉพาะมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ จากผล การประเมนิ ภายนอกของ สมศ.รอบสาม ปกี ารศกึ ษา 2554 โรงเรียนไดผ้ า่ นการผ่านการรบั รองมาตรฐานและไดใ้ ห้ข้อเสนอแนะไว้วา่ โรงเรยี นควรให้มีระบบการประกนั คุณภาพภายในที่เป็นระบบอย่างชัดเจน โรงเรยี นวัดทงุ่ หนิ ผุด จงึ ไดก้ าหนดใหม้ โี ครงประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาขนึ้ เพ่อื พัฒนาการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นให้มปี ระสทิ ธภิ์ าพและเกดิ ประสิทธิผลสงู สุดตอ่ ผ้เู กีย่ วข้อง ทุกภาคส่วน 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่ือใหผ้ บู้ ริหารครูผูส้ อนและผูเ้ กีย่ วข้องในการจดั การศกึ ษา ได้ตระหนกั เหน็ ความสาคญั และร่วมกัน รับผดิ ชอบการจัดการศึกษา เพอ่ื พัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้

36 2.2 เพอ่ื จัดระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานและเป็นทยี่ อมรับของ ประชาชน ชมุ ชน และท้องถิน่ 2.5 เพื่อจดั ระบบการนเิ ทศภายในให้มปี ระสิทธภิ าพ 3. เปำ้ หมำย 3.1 เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ 3.1.1 มกี ารนเิ ทศการเรียนการสอนและนาผลไปปรับปรุง ภาคเรยี นละครั้ง 3.1.2 บุคลากรไดร้ บั พฒั นาอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เน่ือง ทุกคน 3.1.3 ผรู้ ับบรกิ ารและผู้เกี่ยวขอ้ งพึงพอใจผลการบริหารงานและการพัฒนาผเู้ รียน อยู่ใน ระดบั ดีมาก 3.2 ด้านคณุ ภาพ 3.2.1 มกี ารจดั องค์กร โครงสรา้ งและระบบการบรหิ ารงานที่มีความคลอ่ งตัวสงู และ ปรับเปล่ียนได้ เหมาะสมตามสถานการณ์ 3.2.2 มีการจัดการขอ้ มูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบครอบคลุมและทนั ตอ่ การใชง้ าน 3.2.3 มรี ะบบการประกนั คุณภาพภายในทดี่ าเนินงานอย่างต่อเน่อื ง 4.กจิ กรรมและกำรดำเนนิ งำน ท่ี กิจกรรม ระยะเวลาดาเนินการ (ภาคเรียน) ผู้รับผดิ ชอบ 1/2563 2/2564 1 การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ก.ค.- ม.ิ ย. 63 ธ.ค 64 อมรรตั น์ 2 จดั ทามาตรฐานคุณภาพการศกึ ษา ก.ค.63 - อมรรัตน์ 3 การจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาและ ก.ค.63 - อมรรัตน์,ครูทกุ คน ปฏบิ ัติการประจาปี 4 นเิ ทศภายในและกากับติดตามการ ก.ย.63 ก.พ. 63 อมรรัตน์,ครูทุกคน ดาเนนิ การตามแผน 5 จดั ทารายงานผลประเมนิ ตนเองประจาปี - เม.ย.63 อมรรัตน์,ครทู ุกคน 6 การวัดผล/นาเสนอผลงาน/รายงานผล - เม.ย.63 อมรรตั น์ โครงการ 5.รำยละเอียดกำรใชง้ บประมำณ งบประมาณ รวม ท่ี กิจกรรม

37 งบบุคลากร งบดาเนนิ งาน งบลงทุน เงินนอก งบประมาณ 1 การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ - - - 4,000 - - - 4,000 2 การจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพ - - - การศึกษาและปฏบิ ัติการประจาปี - - - 1,000 1,000 3 การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี 1,000 1,000 ,000 ,000 รวม 6. ผลกำรประเมนิ วธิ กี ารประเมนิ เครอื่ งมือทใี่ ช้ ตัวชว้ี ัดความสาเร็จ - แบบประเมนิ - แบบบันทกึ ประเมิน - แบบประเมิน - แบบบันทึกประเมิน - มรี ะบบบรหิ ารและสารสนเทศงาน 4 ด้าน - แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 8.ผลท่คี ำดวำ่ จะไดร้ ับ 8.1 โรงเรียนจดั การบริหารและสารสนเทศงานอย่างมีระบบครอบคลุมและทนั ต่อการใชง้ าน 8.2 โรงเรียนมแี ผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานท่กี าหนด 8.2 มรี ะบบการประกนั คุณภาพภายในทีด่ าเนินงานอยา่ งต่อเนือ่ ง ผู้เสนอโครงการ ผู้เหน็ ชอบโครงการ ลงชื่อ ลงช่ือ (นางอมรรตั น์ ช่วยด้วง) (นางอมรรัตน์ ชว่ ยด้วง) ตาแหนง่ ครโู รงเรียนวดั ทงุ่ หนิ ผุด ตาแหนง่ ครูโรงเรียนวัดทุง่ หนิ ผุด หัวหน้างานบริหารวิชาการ ผอู้ นมุ ัติโครงการ ลงช่ือ

38 (นายอานาจ ขันทกาญจน์) ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดทงุ่ หินผุด ชื่อโครงการ โครงการหอ้ งสมดุ มีชวี ิต สนองกลยุทธ์โรงเรยี น กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา สนองจุดเน้นสพป. ขอ้ 3,4,5 ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวภทั ราพร พนั ธส์ วิ กานต์ งบประมาณ เงนิ งบประมาณ 3,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 1กรกฎาคม 2563 – 9 เมษายน 2564 ..............................................………………………………………………………………………………………………………………. 1.หลกั กำรและเหตุผล ในโลกของการศกึ ษาในยคุ ปัจจบุ ันผูเ้ รยี นต้องมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองเป็นการพัฒนา เยาวชนให้มีทกั ษะกระบวนการคน้ คว้า กระบวนการคดิ วิเคราะห์ ข้อมูลขา่ วสารให้ทันต่อเหตกุ ารณ์ของสังคม โลกยุคปจั จุบันอันจะทาให้นักเรยี นเกิดความรทู้ ักษะความสามารถและบุคลกิ ภาพท่ีเหมาะสมหอ้ งสมุดโรงเรยี น ถอื ว่าเปน็ แหล่งเรียนรู้ทสี่ าคญั ในการค้นควา้ ของนักเรยี นเพ่ือเรียนรดู้ ้วยตนเองท่มี อี ย่างหลากหลายเพื่อเสรมิ ทกั ษะใหน้ กั เรยี นไดค้ ิดวเิ คราะห์ คิดเปน็ ทาเปน็ และแกป้ ญั หาเป็นดงั พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ไดใ้ ห้ความสาคญั ของแหล่งเรียนรู้ ตลอดชีวิตทกุ รปู แบบดังน้ันห้องสมดุ โรงเรยี นจึงจดั กจิ กรรมห้องสมุด เพ่ือให้บริการสือ่ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้สาหรับนักเรียนบคุ ลากรในโรงเรยี นและชุมชน 2.วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื จดั เปน็ แหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี น ให้มบี รรยากาศของการเรียนรเู้ อ้อื ตอ่ การเรียนรูข้ อง นกั เรียน บคุ ลากรในโรงเรยี น และชมุ ชน 2.2 เพอ่ื สง่ เสริมนสิ ัยรักการอ่าน การคน้ ควา้ ของนักเรยี น บคุ ลากรในโรงเรียน และชมุ ชน 2.3 เพื่อให้นักเรยี น บคุ ลากรในโรงเรยี น และชมุ ชน ได้รบั ขอ้ มูลข่าวสารมีความรู้ท่ีทันสมัยรู้เทา่ ทัน การเปลยี่ น แปลงของกระแสโลก 3.เป้ำหมำย 3.1 ดำ้ นปริมำณ 1) นักเรยี น บคุ ลากรในโรงเรียน และชุมชน มแี หลง่ เรียนรู้อยา่ งหลากหลาย 3.2 ด้ำนคณุ ภำพ 1) นักเรียน บคุ ลากรในโรงเรยี น และชุมชน มีนิสัยรักการอา่ น และการศึกษาคน้ คว้า

39 2) นกั เรยี น บุคลากรในโรงเรยี น และชุมชนมแี หล่งเรียนรูท้ ี่มปี ระสทิ ธภิ าพ และเอ้อื ต่อการ เรยี นรู้ 4.กจิ กรรมและกำรดำเนนิ งำน ระยะเ กิจกรรม วลาดาเนนิ การ (ภาคเรยี น) ผรู้ บั ผดิ ชอบ ท่ี 1/2563 2/2563 1 เร่อื งเล่ายามเช้า 2 ละครคณุ ธรรม ก.ค.-พ.ย. 2563 ธ.ค.2562 ภัทราพร 3 วนั สาคญั เทศกาลต่าง ๆ ก.ค.-พ.ย. 2563 -เมย 2564 ภัทราพร 4 ตะกร้าความรู้ ก.ค.-พ.ย. 2563 ธ.ค.2562 ครูทกุ คน 5 หนนู ้อยยอดนกั อา่ น ก.ค.-พ.ย. 2563 -เมย 2564 ครปู ระจาชน้ั ๖ ภาษาพาเพลนิ ก.ค.-พ.ย. 2563 ธ.ค.2562 ครูประจาชน้ั ก.ค.-พ.ย. 2563 -เมย 2564 ภาวนิ ี ธ.ค.2562 -เมย 2564 ธ.ค.2562 -เมย 2564 ธ.ค.2562 -เมย 2564 5.รำยละเอยี ดกำรใชง้ บประมำณ งบบคุ ลากร งบประมาณ งบลงทนุ เงนิ นอกงบ รวม - งบดาเนินงาน - ประมาณ ที่ กิจกรรมสาคัญ - - 300 300 - 400 1 เร่ืองเล่ายามเช้า 400 - 2 ละครคณุ ธรรม

3 วันสาคัญ เทศกาลต่าง ๆ - 800 - 40 4 ตะกร้าความรู้ - 500 - 5 หนูนอ้ ยยอดนักอา่ น - 500 - - 800 6 ภาษาพาเพลนิ - 500 - - 500 - 3,000 - - 500 รวม - 500 - 3,000 6.หนว่ ยงำน/ผ้เู ก่ยี วข้อง 6.1 เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา หอ้ งสมุดประชาชน วิทยากร ผูเ้ ชียวชาญ 6.2 ครู กรรมการสถานศกึ ษา ผปู้ กครอง 7. ผลกำรประเมนิ ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ วธิ ีการประเมิน เคร่อื งมอื ที่ใช้ 1.นักเรียนมีความรู้ - สงั เกต แบบบันทึกการสงั เกต 2. นกั เรียนมีคุณธรรม - ตรวจสอบ แบบบันทึกผลการตรวจสอบ ๓. นักเรยี นกลา้ แสดงออก แบบบันทกึ พฤตกิ รรม ๔. นักเรยี นมนี ิสยั รักการอา่ น 8.ผลทคี่ ำดวำ่ จะได้รับ 8.1 นกั เรียนโรงเรยี นวดั ทุง่ หินผุดมนี ิสยั รักการอา่ น 8.2 นกั เรียนโรงเรยี นวดั ท่งุ หนิ ผุดมีความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออกมากข้ึน ผูเ้ สนอโครงการ ผู้เห็นชอบโครงการ ลงช่อื (นางสาวภทั ราพร พันธส์ ิวกานต์) (นางอมรรัตน์ ช่วยด้วง) ตาแหน่ง ครโู รงเรยี นวดั ทงุ่ หินผดุ ตาแหน่ง ครูโรงเรียนวดั ทุ่งหนิ ผุด ลงชือ่ หวั หนา้ งานวิชากาi ผู้อนมุ ตั ิโครงการ

41 (นายอานาจ ขันทกาญจน์) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนวัดทุง่ หนิ ผุด โครงการ โครงการพัฒนาประสทิ ธภิ าพครู บคุ ลากรและการบรหิ ารจัดการ กลยุทธ์ ขอ้ ที่ 2 พัฒนาครแู ละบุคลากร สนองมาตรฐาน ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน : ประถมศกึ ษา มาตรฐานท่ี 7,8 สนองกลยุทธ์ สพป. ขอ้ ที่ 3 สนองจดุ เน้น สพป. ขอ้ ท2ี่ ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่อื ง ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นางนภสร แก้วเกิด งบประมาณ เงินงบประมาณ 60,000บาท ระยะเวลาดาเนินการ 1 กรกฎาคม 256๓ – 31 มีนาคม 256๔ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. หลกั กำรและเหตุผล ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เปน็ บุคลากรที่สาคัญของโรงเรยี น ทเี่ ป็นผู้ปฏิบตั ขิ ับเคลอ่ื น ทัง้ ระบบ เพื่อใหก้ ารพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาหรือพัฒนาคุณภาพนกั เรยี นเป็นไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้ และ คณุ ลักษณะทป่ี ระสงค์ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่ตี อ้ งการ จงึ ตอ้ งพัฒนาตนเองอยเู่ สมอ ทง้ั ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม มวี ินัยท่ีดีมีวุฒิ/ความรคู้ วามสามารถตรงกบั งานทรี่ ับผดิ ชอบ หม่นั พัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี มคี วามสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ มที กั ษะในการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ และท่ีสาคัญต้องมคี รเู พยี งพอกบั จานวนนกั เรยี นดว้ ย ทสี่ าคญั การ ส่งเสรมิ สร้างขวญั กาลังใจครแู ละบคุ ลากร ก็เป็นสิ่งจาเป็นควบคู่ไปกบั การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา หากผ้บู ริหารและครทู ีร่ ่วมงานในโรงเรยี นเดยี วกนั ใหก้ ารยอมรับ และเห็นความสาคญั กจ็ ะเป็นการสรา้ งขวัญ กาลังใจให้แก่กนั เป็นอย่างดี ไดแ้ กก่ ารจัดสวัสดิการต่างๆสาหรบั ครู เช่น การเลือ่ นตาแหน่ง การเลื่อนข้นั เงินเดือน การให้สิทธิการเบิกเงนิ สวัสดิการต่าง ๆ ตลอดถงึ การจดั กิจกรรมนันทนาการ เพอ่ื เสริมสร้างความ สนกุ สนาน และกิจกรรมทางสงั คม กจิ กรรมท่ีอานวยความสะดวกต่อครอบครัวของบุคลากรในโรงเรียน อนั ที่ จะเปน็ การเพ่ิมขวญั และกาลงั ใจในการปฏบิ ัติงานให้เกิดผลดตี อ่ องค์การ ดา้ นการบรหิ ารจดั การ เพ่อื การพัฒนาประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การศึกษาท่ีสนองต่อการปฏิรปู การศึกษามุ่ง ให้เกิดคุณภาพทง้ั ในด้านผลผลิต กระบวนการจดั การและปัจจยั ต่างๆ โดยมุ่งหวังใหก้ ารจดั การศกึ ษา มีการ พัฒนาท้งั ระบบและปจั จัยสาคัญในการเสริมสร้างการเรียนรู้ในโรงเรียน ถือเป็นระบบการบรหิ ารจัดการหนึ่งทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพ ซึ่งการมีสว่ นร่วมของบุคลากรถือวา่ มีความสาคญั อย่างย่ิงท่จี ะทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงดงั กลา่ ว ได้ โดยผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาครชู ุมชนล้วนมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา รว่ มกันพฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี นใน

42 ทกุ ด้านและหลกั ในการบรหิ ารมีหลากหลายรปู แบบ ดังน้ันโครงจงึ เป็นวิธกี ารทโ่ี รงเรยี นกาหนดขึน้ โดยใหม้ ี การนาวธิ ีปฏิบัติทเ่ี ป็นเลิศ ( Best Practice ) มาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการครอบคลุมภารกิจทุกดา้ นมีระบบการ จดั การความรู้ ( KM ) และการสรา้ งนวตั กรรมเผยแพร่พฒั นาระบบหอ้ งเรยี นคุณภาพมกี ารจดั ทาวิจัย และ พฒั นาการจดั การศกึ ษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง เพือ่ ใช้ยกระดบั คุณภาพการศึกษาการพัฒนาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การศึกษาหากโรงเรยี นมีการบริหารจดั การทไ่ี ดม้ าตรฐานมคี ณุ ภาพตามเกณฑ์ตวั บ่งช้ี กจ็ ะสง่ ผลใหโ้ รงเรียนมี คณุ ภาพ บรรลุหลักการและเป้าหมายการจัดการศึกษาของโรงเรยี นและของชาตโิ ดยรวมตอ่ ไป การจดั การนิเทศภายในช่วยให้ครสู ามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถ และพฤตกิ รรมการสอนไดด้ ้วยตนเอง เปน็ ความพยายามทกุ อยา่ งของผู้ท่อี ยใู่ นโรงเรียน ตั้งแต่ผู้บริหารลงไป เป็นการร่วมมอื ร่วมใจ ชว่ ยเหลือ แนะนา และใหค้ าปรึกษาหารือกัน ในอนั ท่จี ะส่งเสริมประสทิ ธิภาพการเรียนการสอนภายในโรงเรยี นใหด้ ขี นึ้ เปน็ การ เพ่ิมพลงั การปฏบิ ตั งิ านของครู ทาให้การศึกษาของเด็กก้าวหนา้ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและรวมทั้งใหค้ รูมี ความก้าวหน้าทางวิชาชีพอกี ด้วย 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาครแู ละบคุ ลากรของโรงเรยี นให้มีความรคู้ วามสามารถ มีทกั ษะ ในการปฏิรปู กระบวนการเรยี นร้มู คี วามก้าวหนา้ และได้รบั สวัสดิการท่เี หมาะสม 2.2 เพื่อใหค้ รแู ละบุคลากรของโรงเรยี นมขี วญั และกาลงั ใจในการปฏิบัตงิ านและรักองค์กร 2.3 เพ่ือใหค้ รูและบคุ ลากรปฏบิ ตั ติ นได้ถูกตอ้ ง มีประสิทธิภาพเหมาะสมตามระเบยี บแบบแผนของทาง ราชการและเปน็ ผมู้ วี นิ ัยทด่ี ี 2.4 เพ่อื จัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงาน พัฒนาองค์กรอย่างเปน็ ระบบครบวงจรจัด การศกึ ษาให้เป็นมาตรฐาน 2.5 เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนมีการบรหิ ารและจัดการโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน ร่วมมือกนั ระหวา่ งบ้าน องคก์ รทางศาสนา สถาบันทางวชิ าการและองค์กรภาครัฐและเอกชนเพอื่ พฒั นาวถิ ีการเรียนร้ชู มุ ชน 2.6 เพ่ือกากับ ติดตาม การปฏบิ ัติงานของครแู ละบุคลากรตามกระบวนการนเิ ทศ ให้มีความพร้อมที่ จะทางานดา้ นวชิ าการ 3.เป้ำหมำย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 ครูและบคุ ลกรทางการศกึ ษา ลูกจ้างประจาและลกู จา้ งช่ัวคราวทกุ คน ได้รับการพฒั นา มี ขวญั กาลังใจและมีวินัย 3.1.2 ข้าราชการครูเกิดความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างผรู้ ่วมงานดว้ ยกัน ยอมรับซงึ่ กันและกนั ทุกคน 3.1.3 ข้าราชการครไู ดร้ ับสวัสดกิ ารท่ีมีอย่างเหมาะสม และเปน็ ธรรม 3.2 เชงิ คณุ ภาพ 3.2.1 ครแู ละบคุ ลากรมีความรู้ความสามารถ ทกั ษะ ในการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้สามารถ ปฏบิ ตั ิงาน ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี 3.2.2 ครแู ละบุคลากรมีขวัญและกาลงั ใจในการปฏิบตั ิงาน มคี วามก้าวหนา้ ในวิชาชพี และไดร้ บั

สวสั ดกิ ารที่เหมาะสม 43 3.2.3มีการบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ และใชห้ ลักการมีส่วนรว่ ม ผรู้ ับผดิ ชอบ 3.2.4 มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในท่ดี าเนนิ งานอย่างต่อเนือ่ ง ครูทกุ คน 3.2.5ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนโดยรวมดขี ้ึนอยู่ในระดบั แนวหนา้ อานาจ อานาจ 3. กจิ กรรมและกำรดำเนินงำน ระยะเวลาดาเนนิ การ อานาจ 1 ก.ค.63-31 มี.ค.64 นภสร ท่ี กจิ กรรม 1 ก.ค.63-31 มี.ค.64 1 การประชุมอบรมสัมมนาศกึ ษาดงู าน (ตามเหมาะสม) 1 ก.ค.63-31 ม.ี ค.64 2 จัดจา้ งครูสอนวทิ ยาศาสตร์ 3 การประเมนิ ประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผลและ 1 ก.ค.63-31 มี.ค.64 1-31 ม.ี ค.64 การปฏิบตั งิ านของบุคลากร 4 การนเิ ทศภายใน 5 การวัดผล/นาเสนองาน/รายงานโครงการ 5.รำยละเอยี ดกำรใช้งบประมำณ งบประมาณ เงินนอกงบประมาณ ที่ กจิ กรรมสาคัญ งบ งบ งบลงทุน งบอุดหนนุ รายได้ รวม บุคลากร ดาเนินงาน สถานศึกษา 1 การประชุม อบรม สมั มนา ศึกษาดงู าน - --- - - 2 จัดจา้ งครูสอนวิทยาศาสตร์ - - - 24,000 36,000 60,000 3 การประเมนิ ประสิทธภิ าพ - --- - - ประสิทธผิ ลและ การ ปฏิบัตงิ านของบุคลากร - -- - -- 4 การนิเทศภายใน - - - 24,000 36,000 60,000 รวม

44 6. ผลกำรประเมิน ตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ วธิ ีการประเมิน เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ แบบรายงาน,แบบบนั ทึก 1. ครูมวี ฒุ แิ ละคุณภาพในการปฏิบัติงานสูงขนึ้ - ตรวจสอบ แบบรายงาน,แบบบนั ทึก 2. การนาผลการศึกษาดูงานมาพัฒนางาน - ดผู ลงาน แบบบันทกึ ,นิเทศ 3. ครแู ละบคุ ลากรไดร้ ับสวสั ดิการทดี่ ีตามความเหมาะสม - ตรวจสอบ,สงั เกต ,ตรวจสอบ และการบรกิ าร ทพ่ี ึงพอใจ แบบบนั ทึกการสงั เกต 4. โรงเรยี นมโี ครงสรา้ งของงานชดั เจน มบี คุ ลากรที่เหมาะสม - การสงั เกต แบบบนั ทึกผลการ - สมั ภาษณ์ ตรวจสอบ และมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ - ตรวจสอบ แบบบนั ทกึ พฤติกรรม ถกู ต้องทันสมยั 5. ผูบ้ ริหารโรงเรียนได้นิเทศภายในโรงเรียนตามเปา้ หมายและ - การตดิ ตาม - แบบทดสอบ คณุ ครูมีส่วนร่วมในการนเิ ทศภายในโรงเรียนทกุ คน - ตรวจสอบ - แบบบันทึกการนิเทศ 6. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนดีขึน้ - สงั เกต,สัมภาษณ์ ตดิ ตามผล - แบบบนั ทึกพฤตกิ รรม 7. ผลทคี่ ำดว่ำจะได้รบั ครูและบคุ ลากรมีความร้คู วามสามารถ มีทักษะในการปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ สามารถปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานวิชาชีพปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการมีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบรหิ ารงานและพฒั นาองค์กรอยา่ งเป็นระบบและได้รับสวัสดิการท่ีดีครูทุกคนมีส่วน รว่ มในการนเิ ทศภายในโรงเรยี นทกุ คน ทาใหค้ ณุ ภาพการศึกษาดขี นึ้ ผูเ้ สนอโครงการ ผ้เู หน็ ชอบโครงการ ลงชอ่ื ลงช่ือ (นางนภสร แก้วเกิด) (นางสาวอาทติ ยา จรยิ วิจติ ร)

45 ตาแหน่ง ครูโรงเรียนวัดทงุ่ หินผุด ตาแหน่ง ครโู รงเรียนวดั ทุง่ หนิ ผดุ หวั หนา้ งานงบบริหารประมาณและทรพั ยส์ นิ ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ ลงช่ือ (นายอานาจ ขนั ทกาญจน์) ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดทุ่งหนิ ผดุ

46 ชื่อโครงการ โครงการคา่ ใช้จ่ายระบบสาธารณปู โภคภายในโรงเรยี น กลยทุ ธโ์ รงเรยี น กลยุทธ์ที่ 1 พฒั นาองค์กร สนองมาตรฐานโรงเรยี น ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน : มาตรฐานที่ 1,2,3,4 สนองมาตรฐานสพป. ข้อ 1,2,3,4,5 สนองจุดเน้นสพป. ขอ้ 1,2,3,4,5,6 ลักษณะโครงการ โครงการต่อเน่ือง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอาทิตยา จริยวจิ ิตร งบประมาณ เงนิ งบประมาณ 57,600 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 1 กรกฎาคม 2563 – 31 มนี าคม 2564 .................................................……………………………………………………………………………………………………………… 1. หลกั กำรและเหตุผล การบรหิ ารงบประมาณ ประกอบด้วย งานการเงินการบัญชี พสั ดแุ ละสินทรพั ย์ และทรพั ยากร เปน็ งานทีส่ าคญั อย่างยิ่งเพราะช่วยสนบั สนุนงานฝา่ ยอน่ื ให้บรรลุเป้าหมาย การดาเนินงานตอ้ งยดึ ระเบยี บกฎหมาย หลักฐาน เอกสารในการทางานให้ถกู ต้อง รวดเร็วและเป็นปจั จุบนั 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่ือให้การปฏิบตั งิ านงบประมาณ พัสดุ สินทรัพย์และทรพั ยากรเป็นไปตามระเบยี บ หลักเกณฑ์ ขอ้ กฎหมายที่ทางราชการกาหนด 2.2 การวางแผนใชจ้ ่ายงบประมาณมปี ระสทิ ธภิ าพ เกิดประโยชน์ต่อการจัดการศกึ ษาอย่างแท้ จริงบุคลากร สามารถนาความรู้ความเข้าใจ งานการเงินและการบญั ชี ไปดาเนินการไดอ้ ยา่ งถูกต้องรวดเรว็ งานทะเบียนและ งานบัญชี งบประมาณ พัสดุ สินทรพั ยแ์ ละทรพั ยากรถกู ต้อง ตรวจสอบไดท้ ุกระยะ 2.3 เพ่ือจัดระบบงานด้านทะเบียนพสั ดุ บญั ชีวัสดุในโรงเรียนใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรียบร้อยและมี ประสทิ ธิภาพ 2.4 เพ่ือวางแผนการใช้พัสดุและสนิ ทรพั ย์ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด 2.5 เพื่อใหร้ ะบบงานการบริหารพสั ดุและสนิ ทรพั ย์เปน็ ไปด้วยความถกู ตอ้ ง การดาเนินงานเปน็ ไปตามระเบยี บ สานักนายกรฐั มนตรี ว่าดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 2.6สถานศึกษาได้รบั เงินงบประมาณ วสั ดุ อุปกรณก์ ารเรียนการสอนจากหน่วยงานของรัฐ องคก์ ร และมูลนิธิมาใช้สนับสนุนกิจกรรมตามแผนงานและโครงการของสถานศึกษา

47 ๒.๗ เพ่อื ใชจ้ า่ ยค่าระบบสาธารณปู โภคภายในโรงเรียน เช่น ค่าไฟฟา้ คา่ บรกิ ารอนิ เตอร์เนต็ ของโรงเรยี น 3. เป้ำหมำย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 จัดทาบัญชีของงบประมาณประเภทต่างๆ บญั ชีเก็บรกั ษาเงินสดบญั ชีเงนิ สนบั สนนุ อาหาร กลางวนั บัญชกี ารรับ-จา่ ยอาหารเสริม นม 3.1.2 จัดทาทะเบียน เงนิ งบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงนิ อุดหนนุ เงนิ ชว่ ยเหลอื นักเรียน ขาด แคลน และเงินทุนเพอื่ การศกึ ษา เงนิ ช่วยเหลือนักเรยี นดอ้ ยโอกาส 3.1.3 จดั ทาหลักฐานต่าง ๆของการบรหิ ารงานพสั ดแุ ละสนิ ทรัพย์ใหค้ รบทกุ เร่ืองและจัดเก็บให้ เรียบรอ้ ย 3.1.4 การดาเนนิ การจัดซอื้ จัดจา้ งตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 ทะเบยี นควบคมุ ทรพั ยส์ ิน ทะเบยี นพสั ดุ บัญชพี ัสดุ ใบเบิกจ่าย การตรวจสอบพัสดุประจาปี การจาหน่ายพัสดุ ทีด่ ินและสง่ิ กอ่ สรา้ ง การรือ้ ถอน ทะเบียนดุมที่ราชพัสดุ หลกั ฐานการรบั พัสดุ รายงานการตรวจสอบพสั ดุ ประจาปีตอ่ สตง. 3.1.5 โรงเรยี นกาหนดแผนงาน และกจิ กรรมการดาเนินงาน เชน่ แผนงานดา้ นวชิ าการ ด้านการ สง่ เสริมทุนการศึกษา แผนงานสง่ เสริมสุขภาพ และแผนงานการจัดหาสอ่ื การเรียนการสอน แผน งานพัฒนาสภาพแวดล้อม 3.1.6 ดาเนนิ การประชมุ ปรกึ ษาหารอื เพ่อื ให้เกิดความเขา้ ใจในการทางาน มอบหมายบุคลากร ใหม้ หี น้าท่ีในการประสานงานติดต่อกบั หน่วยงานอื่น ประชมุ ร่วมกัน และดาเนินการตามแผน 3.2 เชงิ คณุ ภาพ 3.2.1 การจัดทาบัญชเี บิกจ่ายงบประมาณ และเงนิ นอกงบประมาณ มีหลักฐานการปฏบิ ตั งิ าน ชดั เจน ถูกตอ้ ง มคี วามพรอ้ มสาหรบั การตรวจสอบ และการประเมิน 3.2.2 มีการจดั ทาทะเบียนท่ีเกย่ี วข้องกบั เงนิ งบประมาณหมวดต่างๆ ทุกประเภท งานทะเบยี น เป็นไป ตามระเบียบขอ้ กาหนด มกี ารตรวจสอบอยา่ งตอ่ เน่อื ง 3.2.3 ดาเนินงานเกีย่ วกับการพัสดทุ กุ อย่างเป็นระบบ จัดทาหลักฐานถูกต้อง เรยี บร้อยเปน็ ปจั จุบัน 3.2.4 ดาเนินการรายงายการตรวจรบั พสั ดุ การเบิกจา่ ย การตรวจสอบพัสดุประจาปี ตรงตาม กาหนดเวลา 3.2.5 จดั ทาแผนงานของฝา่ ยตา่ งๆ เสนอตอ่ ท่ีประชมุ คณะกรรมการดาเนินการจัดหาทนุ ผไู้ ด้รับ มอบหมายจากทป่ี ระชุม จัดหาทรพั ยากรมาชว่ ยสนบั สนนุ กิจการของทางโรงเรียน 3.2.6 ผูร้ บั ผิดชอบงาน หรอื กิจกรรมฝา่ ยต่างๆ นาทรพั ยากรที่ได้รบั จากการดาเนินงานของคณะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook