Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความพึงพอใจการใช้บริการโรงอาหารวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี

ความพึงพอใจการใช้บริการโรงอาหารวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี

Published by sudarat064.com1.3, 2019-09-12 05:49:18

Description: ความพึงพอใจการใช้บริการโรงอาหารวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี

Search

Read the Text Version

การศกึ ษาความพึงพอใจการใช้บรกิ าร โรงอาหารเทคนิคปทุมธานีของ นกั เรียน-นกั ศึกษา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกจิ นางสาว ธนพร ประเสรฐิ วงศ์ รหสั ประจาตวั 6132040049 นางสาว สดุ ารตั น์ เลาะหมัด รหัสประจาตวั 6132040064 การวิจัยครั้งนเี้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของวิชาโทรแกรมสาเร็จรูปทางสถติ ิเพอื่ การวิจัย รหสั วิชา 3204-2104 แผนกคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลัยเทคนคิ ปทมุ ธานี สานักอาชวี ะศึกษา

ช่อื เร่ือง ความพงึ พอใจการใชบ้ รกิ าร โรงอาหารเทคนิคปทุมธานีของ ชื่อผ้วู จิ ยั นางสาวธนพร ประเสริฐวงศ์ นางสาวสุดารตั น์ เลาะหมัด สาขาวชิ า พาณิชยการ สาขางาน คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ ทีป่ รึกษางานวจิ ัย นางวิลาวลั ย์ วัชโรทยั ปีการศึกษา 2562 บทคดั ยอ่ การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือการศึกษาความพึงพอใจการใช้บริการโรงอาหารภายใน วทิ ยาลยั เทคนิคปทมุ ธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นกั เรยี น-นกั ศึกษา แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี โดยมีจานวนกลุ่มตัวอย่าง จานวน 271 คน โดยวิธีการสุ่มแบบ บังเอิญ (Accidental Sampling) เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลครั้งน้ี คือ แบบสอบถาม สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการทดสอบได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี เลขคณิต และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา่ 1) ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง จานวน 153 คน คิดเปน็ ร้อยละ 56.46 และ เพศชาย จานวน 118 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 43.54 ศึกษาอยู่ในระดับ ปวช.2 จานวน 100คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 36.90 รองลงมา อย่ใู นระดับ ปวส.1 จานวน 71 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 26.20 รองลงมา อย่ใู นระดบั ปวช.1 จานวน 59 คน คิดเปน็ ร้อยละ 21.77 คน และอย่ใู นระดับ ปวส.2 จานวน 41 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.13 เปน็ อายุ16-17 ปี จานวน 111 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 40.96 รองลงมา อายุ 18-19 ปี จานวน 105 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 38.75 รองลงมา อายุ ต่ากวา่ 16 ปจี านวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 14.39 และ อายุ 20 ปขี ึน้ ไป จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 38.75 2) การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพงึ พอใจในการใชบ้ ริการโรงอาหารภายในวทิ ยาลยั เทคนิค ปทมุ ธานปี กี ารศกึ ษา 2562 โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง (คา่ เฉลี่ย = 2.50และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน = 0.16) เมือ่ แยกตามด้านพบวา่ - ดา้ นรสชาติอาหาร อยูใ่ นระดับ ปานกลาง (คา่ เฉลย่ี = 2.55 และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน = 0.26) - ดา้ นบคุ ลิกของแม่คา้ พ่อคา้ อยูใ่ นระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.48 และส่วนเบยี่ งเบน มาตรฐาน = 0.23) (ก)

- ดา้ นราคา อยใู่ นระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลีย่ = 2.46 และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน = 0.22) 3) การวเิ คราะห์ข้อมูลเกย่ี วกับปัญหาทพ่ี บในการเข้าใช้บรกิ ารโรงอาหารภายในวทิ ยาลัยเทคนคิ ปทมุ ธานี ปีการศึกษา2562 โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (คา่ เฉลย่ี = 2.50และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน = 0.16) เมื่อแยกตามด้านพบว่า คาสาคญั : ความพึงพอใจ , การบริการ , โรงอาหาร , วทิ ยาลัยเทคนิคปทุมธานี (ก)

กติ ติกรรมประกาศ การศึกษาค้นคว้าอิสระเล่มน้ีสามารถสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความอนุเคราะห์และความกรุ ณา อย่างสูงจากอาจารย์วิลาวัลย์ วัชโรทัย ที่ได้สละเวลาให้การให้คาปรึกษาตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่อง ต่างๆ อันเป็นประโยชน์เพื่อการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ ให้มีความสมบูรณ์จึงขอบพระคุณเป็น อย่างสูงมา ณ โอกาสน้ีขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ช่วยประสิทธิ์ประสาทความรู้และถ่ ายทอด ประสบการณ์อันมีค่าขอขอบคุณเจ้าของเอกสารบทความตาราหนังสอื ทุกท่านที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูล ที่ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่น้ี ขอขอบคุณเพื่อนประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ทุกท่านท่ีคอยให้กาลังใจ ให้คาปรึกษาและช่วยเหลือกันมาโดยตลอดระยะเวลาที่ศึกษาร่วมกันมา ขอขอบคุ ณผู้ตอบ แบบสอบถามที่ได้ให้ความร่วมมือในการทาแบบสอบถามจนทาให้การศึกษาค้นคว้าอิสระน้ีสาเร็จ ลุลว่ ง ขอกราบขอบพระคุณบิดามารดาและครอบครัวที่ให้กาลังใจและสง่ เสริมสนับสนุนการศึกษามา โดยตลอดคุณค่าและประโยชน์จากการค้นคว้าอันพ่ึงมีของวิทยานิพนธ์ฉบับน้ีขอมอบทดแทนบุญ คุณ ค่าต่อบิดามารดาและครอู าจารยท์ ุกท่านที่ได้อบรมสัง่ สอนศษิ ยม์ าตลอดการศึกษาตลอดจนผูม้ ีพระคุณ ทุกทา่ น คณะผจู้ ัดทา นางสาวธนพร ประเสร็ฐวงศ์ นางสาวสดุ ารตั น์ เลาะหมดั (ข)

สารบญั หนา้ บทคดั ย่อ…………………………………………………………………………………………………………………….......(ก) กติ ตกิ รรมประกาศ…………………………………………………………………………………………………………….(ข) สารบญั ………………………………………………………………………….…………………………………………………(จ) สารบญั ตาราง…………………………………………………………………..…….…………………………………………(จ) บทที่ 1 บทนา ความสาคัญและทมี่ าของปญั หา………………………………………………………………………………1 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………….2 ขอบเขต………………………………………………………………………………………………………………2 นยิ ามศพั ท์…………………………………………………………………………...………………………………3 กรอบแนวคิดทางวิจัย……………………………………………………………………………………………2 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ น่าจะไดร้ ับ…………………………………………………………………………………3 บทที่ 2 ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วข้อง ความพึงพอใจ……………………………………………………………………….……….……………………..4 การบริการ……………………………………………………………………………….…………………………..5 โรงอาหาร..............……………………………………………………………………….……………………….6 วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี …………………………………………………………………….………………..7 งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง………………………………………………………………………………….…………….10 บทที่ 3 การดาเนินการวจิ ยั ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง…………………………………………………………………………………….11 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวจิ ยั ………………………………………………………………………………………..11 การสรา้ งและการทดสอบเครื่องมือ…………………………………………………………………………12 (จ)

สารบญั (ต่อ) หน้า วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ………………………………………………………………………………..…13 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ……………………………………………………………………………...14 การแปรผล………………………………………………………………………………………….14 บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกีย่ วกับสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม………………………………15 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกย่ี วกบั การสารวจการใช้บรกิ ารโรงอาหารภายใน วิทยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธานี………………………………………………………………………………………………………………………15 บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ัยอภิปรายและข้อเสนอแนะ วตั ถุประสงค์ของการวิจัย………………………………………………………………………………..…21 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง…………………………………………………………………………..……21 เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวจิ ัย…………………………………………………………………………………….21 การวเิ คราะห์ข้อมูล……………………………………………………………………………………………22 ผลการวิจัย……………………………………………………………………………………………………….22 อภปิ รายผล………………………………………………………………………………………………………22 ขอ้ เสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………….24 บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………… 25 ภาคผนวก ก ประวัตผิ ้เู ขยี น…………………………………………………………………………………………..26 ภาคผนวก ข แบบสอบถามเพือ่ การวจิ ยั ………………………………………………………………………….29 ภาคผนวก ค ผลการวเิ คราะห์ PSPP………………………………………………..…………………………….34 ภาคผนวก ฅ รูปภาพอ้างองิ …………………………………………………………………………………………. 41 (จ)

สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ ตารางที่4.1 ขอ้ มูลเกีย่ วกับการใชบ้ ริการโรงอาหารแยกตามเพศ……………………………………15 ตารางที่4.2 ข้อมูลเกย่ี วกบั การใชบ้ ริการโรงอาหารแยกตามอายุ……………………………………16 ตารางที่4.3 ขอ้ มูลเกย่ี วกบั การใชบ้ รกิ ารโรงอาหาร แยกตามดระดับชนั้ ………………………..17 ตารางที่4.4 ข้อมลู เกยี่ วกบั การใช้บรกิ ารโรงอาหาร แยกตามด้านรสชาตอิ าหาร…………….18 ตารางที่4.5 ขอ้ มูลเก่ียวกบั การใชบ้ ริการโรงอาหาร แยกตามด้านบุคลกิ ของแม่คา้ พ่อคา้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….18 ตารางท่ี4.6 ข้อมูลเก่ียวกบั การใช้บรกิ ารโรงอาหาร แยกตามดา้ น ราคา………………………………………………………………………………………………………………………………….19 ตารางที่4.7 ข้อมูลเกี่ยวกบั การใหบ้ รกิ ารโรงอาหาร ปจั จยั รวมท้งั หมด ………………………….21

บทท่ี 1 (จบ) ทนา 1.1 ความเปน็ มาของโครงการ โรงอาหารเป็นสถานที่ประกอบอาหารไว้สาหรับบริโภค อาหารจึงมีความสาคัญต่อการ ดารงชีวิตของมนุษย์ ซ่ึงการบริโภคอาหารเพ่ือให้ร่างกาย เจริญเติบโตและสามารถดารงชีวิตอยู่โดย ปกติสุขในการบริโภคอาหารส่ิงสาคัญท่ีจะต้องพิจารณา คือ ความสะอาด ความปลอดภัย ปราศจาก เช้อื โรคและสารเคมตี ่างๆ ท่ีเป็นอันตรายหรอื อาจเปน็ อนั ตรายต่อการเจรญิ เติบโตของรา่ งกาย สุขภาพ อนามัยและการดารงชีวติ ของผู้บริโภค การบรโิ ภคที่ถูกหลกั สุขาภบิ าลอาหารจงึ ไมห่ มายความเพียงแต่ บริโภคเข้าไปแล้ว ไม่ก่อให้เกิดโรคหรือโทษในระยะเวลาปัจจุบนั เท่านั้น ยังหมายถึงจะต้องไม่มีพิษภยั ท่ีเป็นโทษหรือก่อให้เกิดโรคในระยะยาวหรือในอนาคตอีกด้วย การจัดการและการควบคุมอาหารให้ สะอาดทานได้โดยการจัดการและการควบคุมปัจจัยท่ีเป็นสาเหตุทาให้อาหารสกปรก รวมไปถึง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกโรงอาหารต้องสะอาดและถูกสุขลักษณะ โต๊ะและอุปกรณ์ต่าง ๆ ต้องอยใู่ นสภาพดแี ละปลอดภยั วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีมีโรงอาหารสาหรบั ให้บริการกับนักศึกษา อาจารย์และบุคลากรของ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี สาหรับรับประทานอาหารในสถานที่ สะดวก สบาย สะอาด ประหยัดเวลา และอาหารอร่อย ในปริมาณราคาและคุณภาพเหมาะสม มีส่วนของโรงอาหารอยู่ตึกห้องประชุมบวร ธรรมกิจ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ภายในโรงอาหารมีร้านค้าจาหน่ายจานวน 20 ร้าน แบ่งเป็น ร้านอาหารคาว 12 ร้าน ร้านขายขนม และร้านผลไม้ 2 ร้าน ร้านน้า 3 ร้าน ร้านลูกชิ้นทอด 1 ร้าน ร้านขายยา 1 ร้าน ร้านไก่ทอด 1 ร้าน เปิดให้บริการ วันจันทร์-วันศุกร์ ต้ังแต่เวลา 06.00–15.30 น. เพราะอาหารนั้นถือวา่ เป็นหนึ่งในปัจจัยส่ใี นการดารงชีพของนักศึกษาและคนไทย ซ่ึงในปัจจุบันน้กี าร รบั ประทานอาหารนน้ั ต้องให้ถกู ตอ้ งตามหลักโภชนาการ และถูกสุขอนามยั ซึ่งผลการศึกษาวิจัยส่วนหนงึ่ ที่เปน็ ประโยชน์นาไปปรับปรุงการบริการและเป็นข้อมูลเบื้องต้น ในการวางแผนการบริหารเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาการใช้บริการการใช้โรงอาหาร ให้เป็นสถานที่ จาหน่ายอาหารที่ได้รับความสะดวกสบายในการน่ังรับประทานอาหาร ผู้เข้ามาใช้บริการในเรื่องของ คุณภาพอาหารถูกต้องด้วยสุขลักษณะและสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ ได้รับ ความพึงพอใจสูงสุด จากท่ีกล่าวมาข้างต้น คณะผู้วิจัยมีความประสงค์จะทาการวิจัย เร่ืองการศึกษา ความพึงพอใจการให้บรกิ ารโรงอาหารของวทิ ยาลัยเทคนิคปทุมธานี

(1)

1.2 วตั ถุประสงค์ เพอื่ ศกึ ษาพฤตกิ รรมการใชโ้ รงอาหารของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี 1. เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาของการบริการของร้านค้าต่างๆใน วิทยาลัยเทคนิคปทมุ ธานี 2. เพื่อศึกษาถึงความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับระดับความพึงพอใจของการใช้ บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี 1.3 ขอบเขตการวจิ ยั การวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการบริการโรงอาหารของนักเรียน-นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิค ปทุมธานี ท่มี ีมาใช้บรกิ ารในโรงอาหารวิทยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี จานวน 271 คน ตัวแปรอสิ ระ คือ เพศ อายุ ระดบั ชั้น ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีใน ทางด้านคณุ ภาพอาหาร ดา้ นราคา ด้านบุคลิกของการบริการลูกค้า 1.4 กรอบแนวคิดการวิจัย ตวั แปรตาม ตวั แปรอิสระ ความพงึ พอใจในการใช้บรกิ ารโรงอาหาร ขอ้ มูลทัว่ ไป 1. เพศ 1. ด้านคุณภาพอาหาร 2. อายุ 2. ดา้ นราคา 3. ระดบั ชน้ั 3. ดา้ นบคุ ลิกของการบรกิ าร ลกู ค้า (2)

1.5 นิยามศพั ท์ นักเรียน หมายถึง นักเรียนที่ศึกษาในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) และลงทะเบยี นเรยี นในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 นักศึกษา หมายถึงนักศึกษาที่อยู่ในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชนั้ สูง (ปวส.) และลงทะเบียนเรยี นในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี หมายถึง สถาบันการศึกช้ันนาของจังหวัดปทุมธานีท่ีเปิดสอนใน สายวิชาชีพต้ังแต่ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จนถึงระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) โดยเปน็ สถาบนั การศึกษาในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา โรงอาหาร หมายถึง สถานที่จาหน่อยอาหารและเครื่องดื่มตั้งอยู่ชั้นล่างหอประชุมบวรธรรม กิจของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ร้านค้าจาหน่าย 20 ร้าน ประกอบด้วยร้านอาหาร ร้านอาหารคาว 12 รา้ น ร้านขายขนม และรา้ นผลไม้ 2 รา้ น ร้านน้า 3 รา้ น รา้ นลกู ช้นิ ทอด 1 รา้ น รา้ นขายยา 1 รา้ น รา้ นไก่ทอด 1 ร้าน ความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร หมายถึง การแสดงความรู้สึกในทางบวกต่อสิ่งท่ี ได้รับการตอบสนองความต้องการหรือตามความคาดหวังของผ้รู ับบริการหรือมีความร้สู ึกชอบพอใจ ที่ ไดร้ บั บริการของโรงอาหารท้งั ด้านราคา ดา้ นคุณภาพอาหาร 1.6 ประโยชน์ท่ีคาดว่านา่ จะได้รับ 1.6.1 ทราบความรู้สึกของนักเรียนนักศึกษาท่ีใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิค ปทุมธานี 1.6.2 ทราบความต้องการของนักเรียน/นักศึกษาในการใช้บริการโรงอาหารภายใน วทิ ยาลัยเทคนิคปทมุ ธานี 1.6.3 ทราบแนวทางการแก้ไขปรับปรุงการให้บริการโรงอาหารภายใน วิทยาลัยเทคนิค ปทมุ ธานี (3)

บทที่2 แนวทางทฤษฎี และ งานวิจยั ที่เก่ียวข้อง ในการวิจยั ครงั้ น้ีผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสารงานท่ีเกย่ี วข้องกับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษา ที่ใช้บริการโรงอาหารของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีและเพื่อให้ทราบถึงแนวคิดทฤษฎีและหลักการที่ เก่ียวข้องกนั การคน้ คว้าวิจัยไดศ้ กึ ษาและจัดลาตน้ เน้ือหาสาระทเี่ กี่ยวขอ้ งดังนี้ 2.1. ความพงึ พอใจ 2.2.การบรหิ าร 2.3. โรงอาหาร 2.4. วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี 2.5. งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง 2.1. ความพึงพอใจ ดิเรก (2528) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่ง หน่งึ เป็นความรู้สึกหรือทศั นคติท่ีดตี อ่ งานที่ทาของบุคคลทม่ี ีตอ่ งานในทางบวก ความสุขของบคุ คลอัน เกิดจากการปฏิบัติงานและได้รับผลเป็นท่ีพึงพอใจ ทาให้บุคคลเกิดความกระตือรือร้น มีความสุข ความมุ่งม่ันที่จะทางาน มีขวัญและมีกาลังใจ มีความผูกพันกับหน่วยงาน มีความภาคภูมิใจใน ความสาเร็จของงานท่ีทา และสิ่งเหล่าน้ีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทางานส่งผล ตอ่ ถงึ ความกา้ วหนา้ และความสาเรจ็ ขององคก์ ารอกี ด้วย วิรุฬ (2542) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกภายในจิตใจของมนุษย์ท่ีไม่เหมือนกัน ข้ึนอยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะมีความคาดหมายกับส่ิงหน่ึงสิง่ ใดอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความตงั้ ใจมาก และได้รบั การตอบสนองด้วยดีจะมีความพึงพอใจมากแต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจ เป็นอย่างยิ่ง เม่ือไม่ได้รับการตอบสนองตามท่ีคาดหวังไว้ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับส่ิงที่ตั้งใจไว้ว่าจะมีมากหรือ นอ้ ยสอดคลอ้ งกับ เทพพนม และสวิง (2540) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นภาวะของความพึงใจหรือภาวะที่มี อารมณใ์ นทางบวกทเี่ กดิ ข้ึน เนอ่ื งจากการประเมินประสบการณ์ของคนๆหนึง่ สิง่ ทขี่ าดหายไประหว่าง การเสนอให้กับสิง่ ทีไ่ ด้รับจะเป็นรากฐานของการพอใจและไม่พอใจได้ (4)

สรุปไดว้ ่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรสู้ กึ ทีด่ ีหรือทัศนคติท่ีดีของบคุ คล ซึง่ มักเกิดจากการ ได้รับการตอบสนองตามที่ตนต้องการ ก็จะเกิดความรู้สึกท่ีดีต่อส่ิงน้ัน ตรงกันข้ามหากความต้องการ ของตนไมไ่ ดร้ บั การตอบสนองความไม่พึงพอใจกจ็ ะเกิดขน้ึ 2.2 การบรหิ าร การบรกิ าร (Service) คือ การให้ความช่วยเหลือ หรอื การดาเนนิ การเพื่อประโยชน์ของผู้อ่ืน การบรกิ ารทด่ี ี ผูร้ บั บริการกจ็ ะได้รับความประทับใจ และช่ืนชมองค์กร ซึ่งเปน็ สิ่งดสี งิ่ หน่ึงอันเป็นผลดี กับองคก์ รของเรา เบ้ืองหลงั ความสาเรจ็ เกือบทุกงาน มักพบวา่ งานบริการเป็นเคร่ืองมือสนบั สนุนงาน ด้านต่าง ๆ เช่น งานประชาสัมพันธ์ งานบริการวิชาการ เป็นต้น ดังน้ัน ถ้าบริการดี ผู้รับบริการเกิด ความประทบั ใจ ซงึ่ การบริการถือเปน็ หน้าเปน็ ตาขององค์กร ภาพลักษณ์ขององค์กรก็จะดไี ปดว้ ย คาว่า “Service” แยกอกั ษรออกเปน็ ความหมายดังนี้ S = Smile (อ่านวา่ สมาย) แปลว่า ยิม้ แย้ม E = enthusiasm (อ่านว่า เอนทซู ิแอสซมึ ) แปลวา่ ความกระตอื รอื ร้น R = rapidness (อา่ นว่า เรปปิดเนส) แปลวา่ ความรวดเรว็ ครบถว้ น มีคณุ ภาพ V = value (อ่านวา่ วาลล)ู แปลว่า มีคณุ คา่ I = impression (อา่ นวา่ อมิ เพรสชนั ) แปลว่า ความประทบั ใจ C = courtesy (อา่ นว่า เคอตซิ )ี แปลวา่ มคี วามสุภาพออ่ นโยน E = endurance (อา่ นว่า เอนดูเรน) แปลวา่ ความอดทน เกบ็ อารมณ์ การบริการที่ดีต้องเกิดขึ้นจากใจ เพราะการบริการเป็นการอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว สบายใจและพอใจ คนส่วนใหญค่ ิดว่า งานบริการเปน็ เร่ืองของบริการ เป็น เร่ืองของการรับใช้ แท้ที่จริงไม่ใช่งานบริการคืองานใด ๆ ก็ได้ท่ีเกิดจากมีผู้ให้และมีผู้รับอย่างมี เงอ่ื นไขกลา่ วคอื เป็นบรกิ ารทดี่ แี ล้วผูร้ บั ต้องพงึ พอใจตอ้ งใหบ้ ริการ สรุปได้ว่า การให้ความสาคัญกับการให้บริการน้ันมีความสาคัญมาก ซึ่งส่วนหน่ึงต้องได้รับ ความร่วมมือจากผู้รับบรกิ าร และผู้ให้บริการต้องเป็นบุคคลทม่ี ีใจในการใหบ้ รกิ ารเปน็ สาคัญ ดังนนั้ ผู้ ให้บรกิ ารคือพนักงานผู้ใหบ้ ริการทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะให้ข้อมูลข่าวสาร การประชาสมั พนั ธ์ การตอ้ นรับ บุคคลท้ังภายในและภายนอก รวมถึงผมู้ าตดิ ต่อทุกประเภท (5)

2.3. โรงอาหาร โรงอาหารของสถาบัน หมายถึง โรงอาหารในสถาบันการศึกษา และโรงอาหารท่ัวไป ตาม หน่วยงานต่างๆ เช่น โรงเรียน วทิ ยาลยั โรงงาน บรษิ ัท ฯลฯ (ยกเว้น สถานทีป่ ระกอบอาหารผ้ปู ่วยใน โรงพยาบาล ซึ่งปรุงประกอบอาหารให้กับผู้ป่วย) และสาหรับโรงอาหารที่มีร้านจาหน่ายย่อยๆ หลาย ร้าน ให้สารวจแล้วสรุปลงในแบบผลการสารวจโรงอาหาร (จาแนกตามร้านย่อย) ทุกร้านต้องได้ มาตรฐานครบตามเกณฑก์ ารพจิ ารณามาตรฐาน ข้อกาหนดด้านสุขาภิบาลอาหารสาหรับโรงอาหารของสถาบันมีรายละเอียดและคาอธิบาย ดังนีค้ ือ ก. สถานท่ีรับประทานอาหาร และบริเวณท่ัวไป 1.สะอาด เป็นระเบียบ พ้นื ผนัง เพดาน ในบรเิ วณทีร่ ับประทานอาหาร ตอ้ งไมม่ คี ราบสกปรก หรือหยากไย่ ไมม่ เี ศษขยะ เศษอาหาร ไมม่ นี ้าขงั ไม่มีบรเิ วณทช่ี ารุดจนเป็นแหล่งของความสกปรก ไม่ มีวัสดุหรือสิ่งของวางเกะกะและสาหรับบริเวณท่ัวไปให้พิจารณาโดยรอบ เช่น ด้านหน้า หรือหลัง จะต้อง ไมว่ างสิ่งของเกะกะ และไม่มีเศษขยะ เศษอาหาร ไมม่ ีน้าขัง 2.โต๊ะ เก้าอ้ี สะอาด แข็งแรง จัดเป็นระเบียบ โต๊ะ เก้าอ้ี สาหรับรับประทานอาหาร อยู่ใน สภาพดี ม่ันคง แข็งแรง พื้นผิวเรียบ ไม่หลุดออกหรือถลอกจนก่อให้เกิดความสกปรก ไม่มีคราบเศษ อาหาร หรอื คราบสกปรกท่ที ้งิ ไว้นานจนทาความสะอาดได้ยาก และจัดเป็นระเบียบ ข.บริเวณทเ่ี ตรยี ม-ปรงุ อาหาร 3.ไมเ่ ตรยี มและปรุงอาหารบนพน้ื 4.ไม่วางอาหารและภาชนะที่ใช้ในการปรุง-ประกอบอาหารบนพื้น ไม่เตรียมอาหาร เช่น การ หัน่ การลา้ ง การปรงุ อาหาร บนพ้ืน 5. โต๊ะเตรียม-ปรุง และผนังบริเวณเตาไฟ ต้องทาด้วยวัสดุที่ทาความสะอาดงา่ ย (เช่น สแตน เลส กระเบอ้ื ง) มสี ภาพดี และพ้ืนโต๊ะต้องสูงจากพ้นื อยา่ งน้อย 60 ซม. ต้องเตรียม-ปรุง ประกอบอาหาร บนโต๊ะท่ีสูงจากพ้ืนอย่างน้อย 60 ซม. โดยโต๊ะ หรือ เคาน์เตอร์เตรียมปรุงอาหาร และผนังบริเวณเตาไฟ ต้องทาด้วยวัสดุที่เรียบ ทาความสะอาดง่าย เช่น บดุ ้วยสแตนเลส อลมู ิเนียม โฟไมก้า กระเบื้องเคลอื บ อยู่ในสภาพดี ไมช่ ารุด แข็งแรงมนั่ คง ไม่มคี ราบ สกปรก ค.ตวั อาหาร นา้ นา้ แขง็ เคร่ืองดม่ื 6.อาหารและเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ต้องมีเลขสารบบอาหาร เช่น อย. หรือ มอก. อาหารและเครื่องดื่มในภาชนะบรรจทุ ี่ปิดสนิท หมายถึง อาหารและเคร่ืองด่ืมท่ีบรรจุในภาชนะ (6)

บรรจุท่ีมีการฉาบ อัด เคลือบ หรือติดด้วยวัสดุท่ีสามารถป้องกันป้องกันมิให้ความชื้นหรืออากาศ ภายนอกเข้าไปในภาชนะบรรจุได้ ต้องมีฉลาก และฉลากต้องมีเลขสารบบอาหาร 13 หลัก หรือมี เคร่ืองหมายรับรองของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือมีการรับรองของทางราชการ เช่น เป็นการผลิต อาหารทไี่ ด้รบั การส่งเสรมิ จากทางราชการทสี่ ามารถ ตรวจสอบได้ 7.อาหารสด เช่น เน้ือสัตว์ ผักสด ผลไม้ และอาหารแหง้ มีคณุ ภาพดี แยกเกบ็ เปน็ สัดสว่ น ไม่ ปะปนกนั วางสูงจากพนื้ อยา่ งนอ้ ย 60 ซม. หรือเก็บในตเู้ ย็น ถ้าเป็นห้องเยน็ ตอ้ งวางอาหารสูงจากพื้น อย่างน้อย 30 ซม. สาหรับอาหารสดต้องล้างให้สะอาดก่อนนามาปรุง ต้องล้างให้สะอาดก่อนนามา ปรุงอาหารสดต้องมีคุณภาพดี หมายถึงมีลักษณะสด สะอาด ไม่มีสีหรือกล่ินท่ีผิดปกติไป สาหรับ อาหารแห้งต้องไม่มีรา ไม่มีกล่ินอับ แยกเก็บเป็นสัดส่วน คือ แยกเก็บระหว่างเน้ือสัตว์ ผักสด ผลไม้ และอาหารแห้ง ใส่ภาชนะแยกจากกัน และวางไว้สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. หรือเก็บในตู้เย็น หรือ ถ้าเก็บในห้องเย็นที่บุคคลผ่านเข้าออกได้ ต้องวางอาหารบนชั้นท่ีสูงจากพื้น อย่างน้อย 30 ซม. และ สาหรบั อาหารสดโดยเฉพาะผกั สดจะต้องล้างให้สะอาดก่อนนามาปรงุ 8.น้าแข็งที่ใช้บริโภคต้องสะอาด ใส่ในภาชนะที่สะอาด มีฝาปิด มีอุปกรณ์ท่ีมีด้ามสาหรับคีบ หรือตักโดยเฉพาะวางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. และต้องไม่มีส่ิงของอ่ืนแช่รวมไว้ น้าแข็งที่ใช้ บรโิ ภคตอ้ งเป็นน้าแข็งทผี่ ลิตขน้ึ เพื่อใชใ้ นการบรโิ ภคโดยตรง ไมม่ ตี ะกอน เมอ่ื ละลายแลว้ ควรเป็นน้าท่ี สะอาดได้มาตรฐานน้าดื่มตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ภาชนะ ท่ีใส่ต้องเป็นภาชนะที่สะอาด สามารถเก็บความเย็นได้ มีฝาปิด ต้องมีอุปกรณ์หรับคีบ หรือตักท่ีมีด้ามที่ยาวเพียงพอที่จะสามารถ หยบิ จบั ไดโ้ ดยไมท่ าใหเ้ กดิ การปนเปื้อน และในภาชนะใสน่ า้ แข็งตอ้ งไม่มสี ่งิ ของอื่นใดแช่ปนอยู่ ยกเว้น ที่ตกั นา้ แข็ง 2.4. วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี สังกดั คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ สถานท่ตี งั้ เลขท่ี ๙๗ หมู่ ๕ ตาบลบ้านกลาง อาเภอเมอื ง จังหวดั ปทมุ ธานี ๑๒๐๐๐ เบอร์โทร : ๐๒-๕๘๑๖๕๖๐ , ๐๒-๔๕๑๖๙๒๐ โทรสาร : ๐๒-๙๗๕๖๔๒๖ ประวัตวิ ทิ ยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธานี ได้กอ่ ตั้งขึน้ มาตามลาดบั ดงั ต่อไปน้ี พ.ศ. 2482 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศต้ังโรงเรียนช่างไม้ข้ึน โดยมีสถานที่ต้ังอยทู่ ี่วัดเมย่ี ง ตาบล บ้านง้ิว อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เปิดรับนักเรียนสาเร็จช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เข้าเรียนวิชา ช่างไมแ้ ละช่างปูน ใชเ้ วลาเรยี น 3 ปี (7)

พ.ศ. 2490 ย้ายมาตั้งท่ีวัดโพธ์ินอก ตาบลบางปรอก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เนื่องมาจากที่ต้ัง เดิมอยู่ห่างไกลชุมชน การเดินทางไปมาของนักเรียนไมส่ ะดวก พ.ศ. 2495 ได้ย้ายจากวดั บางโพธ์ินอกขา้ มฝง่ั แมน่ ้าเจา้ พระยา มาอยู่บริเวณวัดลุ่ม ซ่ึงเป็นท่ีต้งั ปจั จุบัน และปรับปรุงหลักสูตรการเรียนใหม่ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รับผู้สาเร็จช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 4 เข้าเรียน 3 ปี และได้รับประกาศนียบัตรมัธยมอาชีวศึกษาตอนต้น แผนกช่างไม้ ส่วนระดับมัธยมอาชีวศึกษาตอนปลาย รับนักเรียนที่สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมอาชีวศึกษาตอนต้น แผนกช่างไม้ เรียนต่ออีก 3 ปี สาเร็จการศึกษาแล้วได้ประกาศนียบัตรมัธยมอาชีวศึกษาตอนปลาย แผนกชา่ งไม้ พ.ศ. 2502 กรมอาชีวศึกษาประกาศเปลี่ยนฐานะโรงเรียนช่างไม้ปทุมธานี เป็นโรงเรียนการช่าง ปทุมธานี ใชห้ ลักสูตรใหม่ของกรมอาชีวศึกษา พ.ศ. 2501 พ.ศ. 2512 กรมอาชวี ศกึ ษาได้ประกาศรวมโรงเรยี นการช่างชายปทุมธานี เขา้ กบั โรงเรยี นการชา่ งสตรี ปทมุ ธานี ซง่ึ ตั้งอย่ใู นบริเวณเดยี วกนั เรยี กชื่อว่า โรงเรยี นการชา่ งปทมุ ธานี พ.ศ. 2518 เปิดสอนแผนกวิชาช่างยนต์ และเปลยี่ นมาใชห้ ลกั สูตรอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2519 เปิดสอนแผนกวิชาช่างเชอื่ มโลหะ อีก 1 แผนก แล้วยุบชั้น มศ.3 แผนกต่าง ๆ ท่ีมีอยู่เดิม และเปลยี่ นชอ่ื จากโรงเรยี นการชา่ งปทมุ ธานี เปน็ \"โรงเรยี นเทคนคิ ปทุมธาน\"ี พ.ศ. 2520-2521 เปิดสอนแผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง และแผนกพณิชย การ พ.ศ. 2523 กรมอาชีวศึกษาได้ประกาศยกฐานะเป็น วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี เม่ือวันที่ 1 เมษายน 2523 พ.ศ. 2527 เปดิ สอนระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) 3 แผนกวิชา คอื 1. แผนกวิชาชา่ งไฟฟา้ กาลงั 2. แผนกวิชาการตลาด 3. แผนกวชิ าคหกรรมทัว่ ไป พ.ศ. 2529 เปิดสอนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.) 2 แผนกวชิ า คือ 1. แผนกวิชาชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ 2. แผนกวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ พ.ศ. 2532 เปดิ สอนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) 1 แผนกวชิ า คอื แผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน (8)

พ.ศ. 2533 เปดิ สอนระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) 2 แผนกวิชา คอื 1. แผนกวิชาช่างยนต์ 2. แผนกวชิ าช่างเทคนิคการผลิต พ.ศ. 2534 เปิดสอนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) 3 แผนกวิชา 1. แผนกวชิ าชา่ งก่อสรา้ ง 2. แผนกวชิ าช่างเทคนคิ โลหะ 3. แผนกวิชาชา่ งเคร่ืองมอื วดั และควบคมุ ในอุตสาหกรรม พ.ศ. 2536 เปิดสอนระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) แผนกวชิ าการบัญชี พ.ศ. 2537 -เปดิ สอนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) แผนกวชิ าคหกรรมธุรกิจ -เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ(ภาค สมทบ) พ.ศ. 2540 เปดิ สอนระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู (ปวส.) 2 สาขาวชิ า คือ 1. สาขาวิชาชา่ งไฟฟา้ กาลงั (ภาคสมทบ) 2. สาขาวิชาคหกรรมธุรกิจ เปิดสอนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ(ปวช.) 3 สาขาวชิ า คอื 1. สาขาวิชาชา่ งยนต(์ ภาคสมทบ) 2. สาขาวชิ าช่างก่อสรา้ ง(ภาคสมทบ) 3. สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ (ภาคสมทบ) พ.ศ. 2545 ได้ยกเลิกการใช้หลักสูตร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2538 และ เรมิ่ ใช้หลกั สตู ร ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช 2545 พ.ศ. 2547 เปิดสอนระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ(ปวช.) 2 สาขาวชิ า คือ 1. สาขาวิชาการโรงแรม (ระบบทวิภาคี) 2. สาขาวชิ าธรุ กิจคา้ ปลกี (9)

พ.ศ. 2548 เปดิ สอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) สาขาไฟฟ้ากาลัง(โปรแกรมเครื่องมือวัดและ ควบคุม) พ.ศ. 2549 เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) สาขาวชิ าการจดั การโลจิสตกิ ส์ พ.ศ. 2551 เปิดสอนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั สูง(ปวส.) 2 สาขาวิชา คือ 1. สาขาวชิ าการจดั การทวั่ ไป 2. สาขางานการโรงแรม(ระบบทวภิ าค)ี พ.ศ. 2556 -เปดิ สอนระดับปริญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีแม่พมิ พ์ -เรม่ิ ใชห้ ลกั สตู ร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2556 พ.ศ. 2557 เปิดสอนระดับปริญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2558 เปิดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง(ปวส.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ(ระบบทวิ ภาคี) 2.5. งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง (ฐนกร เขียวสง่า:2558)การวจิ ัยคร้ังน้มี ีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อศึกษาและเปรียบเทยี บความพึงพอใจ ของนักศึกษาที่ใช้บริการโรงอาหารมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ในด้านคุณภาพและการบริการ ด้านพอ่ คา้ แมค่ ้าผใู้ หบ้ ริการ ด้านราคา ดา้ นสถานท่ีและสิง่ แวดลอ้ ม และดา้ นการส่งเสรมิ การตลาด ผลการศึกษา พบวา่ นกั ศกึ ษามคี วามพึงพอใจต่อการใชบ้ ริการโรงอาหารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ พิบูลสงครามโดยรวมและหลายด้านอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า นักศึกษาท่ีมี เพศต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม โดยภาพรวม และรายด้านไม่แตกต่างกันอยางมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 นักศึกษาท่ีชั้นปีต่างกัน มีความพึง พอใจโดยรวมและรายด้านแตกตางกนั อยางมนี ยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 นักศึกษาที่ศึกษาในคณะ ต่างกัน มีความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารโดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 นักศึกษาที่มีจานวนวันท่ีเข้าใช้บริการโรงอาหารต่อสัปดาห์ต่างกัน มี ความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามโดยภาพรวมแล ะรายด้าน แตกตา่ งกนั อย่างไม่มีนยั สาคญั ทางสถิติ (10)

บทท3ี่ วธิ กี ารศกึ ษาและดาเนนิ การ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในผู้ใช้บริการ โรงอาหารวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของนักเรียน นักศึกษาแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจของ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี เพื่อนาไปเป็นตัวอย่าง ในการปรับปรุงพัฒนาส่วที่บกพร่องของการใช้ บริการโรงอาหารวทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง การวิจยั ในครัง้ น้ใี ช้ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ดงั น้ี ประชากร คือ นักเรียน นักศึกษาแผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ในช่วงเวลา 8.00-15.00 น. ตง้ั แต่วนั ท่ี 27 กรกฎาคม 2562 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2562 กลมุ่ ตัวอยา่ ง เปน็ การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอญิ จานวน 30 คน ในชว่ งเวลาทก่ี าหนด 3.2 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการศึกษา ก า ร วิ จั ย ใ น ค ร้ั ง น้ี เ ป็ น แ บ บ ส อ บ ถ า ม เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ก า ร ใ ช้ บ ริ ก า ร โ ร ง อ า ห า ร วทิ ยาลัยเทคนิคปทุมธานี แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ข้อมูลของผู้ใช้บริการโรงอาหาร วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี มี 5 ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ การศึกษา ช้ัน วัตถุประสงศ์ในการใช้บริการโรงอาหาร จานวนครั้งในการเข้าใช้บริการ วันในการเข้า ใช้บริการโรงอาหาร เวลาในการเข้าใชบ้ ริการโรงอาหาร และเวลาในแต่ละครัง้ ในการเข้าใช้บริการโรง อาหาร ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ียวกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโรงอาหารของนักเรียน/นักศึกษา วิทยาลยั เทคนิคปทุมธานี แบง่ ออกเป็น 3 ดา้ นในการหาความพึงพอใจ ดา้ นที่ 1 ดา้ นพ่อคา้ -แมค่ า้ ผ้ใู หบ้ ริการ 1. แต่งกายสะอาด และสภุ าพ 2. มีมนุษยส์ ัมพันธท์ ด่ี ี 3. ใชว้ าจาทีส่ ุภาพ ด้านท่ี 2 ด้านคุณภาพของอาหาร (11)

1. ความสะอาดของอาหารและเคร่ืองดื่ม 2. ความสะอาดของภาชนะบรรจอุ าหาร 3. รสชาตขิ องอาหารและเครอ่ื งดม่ื ด้านที่ 3 ด้านราคา 1. มปี า้ ยบอกราคาทเ่ี ห็นไดช้ ัดเจน 2. ราคามคี วามเหมาะสมเมอ่ื เทยี บกับคุณภาพ 3. ความเหมาะสมของราคาอาหารเมอ่ื เปรียบเทียบกับปริมาณอาหาร ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ 3.3 การสรา้ งเคร่อื งมือ การสรา้ งและทดสอบแบบสอบถามมีขน้ั ตอนดงั นี้ 1. การทดสอบแบบสอบถามน้ัน ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร ตารา และงาน การศึกษาท่ีเก่ียวข้องและใกล้เคียงกันกับเรื่องการศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการโรง อาหารภายในวทิ ยาลัยเทคนิคปทุมธานี 2. นาข้อมูลท่ไี ดม้ าสร้างแบบสอบถามใหส้ อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงคท์ ี่ต้ังไว้ 3. ทดสอบโดยการใช้แบบสอบถามท่ีสร้างขึ้น เพื่อหาความเท่ียงตรงทางเชิงเน้ือหากับ ท่าน อาจารย์ผู้สอนคือ อาจารย์วิลาวัลย์ วัชโรทัย ตาแหน่งครูประจาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธานี 4. ปรับปรุงแบบอบถามตามขอ้ เสนอแนะของอาจารยผ์ สู้ อน 5. นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้ว ดาเนินการแจกกลุ่มตัวอย่างและจัดเก็บรวบรวมข้อมูลตาม จานวนทีไ่ ดจ้ ากการคานวณไว้ 6. หลังจากน้ันแบบสอบถามท่ีแก้ไขแล้วไปทาการ (Try Out) กับนักเรียน นักศึกษา แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่ใช้บริการโรงอาหารวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี เพ่ือทดสอบความ นา่ เชือ่ ถอื ของแบบสอบถาม โดยการวิเคราะหค์ า่ สัมประสทิ ธริ ะหวา่ งข้อคาถามของมาตรวัดท่ี ได้จัดทาข้ึน โดยกาหนดว่าค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามท้ังชุดตามวิธี(Cronbach Alpha) ต้องไม่ต่ากว่า 0.7 ณ ระดับค่าความเช่ือมั่นเท่ากับ 95% ท่ีนัยสาคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05 และไดค้ ่า Alpha เทา่ กบั 0.915 3.4 วธิ เี ก็บรวบรวมขอ้ มลู รวบรวมข้อมูลจากนักเรียน/นักศึกษา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี โดยใช้ วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงได้จากนักเรียน/นักศึกษา แผนกคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิค ปทมุ ธานี จากทง้ั หมด 2 ระดับช้ันแลว้ คัดเลอื กแบบสอบถามท่ีสมบรู ณใ์ ห้ได้กลุ่มตวั อย่าง เมือ่ รวบรวม (12)

แบบสอบถาม ไดค้ รบตามท่ีคานวณไวจ้ านวน 30 คน เพื่อการศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการโรง อาหารภายวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี 3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 1. การหาคา่ ร้อยสาหรบั จานวนผู้ทาแบบสอบถาม โดยใชส้ ตู ร ร้อยละ = k x 100 n เมอ่ื k จานวนผ้ตู อบแบบสอบถาม n จานวนนักเรียนนกั ศกึ ษาทง้ั หมดที่ทาแบบสอบถาม 2. การหาค่าเฉลยี่ เลขคณิต โดยใชส้ ูตร x =  x n เมือ่  x = ผลรวมของระดับความพึงพอใจ n = จานวนนักเรียน/นักศกึ ษาท้งั หมดทท่ี าแบบสอบถาม 3. การหาสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยใช้สูตร เมื่อ  x2 = ผลรวมของกาลงั สองของระดบั ความพงึ พอใจ x = ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของระดบั ความพวึ พอใจ n = จานวนนกั เรยี น/นกั ศึกษาทงั้ หมดท่ที าแบบสอบถาม นาขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการตอบแบบสอบถามมาวิเคราะหโ์ ดยใช้สถิติในการวเิ คราะห์ดังนี้ 1. การตรวจสอบขอ้ มลู นาแบบสอบถามที่ได้รับกลับมาตรวจสอบความถกู ต้อง 2. การลงรหัส แบบสอบถามทีผ่ า่ นการตรวจสอบขอ้ มูลแลว้ นาข้อมลู มาลงรหสั ตามทกี่ าหนดไว้ 3. การประมวลผลข้อมูล นาข้อมูลท่ีลงรหัสแล้วบันทึกเข้าไฟล์คอมพิวเตอร์แล้วใช้โปรแกรม สาเร็จรูปทางทางสถิติประมวลค่าโดยการแจกแจงความถ่ีของแต่ละตัวแปรพร้อมกับคานวณ รอ้ ยละสาหรับตวั แปรทวี่ ดั เชิงปรมิ าณจะใชค้ า่ สถติ เิ ชงิ บรรยาย (13)

4. แบบสอบถามตอนท่ี 1 เปน็ แบบสอบถามที่เก่ียวกับข้อมูลเบือ้ งตน้ ของผู้ตอบแบบสอบถามมา แจกแจงโดยใช้สถติ ิร้อยละ ร้อยละใช้สาหรับอธิบายเปรียบเทียบขอ้ มลู ทัว่ ไปหรือข้อมลู ส่วน บคุ คลเพ่ือดูการกระจายของตัวแปรและนาเสนอข้อมูลของกลมุ่ ตัวอย่างในแต่ละหมวดหมู่ 5. แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร ภายในวทิ ยาลยั เทคนิคปทุมธานีนามาแจกแจงหาค่าเฉลี่ยส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของคาตอบ ที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม 6. นาค่าข้อมูลทางสถิติท่ีได้จากการประมวลผลมาทาการวิเคราะห์โดยแยกวิเคราะห์ตาม วัตถุประสงค์ในการศึกษา พร้อมท้ังสรุปผลการศึกษา และอธิบายข้อมูลในรูปแบบเชิง พรรณนา (14)

บทท4่ี การวเิ คราะห์ข้อมลู การศึกษาเร่ืองการศึกษาความพึงพอใจการใช้บริการ โรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิค ปทมุ ธานี 4.1 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเกยี่ วกบั สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการสารวจการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิค ปทมุ ธานี ตารางท4ี่ .1 ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การใชบ้ ริการ โรงอาหารภายในวทิ ยาลัยเทคนคิ ปทุมธานี เพศ จานวน(คน) ร้อยละ 1.ชาย 118 43.54 2.หญงิ 153 56.46 รวม 271 100.00 จากตารางท่ี 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง จานวน 153 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 56.46 และเพศชาย จานวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 43.54 รูปท่ี4.1 แสดงแผนภูมิเกี่ยวกับการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของ นักเรียนนักศึกษาแผนกคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ แยกตามเพศ (15)

ตารางท่ี4.2 ข้อมูลเก่ียวกับการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของ นักเรยี นนักศึกษา แผนกคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ แยกตามอายุ อายุ จานวน(คน) ร้อยละ 1.ต่ากว่า16 ปี 39 14.39 2. 16-17 ปี 111 40.96 3. 18-19 ปี 105 38.75 4. 20 ปีขนึ้ ไป 16 5.90 271 100.00 รวม จากตารางที่ 4.2 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ เปน็ อาย1ุ 6-17 ปี จานวน 111 คน คดิ เป็นร้อยละ 40.96 รองลงมา อายุ 18-19 ปี จานวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 38.75 รองลงมา อายุ ต่ากว่า16 ปีจานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 14.39 และ อายุ 20 ปีขึ้นไป จานวน 16 คน คิดเป็น ร้อยละ 38.75 รูปที่4.2 แสดงแผนภมู เิ กยี่ วกับการใช้บรกิ ารโรงอาหารภายในวิทยาลยั เทคนิคปทมุ ธานี ของ นกั เรียนนกั ศึกษา แผนกคอมพวิ เตอร์ธุรกิจแยกตามอายุ (16)

ตารางที่4.3 ขอ้ มูลเก่ียวกับการใช้บรกิ ารโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทมุ ธานี ของ นักเรยี นนักศึกษา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกจิ ระดบั ชนั้ จานวน(คน) ร้อยละ 1. ปวช.1 59 21.77 2. ปวช.2 100 36.90 3. ปวส.1 71 26.20 4. ปวส.2 41 15.13 271 100.00 รวม จากตารางท่ี4.3 พบว่าผู้ตอบเบบสอบถามส่วนใหญ่ศึกษาอยู่ในระดับ ปวช.2 จานวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 36.90 รองลงมา อยู่ในระดับ ปวส.1 จานวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 26.20 รองลงมา อยู่ในระดับ ปวช.1 จานวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 21.77 คน และอยู่ในระดับ ปวส.2 จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 15.13 รูปที่4.3 แสดงแผนภมู เิ ก่ียวกบั การใช้บริการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของ นกั เรยี นนักศึกษา แผนกคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ แยกตามระดับชั้น ตารางที่4.4 ข้อมูลเก่ียวกับการใช้บริการใชบ้ รกิ ารโรงอาหารภายในวิทยาลยั เทคนิคปทุมธานี ของนักเรียนนักศกึ ษา แผนกคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ (18)

ดา้ นรสชาติอาหาร ������̅ S.D แปล ลาดับ 1.คุณคา่ ทางดา้ นอาหารที่ผูบรกิ ารได้รับ ความหมาย ความสาคญั 2.ความหลากหลายของอาหาร 3.ความสะอาดของอาหารและเคือ่ งดม่ื 2.79 .42 ปานกลาง 1 4.ความสะอาดของภาชนะบรรจอุ าหาร รวม 2.50 .51 ปานกลาง 3 2.59 .51 ปานกลาง 2 2.34 .47 นอ้ ย 4 2.55 .26 ปานกลาง จากตารางท่ี4.4 พบว่า การให้บริการใช้บริการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิค ปทุมธานี ของนักเรียนนักศึกษาแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ด้านรสชาติอาหาร อยู่ในระดับ ปานกลาง (คา่ เฉลยี่ = 2.55 และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน = 0.26) เมื่อแยกเป็นรายข้อ พบว่า การให้บริการใช้บริการใช้บริการโรงอาหารภายใน วทิ ยาลยั เทคนิคปทมุ ธานี คือ คุณคา่ ทางด้านอาหารท่ผี ูบริการได้รับ อยใู่ นระดับ ปานกลาง (คา่ เฉล่ีย = 2.79 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.42) รองลงมา ความสะอาดของอาหารและเค่ืองด่ืม อยู่ ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.59และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.51) รองลงมา ความ หลากหลายของอาหาร อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.50 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน = 0.51) และ ความสะอาดของภาชนะบรรจุอาหาร อยู่ในระดับ น้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.34 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.26) ตารางที่4.5 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของ นกั เรียนนักศึกษา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกจิ ดา้ นบคุ ลกิ ของแม่ค้าพ่อค้า ������̅ S.D แปล ลาดบั 1. มมี นุษยส์ ัมพนั ธ์ทีด่ ี ความหมาย ความสาคัญ 2. แตง่ กายสะอาดและสุภาพ 3. ใชว้ าจาสภุ าพ 2.52 .61 ปานกลาง 1 4. ให้บรกิ ารด้วยความเตม็ ใจ รวม 2.41 .51 ปานกลาง 4 2.41 .61 ปานกลาง 3 2.49 .52 ปานกลาง 2 2.48 .23 ปานกลาง (19)

จากตารางที่4.5 พบว่า การให้บริการใช้บริการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิค ปทุมธานี ของนักเรียนนักศึกษาแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ด้านบุคลิกของแม่ค้าพ่อค้า อยู่ในระดับ ปานกลาง (คา่ เฉลยี่ = 2.48 และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน = 0.23) เม่ือแยกเป็นรายข้อ พบว่า การใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี คือ มี มนุษย์สัมพันธ์ที่ดี อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.52 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.61) รองลงมา ให้บริการด้วยความเต็มใจ อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.49 และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน = 0.52) รองลงมา ใช้วาจาสุภาพ อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.41 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.52) และ แต่งกายสะอาดและสุภาพ อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.41 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน = 0.52) ตารางท่ี4.6 ข้อมูลเก่ียวกับการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของ นักเรยี นนกั ศกึ ษา แผนกคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ดา้ นราคา ������̅ S.D แปล ลาดบั ความหมาย ความสาคญั 1.ความเหมาะสมของราคาอาหารเม่ือเทียบกับ 2.33 .49 นอ้ ย 5 ปริมาณอาหาร 2.ราคาอาหารมีความเหมาะสมเม่ือเทียบกับ 2.51 .51 ปานกลาง 3 คุณภาพ 3.มีป้ายบอกราคาที่เหน็ ได้ชัดเจน 2.52 .53 ปานกลาง 2 4.เคร่ืองดม่ื มหี ลายรายการ 2.44 .59 ปานกลาง 4 5.อาหารมีหลายราคา 2.52 .58 ปานกลาง 1 รวม 2.46 .22 ปานกลาง จากตารางท่ี4.6 พบว่า การให้บริการ โรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของ นักเรียนนักศึกษาแผนกคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ ด้านราคา อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.46 และ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน = 0.22) เมื่อแยกเป็นรายข้อ พบว่า การให้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี คือ อาหารมีหลายราคา อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.52 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.58) รองลงมา มีป้ายบอก ราคาที่เห็นได้ชัดเจน อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.52 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.53) รองลงมา ราคาอาหารมีความเหมาะสมเม่ือเทียบกับคุณภาพ อยู่ใน ระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.51 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.51) รองลงมา เคร่ืองดื่มมี หลายรายการ อยู่ในระดบั ปานกลาง (คา่ เฉลี่ย = 2.44 และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน = 0.59) และ (20)

ความเหมาะสมของราคาอาหารเมื่อเทียบกับปริมาณอาหารอยู่ในระดับ น้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.33 และ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน = 0.49) ตารางที่4.7 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของ นักเรียนนักศกึ ษา แผนกคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ ปัจจยั ������̅ S.D แปล ลาดบั ความหมาย ความสาคญั 1.ด้านรสชาติ 2.55 .26 ปานกลาง 1 2.ด้านบุคลิกของพ่อคา้ แมค่ า้ 2.48 .23 นอ้ ย 2 3.ด้านราคา 2.46 .22 นอ้ ย 3 รวม 2.50 .16 ปานกลาง จากตารางที่4.7 พบว่า การให้บริการ โรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ของ นักเรียนนักศึกษาแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปัจจัยรวมทั้งหมด อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.50และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน = 0.16) เมื่อแยกเป็นรายข้อ พบว่า การให้บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี คือ อาหารมีหลายรสชาติ อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉล่ีย = 2.55 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน =0. 26) รองลงมาด้านบุคลิกของพ่อค้าแม่ค้า อยู่ในระดับ น้อย (ค่าเฉล่ีย = 2.48 และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน = 0. 23) และ ด้านราคา อยู่ในระดับ น้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.46 และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน = 0. 16) (21)

บทท่ี5 สรุปผลการวจิ ัยอภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้เป็นการให้บริการ โรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ซึ่งสามารถสรุป ผลการวิจยั ได้ดงั น้ี 5.1 วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพื่อศกึ ษาพฤตกิ รรมการใช้โรงอาหารของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี 2. เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาของการบริการของร้านค้าต่างๆใน วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี 3. เพื่อศึกษาถึงความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับระดับความพึงพอใจของการใช้ บริการโรงอาหารภายในวิทยาลัยเทคนิคปทมุ ธานี 5.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือนักเรียน-นักศึกษา แผนกคอมพิวเตอร์ธรุกิจ วิทยาลัยเทคนิค ปทุมธานี เลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ งโดยใช้วิธีการสมุ่ แบบบังเอิญ ได้กลมุ่ ตวั อยา่ งจานวน 271 คน 5.3 เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวิจยั ครง้ั นี้ในส่วนของแบบสอบถามคณะผวู้ ิจัยได้ศึกษาจากงานวจิ ัยต่างๆ แล้ว พัฒนาคาถามให้เหมาะสมกับเรื่องท่ีคณะผู้วิจัยต้องการศึกษาโดยการดูแลของผู้เชี่ยวชาญโดย แบ่งออกเปน็ 2ตอนดังน้ี ตอนที่ 1 แบบสอบถามเก่ียวกับข้อมูลพ้ืนฐานส่วนบุคคลซึ่งข้อคาถามประกอบด้วยเพศอายุ ระดบั การศกึ ษาและสถานภาพ ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ียวกับสาเหตุการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศึกษาจานวน 19 ข้อ เป็นแบบวัดของ Likert โดยกาหนดคาตอบเป็น 5 ระดับ ได้แก่ มากที่สุด, มาก, ปานกลาง, น้อย และน้อยที่สุด และคานวณค่าความเชื่อมันโดยวิธีสัมประสิทธิอัลฟาของครอนบาคได้ค่าความเชื่อมั่น เปน็ 0.92 (22)

5.4 การวิเคราะหข์ อ้ มูล คณะผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามมาประมวลผลโดยใช้โปรแกรม PSPP ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถติ ิตา่ งๆดังนี้ 5.4.1 สถติ พิ น้ื ฐานใช้รอ้ ยละในการเปรียบเทยี บพิจารณาข้อมลู 5.4.2 ค่าเฉล่ียใช้ในการอธิบายให้ทราบถึงลักษณะภาพกว้างของข้อมูลท้ังหมดโดยการ กาหนดเกณฑ์ 5.4.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานใช้เปรียบเทยี บระดับความพึงพอใจ 5.5 ผลการวจิ ยั 5.5.1 ข้อมลู สถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม จากผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง จานวน 153 คน คิด เปน็ ร้อยละ 56.46 และเพศชาย จานวน 118 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.54 เป็นอาย1ุ 6-17 ปี จานวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 40.96 รองลงมา อายุ 18-19 ปี จานวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 38.75 รองลงมา อายุ ต่ากว่า16 ปีจานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 14.39 และ อายุ 20 ปีข้ึนไป จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 38.75 ปวช.2 จานวน 100คน คิดเป็นร้อยละ 36.90 รองลงมา อยู่ในระดับ ปวส.1 จานวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 26.20 รองลงมา อยู่ในระดับ ปวช.1 จานวน 59 คน คิด เป็นร้อยละ 21.77 คน และอยู่ในระดบั ปวส.2 จานวน 41 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.13 5.6 อภปิ รายผล จากผลการวิจัย พอสรุปเป็นประเด็นสาคัญที่สามารถนามาวิเคราะห์ และอภิปรายเก่ียวกับ การใชบ้ รกิ ารใช้โรงอาหารของวทิ ยาลยั เทคนิคปทมุ ธานีได้ดังนี้ 5.6.1 จากการวิจัยวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามจากผลการวิจัยพยว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เปน็ เพศหญิง จานวน 153 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 56.46 5.6.2 จากการวิเคราะห์ข้อมูลการให้บริการใช้โรงอาหารของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี นักเรียนนักศึกษา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจจากผลการวิจัยพบว่า การให้บริการใช้โรงอาหารของ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี นักเรียนนักศึกษา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ อยู่ใสนระดับปานกลาง เมื่อ แยกเปน็ รายขอ้ พบวา่ ด้านรสชาตอิ าหาร อยใู่ นระดับปานกลาง รองลงมาดา้ นบุคลิกของแม่ค้าพ่อค้า อย่ใู นระดบั ปานกลาง และ ด้านราคา อยใู่ นระดบั ปานกลาง (23) (21)

5.7 ข้อเสนอแนะ การให้บริการใช้โรงอาหารของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี นักเรียนนักศึกษาแผนก คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ใหเ้ พ่มิ ความสะอาดของพ้นื ทบ่ี รเิ วณโรงอาหาร (24) (21)

บรรณานุกรม “ ” ความพึงพอใจการใชบ้ ริการโรงอาหารของนกั ศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม [ออนไลน์] สืบคน้ จาก https://bit.ly/2m81FZ9 (วนั ที่ สบื ค้น 25 สงิ หาคม 2562 ) “ ” ความหมายของโรงอาหาร [ออนไลน์] สบื ค้นจาก https://bit.ly/2koSNOp (วนั ท่สี บื คน้ 25 สงิ หาคม 2562 ) “ ” ความหมายของนักศกึ ษา [ออนไลน์] สบื คน้ จาก https://bit.ly/2kB5Ufe (วันท่ีสืบคน้ 25 สิงหาคม 2562 ) “ ”ความหมายของวทิ ยาลัย [ออนไลน์] สบื ค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki (วนั ท่สี ืบคน้ 25 สงิ หาคม 2562 ) (25) (21)

ภาคผนวก ก ประวัติผ้เู ขียน (26) (21)

ประวตั ผิ เู้ ขียน นางสาว ธนพร ประเสรฐิ วงศ์ ชือ่ เล่น: อาย ระดับ ปวส 2/3 เลขที่ 5 (049) แผนก:คอมพิวเตอร์ธุรกจิ วนั เกดิ : 1 พฤศจิกายน 2542 อายุ 19 ปี เบอรโ์ ทร : 0984172595 Fackbook : ธนพร ‘ร Id : eye.181160 ทอ่ี ยู่ 1 ม.2 ต.ช้างใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา 13290 ศึกษาที่ แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี จบการศึกษาจาก โรงเรยี นวดั ปา่ คาเจรญิ วิทยา (27) )(21)

ประวัตผิ เู้ ขียน นางสาวสุดารตั น์ เลาะหมัด ชือ่ เลน่ : นุช ระดบั : ปวส 2/3 เลขที่13 (064) แผนก: คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ วนั เกิด : 25 มนี าคม 2541 อายุ 20 ปี เบอรโ์ ทร. 082-114-8086 Facebook : Nurhayatee Lohmad ID : nuch_haya IG: nuch_haya คตปิ ระจาใจ: I know I’m not the best but I’m trying my best. ท่ีอยู่ 28/4 ม.5 ต.คขู วาง อ.ลาดหลมุ แก้ว จ.ปทมุ ธานี 12140 ปจั จบุ นั ศึกษาอย่ทู ี่วทิ ยาลัยเทคนิคปทมุ ธานี แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ จบการศึกษามธั ยมปลายจาก: โรงเรียนธรรมมสิ ลาม ท่าอิฐ มลู นิธิ (28) (21)

ภาคผนวก ข แบบสอบถามเพ่ือการวิจยั (29)

แบบสอบถาม การศึกษาความพงึ พอใจการใชบ้ รกิ ารโรงอาหารภายใน วิทยาลัยเทคนิคปทมุ ธานี ส่วนท่ี1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม คาชแ้ี จ้ง กรุณาใสเ่ คร่ืองหมาย ลงในชอ่ งวา่ ง ตามความเป็นจรงิ 1.เพศ 2.หญงิ 1.ชาย 2.อายุ 2.16-17ปี 1.ต่ากวา่ 16ปี 4. 20ปขี น้ึ ไป 3.18-19ปี 3.ระดบั การศึกษา 2.ระดบั ปวช 2 1.ระดับปวช 1 4.ระดบั ปวส 2 3.ระดบั ปวส 1 4.อาชพี 2.อาจารย์ 1.นกั เรยี น/นกั ศึกษา 4.บคุ คลอืน่ ๆ 3.เจา้ หนา้ ท่ี (30)

ส่วนที่2 เเบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจการใช้บริการโรงอาหารภายในวทิ ยาลัยเทคนคิ ปทุมธานี คาชี้เเจง้ กรณุ าใส่เครื่องหมาย ลงในชอ่ งความพงึ พอใจ คะเเนนมากทสี่ ดุ น้อย=1 , ปานกลาง = 2 , มาก = 3 ปัจจัย ระดับความพึงพอใจ ปจั จัย 3 2 1 ดา้ นรสชาติ 1. คุณค่าทางอาหารท่ีผ้บู รกิ ารได้รับ 2. ความหลากหลายของอาหาร 3. ความสะอาดของอาหารและเครื่องดืม่ 4. ความสะอาดของภาชนะบรรจอุ าหาร ด้านพอ่ ค้า-แมค่ ้าผ้ใู หบ้ ริการ 5. มีมนษุ ยส์ มั พนั ธท์ ดี่ ี 6. แตง่ กายสะอาดและสุภาพ 7. ใช้วาจาสุภาพ 8. ให้บริการดว้ ยความเต็มใจ 10. มีความเอาใจใสต่ ่อนักศึกษา-นกั เรยี น และบุคลากร ด้านราคา 11. ความเหมาะสมของราคาอาหารเมื่อเทียบกบั ปริมาณอาหาร 12. ราคาอาหารมีความเหมาะสมเมือ่ เทียบกบั คณุ ภาพ 13. มีป้ายบอกราคาที่เห็นไดช้ ดั เจน (31)

14. เคร่อื งด่ืมมีหลายราคา 15. อาหารมหี ลายราคา ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… (32)

ภาคผนวก ค ผลการวเิ คราะห์ PSPP (33)



(34)

ภาคผนวก ฅ รูปภาพอา้ งองิ (35)

(36)

(37)

(39)

(40)

(41)