22 5. แนวทำงปฏิบตั ิของนกั บรหิ ำรท้องถิ่นมืออำชีพ ทน่ี ่ำเชือ่ ถอื ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (รองปลัด ผอ.กอง หัวหน้าฝ่าย มีหน้าที่ช่วยปลัดองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ) จะต้องมีแนวทางปฏิบัติราชการของนักบริหารท้องถิน่ มอื อาชีพทีน่ ่าเชอ่ื ถือ ดังน้ี 1) เป็นผู้ชี้นำให้คำปรึกษำหำรือในกำรสิ่งท่ีถูกต้องเหมำะสมและเป็นธรรม ในสังคมแห่งความรู้มี ความต้องการบุคคลที่ความรู้ ความสามารถชี้นา หรือให้คาปรึกษาในฐานะเป็นผู้ชานาญหรือ ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้นาทางปัญญาย่อมเป็นผู้รอบรู้ในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งที่ชัดเจน เรียกกว่า ระดับมืออาชีพ (Professional) คุณลักษณะมอื อาชีพประกอบด้วยความรู้และประสบการณ์การณ์ รวมท้ังเจตคติที่ดี มี คุณธรรม จรยิ ธรรมในวิชาชีพของตนเอง 2) เป็นผู้จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติในสิ่งท่ีถูกต้องตำมตัวแบบหรือตัวอย่ำงท่ีดีได้ โดยผนู้ าจึงต้องปฏิบัติตน เป็นตวั แบบที่ดี ทาให้ผู้อืน่ เช่อื ถือ ศรัทธา ยอมรบั ในบุคลิกภาพ ความคิดเห็น และยอมรับในพฤติกรรม ดังกล่าว และจูงใจไม่ใช่เพียงแต่การพูดเพื่อให้ผู้อื่นเชื่อและปฏิบัติตามเท่าน้ัน แต่นักบริหารต้องแสดง พฤติกรรมที่ทาให้เป็นตัวอย่างที่น่าเคารพ ศรัทธา ทาให้ผู้อื่นเชื่อและปฏิบัติตาม เกิดความเชื่อ ความชอบ และชืน่ ชม 3) เป็นผู้พัฒนำให้เกิดควำมเปลี่ยนแปลงในสิ่งท่ีพึงประสงค์ขององค์กำรหรือสังคม นักบริหาร ท้องถิ่นจาเป็นต้องมีวิสัยทศั น์ มองไกลในอนาคต และทาให้ประโยชน์เพื่อส่วนรวมมากกว่าส่วนตน ไม่ เห็นแก่ตัวและพวกพ้องตนเองมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมและเป็นผู้พัฒนาให้สังคมอยู่ อย่างมี รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
23 ความสุข สรา้ งความสามัคคี ความเอือ้ เฟื้อเผ่อื แผ่ต่อผอู้ ืน่ และมีความคิดเชิงบวก มองโลกในทางดี ทา ตนให้เปน็ ประโยชน์แก่สงั คม 4) เป็นผู้มีบทบำทในเชิงวิชำกำร บริหารท้องถิ่นต้องมีความรู้ ความสามารถด้านวิชาการที่เป็นวิชาชีพ ของตนอย่างลุ่มลึก จนสามารถใช้ในการให้คาแนะนา ใหข้ ้อเสนอแนะเพือ่ ใช้ความรู้ในสาขาของตนเพื่อ การอธิบายเหตุการณ์และจัดสถานการณ์เพือ่ ให้เกิดผลดีต่อภารกิจ /องค์กร เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจ เกิดขึ้นได้ตลอดถึงสามารถให้คาปรึกษาเพื่อแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่ได้สาเร็จในระดับหนึ่ง รวมท้ังมี ผลงานเปน็ ที่ยอมรบั มีการพฒั นานวัตกรรมเชิงวิชาวิชาชีพ และมีผลงานเผยแพร่เป็นที่ประจักษ์ 5) เป็นบุคคลท่ีมีควำมรอบรู้ และมีคุณธรรมและจริยธรรมสูง เฉลียวฉลาด อารมณ์ม่ังคง มีความ ฉลาด มีอารมณ์ดี มีมนุษย์สัมพันธ์สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เป็นทีมงานที่เข้มแข็ง มีบุคลิกภาพ ทั้งภายนอก และภายในงดงาม เป็นต้น 6) เป็นบริหำรท้องถ่ินท่ีมีกำรบูรณำกำร งำน-คน- ควำมคิดต่ำงๆ ในการทางานในฐานะผู้บริหาร ระดบั กลาง จะต้องรบั ผิดชอบงานใน 2 ฐานะ คือ 6.1 ในฐานะรับผิดชอบงานสงั กดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ และ 6.2 ในฐานะที่ไม่ใชง่ านของสงั กดั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ฉะน้ันในพื้นที่ความเป็น บริหำร ต้องได้ทั้งสองส่วนนี้สามารถนาทุกคนมาร่วมกันคิดร่วมกันทาให้ แก้ปญั หาได้ เชน่ เดียวกับการบรู การ เป็นต้น 7) มีกำรทำงำนแบบพหุภำคี คือ การทงานร่วมกับหน่วยงานอื่นจะเป็นหน่วยงานราชการด้วยหรอื เป็น ภาคเอกชนก็ตาม ต้องเป็นพหุภาคี จะต้องให้ทุกคน ทุกท้องถิน่ ฯลฯ ท้ังหมดที่เขารบั เราได้เปน็ ทีมงาน ที่ดี 8) เป็นนักบริหำรท้องถ่ิน ท่ีมีกำรดำเนินงำนแนวทำงตำมพระรำชดำริ การดาเนินงานแนวทางตาม พระราชดาริในเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้จักประมาณ ความมีเหตุมีผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี โดยมีหลักการให้ยึด 3 ประการ คือ 8.1 กำรรู้จักประมำณตน คือ ควรจะมีเท่าไหร่ พอแค่ไหน ความรู้ความสามารถ ศักยภาพเราแค่นี้ วันนี้ควรจะพอแค่นี้ แล้วเม่ือเราพร้อมเราอาจจะต้องเง่ือนไขขึ้นใหม่ เพื่อไปสู่จุดต่อไปน่ันคือ สิ่งที่ได้ พฒั นาข้นึ 8.2 ควำมมีเหตุผล คือ รู้ศกั ยภาพของตนเองว่า เราเป็นอย่างนี้ เพราะฉะน้ันเราจาทอย่างน้ี ถ้าเรายัง คิด ทาเหมือนคนอืน่ ในขณะที่เราไม่มีความพร้อม เราไม่มีเหตผุ ลใหก้ ับตนเอง 8.3 กำรสร้ำงภูมิค้มุ กัน เป็นภูมิคุ้มกันใหก้ ับตนเองได้ ไม่คิดเพ้อเจ้อ ไม่ทาอะไรที่เป็นสิง่ เกินตัว รู้จัก ประมาณตัวเอง ให้พออยู่ พอมี พอกิน พอใช้ 6. บทบำทของนักบรหิ ำรท้องถิ่นมืออำชีพทน่ี ่ำเชือ่ ถอื ดังน้นั ผบู้ ริหารท้องถิ่นในฐานะที่เป็นข้าราชการประจา จงึ ตอ้ งมลี กั ษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรัมย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
24 (1) บทบำทกำรเป็นสัญลักษณ์ของท้องถ่ิน : การปกครองท้องถิ่นถือเป็นหน่วยงานราชการที่มีความ ใกล้ชิดและเข้าถึงประชาชนได้ง่ายที่สุด ซึ่งภารกิจหลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือความ รับผิดชอบการจัดบริการสาธารณะระดับชุมชน และพัฒนาท้องถิ่น เพื่อให้ประชานอยู่ดีมีสุขทั้งใน ภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน จงึ ให้เกิดความประทบั ใจและอยู่ในใจของทุกคน (2) บทบำทเป็นแบบอย่ำงประชำธิปไตย : ผบู้ ริหารท้องถิ่นซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน”การมี ส่วนร่วมของประชาชน” ถือเป็นการสากลที่ได้รับการยอมรับว่ามีความสาคัญและจาเป็นในสังคม ดังนั้น การให้ประชาชนมีส่วนร่วมโดยตรงในการเมืองการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลาย ประการ ได้แก่ (1) กำรเปิดให้ประชำชนเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาทิเช่น ศนู ย์ขอ้ มลู ข่าวสาร และรายงานผลการดาเนนิ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ (2) กำรให้สิทธิประชำชนเสนอขอ้ บัญญตั ิทอ้ งถิ่นได้ และ (3) กำรให้สิทธิประชำชนมีส่วนร่วมในกำรบริหำรงำน การรับฟังความคิดเห็นจาก ป ร ะช าช น ก่อ นก า ก า รด า เ นิ นโ ค รง ก า ร ที่มี ผล ก ร ะ ท บ ต่อ วิ ถีข อ ง ป ระ ชา ช นร วม ท้ั งก าร ล ง ประชามตทิ ้องถิ่น (3) บทบำทในกำรขับเคลื่อนธรรมำภิบำล : องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ เป็นองค์กรหนึ่งที่ได้บริหารงาน โดยอาศยั การบริหารตามหลกั ธรรมาภิบาล 6 หลัก ดังน้ี หลกั นิติธรรม หลักคณุ ธรรม หลักการมีส่วน ร่วม หลกั ความโปร่งใส หลกั ความรับผดิ ชอบ และหลกั ความคุ้มคา่ (4) บทบำทของควำมเป็นภำวะผนู้ ำองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น จงึ ควรเปน็ ดังต่อไปน้ี 4.1 คณุ ลกั ษณะของผบู้ ริหำรทอ้ งถิ่น ควรมลี ักษณะดงั ตอ่ ไปน้ี (1) มีภำวะผู้นำ มีศลิ ปะในการครองใจคน สามารถจูงใจคนให้เต็มใจร่วมมือหรือให้สนบั สนุน เป็นนักประสาน ความเข้าใจของทุกฝ่าย สามารถบริหารความขัดแย้งระหว่างบุคคลและประสาน ประโยชน์ใหเ้ กิดกับองค์กรได้ (2) มีเมตตำธรรม ไม่มีอคติ หรือฉันคติ นักบริหารที่เป็นผู้นาขององค์กรยังต้องรู้จักสละ ประโยชน์สว่ นตน เพือ่ ประโยชน์ส่วนรวม ต้องรู้จกั แสดงนา้ ใจกับเพื่อนร่วมงานและลกู น้องในโอกาสอัน สมควรและความรู้จักอดกล้ัน และอดทน ท้ังทางอารมณ์และจิตใจ สุดท้ายคือการรู้จักให้อภัย ถ้า ผบู้ ริหารมเี มตตาธรรม รู้จักใหอ้ ภัย จะทาให้เกิดบรรยายกาศทีด่ ใี นการทางาน (3) ต้องอยู่บนพื้นฐำนของเหตุผลและควำมถูกต้อง ในการทางาน ถ้ามีหลักการที่ชัดเจน การทางานกจ็ ะง่าย สะดวกเรว็ ขึ้น มีความเป็นธรรม และตัดสินใจปญั หาต่างๆ ได้แม่นยา (4) รอบร้แู ละมีข้อมูลที่ทนั สมัย เพราะการมีข้อมูลที่ดี ช่วยใหก้ ารตัดสินใจถกู แม่นยาขึ้น จึง ต้องรู้สึก รู้รอบ รู้รอบ รู้กว้าง รู้ไกล กระตือร้นอยู่เสมอ เป็นนักอ่าน ขยันใฝ่หาความรู้ ช่างสังเกตรู้จัก ฟัง รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
25 (5) รู้และเข้ำใจบทบำทหน้ำท่ี ทันสมัยรู้ว่าขณะนี้ตนเป็นใคร มีบทบาทและมีอานาจหน้าที่ อย่างไร เพื่อที่จะสวมบทบาทตามอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีอยู่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ไม่ เข้าไปก้าวก่ายงานในหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบของที่มีอยู่อย่างถกู ต้อง เหมาะสม ไม่เข้าไปก้าวก่ายงานในหน้าที่ รบั ผดิ ชอบของคนอ่นื และ (6) รู้จักประนีประนอมและยืดหยุ่น จะช่วยลดความขัดแย้งและขจัด ปัญหาอุปสรรคในการ ทางานมากขึ้น 4.2 พฤติกรรมของผบู้ ริหำรท้องถิน่ ควรแสดงออกในลักษณะ ดังตอ่ ไปนี้ (1) เป็น นักคิด นักวิเครำะห์ นักบริหารที่ดีต้องคิดสร้างสรรค์ให้บังเกิดสิ่งที่เป็นไปได้และ ต้องมี ความ สามารถในการจัดระบบความคิดให้เชื่อมโยง มองถึงองค์รวมของปัญหาทั้งหมด นอกจากการ คิดอย่างมีระบบแล้วยังต้องรู้จักคิดวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ได้ชัดเจน มีความใน การคิดแก้ปัญหา ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ (2) มีกำรสร้ำงวิสัยทัศน์ นักบริหารที่มีความสามารถต้องมองเห็นเหตุการณ์ในอนาคต ออก และ คาดการณ์ได้อย่างแม้นยา ด้วยสายตาที่กว้างไกล จากประสบการณ์สะสมมานานปี และสามารถ ตัดสินใจดาเนินการบริหารองคก์ รใหเ้ ป็นในทิศทางทีถ่ ูกต้องเหมาะสมได้ (3) เป็นนักประชำธิปไตย นักบริหารต้องใจกว้างพอจะยอมรับความแตกต่างทาง ความคิด และอยู่ ท่ามกลางแตกต่างให้ได้ พร้อมทั้งต้องพยายามประสานความแตกต่างน้ันให้เกิดประโยชน์เชิง สร้างสรรค์ (4) รู้จักควรไม่ควร รู้จักควำมพอดี เป็นเร่ืองที่บอกอย่างไรจึงพอดี ขึ้นอยู่กับสติปัญญา วิจารณญาณและประสบการณ์ของแต่ล่ะคน ที่จะเรียน รู้ความพอเหมาะพอดี ต้องรู้จักงาน รู้จักดี รู้จกั ชัว่ แยกแยะออกได้อย่างชัดเจน 4.3 ทักษะของผู้บริหำรท้องถ่ิน ผู้บริหารท้องถิ่นควรมีทักษะหลายด้าน เป็นนักคิด นักวิเคราะห์ มี ทักษะในการตัดสินใจ มีการจัดการที่ดี มีทีมงานที่แข็งแกร่ง มีข้อที่ถูกต้องและทันสมัย รู้จักรุก ใน โอกาสและจังหวะที่ดีและเหมาะสม รู้จักรอ เม่ือยังไม่ถึงเวลาที่สมควร เช่น ทักษะในการจัดองค์กร ทักษะ การสร้างทีมงาน รู้จกั พิจารณาบุคคลเปน็ ต้น 4.4 กลยุทธ์ของผู้บริหำรท้องถ่ิน กลยุทธ์เป็นปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่ความสาเร็จของงานส่วน เทคนิคจะช่วยประหยดั และทรพั ยากรอื่นๆ มิใหส้ ิน้ เปลือง คือ (1) กระจำยอำนำจเป็น โดยดูจากการกระจายอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบไปสู่มือ ทางานเพื่อทางานจะได้ลุล่วง เรียบร้อย รวดเรว็ (2) รู้จักทำงำนในเชิงรุก มุ่งผลงานในเนื้องานเป็นหลักมากกว่ารูปแบบหรือพิธีการ เป็นฝ่าย เริ่มตน้ กระทาก่อนในสิง่ ที่ถูกต้อง และจาเป็นเพื่อให้งานสาเรจ็ และ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
26 (3) โปร่งใสและตรวจสอบได้ เป็นหนึ่งในการบริหารการจัดการที่ดี (Good Goovernance) แสดงถึงความสุจริตใจในการทางาน ต้องเปิดเผยชัดเจน ตรงไปมา ตอบคาถามของสังคมได้ สามารถ สร้างศรทั ธาให้เกิดข้ึนผู้ปกครองหรือผู้ปกครองในระดับองค์กร 7. บทสรุป นักบริหำรท้องถ่ินมืออำชีพ ที่น่าเชื่อถือ จะต้องทางานเพื่อแผ่นดิน คือ การให้บริการประชาชนเป็น ภารกิจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การวางตัวของนักบริหารท้องถิ่นในเชิงการบริหารทุกระดับ จะต้องวางตัวให้เป็นกลางทุกสถานการณ์และในทุกระดับ จะต้องทาตามนโยบายของรัฐ ทั้งในระดับชาติหรือ ระดับท้องถิ่นให้คานึงถึงศักดิ์ศรี เกียรติภูมิของความเป็นนักบริหำรท้องถ่ิน วำงตัวให้เหมาะสมบทบาท ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ก็จะเป็นนักบริหารท้องถิ่น มอื อาชีพเป็นนักบริหำรท้องถ่นิ รุ่นใหม่ พร้อมที่ จะขบั เคลือ่ น Thailand 4.0 ทีท่ างานเพื่อแผ่นดนิ อย่างแท้จริง *************************************************** รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรัมย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
27 (ตวั อย่ำงคำถำมข้อที่ 5) จำกกำรท่ีมีกำรปฏิรูประบบรำชกำร เพื่อให้กำรปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำร ตอบสนองควำม ต้องกำรต่อกำรพัฒนำประเทศและให้บริกำรแก่ประชำชนได้อยำ่ งมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น ซึง่ กำรบรหิ ำร รำชกำรและปฏิบัติหนำ้ ท่ีของส่วนรำชกำรนั้นจะตอ้ งใช้วิธีกำรบรหิ ำรกิจกำรบ้ำนเมืองท่ดี ี กรมส่งเสริม กำรครองท้องถ่ิน เห็นว่ำเป็นประโยชน์ต่อองค์กำรปกครองท้องถ่ิน (เทศบำล องค์กำรบริหำรส่วน ตำบลและองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด) โดยตรง หำกท่ำนได้รับคำส่ังแต่งต้ังเป็นผู้บริหำรองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ท่ำนจะมีหลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำรปฏิบัติรำชกำรนำพำให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินและข้ำรำชกำรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้มีแนวทำงปฏิบัติรำชกำรเพื่อเป็นไปตำม หลกั กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองทีด่ ไี ด้อย่ำงไร โดยแยกตอบเปน็ ประเด็นใหช้ ดั เจน ประเดน็ คำถำม หากท่านได้รับคาส่ังแต่งต้ังเป็นผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท่านจะมีหลักเกณฑ์และวิธีการ ในการปฏิบัติราชการและนาพาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและข้าราชการองค์กรปกครองท้องถิ่น ได้มี แนวทางปฏิบัติเพื่อเป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีอย่างที่ดีได้อย่างไร โดยแยกตอบเป็น ประเด็นใหช้ ัดเจน แยกประเดน็ คำถำม 1. ขอทราบความหมายการบริหารกิจการบ้านเมอื งที่ดี 2. ขอทราบหลกั การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดอี ย่างไร 3. มีหลกั เกณฑบ์ ริหารกิจการบ้านเมืองที่ดอี ย่างไร 4. มีวธิ ีการปฏิบตั ิ / แนวทางปฏิบัติราชการอย่างไร 5. ให้แยกตอบแตล่ ะประเดน็ ใหช้ ัดเจน แยกประเดน็ คำถำม 1. บทคานา 2. ความหมายบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3. หลักเกณฑบ์ ริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี (มี 7 ประการ) 4. หลกั เกณฑ์บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (โดยสรุปมี 2 หลกั การใหญ่) 5. วิธีการปฏิบัติ/แนวทางปฏิบตั ิ (มี 4 – 5 ประการ) 6. บทสรุป 1. แนวกำรตอบ 1. บทคำนำ (เกรินนำ ใหไ้ ปหลักกฎหมำย หรอื ควำมคิดรวบยอด / ไม่ต้องเขียน) ตามมาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553 ได้บญั ญัติวา่ การบริหารราชการจะต้องเป็นไปเพือ่ ประโยชน์สขุ ของประชาชนและเกิดผล รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
28 สมั ฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน และในการปฏิบัติหนา้ ที่ของส่วนราชการนั้น จะต้อง ใช้วธิ ีการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี เป็นแนวทางในการบริหารราชการและปฏิบตั ิราชการน้ัน 2. ควำมหมำยกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี อย่างไรก็ดี พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได้ให้ หลักการและความหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ว่า กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองท่ีดี ได้แก่บริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมายให้เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ มีคุ้มค่าภารกิจของรัฐ ไม่มีข้ันตอนปฏิบัติมากเกินความจาเป็นและ ประชาชนจะได้รับการอานวยความสะดวกและตอบสนองมากความต้องการ รวมท้ังมีการประเมินผลการ ปฏิบตั ิราชการเปน็ ประจาสมา่ เสมอ 3. หลักกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี (มี 7 ประกำร) ดังน้ัน การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีจะต้องมีหลักการให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล องค์การบริหารส่วนจงั หวดั องค์การบริหารส่วนตาบล กรงุ เทพมหานครและเมืองพทั ยา) ได้ปฏิบตั ิตอ่ ไปนี้ 1. จะต้องเกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. จะต้องเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรฐั 3. จะต้องมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในภารกิจของรัฐ 4. จะต้องลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน 5. ประชาชนจะต้องได้รบั การอานวยความสะดวก และได้รับสนองความต้องการยิ่งข้นึ 6. จะต้องมีการปรบั ปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ 7. จะต้องมีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ 4. หลักเกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองทีด่ ี (โดยสรปุ มี 2 หลกั กำรใหญ่) จากหลักการทั้ง 7 ประการดังกล่าว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและข้าราชการขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจะต้องมหี ลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบตั ิราชการดงั นี้ 1) กำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชำชน กำรให้ประชำชนเป็นศูนย์กลำง และแกไ้ ขปญั หำควำมเดือดรอ้ นของประชำชน เช่น 1.1 มีความซื่อสัตย์และความโปร่งใสในการบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ เปิดเผย ข้อมลู ข่าวสารเกี่ยวกับนโยบาย ผลการดาเนินการ ตลอดจนการจดั ซือ้ จัดจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ประชาชนและผู้สนใจท่ัวไปรับทราบ และจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีระบบ การให้และขอรับข้อมูลทางอินเตอรเ์ น็ต และวิธีการเผยแพรข่ ้อมูลขา่ วสารใหป้ ระชาชนทราบ 1.2 มีการลดข้ันตอนการปฏิบัติงานและการอานวยความสะดวกเพื่อประชาชน โดยมีคาส่ังมอบอานาจ ในการปฏิบัติในการหน้าที่และมีการกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานให้บริการ อนุญาต อนุมัติ การวินิจฉัย ส่งั การของทุกกระบวนงาน และประกาศให้ประชาชนทราบ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรัมย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
29 1.3 การให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางและการแก้ไขปัญหาความเดือนร้อนของประชาชน โดยผู้บริหาร และหน่วยงานปฏิบัติงานของท้องถิ่นได้รับฟังและนาปัญหาความต้องการเกี่ยวกับการบริการสาธารณะของ สมาชิกสภาท้องถิ่นและประชาชนเสนอไปปฏิบัติ และประเมินความพึงพอใจของประชาชนในการบริการและ รายงานให้สภาท้องถิน่ ทราบ 2) มีผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจ มีประสิทธิภำพและมีควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เช่น 2.1 มีจัดทาแผนพัฒนาประจาปีที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน โดยให้ประชาชนมีส่วน ร่วมในการจัดทาแผน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จัดทาแผนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผน พฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 และนโยบายรัฐบาล และได้แจง้ ให้หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องและประชาชนได้ทราบ 2.2 มีการติดตามและประเมินผล โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลตามแผนพัฒนา ท้องถิน่ และรายงานผลพรอ้ มเสนอความเหน็ และประกาศให้ประชาชนทราบ 2.3 มีการบูรณาการกบั หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อื่นๆ โดยมีความร่วมมือ กนั ระหว่างองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นทีเ่ กี่ยวข้องมีกิจกรรม / โครงการที่บูรณาการรว่ มกนั อย่างเป็นระบบ 2.4 มีการพัฒนาองค์ความรู้ ความสามารถของบุคลากร โดยมีการฝึกอบรมและพัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองและสังคมทีด่ ี (Good Governance) รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
30 5. วิธีกำรปฏิบัติ / แนวทำงปฏิบัติตำมหลักกำรกำรบริหำรกิจกรรมบ้ำนเมืองที่ดี (4-5 ประกำร) หากการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมีปัญหาและอุปสรรคก็ ควรมีวิธีการนาพาให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นบรรลุเป้าหมายนั้น ดงั น้ี (1) เนน้ กำรบรหิ ำรรำชกำรเพือ่ ให้เกิดผลสัมฤทธิต์ อ่ ภำรกิจของรัฐ จะต้องเป็นการบริหารราชการ แบบมุ่งเน้นผลการปฏิบัติงาน โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงานและมีเป้าหมายการทางานที่ชัดเจน ตลอดจนมีตัวชี้วัดผลการดาเนินงานที่แสดงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ซึ่งองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นท้องถิ่นควรมีการทาความตกลงในการปฏิบัติงาน และอาจกาหนดให้มีสวัสดิการและรางวัลแก่ เจ้าหนา้ ทีผ่ ู้รบั ผดิ ชอบในการปฏิบัติงานด้วยกไ็ ด้ (2) เน้นกำรบริหำรรำชกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำเชิงภำรกิจของรัฐ โดย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรกาหนดวิธีการทางาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานและความคุ้มค่า ในการปฏิบตั ิภารกิจ โดยมีหลกั การทีค่ วรพิจารณา คือ 2.1 ควำมโปร่งใส โดยงานราชการจะต้องกระทาแบบเปิดเผย โปร่งใส ประชาชนตรวจสอบได้ 2.2 ควำมคมุ้ ค่ำ โดยมีกาหนดวิธีการทางานเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และประหยัดคุ้มค่าใน การปฏิบตั ิราชการ (3) มีกำรปรับปรุงภำรกิจขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรตรวจ สอบาภารกิจทุกเร่ืองในความรับผิดชอบว่าภารกิจใดยังมีความจาเป็นต้องปฏิบัติ ถ้าไม่จาเป็นก็ควรยกเลิก ภารกิจนั้นเสีย หรอื ปรับปรงุ ภารกิจเพื่อให้มปี ระสิทธิภาพขึ้นหรือนาภารกิจไปรวมกับภารกิจอน่ื ๆได้ โดยจะเกิด การประหยัดและความคุ้มค่า และผลการปรับปรุงภารกิจดังกล่าว องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ จะต้องปรับปรุง โครงสรา้ งและอานาจให้สอดคล้องกนั ด้วย (4) ให้มีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น โดยจะต้องให้มี 4.1 คณะกรรมการประเมินผลผลการปฏิบัติผลการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี 4.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องส่งเสริม สนับสนุน การปฏิบัติงานตามหน้าที่ของคณะ กรรมการฯ เพื่อใหก้ ารปฏิบัติของคณะกรรมการฯ ประสบผลสาเรจ็ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บรรลุตาม เป้าหมายวัตถุประสงค์ 4.3 การประเมนิ ของคณะกรรมการฯ มีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ การพฒั นา มิใช่เพื่อการจดั ผิด 6. บทสรุป ดังน้ัน การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีน้ันจะต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนเกิดผล สัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่า และลดข้ันตอนการปฏิบัติ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนเปน็ หลัก ตามเป้าหมายการบริการของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น คือ (1) ประชาชนได้รับการบริการสาธารณะอย่างมปี ระสิทธิภาพ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
31 (2) ประชาชนสามารถเข้าไปมีสว่ นร่วมในการตดั สินใจของท้องถิ่น (3) ประชาชนได้รับงบประมาณที่โปร่งใสและตรวจสอบได้ (4) เปิดกว้างสามารถเชื่อมโยงกับทุกฝ่าย (5) มีประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง รู้เท่าทนั และมีความคิดริเร่มิ ทีส่ ร้างสรรค์ จงึ จะเกิดผลดีตอ่ การพัฒนาประเทศ และจะเกิดผลดีตอ่ การพัฒนาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ****************************************** (ตัวอย่ำงคำถำมข้อที่ 6) ท่ำนคิดว่ำวิสัยทัศน์ ภำรกิจ อำนำจ หน้ำท่ีขององค์ปกครองส่วนท้องถ่ินจะสนับสนุนส่งเสริม และพัฒนำกำรปกครองส่วนท้องถิ่นใหบ้ รรลเุ ป้ำหมำยได้หรอื ไม่ อย่ำงไร แยกประเด็นคำถำม 1. การกาหนดวิสัยทศั นข์ ององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นอย่างไร 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีภารกิจ อานาจ หนา้ ที่อย่างไร 3. เป้าประสงค์ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นคืออะไร 4. วิสัยทัศนแ์ ละอานาจหน้าทีจ่ ะสนบั สนุนการปกครองท้องถิ่นได้อย่างไร แยกประเด็นคำถำม (1) บทคานา (2) การกาหนดวิสัยทัศนข์ ององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ (3) องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ มีภารกิจ อานาจ หนา้ ทีอ่ ย่างไร (4) เป้าประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคอื อะไร (5) หลกั การปกครองท้องถิน่ (6) วตั ถปุ ระสงค์ของการปกครองท้องถิ่น (7) วิสัยทศั นแ์ ละอานาจหน้าทีจ่ ะสนบั สนนุ การปกครองท้องถิ่น ได้อย่างไร (8) บทสรุป แนวกำรตอบ 1. บทนำ วิสัยทัศน์ (Visom) คือ สิ่งท่ีอยำกจะให้หน่วยงำนเป็นอีก (3-5 ปีข้ำงหน้ำ) เป็นการกาหนด ทิศทางขององค์กร (Position organization) มุ่งไปสู่เป้าหมายดังกล่าว แต่การกาหนดทิศทางที่ดีต้อง ช่วยบอกให้บุคลากรท้ังหมดได้ทราบว่า องค์กรกาลังมุ่งหน้าไปในทิศทางใดอย่างเป็นรูปธรรมและ ชัดเจนด้วย 2. กำรกำหนดวิสัยทศั น์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพนั ธ์ เวำรมั ย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
32 ในการกาหนดวิสัยทัศน์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ต้องการบอกให้รู้ถึงสิ่งที่หน่วยงาน อยากจะหรือต้องการจะเป็นในอนาคต แต่ต้องการบอให้รู้ถึงเส้นทางเดินของหน่วยงานในอนาคต ดังนั้น วิสยั ทัศนท์ าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์กรในอนาคตข้างหน้า วิสัยทศั น์ อาจจะเขียนในรปู ของร้อยแก้วแบบใดก็ได้ แตค่ วรประกอบด้วยคุณลักษณะ 3 ประการ คือ (1) ท่านต้องการทาอะไรใหส้ าเรจ็ (ภารกิจ) (2) ทาไมท่านจงึ ตอ้ งการทาใหส้ าเรจ็ (วัตถปุ ระสงค์) (3) ท่านคาดหวังผล (Results) เชน่ ไร ฉะน้ันองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ มักจะกำหนดวิสัยทศั น์จะมีองค์ประกอบที่สำคญั 3 ประกำรคือ 1) นโยบายผบู้ ริหารท้องถิน่ ซึง่ จะต้องสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลหรอื แผนพัฒนาประเทศชาติ 2) ตามภารกิจ อานาจ หนา้ ที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่กฎหมายกาหนด 3) ความต้องการและเป็นอยู่ของประชาขน และสภาพพื้นที่ของแต่ละท้องถิ่นประกอบกัน เช่น “วิสัยทัศน์ น้าไหล ไฟสว่าง ทางดี มีการศกึ ษา พาสกู่ ารพฒั นาที่ยั่งยืน” เป็นต้น 2. องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นมีภำรกิจ อำนำจ หนำ้ ทอ่ี ยำ่ งไร องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จะกาหนดภารกิจ อานาจ หนา้ ทีไ่ ด้แตโ่ ดย 3.1 ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 คือ มีอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ของตนเองเช่น - การจัดทาแผนพฒั นาท้องถิน่ ของตนเอง - การกาจดั มลู ฝอย สิง่ ปฏิกูล และน้าเคม็ - การบารงุ รักษาศลิ ปะ จารีตประเพณี ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น 3.2 พระราชบัญญัติจัดต้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท้ัง 4 ฉบับ ซึ่งมลี ักษณะในแนวเดียวกัน คือ - มีหน้าทีต่ อ้ งทา หรอื อาจทากิจการใดในเขตขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น - มีอานาจหน้าทีอ่ อกข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือเทศบัญญัติใดตามที่กฎหมายกาหนดโดยกาหนดผลู้ ะเมิด หรอื ฝา่ ฝนื ได้ไม่เกิน หนง่ึ พนั บาท หรอื ไม่เกินหนึ่งหมน่ื บาท ตามทีก่ ฎหมายจดั ต้ังกาหนดไว้ - ในการปฏิบัติงานตามอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ต้องเป็นไปเพือ่ ประโยชน์สขุ ของ ประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนพัฒนาการ จัดทางบประมาณ การจัดซื้อจัดจา้ ง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตามกฎหมาย - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังมีอานาจหน้าที่ในการพัฒนาท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาจทากิจการนอกเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือร่วมกับ หน่วยงานราชการอื่น หรือหน่วยการบริหารราชการท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทากิจการร่วมกันได้ โดยได้รับความ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
33 ยินยอมจากสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และกิจการ น้ันเป็นกิจการทีจ่ าเปน็ ต้องทาและเปน็ การเกี่ยวเนื่องกบั กิจการทีอ่ ยู่ในอานาจหน้าที่ของตน 4. เป้ำประสงค์ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีเป้ำประสงคท์ ีส่ ำคัญ คอื (1) เพื่อจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตนเอง ตามความ ต้องการของประชาชนในท้องถิน่ (2) เพือ่ การบูรณาการการแก้ไขปญั หาและพัฒนาท้องถิน่ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและทัว่ ถึง (3) เพือ่ เป็นฐานการศกึ ษาประชาธิปไตยและพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน 4. หลกั กำรปกครองทอ้ งถิ่น องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ มีจะมีองค์ประกอบที่สำคญั คอื (1) เปน็ องค์การทีม่ ีฐานะเป็นนิติบคุ คล และทบวงการเมอื ง (เทศบาล) (2) มีสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นที่มีมาจากการเลือกตั้งตามหลักการที่บัญญัติในกฎหมาย กาหนด (3) ท้องถิ่นจะต้องมีอิสระในการกาหนดนโยบาย บริหารจัดการ การเงิน การคลัง และมีอานาจและ หนา้ ทีโ่ ดยเฉพาะ (4) ประชาชนในท้องถิ่นสามารถมีส่วนร่วมในการกากับดูแล ควบคุม ตรวจสอบ การเงิน ได้ตาม กฎหมาย (5) มีเขตการปกครองทีช่ ัดเจนและเหมาะสม (6) มีงบประมาณรายได้ทีเ่ ปน็ ของตนเองอย่างเพียงพอ (7) มีบคุ ลากรปฏิบตั ิงานของตนเอง (8) มีอานาจออกข้อบัญญัติใชบ้ งั คับเปน็ กฎหมายของท้องถิน่ ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย (9) มีความสมั พนั ธ์กับส่วนกลางในฐานะเปน็ หนว่ ยงานระดับรองของรัฐ 6. วตั ถปุ ระสงค์ของปกครองทอ้ งถิ่น โดยท่ัวไป องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ มักมีวัตถปุ ระสงค์หรอื เป้าหมายคล้ายคลึงกนั คือ 1. เพือ่ ให้ประชาชนมสี ่วนรว่ มและรบั ผิดชอบในการปกครองตนเองเพื่อลดการขัดแย้ง 2. เพื่อให้การจัดทาบริการแก่ประชาชนเปน็ ไปโดยรวดเร็ว 3. เพื่อให้การจัดทาบริการต่างๆ มีสิทธิภาพและถูกต้องตามความต้องการหรือเป้าหมายของ ประชาชน 4. เพือ่ องค์การปกครองท้องถิ่นแบ่งเบาภาระของรฐั บาลกลาง 5. เพือ่ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถาบันที่ใหก้ ารศกึ ษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยแก่ ประชาชน 7. วิสยั ทศั น์และอำนำจหน้ำท่ีจะสนับสนุนกำรปกครองท้องถิ่นได้อยำ่ งไร รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพนั ธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
34 จากวิสัยทัศน์ บทบาท อานาจ หนา้ ที่ขององค์กรปกครองท้องถิน่ จะสนบั สนุน สง่ เสริมและพัฒนาการปกครอง ให้บรรลเุ ป้าหมายได้ ดังตอ่ ไปนี้ 1. เปน็ การกาหนดอนาคต (Future Oriented) ทีท่ ุกคนศรทั ธาและทราบว่าองค์กรกาลงั มุ่งหนา้ ที่ไปในทิศทางใด 2. เพือ่ ใหก้ ารจัดทาบริการแก่ประชาชนเป็นไปโดยรวดเรว็ 3. เพือ่ ให้การจัดทาบริการต่างๆ มีสทิ ธิภาพและถกู ต้องตามความต้องการหรอื เป้าหมายของประชาชน 4. เพือ่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ แบ่งเบาภาระของรฐั บาลกลาง 5. เพือ่ ให้องคก์ รปกครองท้องถิน่ เป็นสถาบนั ทีใ่ ห้การศกึ ษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยแก่ประชาชน 7. วิสัยทศั นแ์ ละอำนำจหน้ำท่ีจะสนบั สนุนกำรปกครองท้องถิ่นได้อยำ่ งไร จากวิสัยทัศน์ บทบาท อานาจ หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะสนับสนุน ส่งเสริมและ พฒั นาการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บรรลุเป้าหมายได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) เป็นการกาหนดอนาคต (Future oriented) ที่ทุกคนศรัทธาและทราบว่าองค์กรกาลังมุ่งหน้าไปใน ทิศทางใด (2) เป็นการฟันฝ่าความท้าทายใหม่ (New challenge) ไม่หลงความสาเร็จในอดีต จะต้องการทาให้ สาเร็จ (วัตถปุ ระสงค์) (3) ก่อให้เกิดการทางานเป็นทีม (Team work) มุ่งมั่นไปสู่จุดหมายเดียวกัน คือจะต้องคาดหวังผล (Resulrts) (4) ช่วยใหก้ ารกาหนดเป้าหมายในระดับรองลงมามีความชดั เจนมากขึ้น (5) องค์กรที่มวี ิสัยทศั นจ์ ะมีเป้าหมายระยะต่างๆ ในอนาคตเจนด้วย เชน่ กนั ดังนน้ั วิสัยทศั น์ จะเป็นตวั บอกความคาดหวังในอนาคตระยะ 10 -15 ปีขา้ งหน้า ดังนี้ 1) แสดงจุดมุ่งม่ันในระยะยาวที่ค่อนข้างแน่นอน (ระยะกลาง เป็นหลักกลยุทธ์ ระยะยาว เป็นหลัก ยทุ ธศาสตร)์ 2) มเี จตนารมณ์ (สิง่ ที่ตอ้ งการใหเ้ กิด) ทีช่ ดั เจน และ 3) จดจาได้ง่าย เพราะจาให้บุคลากรจาได้และนาไปใช้ในทางปฏิบัติที่เกิดผลแก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ 8. บทสรปุ แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะมีการกาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ อานาจ หน้าที่ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยากจะเป็นอีก 3 -5 ปีข้างหน้า แต่หากบุคลากรของหน่วยงานหรือผู้บริหารองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นขาดวิสัยทัศน์ และขาดหลักธรรมาภิบาลแล้ว การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ บรรลุเป้าหมายได้นนั้ คงจะไม่เกิดขึ้นไม่ได้ ดังนน้ั ระบบราชการไทยจึงต้องสร้างองค์กรที่น่าเช่อื ถือ ซึ่งเปน็ หัวใจ สาคัญในการบริหารราชการโดยการเปน็ “นักบริหารท้องถิน่ มอื อาชีพ” ให้สมกับเป็น “ค่าของแผน่ ดิน” **************************************** รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
35 (ตัวอย่ำงคำถำมข้อที่ 7) มีคำกล่ำวว่ำ “งบประมำณมีควำมสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อกำรบริหำรหน่วยงำนองค์กร ปกครองสว่ นท้องถิ่น ท้ังยงั ใช้เป็นเครื่องมือในกำรบริหำรจัดกำรหนว่ ยงำนใหเ้ จรญิ ก้ำวหน้ำ” ให้ท่ำนจงอธิบำยขั้นตอนและวิธีกำรจัดทำข้อบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยท่ีดีขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นมำพอสงั เขป ประเดน็ คำถำม 1. ให้อธิบำยข้ันตอนและวิธีกำรจดั ทำข้อบญั ญตั ิงบประมำณรำยจ่ำยขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น 2. ให้อธิบำยจัดทำขอ้ บญั ญัติงบประมำณรำยจำ่ ยท่ดี ีขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เค้ำโครงกำรตอบ (1) บทคำนำ (2) ขน้ั ตอนและวิธีกำรจัดขอ้ บญั ญัติงบประมำณรำยจ่ำยท่ดี ี 2.1 เจ้าหนา้ ทีง่ บประมาณแจง้ หน่วยงานที่เกีย่ วข้องเสนอขอ้ มูลเบือ้ งต้น 2.2 ใช้แผนพฒั นาท้องถิ่นเปน็ เครือ่ งมอื จัดทางบประมาณ 2.3 ประมาณการรายได้ 2.4 ประมาณการรายจ่าย 2.5 สารวจขอ้ มูลพืน้ ฐานทว่ั ไปทีด่ าเนินการจริง 2.6 จดั ทาร่างงบประมาณ 2.7 กาหนดเสนอร่างงบประมาณต่อสภาท้องถิน่ 2.8 เสนอนายอาเภอหรอื ผวู้ ่าราชการจังหวดั อนุมตั แิ ล้วแตก่ รณี 2.9 ปิดประกาศใช้ 2.10 สาเนาสง่ นายอาเภอหรือผู้วา่ ราชการจังหวัดแล้วแต่กรณี 2.11 สนิ้ ปีรายงานผลต่อสภาท้องถิน่ ทราบ (3) กำรจดั ทำข้อบญั ญัติงบประมำณรำยจ่ำยทด่ี ีขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (4) บทสรปุ แนวกำรตอบ 1. บทคำนำ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2543 กาหนดไว้ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแนวทางปฏิบัติและ เพื่อให้การบริหารงานด้านการงบประมาณสิน้ สุดทีจ่ งั หวัด รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
36 ดังน้ันการจัดทาวิธีการงบประมาณจึงเป็นการแสดงแผนการปฏิบัติงานตามภารกิจหน้าที่ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่วางแผนไว้ให้ปรากเป็นรูปธรรม ในรูปของตัวเลข จานวนเงินว่าจะทาอะไร เป็นเงินค่า อะไรบ้าง รายการละเท่าใด วิธีการใด (2) ขั้นตอนและวิธีกำรจัดข้อบัญญัติงบประมำณรำยจำ่ ยท่ดี ี ในการจัดทางบประมาณขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น มีวธิ ีการและขั้นตอนการจดั ทา สรปุ ได้ดังนี้ 1) เจ้ำหน้ำท่ีงบประมำณ (ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน) มีหน้ำท่ีแจ้งให้หน่วยงำนต่ำงๆ (กอง/ฝ่ายต่างๆ) เสนอข้อมูลทีจ่ ะต้องใช้ในการจดั ทางบประมาณเพือ่ ส่งให้เจา้ หน้าที่งบประมาณ 2) ใชแ้ ผนพัฒนำท้องถิ่นเป็นเคร่ืองมือและแนวทำงในกำรจัดทำงบประมำณ เม่ือกอง/ฝ่ายต่างๆ ได้รบั หนังสือจะต้องพิจารณานาแผนพัฒนาองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ เป็นแนวทางในการจดั ทางบประมาณ 3) ประมำณกำรรำยได้ กาหนดให้หวั หน้าหน่วยงานคลังประมาณการรายรับ งบแสดงฐานะทางการ คลังและสถิติต่างๆ ให้พิจารณาข้อมูลย้อนหลัง 2 -3 ปี เช่น รายได้ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ค่า ใบอนุญาต รายได้จากทรพั ย์สิน สาธารณูปโภคและการพาณชิ ย์ และค่าเบด็ เตลด็ อื่นๆ 4) ประมำณรำยจ่ำย กำหนดใหจ้ ำแนกออกเป็น 2 ลักษณะคอื 4.1 รำยจ่ำยประจำ ซึ่งประกอบคือ หมวดเงนิ เดือน และค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทน ค่าใช้สอย หมวดสาธารณปู โภค เปน็ ต้น 4.2 รำยจ่ำยเพื่อกำรลงทุน ซึงประกอบด้วย หมวดครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เช่น สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรมีอายุการใช้งานเกิน 1 ปี หรือสิ่งก่อสร้างต่างๆ ซึ่งติดกับที่ดินและสิ่งก่อสร้าง อื่นๆ เป็นต้น 5) สำรวจข้อมูลพื้นฐำนท่ัวไปท่ีจะทำเป็นกำรจริง โดยจะสารวจพื้นที่ที่จะเป็นการจริงในพื้นที่ พัฒนาแผนงาน โครงการต่างๆ ที่จะดาเนินการได้จริงและสารวจค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่มีกาหนดใบมาตรฐาน ครภุ ัณฑ์ เปน็ ต้น 6) จัดทำร่ำงงบประมำณรำยจ่ำย เจ้าหน้าที่งบประมาณรวบรวมเอกสารเพื่อประกอบเป็นร่าง ประมาณรายจ่ายประจาปี เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อพิจารณา อนมุ ัติเปน็ ร่างงบประมาณรายจา่ ยประจาปี หรอื งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมแล้วเสนอต่อสภาท้องถิน่ ต่อไป 7) กำหนดเสนอรำงงบประมำณต่อสภำท้องถ่ิน ให้ผู้บริหารท้องถิ่นจะต้องเสนอร่างงบประมาณ รายจ่ายต่อสภาท้องถิ่นภายในวันที่ 15 สิงหาคม และเข้ากระบวนการตราเป็นกฎหมายท้องถิ่นตามที่กาหนด ไว้ในกฎหมายจดั ตั้งของท้องถิ่นแต่ละรปู แบบต่อไป 8) เสนอนำยอำเภอหรือผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดอนุมัติแล้วแต่กรณี เม่ือสภาท้องถิ่นเห็นชอบแล้วให้ นาเสนอนายอาเภอหรอื ผวู้ ่าราชการจังหวดั อนุมตั ใิ นกรณี ภายใน 15 วนั นบั แต่สภาท้องถิน่ ให้ความเห็นชอบ 9) ปิดประกำศใช้ เม่ือผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอาเภออนุมัติแล้วแต่กรณี ให้ปิดประกาศไว้ ณ สานักงานหรือที่ทาการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ประชาชนได้ทราบไม่น้อยกว่า 30 วัน ตาม รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
37 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 หรือตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยกาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 10) สำเนำส่งนำยอำเภอหรือผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด เม่ือได้ปิดประกาศกาหนดเปิดเผยให้ประชาชน ทราบแล้ว ให้ส่งสาเนาส่งมอบอาเภอทราบภายใน 15 วัน สาหรับองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือเทศบาลให้ สาเนาส่งผวู้ ่าราชการจังหวดั ทราบ 11) สิ้นปีงบประมำณผลให้สภำท้องถ่ินได้ทรำบ เม่ือสิ้นปีงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นประกาศรายงานการรับ – จ่ายเงินประจาปีงบประมาณที่สิ้นสุดไว้โดยเปิดเผย ให้ประชาชนได้ทราบ ภายใน 30 วัน และสาเนารายงานการรับ – จา่ ย ให้ผู้วา่ ราชการจังหวัดทราบ (3) กำรจัดทำขอ้ บญั ญตั ิงบประมำณรำยจำ่ ยท่ดี ีขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (1) เป็นศูนย์รวมของเงินงบประมำณทั้งหมด ปกติการใช้จ่ายเงินงบประมาณควรจะใช้จ่ายและ พิจารณาจากศูนย์ หรือแหล่งรวมเดียวกันท้ังหมด จงึ เป็นไม่ควรแยกการพิจารณางบประมาณไว้ในหลายๆจุด หรอื หลายครั้ง ซึง่ จะก่อใหเ้ กิดการพจิ ารณาทีต่ า่ งกนั และไม่ยตุ ิธรรม (2) มีลักษณะของกำรพัฒนำเป็นหลัก งบประมาณที่ดีควรจะดาเนินการจัดสรรโดยยึดหลักการ พัฒนาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าเป็นหลัก ทั้งนี้เน่ืองจากมีงบประมาณจากัด จึงควรมีการพิจารณาจัดสรร งบประมาณตามหลกั การพฒั นาที่ดวี ่าด้านไหนควรมาก่อนหลัง ตามสถานการณแ์ ละความจาเป็น (3) กำรกำหนดเงินต้องสอดคล้องกับปัจจัยในกำรทำงำน การจัดงบประมาณในแผนงานต้องมี ความเหมาะสมให้งานนั้นๆ สามารถจัดทากิจกรรมได้บรรลุตามเป้าหมายที่ต้ังไว้หรืออีกนัยหนึ่ง คือ การ กาหนดเป้าหมายหรือผลทีจ่ ะได้รับต้องสอดคล้องกับงบประมาณและความเป็นไปได้ (4) มีลักษณะท่ีสำมำรถตรวจสอบได้ หรือเป็นเคร่ืองมือที่จะใช้ตรวจสอบการบริหารงานของ หนว่ ยงานได้ การจดั งบประมาณในแผนงานต่างควรมรี ายละเอียดของกิจกรรมตา่ งๆ อย่างพอเพียงและเกิดผล เป็นรูปธรรม (5) มีระยะกำรดำเนินงำนท่ีเหมำะสม ตามปกติงบประมาณที่ดีควรมีระยะเวลาเหมาะสมตาม สถานการณ์ ไม่สั้นไม่ยาวเกินไป โดยท่ัวไปจะใช้ระยะเวลาประมาณ 1 ปี (6) มีลักษณะช่วยให้เกิดกำรประหยัด ในการทางบประมาณ ควรพยายามให้การใช้จ่ายเงินตาม โครงการต่างๆ ได้ผลเต็มเมด็ เต็มหน่วย โดยพยายามไม่ใหม้ ีการใช้จ่ายเกินความจาเป็น ฟุ่มเฟือย หรอื เป็นการ ใช้จ่ายที่สูญเปล่า ไม่เกิดประโยชน์คมุ้ ค่า (7) มีลักษณะชัดเจน งบประมาณที่ดีควรมีความชัดเจน เข้าใจง่ายเน้นถึงความสาคัญ แต่ละ โครงการได้ดี ไม่คลมุ เครอื งา่ ยต่อการพิจารณาวิเคราะหแ์ ละเป็นประโยชน์ต่อผู้นาไปปฏิบัติดว้ ย (8) มีควำมถูกต้องและเชื่อถือได้ งบประมาณที่ดีจะต้องเป็นงบประมาณที่มีความถูกต้องท้ังใน รายละเอียดท้ังในด้านตัวเลขและรายละเอียดของโครงการต่างๆ หากงบประมาณมีข้อบกพร่องในด้านความ ถูกต้อง มีความผิดพลาดหรือความไม่รอบคอบก็ตามอาจเกิดผลเสียหายขึ้นได้ และต่อไปงบประมาณอาจไม่ได้ รบั ความเชอ่ื ถือ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
38 (9) จะต้องเปิดเผยได้ งบประมาณที่ดีจะต้องมีลักษณะที่สามารถจะเปิดเผยแก่สาธารณะ หรือ ผเู้ กีย่ วข้องทราบได้ ได้ถือเปน็ ความลับ เพราะการเปิดเผยเป็นการแสดงถึงความบริสทุ ธิ์และโปร่งใส (10) มีควำมยึดหยุ่น งบประมาณที่ดีควรจะยึดหยุ่นได้ตามความจาเป็น ไม่เคร่งครัดจนขยับไม่ได้ อาจจะก่อให้เกิดความไม่คล่องตวั ในการทางาน และถ้ามีความยึดหยุ่นมากก็อาจเกิดปญั หาการใช้งบประมาณ ทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ (11) มีควำมเชื่อถือได้ในแง่ควำมบริสุทธิ์ งบประมาณที่ดีต้องสามารถตรวจสอบได้เพื่อป้องกันการ ทุจรติ ซึง่ จะช่วยใหเ้ กิดความเช่อื ถือได้ ประหยดั และตรงตามวัตถปุ ระสงค์ 4. บทสรปุ การตง้ั งบประมาณรายจ่ายประจาปีหรอื งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมที่ดนี ้ัน จงึ มคี วามสาคญั และเปน็ 1) เครื่องมอื ของผู้บริหารท้องถิ่นใชใ้ นการกากบั ควบคมุ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้ปฏิบัติงานตามที่ได้วางแผนไว้ 2) เปน็ เครื่องมอื ของสภาท้องถิน่ ที่จะควบคมุ ดแู ลนโยบายการปฏิบตั ิงานของผบู้ ริหาร 3) เป็นเครือ่ งมอื ของประชาชนในการควบคุมดูแลผู้ที่ประชาชนได้เลือกเจา้ มาบริหารท้องถิ่นอีกชน้ั หนึง่ ************************************************ (ตวั อยำ่ งคำถำมข้อที่ 8) มีคำกล่ำวว่ำ “ภำยใต้กำรพัฒนำประเทศ ส่วนรำชกำรต้องนำแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ ชำติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -2579) และแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)มำจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรและแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี มำเป็นเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ี ยั่งยืน จำกคำกล่ำวน้ัน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จะมีกระบวนกำรจัดทำแผนพัฒนำท้องถ่ิน อยำ่ งไร มีข้นั ตอนกำรจดั ทำแผนพฒั นำทอ้ งถิน่ และมีลกั ษณะกำรนำไปใช้ประโยชนก์ ับองคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถิน่ ได้อย่ำงไร ใหอ้ ธิบำย ประเด็นคำถำม (แยกใหช้ ดั เจนเป็นข้อๆ) (1) กระบวนการจัดทาแผนพฒั นาท้องถิน่ นั้นมีขน้ั ตอนการจดั ทาแผนพัฒนาท้องถิ่นอย่างไร (2) การจดั ทาแผนพฒั นาท้องถิน่ น้ันมีขนั้ ตอนการจดั ทาแผนพัฒนาท้องถิ่นอย่างไร (3) แผนพฒั นาท้องถิ่นมีลักษณะการนาใช้ประโยชน์กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อย่างไร เค้ำโครงกำรตอบ 1) คานา 2) ความหมายแผนพฒั นาท้องถิน่ 3) ประเภทของแผนพัฒนาท้องถิ่น 4) กระบวนการจดั ทาแผนพฒั นาท้องถิ่น รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
39 5) ขั้นตอนการจัดทาแผนพฒั นาท้องถิน่ 6) ลักษณะการนาไปใช้ประโยชน์ 7) สรุป แนวกำรตอบ (1) บทคำนำ การวางแผน เป็นการพิจารณาและกาหนดแนวทางปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่ปรารถนา ท่ัวไปใน ปัจจบุ ันและอนาคต ดงั น้ัน การวางแผน คือ ความพยายามที่เป็นระบบเพื่อการตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติที่ ดีทีส่ ดุ สาหรบั อนาคตเพือ่ ให้องคก์ ารบรรลผุ ลที่ปรารถนา (2) ควำมหมำยกำรวำงแผนพฒั นำท้องถน่ิ การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น เป็นการพิจารณาและกาหนดการใช้ทรัพยากรขององค์กรโดยกาหนด กิจกรรมต่างๆไว้ล่วงหน้า ให้บรรลุวัตถุประสงค์ นโยบาย เป้าหมาย และเป้าหมายขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นนั้นจะเกี่ยวกับชีวติ ความเป็นอยู่ที่ดขี ึน้ ของประชาคมท้องถิ่นในอนาคต ดงั นนั้ การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น จะต้องตระหนักและคานงึ และจะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนา ระดับชาตินโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาจงั หวดั แผนพฒั นาอาเภอและแผนพัฒนาชมุ ชน (3) ประเภทของแผนพัฒนำทอ้ งถิน่ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิม่ เติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2559 ได้กาหนดแผนพัฒนาท้องถิน่ ไว้ดงั นี้ คือ 1) แผนพฒั นำ หมายความว่า แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น 2) แผนพัฒนำท้องถ่ิน 4 ปี หมายความว่า แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่กาหนด วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวั ช้วี ัด ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์ อันมลี กั ษณะ คือ 2.1 เป็นการกาหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพฒั นา ทีจ่ ัดทาขึ้นสาหรับปีงบประมาณแต่ล่ะปีซึง่ มี ความต่อเน่ืองและเป็นแผนก้าวหน้าและให้หมายความรวมถึงการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาท้อง 4 ปี โดย 2.1.1 ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน เขตจังหวัด แผนพฒั นาอาเภอ แผนพฒั นาตาบล แผนพัฒนาหมบู่ ้านหรอื แผนชุมชน 3) แผนกำรดำเนินงำน หมายความว่า แผนการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่แสดงถึง รายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาและกิจกรรมที่ดาเนินการจริงท้ังหมดในที่พื้นที่ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ 4) โครงกำรพัฒนำ หมายความว่า โครงการที่มีวัตถุประสงค์สนองต่อแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปีของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และดาเนนิ การเพือ่ ให้การพฒั นาบรรลุตามวิสัยทัศนท์ ี่กาหนดไว้ (4) กระบวนจดั ทำขน้ั ตอนกำรจัดทำแผนพัฒนำท้องถ่นิ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
40 ในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นที่ดีน้ันจะต้องต้ังอยู่บนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล อย่างรอบด้านและเป็นระบบโดยมีมิติการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านการ บริหารจัดการ และมองมิตใิ ช้พ้ืนที่ในระดับชุมชน ระดับตาบล ระดับอาเภอ ระดับจังหวัด ระกับประเทศ ซึง่ มีหลักสาคญั ดังน้ี คือ ข้ันตอนท่ี 1 กำรเตรยี มกำรทำแผนพฒั นำ - ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดแผนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 และ แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ.2559 ได้กาหนด ห้วงระยะเวลาของจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีขององค์กร ปกครองสว่ นท้องถิน่ ข้อ 18 ความว่า ข้อ 18 แผนพัฒนำท้องถ่ิน 4 ปี กรณีเทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล เมืองพัทยา และองค์กร ปกครองท้องถิ่นอ่ืนที่ทีกฎหมายจัดตั้ง ให้จดั ทาหรอื ทบทวนให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคมก่อนปีงบประมาณ ถัดไป กรณีองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้จัดทาให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤศกิจกายนก่อนปีงบประมาณ ถัดไป ขั้นตอนท่ี 2 กำรรวบรวมข้อมูล รับปัญหำสำคัญ ควำมต้องกำร ประเด็นกำรพัฒนำและ ประเด็นทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เช่น - กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จะต้องมกี ารจัดเก็บและจดั ทาฐานข้อมลู ข่าวสารขอ้ มลู ให้ครบถ้วน ทนั สมัย ซึง่ ได้แก่ ขอ้ มลู ด้านการเมอื ง กาปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนขอ้ มูลประชากร อาชีพรายได้ การศกึ ษา ทรัพยากร การพาณิชย์ เป็นต้น -กำรรวบรวมปัญหำสำคัญ ควำมต้องกำร ประเด็นกำรพัฒนำของท้องถ่ิน โดยให้นาข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่างๆ และข้อมูลในแผนพัฒนาหมู่บ้าน หรือ แผนชุมชนมาพิจารณา ประกอบพิจารณาประกอบการจดั ทาแผนพฒั นา โดยการจัดลาดับความสาคญั 5 เกณฑ์ ดงั นคี้ ือ 1.กลุ่มคนได้รบั ประโยชน์ 2.ความร้ายแรงและเรง่ ดว่ นของปัญหา 3.ความเสียหายจะเกิดข้ึนในอนาคต 4. การยอมรบั ร่วมของชมุ ชน 5. ความเปน็ ไปได้ในการแก้ไขปัญหา/การดาเนินการ ข้ันตอนท่ี 3 กำรวเิ ครำะห์ศกั ยภำพเพือ่ ประเมินสถำนภำพพัฒนำของทอ้ งถิ่นในปจั จุบนั การวิเคราะหศ์ ักยภาพเพือ่ ประเมินปัจจัยภายนอกและปัจจยั ภายใน สามารถพิจารณาได้ ดังน้ี - การค้นหาจุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค ต้องเปน็ การระดมความเห็นจากกลุ่ม คนทีห่ ลากหลายเพื่อให้ไดข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์อย่างถูกต้องแท้จรงิ - เม่ือมีการระดมความเห็นแล้ว ต้องนามาจัดหมวดหมู่ของประเด็นต่างๆ หากมีข้อขัดแย้งหรือความ ไม่ชัดเจนในประเด็น ความเห็นใด ต้องบันทึกไว้เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเลือกอย่างใดอย่างหน่ึงในทันทีเพราะ จะทาให้มกี ารเผชิญหนา้ กัน รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
41 - เพื่อเปน็ การคัดเลือกประเดน็ จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรคที่มกี ารนาเสนออย่างหลากหลาย จงึ ตอ้ งให้ทีป่ ระชุมพิจารณาคดั เลือกต่อไป ข้นั ตอนท่ี 4 กำรกำหนดวิสยั ทศั น์และภำรกิจหลกั กำรกำรพัฒนำท้องถิ่น - การกาหนดวิสัยทัศน์นั้นต้องมองที่สถานการณ์ในอุดมคติ ซึ่งเป็นจุดหมายที่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นต้องการให้เกิดขึน้ ในอนาคต - การกาหนดภารกิจหลักในการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีขอบเขตของบทบาทหน้าที่หลักหรือ ขอบเขตของกิจกรรมที่มุ่งเน้นเป็นพิเศษโดยจะต้องสอดคล้องกับนโยบาย กฎหมาย หน้าที่ ความรับผิดชอบ ความคุ้มค่า ประโยชน์และความมุ่งมั่นทีจ่ ะดาเนนิ การให้สาเร็จ ขน้ั ตอนท่ี 5 กำรกำหนดจุดมงุ่ หมำยเพือ่ กำรพฒั นำทย่ี ัง่ ยืน -การกาหนดจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นจะต้องกาหนดขอบเขตหรือประเภทกิจกรรมที่ควร ค่าแก่การดาเนินงานทั้งในด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ส่งิ แวดล้อม และขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่ จะก่อใหเ้ กิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืนและสอดคล้องกบั วิสยั ทัศนแ์ ละภารกิจหลกั ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ข้ันตอนท่ี 6 กำรกำหนดวตั ถุประสงคก์ ำรพฒั นำท้องถิ่น -การกาหนดวัตถุประสงค์การพัฒนาท้องถิ่น เป็นการกาหนดผลสาเร็จที่ต้องการ โดยดาเนินการ หลังจากที่ทราบภารกิจหลักที่ท้องถิ่นจะต้องทาแล้ว การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์จะต้องกาหนดวัตถุประสงค์ หรือทิศบาทโดยรวมของท้องถิ่น เพื่อนาท้องถิ่นไปให้บรรลุความต้องการที่จะเป็นอนาคต ซึ่งวัตถุประสงค์ สามารถจาแนกได้เปน็ 2 สว่ น คอื (1) วัตถปุ ระสงค์โดยรวมของท้องถิ่น และ (2) วตั ถปุ ระสงค์เฉพาะส่วน / เฉพาะเร่อื ง เชน่ เรื่องการเกษตร การท่องเทีย่ ว การคมนาคมขนส่ง เป็น ต้น ขัน้ ตอนท่ี 7 กำรกำหนดแนวทำงกำรพัฒนำทอ้ งถิ่น -การกาหนดแนวการพัฒนา หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่แยบคายอนั บ่งบอกถึงลกั ษณะการเคลื่อน ตัวขององค์การว่าจะก้าวไปสู่เปาหมายที่ต้องการในอนาคตได้อย่างไร อนั เปน็ การตอบคาถามว่า “ท้องถิ่นจะ ไปถึงจดุ หมำยที่ตอ้ งกำรได้อยำ่ งไร” -ดังนน้ั แนวทางการพฒั นาท้องถิ่นที่กาหนดไว้ จะต้องนาแนวทางที่ได้ท้ังหมดมาทาการบูรณาการ เพื่อ ไม่ให้เกิดความซ้าซ้อนกัน การบูรณาการแนวทางการพัฒนาท้องถิ่นจะทาให้ได้ยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น ด้านต่างๆ สมบรู ณ์ ขั้นตอนท่ี 8 กำรกำหนดเป้ำหมำยกำรพัฒนำท้องถน่ิ -การกาหนดเป้าหมายการพัฒนาท้องถิ่น เป็นการกาหนดปริมาณหรอื จานวนสิง่ ที่ต้องการให้บรรลุใน แต่ละแนวทางการพัฒนา ภายในเวลาที่กาหนด จึงมีความเฉพาะเจาะจงในผลที่คาดว่าจะได้รับในเชิงปริมาณ ตามช่วงเวลาต่างๆ ของกระบวนการดาเนินงาน (5) ขน้ั ตอนกำรจดั ทำแผนพฒั นำทอ้ งถ่นิ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
42 -เม่ือผ่านกระบวนการจากขั้นตอนที่ 1 -8 แล้ว จะเข้าสู่ขั้นตอนการดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาโดยให้ พิจารณาและดาเนินการ โดยนาระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2556 ข้อ 17 มาดาเนนิ การดงั นี้ ขนั้ ตอนท่ี 19 กำรพิจำรณำ อนุมตั ิ และกำรใช้แผนพัฒนำทอ้ งถิน่ ให้ดำเนินกำรดังนี้ 1) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นจัดประชุมประชาคมท้องถิ่น ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง เพือ่ แจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถิน่ รบั ทราบปญั หา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนาและประเด็นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนความช่วยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพื่อนามากาหนดแนว ทางการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี โดยให้นาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่างๆ และข้อมูลใน แผนพัฒนาหมบู่ ้านหรอื แผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิน่ 4 ปี 2) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น รวมรวมแนวทางและข้อมูลนาเอามา วิเคราะหเ์ พือ่ จัดทารา่ งแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี แล้ว แล้วเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น 3) คณะกรรมการพฒั นาท้องถิน่ พิจารณาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี เพ่อื เสนอผบู้ ริหารท้องถิ่น 4) ผบู้ ริหารท้องถิน่ พิจารณาอนุมัตริ ่างแผนพฒั นาท้องถิ่น 4 ปี และประกาศใชแ้ ผนพัฒนาท้องถิ่น ในกรณี องค์การบริหารส่วนตาบลให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี ต่อสภา องค์การบริหารส่วนตาบลเพื่อให้ความเห็นชอบก่อน แล้วผู้บริหารท้องถิ่นจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช้ แผนพัฒนาท้องถิน่ 4 ปีต่อไป 5) การนาแผนพฒั นาไปปฏิบตั ิ (ใช้ขอ้ 24 และข้อ 25 ) ให้ดาเนินการดังนี้ ขอ้ 24 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นประกาศใช้แผนพัฒนาที่อนุมัติแล้ว และนาไปปฏิบัติรวมท้ังแจ้งสภาท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดบูรณาการ องค์การบริหารส่วนจังหวัด อาเภอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ประกาศใหป้ ระชาชนในท้องถิ่นทราบ โดยท่ัวกันภายใน 15 วัน นบั วันทีป่ ระกาศใช้และปิดประกาศโดยเปิดเผย ไม่น้อยกว่า 30 วัน ข้อ 25 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี เป็นกรอบในการจัดทางบประมาณ รายจ่ายประจาปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมและงบประมาณจากเงินสะสมในช่วงแผนนั้นต่อไป รวมท้ังวาง แนวทางเพื่อให้มีการปฏิบัติให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ตามโครงการทีก่ าหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (6) กระบวนจัดทำขั้นตอนกำรจดั ทำแผนพฒั นำท้องถ่นิ การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นใช้เป็นเคร่ืองมือของผู้บริหารท้องถิ่น ที่จะช่วยให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นใช้ทรัพยากรการบริหารของท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์สาธารณะสูงสุด ซึ่ง ทรพั ยากรบริหาร โดยทัว่ ไปประกอบด้วยดงั นี้ - เงิน คือท้ังเงินงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเอง และแหล่งงบประมาณภายนอก รวมทั้งมาตรการประหยดั งบประมาณรายจ่ายด้วย - คน ซึ่งหมายความรวมต้ังแต่ผู้บริหารท้องถิ่น พนักงาน ข้าราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท้องถิ่นทุกระดับ ซึ่งจะมีความแตกต่าง หลากหลายทั้งในด้านความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ซึ่งองค์กรปกครอง รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพนั ธ์ เวำรมั ย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
43 ส่วนท้องถิ่นจะต้องนาศักยภาพของกาลังคนเหล่าน้ันมาใช้ รวมท้ังต้องพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การทางานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และพิจารณาในความหมายอย่างกว้างและอาจหมายรวมถึง ประชาชนในท้องถิ่นซึง่ จะมีสว่ นในการพัฒนาท้องถิ่นด้วย - วัสดอุ ปุ กรณ์ หมายถึง เครื่องจกั ร เครื่องมอื รวมทั้งอาคารสถานที่ที่จะสามารถนามาใช้ในการบริหาร จัดการท้องถิ่นเกิดพัฒนาสูงสุด โดยมีพัฒนาวัสดุอุปกรณ์ ให้มีความทันสมัยเพื่อรองรับความก้าวหน้าของ สงั คมโดยส่วนรวมได้อย่างเท่าทัน และใช้วัสดอุ ุปกรณ์ดังกล่าวอย่างเต็มศกั ยภาพ -กำรบริหำรกำรจัดกำร เป็นสิ่งช่วยขับเคลื่อนทรัพยากรท้ังสามประการข้างต้นให้เป็นไป อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีสภาพการพัฒนาอย่างยั่งยืน การบริหารจัดการเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่ต้องศึกษาและ นาไปปฏิบตั ิอย่างตอ่ เนือ่ ง กำรนำแผนพฒั นำทอ้ งถิ่นไปใช้ต่อองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ไดด้ ี ดงั นี้ 1) ทาให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นมีทิศทางการพฒั นาที่ชัดเจน 2) ทาให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นมีแผนงาน โครงการตามความต้องการของประชาชน 3) ทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนาเป็นแนวทางในการจัดทาข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณ 4) ทาให้การพัฒนาในพนื้ ทีอ่ งค์กรปกครองสว่ นถิน่ ไม่ซ้าซ้อนกบั หนว่ ยงานอน่ื 5) ทาให้ประชาชนได้ทราบล่วงหน้าว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะดาเนินกิจกรรมอะไรบ้างเพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการติดตามตรวจสอบการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นให้เป็นไปด้วย ความถกู ต้องโปร่งใส 6) เป็นแนวทางในการใชท้ รัพยากรการบริหารของท้องถิ่นอย่างมปี ระสิทธิภาพ เพือ่ เกิดประโยชน์สงู สุด (7) บทสรปุ การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น จะต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับต่างๆ กับแผนพัฒนา ท้องถิ่น คือ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ จะกาหนดวิสัยทัศน์และยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวง กรม จะกาหนดความเร่งด่วน จะกาหนดภารกิจตามหน่วยงาน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการจะกาหนดทุกๆ มิติในจังหวัด และแผนพัฒนาท้องถิ่น ก็จะกาหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ จดุ มงุ หมำยกำรพัฒนำ และแนวทำงกำรพัฒนำ เพือ่ เป็นฐานการพัฒนาท้องถิ่น ตามยุทธศำสตร์ ชำติ 20 ปี และแนวทางการพฒั นาประเทศที่ขับเคลือ่ นดว้ ย Thailand 4.0 ในศตวรรษที่ 21 *********************************************** รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
44 (ตัวอย่ำงคำถำมข้อที่ 9) จงอธิบำยแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แนวตอบคำถำม แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) -โดยนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ตง้ั แต่ฉบบั ที่ 9 แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี คอื อะไร ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เป็นภาพฝันของแผนการพัฒนาประเทศ ที่จะกาหนดกรอบและแนวทางการพัฒนาให้ หน่วยงานของรัฐทุกภาคส่วนต้องทาตาม เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็น ประเทศที่พฒั นาแล้ว ด้วยการการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรอื คติพจน์ “มัน่ คง มัง่ ค่ัง ยง่ั ยืน” โดยมีระยะเวลาบังคับนานถึง 20 ปี ตงั้ แต่ปี 2560 -2579 ท่มี ำของยทุ ธศำสตร์ชำติ 20 ปี ตามรัฐธรรมนูญ 2560 หมวด 6 แนวนโยบายแหง่ รัฐ มาตรา 65 โดยเขียนว่า “มาตรา 65 รัฐพึงจดั ให้ มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการ จดั ทาแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกนั ..... จากมาตรา 65 นี้เอง ทาให้ต้องออกกฎหมายอีกฉบับหนึ่ง เรียกว่า “พระรำชบัญญัติกำรจัดทำ ยุทธศำสตรช์ ำติ พ.ศ. 2560” สำระสำคัญของพระรำชบญั ญตั ิกำรจดั ทำยทุ ธศำสตร์ พ.ศ. 2560 “คณะกรรมกำรยทุ ธศำสตรช์ ำติ” โดยตำแหน่งประกอบดว้ ย 1) นายกรัฐมนตรี เปน็ ประธานกรรมการ 2) ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร เป็นรองประธานฯ คนที่หนึ่ง 3) ประธานวุฒิสภา เป็นรองประธานฯ คนที่สอง 4) รองนายกรฐั มนตรหี รอื รัฐมนตรที ี่นายกรัฐมนตรมี อบหมาย เป็นรองประธานฯ คนที่สาม 5) มีกรรมการยุทธศาสตร์ชาติโดยตาแหน่งประกอบด้วย ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้ บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการ ตารวจแหง่ ชาติ เลขาธิการสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ ประธานกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ ประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่ประเทศไทย และ ประธานสภาธนาคารไทย รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
45 6) ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไม่เกิน 17 คน จากผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่เกิน 75 ปี ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์ในด้านความมั่นคง ด้านการเมืองและการบริหารราชการแผ่นดิน ด้าน กฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นสังคม ด้านวัฒนธรรม ด้านการศึกษา ดา้ นวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านสาธารณสุข ด้านโครงสร้างพื้นฐาน หรอื ด้านอื่น ที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ การปฏิบัติหนา้ ที่ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิมวี าระการดารงตาแหน่งคราวละ 5 ปี กรอบแนวทำงทีส่ ำคญั ของยุทธศำสตรช์ ำติ แบ่งออกเปน็ 6 ด้ำน 1) ยทุ ธศำสตร์ด้ำนควำมมัน่ คง 1.1 การเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข 1.2 การปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศ 1.3 การป้องกนั และแก้ไขการก่อความไม่สงบในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ 1.4 การพฒั นาระบบ กลไก มาตรการและความรว่ มมอื ระหว่างประเทศทกุ ระดับ 2) ยทุ ธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั 2.1 สมรรถนะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมั่น การส่งเสริม การค้าและการลงทุน ส่งเสริมการค้าและการลงทุนท้ังภาครัฐและเอกชน 2.2 พัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน ได้แก่ พัฒนาทักษะและความรู้ของผู้ประกอบการไทย พัฒนาวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสู่สากล และพัฒนาวสิ าหกิจชุมชนและสถาบันเกษตรกร 3) ยุทธศำสตรด์ ำ้ นกำรพฒั นำและเสริมสร้ำงศกั ยภำพคน 3.1 พฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ ให้สนับสนนุ การเจรญิ เติบโตของประเทศ 3.2 สรา้ งเสริมให้คนมสี ขุ ภาวะทีด่ ี 3.3 สร้างความอยู่ดีมสี ุขของครอบครวั ไทยใหเ้ อือ้ ต่อการพัฒนาคน 4) ยุทธศำสตร์ดำ้ นกำรสร้ำงโอกำสควำมเสมอภำคและเทำ่ เทยี มกนั ทำงสงั คม 4.1 สร้างความม่นั คงและการลดความเหลื่อมล้าทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม 4.2 สร้างความเข้มแขง็ ของสถาบันทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของชุมชน 5) ยุทธศำสตรด์ ้ำนกำรสรำ้ งกำรเติบโตบนคุณภำพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม 5.1 การจดั ระบบอนุรักษ์ ฟืน้ ฟแู ละป้องกนั การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น 6) ยุทธศำสตรด์ ำ้ นกำรปรบั สมดลุ และพัฒนำระบบกำรบริหำรจดั กำรภำครัฐ 6.1 การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครฐั 6.2 การปรับปรงุ บทบาท ภารกิจ และโครงสรา้ งของหนว่ ยงานภาครัฐให้มีขนาดที่เหมาะสม 6.3 การวางระบบบริหารงานราชการแบบบรู ณาการ 6.4 การพฒั นาระบบบริหารจดั การกาลังคน และพัฒนาบคุ ลากรภาครฐั ในการปฏิบัติราชการ 6.5 การตอ่ ต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรัมย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
46 6.6 การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับให้มีความชัดเจน ทันสมัย เป็นธรรม และ สอดคล้องกับข้อบังคับสากลหรือตกลงระหว่างประเทศ ตลอดจน พัฒนาหน่วยงานภาครัฐและบุคลากรที่มี หนา้ ที่เสนอความเหน็ ทางกฎหมายใหม้ ีศักยภาพ แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ข้อมูลทวั่ ไปของแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ ฉบบั ท่ี 12 1. ประกาศ ณ วนั ที่ 29 ธันวาคม 2559 2. ราชกิจจานเุ บกษา วนั ที่ 30 ธนั วาคม 2559 3. หว้ งเวลาในการใชแ้ ผน ต้ังแตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม 2559 จนถึงวนั ที่ 30 กันยายน 2564 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เป็นแผนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนการปฏิรปู ประเทศด้านต่างๆ 5. จดุ ประสงคข์ องแผนฯ เพื่อใช้เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ โครงสร้ำงของแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ มีทั้งหมด 5 สว่ น 1. ภาพรวมการพัฒนาในช่วงแผนพัฒนาฯ 2. การประเมนิ สภาพแวดล้อมการพฒั นาประเทศ 3. วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายการพฒั นาในช่วงแผนพัฒนาฯ 4. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 5. การขับเคลื่อนและตดิ ตามประเมินผลแผนพัฒนาฯ ส่วนท่ี 1 ภำพรวมกำรพัฒนำในชว่ งแผนพัฒนำฯ - ภาพรวมการพฒั นาในช่วงแผนพัฒนาฯ - สภาพแวดล้อมการพัฒนาและประเดน็ การพัฒนาสาคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ - เป้าหมายและแนวการพฒั นาในช่วงแผนพัฒนาฯ ส่วนท่ี 2 กำรประเมินสภำพแวดลอ้ มกำรพฒั นำประเทศ - สถานการณแ์ ละแนวโน้มภายนอก 5 หวั ข้อ - สถานการณแ์ ละแนวโน้มภายใน 8 หวั ข้อ สว่ นท่ี 3 วตั ถุประสงค์และเป้ำหมำยกำรพัฒนำในชว่ งแผนพัฒนำฯ - วตั ถปุ ระสงค์ 7 หัวข้อ - เป้าหมายรวม 6 หัวขอ้ สว่ นท่ี 4 ยุทธศำสตรก์ ำรพัฒนำประเทศ - ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ถึงยทุ ธศาสตร์ที่ 10 ส่วนท่ี 5 กำรขับเคลื่อนและติดตำมประเมินผล แผนพัฒนำฯ - การขับเคลื่อนแผนพฒั นาฯ สู่การปฏิบัติ - การตดิ ตามประเมินผลแผนพฒั นาฯ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
47 ส่วนท่ี 1 ภำพรวมกำรพฒั นำในชว่ งแผนพัฒนำฯ ภำพรวมกำรพัฒนำในช่วงแผนพัฒนำฯ การพัฒนาประเทศไทยช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) อยู่ในห้วงเวลาของการปฏิรูปประเทศเพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานหลายด้านที่ส่ังสมมานานท่ามกลางสถานการณ์ โลกที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วและเชื่อมโยงกันใกล้ชิดมากขึ้นการแข่งขันด้านเศรษฐกิจจะเข้มแข็งมากขึ้น สังคม โลกจะมีความเชื่อมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้นเป็นสภาพไร้พรมแดน การพัฒนาเทคโนโลยีจะมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและจะกระทบชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมและการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างมากขณะที่ ประเทศไทยมีข้อจากัดของปัจจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ เกือบทุกด้านและจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาช่วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 การพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงเป็น 5 ปีแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) สู่การปฏิบัติ โดยที่ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี เปน็ แผนแมบ่ ทหลกั ของการพัฒนาประเทศไทย ให้มีความมั่นคง มนั่ คง และยง่ั ยืน โดยมีแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12 เป็นเครื่องมือหรอื กลไกสาคัญที่สุดทีถ่ ่ายทอด ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่การปฏิบัติในลาดับแรกที่ขบั เคลื่อนไปสู่การบรรลุเป้าหมายในระยะยาวได้ในที่สุดโดย มีกลไก ตามลาดับต่างๆ และกลไกเสริมอน่ื ๆ ในการขบั เคลื่อนสกู่ ารปฏิบตั ิให้เกิดประสทิ ธิผลตามเป้าหมาย แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้กาหนดเป้าหมายที่จะต้องบรรลุใน 5 ปีแรกอย่างชัดเจนทั้งในมิติ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมการกาหนดเป้าหมายที่จะบรรลุในระยะ 5 ปีน้ันได้พิจารณาและวิเคราะห์การต่อยอด ให้เกิดผลสัมฤทธิ์จากการดาเนินการต่อไปอีกใน 3 แผน จวบจนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 15 ในช่วงปี พ.ศ. 2575 – 2579 ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายของยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาจะบรรลุเป้าหมายอนาคตประเทศไทย เป็น ประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2579 โดยมี 6 หลกั การสาคญั หรือ “6 ยึด” ดงั น้ี 1. ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ต่อเน่อื งมาต้ังแตแ่ ผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 9 2. ยึด “คนเปน็ ศนู ย์กลางการพฒั นา” 3. ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี” มาเปน็ กรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทย ในแผนพฒั นา ฯ ฉบบั ที่ 12 “ประเทศมีความมั่นคง มั่งค่งั ย่งั ยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” หรอื เป็นคติพจนป์ ระจาชาติวา่ “มั่นคง มงั่ คง่ั ย่ังยืน” 4. ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579” ที่เป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีมาเป็นกรอบ ในการกาหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมาโดยที่เป้าหมาย และตัวชี้วัดใน ด้านต่างๆ มีความสอดคล้องกับกรอบเป้าหมายที่ยง่ั ยืน (SDGs) 5. ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้าและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจาก การผลิตบนฐานของการใชภ้ ูมปิ ญั ญาและนวัตกรรม” 6. ยึด “หลักการนาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่เป็น เป้าหมายระยะยาว” สภำพแวดลอ้ มกำรพัฒนำและประเด็นกำรพฒั นำสำคญั ในชว่ งแผนพัฒนำฯ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
48 การพัฒนาประเทศไทยภายใต้แนวทางการพัฒนาที่กาหนดด้วยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตั้งแต่ แผนพัฒนาฯฉบับที่ 1 มาจนถึงปจั จุบันที่ส้ินสุดแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 11 ส่งผลให้ประเทศไทยมีระดับการพัฒนา ที่สูงขึ้นตามลาดับทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม อย่างไรก็ดี ประเทศไทยยังประสบปัญหาคุณภาพในเกือบทุก ด้านอาทิ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เง่ือนไขและสภาพแวดล้อมในด้านต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศจะเป็นแรงกดดันให้ประเทศ ไทยต้องปรับตัวและการบริหารความเสี่ยงอย่างชาญฉลาดมากขึ้น โดยที่การปรับตัวจะต้องหยั่งรากลึกลงไป ถึงการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้างเพื่อแก้จุดอ่อน และควบคู่กับการสร้างจุดแข็งของประเทศเป็นประโยชน์ สูงสุดแก่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศหากไม่สามารถแก้ปัญหา และปฏิรูปให้สัมฤทธิ์ผลได้ในระยะ 4-5 ปี ต่อจากนี้ไป ประเทศไทยจะสูญเสียความสามารถในการแข่งขันรายได้เฉลี่ยของประชาชนจะไม่สามารถ ยกระดับให้ดีขึ้น ได้คุณภาพคนโดยเฉลี่ยจะยังต่า และปัญหาความเหลื่อมล้าจะรุนแรงขึ้นรวมท้ังทรัพยากรจะ ร่อยหรอเสื่อมโทรมลงไปอีก ในที่สุดการพัฒนาประเทศจะไม่สามารถย่ังยืนไปได้ในระยะยาว และไม่สามารถ บรรลุเป้าหมายการเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2579 ซึ่งเป็นอนาคตประเทศไทยที่กาหนดไว้ภายใต้ ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี เปำ้ หมำยและแนวทำงกำรพฒั นำในช่วงแผนพัฒนำ สาหรับยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 12 ถูกกาหนดจาก ยุทธศาสตร์ท้ัง 6 ด้านภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และกาหนดเป็นแนวทางในรายละเอียด ที่แสดงให้เห็นถึง ความสอดคล้องและการตอบสนองต่อเป้าหมายที่ต้องบรรลุในระยะ 5 ปี ที่จะเป็นการวางพื้นฐานที่สามารถ สานต่อการพัฒนาในประเด็นสาคัญของประเทศในระยะต่อไปที่สนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาให้เกิดความ มั่นคง มงั่ คั่ง และยงั่ ยืน โดยนาหลกั ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนาทาง ดังน้ัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงประกอบด้วยยุทธศาสตร์ชาติท้ัง 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ (2) ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้าในสังคม (3) ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อ ย่าง ยั่งยืน (4) ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน (5) ยุทธศาสตร์การ เสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคงและยั่งยืน (6) ยุทธศาสตร์การบริหาร จัดการในภาครฐั การป้องกันการทจุ ริตประพฤติมชิ อบ และธรรมาภิบาล ในสังคมไทยและประกอบกับอีก 5 ยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการพัฒนาพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ และกลไกสนับสนุน ให้การดาเนินยุทธศาสตร์ท้ัง 6 ด้านให้สัมฤทธิ์ผล ประกอบด้วย (7) ยุทธศาสตร์การ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์ (8) ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม (9) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ และ (10) ยุทธศาสตร์ความร่วมมือ ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ส่วนท่ี 2 กำรประเมินสภำพแวดล้อมกำรพัฒนำประเทศ สถำนกำรณแ์ ละแนวโนม้ ภำยนอก 5 หัวข้อ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
49 1. เศรษฐกิจ : สถำนกำรณแ์ ละแนวโน้มเศรษฐกิจโลก และผลกระทบต่อประเทศไทย เศรษฐกิจโลกในระยะ 5 ปีข้างหน้ายังมีแนวโน้มขยายตัวช้า และมีความเสี่ยงจากความผันผวนในระบบ เศรษฐกิจและการเงินโลกในเกณฑ์สูง ซึ่งส่งผลให้ประเทศไทยต้องเผชิญกับความเสี่ยงสาคัญได้แก่ ความไม่ แน่นอนของการปรับเปลี่ยนทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินของมหาอา นาจทางเศรษฐกิจ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อภาคการเงิน และการประกอบธุรกิจของไทย นอกจากนี้การเปิดเสรีทางการค้าก่อให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น รวมทั้งภาคการบริการและการท่องเที่ยวที่ ประเทศไทยต้องมีการปรับตัวเพื่อให้สามารถแข่งขันได้ และปัจจัยภายนอกที่คาดว่าจะส่งผลต่อเศรษฐกิจไทย อย่างมีนัยสาคัญ ได้แก่ ตลาดเกิดใหม่มีบทบาทสูงขึ้น ตลาดการเงินโลกไร้พรมแดน การเปิดเสรีมากขึ้นของ อาเซียนภายหลังปี 2558 และรูปแบบการค้ามีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปสู่การค้าเสรีเฉพาะกลุ่มมากขึ้น และมี การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทีห่ ลากหลายขึ้น 2. วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี : กำรวจิ ัยและพฒั นำด้ำนวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยีอย่ำงก้ำว กระโดดเป็นกุญแจสาคญั ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อม และเปลี่ยนวิถีการดารงชีวิตของคนในทุก สงั คม ทุกเพศ ทุกวยั ในช่วงที่ผ่านมาการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีสื่อสาร และเทคโนโลยีชีวภาพได้ทาให้ รูปแบบการผลิต การดาเนินธุรกิจ และการใช้ชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็วมนุษย์สามารถ สื่อสารทั้งภาพและเสียงได้อย่างไร้พรมแดน การทาธุรกิจและธุรกรรมบนโครงข่ายดิจิทัลเพิ่มมากขึ้น โดยมี แนวโน้มว่าเทคโนโลยีพื้นฐานใน 4 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารและดิจิทัล จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี ใหม่ 12 ด้าน ได้แก่ (1) อินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ (2) โปรแกรมอัจฉริยะที่สามารถคิดและทางานแทนมนุษย์ (3) อินเทอร์เนต็ ในทกุ อย่าง (Internet of Things) (4) เทคโนโลยีคลาวด์ (Cloud Technology) (5) เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ ข้ันก้าวหน้า (Advanced Robotics) (6) ยานพาหนะไร้คนขับ (Autonomous and Near – Autonomous Vehicles) (7) เทคโนโลยีพันธุกรรมสมัยใหม่ (Next – Generation Genomics) (8) เทคโนโลยีการเก็บพลังงาน (Energy Storage) (9) การพิมพ์แบบสามมิติ (3D Printing) (10) เทคโนโลยีวัสดุขั้นก้าวหน้า (11) เทคโนโลยีการขุดเจาะ น้ามันและก๊าซขั้นกว่า และ (12) เทคโนโลยีพลังงานทดแทน โดยแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ดังกล่าวส่งเผลกระทบต่อประเทศท้ังในมิติเศรษฐกิจ และสังคมที่สาคัญ ได้แก่ เกิดสาขาอุตสาหกรรมและ บริการใหม่ๆ ที่ผสมผสานการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ หลากหลายสาขา มนุษย์จะสามารถเข้าถึงข้อมูลและองค์ ความรู้ได้อย่างไร้ขีดจากัด การแย่งชิงแรงงานที่มีทักษะด้านเทคโนโลยีระดับสูงมีความสามารถเฉพาะทาง หรอื มีทักษะหลายด้าน (Multi - Skills) ในตลาดแรงงานสูงข้ึน และเกิดความเหลื่อมล้าในมิตติ ่างๆ 3. สังคม : สถำนกำรณแ์ ละแนวโนม้ สังคม การเข้าสู่สังคมสูงวัยของโลกส่งผลต่อเศรษฐกิจและรูปแบบการดาเนินชีวิตในปี 2558 ประชากรโลกมีจานวน 7,349 ล้านคน และจะเพิ่มเป็น 7,758 ล้านคนในปี 2563 ประมาณครึง่ หนึง่ จะอาศยั อยู่ในทวีปเอเชยี ตลอดจน การเลื่อนไหลของกระแสวัฒนธรรมโลกที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่นส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต และรปู แบบการบริโภค รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
50 4. สิง่ แวดลอ้ ม : สถำนกำรณ์และแนวโน้มสิง่ แวดล้อมโลก วาระการพัฒนาที่ยง่ั ยืนของโลก ค.ส. 2030 ได้กาหนดทิศทางการรักษาและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมอย่างบูรณาการ โดยมีเป้าหมายการพฒั นาทีย่ ่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ประกอบด้วย 17 เป้าหมายและ 169 เป้าประสงค์ ในขณะเดียวกันข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ ยวกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะทวีความเข้มข้น ส่งผลให้ประเทศต่างๆ รวมทั้งไทยต้องดาเนินมาตรฐานการ ลดก๊าซเรือนกระจกอย่างจริง ประเทศไทยได้ประกาศเจตนารมณ์และกาหนดเป้าหมายของประเทศในการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ต่ากว่าระดับการปล่อยตามปกติ ร้อยละ 7-20 ภายในปี พ.ศ. 2563 นอกจากนี้ ยังมีความตกลงปารีส (Paris Agreement) ที่นานาประเทศได้รับรองร่วมกันเม่ือ 12 ธันวาคม 2558 ซึ่งมุ่ง ควบคุมการเพิม่ ขึ้นของอุณหภมู ิของโลกให้ต่ากว่า 2 องศาเซลเซียส และประเทศไทยได้ลงนามรับรองความตก ลงดงั กล่าว เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559 5. ควำมมั่นคง : สถำนกำรณ์ควำมม่ันคงโลก ประเทศมหาอานาจมแี นวโน้มของการขยายอิทธิพลและการเพิ่มบทบาทในภูมภิ าคต่างๆ ของโลกรวมท้ังการใช้ อานาจทางทหารและทางเศรษฐกิจเข้าแทรกแซงกิจการภายในของประเทศต่างๆ ตลอดจนความขัดแย้งด้าน อาณาเขตแบบรัฐต่อรัฐ การขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติ และการก่อการร้ายทวีความรุนแรงและมี ความถี่มากขึ้นในระยะหลายปีที่ผา่ นมา สถำนกำรณแ์ ละแนวโนม้ ภำยใน 8 หวั ขอ้ 1. เศรษฐกิจ : สถำนกำรณแ์ ละแนวโน้มเศรษฐกิจไทย ในช่วงที่ผา่ นมาการพัฒนาเศรษฐกิจไทยในภาพรวมประสบความสาเร็จในระดับที่นา่ พอใจทั้งในด้านการพัฒนา เศรษฐกิจไทยในภาพรวมประสบความสาเร็จในระดับที่น่าพอใจท่ังในด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การปรับ โครงสร้างการผลิต การสั่งสมองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนาเศรษฐกิจรายสาขา การเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ทาให้เศรษฐกิจไทยมีปัจจัยพื้นฐานทาง เศรษฐกิจทีเ่ ข้มแข็ง ความพร้อมทีจ่ ะได้รับการพฒั นาต่อยอดเพื่อขบั เคลื่อนไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วในปี 2579 ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ในกรอบยุทธศาสตรช์ าติ ประเทศไทยยงั คงมจี ุดแข็งด้านความหลากหลายของ ฐานการผลิตทีม่ ีความแข็งแกร่งในระดับโลกโดยปี 2557 ซึ่งประเทศไทยมีส่วนแบ่งในมูลการส่งออกสินค้าและ บริการในตลาดโลกร้อยละ 1.2 น้ันมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรของประเทศไทยสูงอันดับที่ 8 ของโลก และ มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและบริการท่องเที่ยวสูงเป็นอันดับที่ 13 และอันดับที่ 5 ของโลก ตามลาดับโดยในด้านสินค้าเกษตรไทยส่องออกข้าวสูงเปน็ อันดบั ที่ 2 ของโลก และยางพาราเปน็ ลาดับที่ 1 ของ โลก ในด้านสินค้าอุตสาหกรรมประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถยนต์ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 1 ในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้อันดับที่ 4 ของเอเชีย และอันดับที่ 8 ของโลก รวมท้ังเป็นฐานการส่งออกสินค้า เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ที่สาคัญ โดยมีมูลค่าการส่งออกสูงเป็นอันดับที่ 11 ของโลก แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีจุดอ่อนหลายประการ อาทิ ปัญหาเชิงโครงสร้าง เง่ือนไขในระบบเศรษฐกิจโลก และปัจจัย ทางดา้ นการดาเนินนโยบายและการบริหารจัดการเศรษฐกิจ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
51 2. วิทยำศำสตร์ : กำรพัฒนำวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม อยู่ในลาดับต่าและการบริหารจัดการ งานวิจัยขาด การบูรณาการให้มีเอกภาพต้ังแต่ระดับนโยบาย การสนับสนุนทุนวิจัย และหน่วยวิจัยหลัก ทาให้ทิศทางการ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยพัฒนา และนวัตกรรมของประเทศ ไม่ชัดเจน มีความซ้าซ้อนและยังมี ข้อจากัดในการตอบโจทย์การพัฒนาประเทศเป็นผลให้การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศล่าช้า ไม่ทนั ต่อการพฒั นาเทคโนโลยีของโลกตลอดจนมกี ารนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ระดับต่า 3. สงั คม : สถำนกำรณ์และแนวโน้มของสังคม โครงสร้างประชากรไทยเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สงั คมสูงวยั อย่างสมบรู ณ์เมอ่ื สิ้นแผนพัฒนาฯฉบบั ที่ 12 โดยปี 2557 ประชากรวัยแรงงานจะมีจานวนสูงสุดและเริ่มลดลงอย่างต่อเน่ือง ส่งผลกระทบต่อศักยภาพการเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว ตลอดจนครอบครัวพ่อแม่เลี่ยงเดี่ยวและครอบครัวพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยวและ ครอบครัวข้ามรุ่นมีความเปราะบางสูงส่งผลต่อการเลี้ยงดูเด็กให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ การเปลี่ยนแปลงทาง โครงสร้างประชากร เศรษฐกิจ และสังคม ส่งผลใหค้ รอบครัวไทยมีขนาดเลก็ ลงจาก 3.6 คนในปี 2553 เหลือ 2.7 คน ในปี 2557 ทั้งนี้ ยังพบว่าเด็กที่ได้รับการดูแลโดยปู่ย่าตายายที่สูงอายุมีผลการเรียนที่ด้อยกว่าเด็กที่ อาศัยอยู่กับพ่อแม่ นอกจากนี้คนไทยมีแนวโน้มเป็นโรคไม่ติดต่อมากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต ได้แก่ โรคหัวใจ เบาหวาน หลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง และมะเร็ง ทั้งนี้ยังพบว่าคนไทยส่วนใหญ่ยังมี ปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม และไม่ตระหนักถึง ความสาคัญของการวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต การมีจิต สาธารณะ ตลอดจนปัญหาด้านเหลื่อมล้าในหลายมิติโดยเฉพาะด้านรายได้ และด้านความเหลื่อมล้าทางด้าน สินทรพั ย์และการถือครองที่ดิน 4. ทรัพยำกร : ทรัพยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดลอ้ ม ฐานทรัพยากรธรรมชาติลดน้อยและเสื่อมโทรมลง เนื่องจากการใช้ประโยชน์เกินกว่าศักยภาพในการฟื้นตัว ของระบบนิเวศ ยังมีการเข้าถึงและการจัดสรรการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติไม่เป็นธรรม ก่อให้เกิด ปัญหาความเหลื่อมล้า และมีความเสี่ยงในการขาดแคลนน้าในอนาคต ในขณะที่การบริหารจัดการขาด ประสิทธิภาพ ตลอดจนปญั หามลพิษส่งผลกระทบต่อคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนและต้นทนุ ทางเศรษฐกิจ 5. ภำค เมือง พน้ื ท่ี : กำรเจริญเติบโตของภำค เมือง และพื้นท่เี ศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจกระจุกตัวในกรุงเทพมหานครและภาคกลาง ทาให้เกิดปัญหาช่องว่างการกระจาย รายได้ระหว่างภาค และกลไกการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดยังไม่สามารถเชื่อมโยงการทางานของ หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องให้เกิดพลังในการขบั เคลื่อนตามแนวทางและเป้าหมายทีว่ างไว้อย่างมีประสิทธิผล 6. ควำมมัน่ คง : ควำมม่นั คงภำยในประเทศ ปัญหาความมั่นคงภายในประเด็นปัญหาซับซ้อนที่เกิดขึ้นและสะสมมานานและขยายวงกว้างที่สะสมจากเดิม จนมีสัญญาณเตือนถึงความเสียหายที่กาลังจะเกิดขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญ ได้แก่ สถาบันหลักของชาติได้รับ ผลกระทบจากความขดั แย้ง สถานการณ์ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ยังมีการสร้างสถานการณ์โดยมีเป้าหมายให้ เกิดความสูญเสียต่อเจา้ หน้าที่รฐั ประเทศไทยมีความเสี่ยงสูงจากปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรัมย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
52 การคกุ คามทีส่ ่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ ปัญหาความมั่นคงและผลประโยชน์แหง่ ชาติทางทะเล และปัญหาโรค ระบาดและสถานการณฉ์ ุกเฉินทางสาธารณสุขอื่นๆ 7. ระหว่ำงประเทศ : ควำมรว่ มมือระหว่ำงประเทศและควำมเชือ่ มโยงเพือ่ กำรพัฒนำ ประเทศไทยมีบทบาทที่โดดเด่นมากขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ เวทีภูมิภาคและเวทีประเทศเพื่อนบ้าน โดยมี ความคบื หนา้ กรอบความรว่ มมอื ที่สาคญั ดังน้ี 1. แผนงานความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง 6 ประเทศ (GMS) คือ ไทย พม่า สปป.ลาว กัมพูชา จีน (ยูนาน) และเวียดนาม (เช่น การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย การก่อสร้างถนนจากด่านเจดีย์ สามองค์ – พญาตองซู-ทันพยูไซยัด) 2. แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia-Malaysia –Thailand Growth Triangle : IMT-GT) (เช่น การก่อสร้างด่านศุลกากรสะเดา จังหวัดสงขลาแห่งใหม่ การก่อสร้างด่าน ศลุ กากรตากใบ จงั หวัดนราธิวาสแห่งใหม่) 3. กรอบความรว่ มมอื อาเซียน 4. ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอาเซียน (ASEAN) 10 ประเทศ กับภาคีที่มีอยู่ 6 ประเทศ จีน ญีป่ ุ่น เกาหลใี ต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนวิ ซีแลนด์ 5. กรอบความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชีย –แปซิฟิก (Asia –Pacific Economic Cooperation : APEC) 6. ความตกลงหุ้นสว่ นยทุ ธศาสตรเ์ ศรษฐกิจภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก(Trans Pacific Partnership : TPP) 7. เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2559 – 2573 (Sustainable Development Goals : SDGs) และกรอบ ความรว่ มมอื อืน่ ๆ 8. ภำครัฐ : กำรบรหิ ำรจดั กำรภำครฐั 1. ภาครัฐมีขนาดใหญ่และรายจ่ายประจาเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง งบบุคลากรมีสัดส่วนสูงรวมทั้ง โครงสร้างภาครัฐในปัจจุบันยังขาดระบบการทางานลักษณะประชารัฐที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายแบบบูรณาการ กบั หนว่ ยงานหรอื ภาคส่วนอื่นๆ 2. คนรนุ่ ใหม่ทีม่ คี วามรคู้ วามสามารถไม่นิยมเข้ารบั ราชการทาให้ขาดกาลังทดแทนข้าราชการที่เกษียณอายุ 3. การบริหารจัดการภาครัฐมีประสิทธิภาพต่าและระบบการให้บริการประชาชนยังไม่ได้มาตรฐานสากลเม่ือ เทียบกบั ต่างประเทศ 4. กระบวนการจดั สรรงบประมาณขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเท่าทีค่ วร 5. การทจุ ริตประพฤติมิชอบได้ขยายไปในวงกว้างทั้งในภาครฐั เอกชน และองค์กรเอกชน 6. รัฐวิสาหกิจมีการกากับดูแลที่ขาดแผนการดาเนินงานเชิงกลยุทธ์และมีการบริหารที่ซับซ้อนส่งผลให้มีการ ดาเนนิ งานทีด่ ้อยประสิทธิภาพ 7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการและการให้บริการประชาชนที่ขาดประสิทธิภาพและความ โปร่งใสเท่าทีค่ วร รวมทั้งไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างเต็มที่ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพนั ธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
53 8. กฎหมายหลายฉบับยังไม่ได้มาตรฐานสากลเน่ืองจากล้าสมัยและกระบวนการตรากฎหมายยังมีจุดอ่อน หลายประการ 9. ระบบและกระบวนการยุติธรรมบางส่วนยังขาดประสิทธิภาพและไม่สามารถอานวยความยุติธรรมได้อย่าง เสมอภาคเปน็ ธรรม และไม่สอดรบั กบั ความเป็นสากล ส่วนท่ี 3 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปำ้ หมำยกำรพฒั นำในช่วงแผนพัฒนำฯ ฉบับท่ี 12 การพฒั นาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 ได้กาหนดวัตถุประสงค์และเปาหมายรวมการพัฒนาไว้ดงั นี้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเปน็ คนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ค่านิยมทีด่ ี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะความรู้ ความสามารถและพฒั นาตนเองได้ต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ 2. เพื่อให้คนไทยมีความมัน่ คงทางเศรษฐกิจและสังคมได้รับความเปน็ ธรรมในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการ ทางสงั คมทีม่ คี ุณภาพ ผดู้ ้อยโอกาสได้รับการพฒั นาศกั ยภาพรวมทั้งชมุ ชนมคี วามเข้มแขง็ พึ่งพาตนเองได้ 3. เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และความมีความย่ังยืน สร้างความเข้มแข็งของฐานการ ผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากขึ้น สร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐาน รากและสรา้ งความม่นั คงทางพลงั งาน อาหาร และน้า 4. เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อมและการมคี ุณภาพชวี ิตที่ดีของประชาชน 5. เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพทันสมัยโปร่งใสและมีการทางานเชิงบูรณาการของภาคี การพฒั นา 6. เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับการพัฒนา ยกระดบั ฐานการผลติ และบริการเดิมและขยายฐานการผลติ และบริการใหม่ 7. เพือ่ ผลกั ดนั ใหป้ ระเทศไทยมีความเชือ่ มโยง (Connectivity) กับประเทศตา่ งๆ ท้ังในระดับ อนภุ มู ิภาค ภมู ิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์มีประสิทธิภาพรวมทั้งให้ประเทศไทยมีบทบาทนา และสร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ ทั้งในระดับอนภุ มู ภิ าค ภมู ภิ าค และโลก เปำ้ หมำยรวม เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามที่ได้กล่าวมา จึงได้กาหนดเป้าหมายรวมของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ประกอบด้วย 1. คนไทยมีคุณลกั ษณะที่สมบรู ณ์ มีวนิ ัย ทัศนคตแิ ละพฤติกรรมตามบรรทัดฐาน ที่ดขี องสงั คม 2. ความเหล่อื มล้าทางดา้ นรายได้และความยากจนลดลง 3. ระบบเศรษฐกิจมคี วามเข้มแขง็ และแขง่ ขันได้ 4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มี ความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และน้า โดยเพิ่มพืน้ ที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพืน้ ที่ประเทศเพื่อรักษาความ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพนั ธ์ เวำรมั ย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
54 สมดุลของระบบนิเวศ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและขนส่งไม่น้อยกว่าร้อยละ 7 ภายในปี 2563 5. มีความมนั่ คงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามคั คี สร้างภาพลักษณ์ดีและเพิ่มความเช่ือมั่น ของนานาชาติตอ่ ประเทศไทย 6. มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอานาจและมี ส่วนรว่ มจากประชาชน ส่วนท่ี 4 ยุทธศำสตร์กำรพฒั นำ ก่อนจะเข้าถึงเน้ือหาท้ัง 10 ยุทธศาสตร์ เรามาทาความเข้าใจนิยามคาว่ายุทธศาสตร์กันก่อน “ยุทธศาสตร์” หมายถึง แผนและนโยบาย แนวทาง ในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ที่กาหนดไว้ เพราะฉะน้ันถ้าจะ อธิบายให้เข้าใจง่ายขึ้นอีก 10 ยุทธศาสตร์ หมายถึง สิ่งที่ยังไปไม่ถึงในตอนนี้ แต่ต้องการไปให้ถึงอนาคต เช่น การอา่ นของคนไทยเพิม่ ข้ึนเปน็ ร้อยละ 85 ดงั นน้ั ขอสรุปเฉพาะประเด็นที่สาคญั 10 ยทุ ธศาสตรด์ งั น้ี ยทุ ธศำสตร์ท่ี 1 กำรเสริมสร้ำงและพัฒนำศกั ยภำพทุนมนุษย์ 1.1 ปรับเปลี่ยนให้คนในสังคมไทย มีค่านิยมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม เช่น ประชากรอายุ 13 ปี ขึ้นไปมี กิจกรรมการปฏิบัติตนทีส่ ะท้อนการมีกิจกรรมการปฏิบตั ิตนทีส่ ะท้อนการมีคณุ ธรรมจริยธรรมเพิม่ ข้ึน 1.2 เตรียมคนในสังคมไทยให้มีทักษะในการดารงชีวิตสาหรับโลกศตวรรษที่ 21 เช่น เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่ น้อยกว่าร้อยละ 85, เด็กร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน, ผู้เรียนในระบบทวิภาคเพิ่มขึ้น เฉลี่ยร้อยละ 30 ต่อปี, การมีงานทาของผู้สูงอายุ (อายุ 60 – 69 ปี) เพิ่มขึ้น, ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละ วิชาไม่ต่ากว่า 500, การอ่านของคนไทยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 85 และแรงงานที่ขอเทียบโอนประสบการณ์และ ความรเู้ พือ่ ขอรบั วุฒิ ปวช. และปวส. เพิ่มขนึ้ เฉลีย่ ร้อยละ 20 ตอ่ ปี 1.3 ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีตลอดช่วงชีวิต เช่น ประชากรอายุ 15 – 79 ปี มีภาวะน้าหนักเกิดลดลง, การตายจากอุบัติเหตุทางถนนต่ากว่า 18 คนต่อประชากรแสนคน, การคลอดในผู้หญิงกลุ่มอายุ 15 – 19 ปี ลดลง, รายจ่ายสขุ ภาพท้ังหมดไม่เกินร้อยละ 5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และผสู้ ูงอายุที่อาศยั ในบ้าน ทีม่ สี ภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมเปน็ รอ้ ยละ 20 ยทุ ธศำสตร์ท่ี 2 กำรสรำ้ งควำมเปน็ ธรรมและลดควำมเหลื่อมลำ้ ในสังคม 2.1 ขยายโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่กลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุด เช่น รายได้เฉลี่ยต่อ หัวของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุด เพิ่มขึ้นไม่ต่ากว่าร้อยละ 15 ต่อปี, ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่ เสมอภาค (Gini Coefficient) ด้านรายได้ลดลงเหลือ 0.41 เม่ือสิ้นสุด แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12, การถือครอง สินทรัพย์ทางการเงินของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุดเพิ่มขึ้น และสัดส่วนประชากรที่อยู่ใต้เส้น ความยากจนลดลงเหลือรอ้ ยละ 6.5 ณ สิน้ แผนพัฒนาฯ 2.2 ให้คนไทยทุกคนเข้าถึงบริการทางสังคมที่มีคุณภาพได้อย่างท่ัวถึง เช่น อัตราการเข้าเรียนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานเท่ากับร้อยละ 80 โดยไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มนักเรียน / นักศึกษา ที่ครอบครัวมี รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
55 ฐานะทางเศรษฐกิจสังคมและระหว่างพื้นที่ และสัดส่วนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาทุกระดับชั้นผ่าน เกณฑค์ ะแนนรอ้ ยละ 50 2.3 สร้างความเข้มแข็งใหช้ มุ ชน เชน่ สดั ส่วนครวั เรอื นทีเ่ ข้าถึงแหล่งเงินทุนเพิ่มขึ้น ดัชนีชุมชนเข็มแขง็ เพิ่มขนึ้ ใน ทุกภาค และมูลค่าสินค้าชมุ ชนเพิ่มขนึ้ ยุทธศำสตร์ท่ี 3 กำรสรำ้ งควำมเข้มแข็งทำงเศรษฐกิจและแข่งขนั ไดอ้ ยำ่ งยืน 3.1 สร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจขยายตวั อย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน เช่น อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เฉลี่ยในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ไม่ต่ากว่าร้อยละ 5, รายได้ต่อหัวไม่ต่ากว่า 8,200 ดอลล่าร์ สรอ. ณ สิ้น แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ปี 2564) และรายได้สุทธิของรัฐบาลต่อมูลค่าผลผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไม่ต่า กว่าร้อยละ 7.5 ต่อปี, หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ไม่เกินร้อยละ 5.5 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ, การลงทุนจากความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชน เป็นต้น ********************************************** (ตัวอย่ำงคำถำมขอ้ ที่ 10) จงอธิบำยกำรนำองคก์ ำร มำพอให้เข้ำใจพอสงั เขป แนวคำตอบ กำรนำองค์กำร เป็นการมุ่งเน้นวิธีการที่ผู้บริหารชี้นาและกาหนดวิสัยทัศน์ ค่านิยม และผลการดาเนินการที่คาดหวัง ขององค์กร และขบั เคลื่อนผลักดันให้องค์การมีผลการดาเนินงานอย่างยั่งยืนโดยใหค้ วามสาคัญกับการสือ่ สาร สร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการดาเนินที่มีการจริยธรรมและผลการดาเนินการที่ดี รวมถึง ระบบการกากับดูแลตนเองที่ดี และรับผิดชอบต่อสังคม กำรจดั ทำยุทธศำสตร์ 1. ผู้บริหำรของส่วนรำชกำรดำเนินกำรกำหนดวิสัยทัศน์และค่ำนิยม โดยมุ่งเน้นผู้รับบริกำร และผมู้ ีส่วนได้เสีย และดำเนินกำรถ่ำยทอดวิสัยทัศน์และคำ่ นิยมสกู่ ำรปฏิบัติโดยกำรนำองค์กำร ไปยัง บุคลำกรในส่วนรำชกำร ส่วนรำชกำรหรือองค์กำรท่ีเกี่ยวข้องกันในกำรให้บริกำรหรือส่งมอบงำนต่อ กนั ท่สี ำคัญ และผรู้ บั บริกำรและส่วนได้เสีย “ระบบการนาองค์การ” หมายถึง วิธีการบริหารที่ผู้บริหารของส่วนราชการนามาใช้ท้ังอย่างเป็น ทางการและไม่เป็นทางการทั่วท้ังส่วนราชการ ซึ่งเป็นพื้นฐานและวิธีที่ใช้ตัดสินใจเร่ืองที่สาคัญ การสื่อสาร และการถ่ายทอดเพื่อนาไปปฏิบัติรวมถึงโครงสร้างและกลไกลในการตัดสินใจ การเลือกสรร และการพัฒนา ผู้นาและผู้บังคับบัญชา ตลอดจนถึงการสร้างค่านิยม พฤติกรรรม ที่มีจริยธรรม ทิศทางและความคาดหวัง ด้านผลการดาเนินการ ระบบการนาองค์การสามารถสร้างความผกู พัน และการทางานเป็นทีม โดยขึ้นอยู่กบั วิสัยทัศน์และค่านิยม รวมท้ังการมุ่งไปสู่เป้าประสงค์ร่วมของส่วนราชการ ระบบนาองค์การกระต้นและสนับสนุนความคิดริเริ่ม การ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
56 จัดโครงสร้างสายการบังคับบัญชาตามเจตจานงและหน้าที่ รวมท้ัง หลีกเลี่ยงการมีสายบังคั บบัญชาที่มี ขั้นตอน การตดั สินใจหลายข้ันตอน ระบบการนาองค์การที่ประสิทธิผล ต้องคานึงความสามารถและความต้องการของบุคลากรผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย ต้องความด้านผลการดาเนินการและการปรับปรงุ ผลการดาเนินการให้สูงข้ึน รวมทั้ง การมี กลไกที่ผู้บริหารของส่วนราชการใชในการตรวจประเมินตนเอง การรับข้อมูลป้อนกลับ และการปรับปรุงผล การดาเนินการ “วิสัยทัศน์” หมายถึง สภาพที่ส่วนราชการต้องการ “เป็น” ในอนาคต วิสัยทัศน์อธิบายถึงทิศทาง ที่ส่วน ราชการจะมุ่งไป สิ่งทีส่ ว่ นราชการตอ้ งการจะเปน็ หรอื ภาพลักษณ์ที่ส่วนราชการตอ้ งการในอนาคต “วิสัยทัศน์” ที่ดีควรมีความชัดเจน สามารถนาไปปฏิบัติได้ เป็นภาพเชิงบวกที่สะท้อนให้เห็นความเป็นเลิศ ขององค์การ สร้างศรัทธาให้สมาชิกไขว้คว้า ต้องท้าทายความรู้ความสามารถของผู้นา และสมาชิกทุกคนใน องค์การ คานงึ ผู้รบั บริการผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียและมีความสอดคล้องกับแนวโน้มของอนาคต เม่ือกาหนดทิศทางองค์การที่ชัดเจนแล้ว ผู้บริหารของส่วนราชการต้องดาเนินการสื่อสารไปยัง บุคลากรเพื่อให้เกิดการยอมรับทิศขององค์การที่มีอยู่ และกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการดาเนินการให้ บรรลุผลตามทิศทางที่กาหนด ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการส่ือสาร ส่วนราชการดาเนินการโดยสื่อสาร แบบ 2 ทิศทาง ( TWO – Way Communication) เป็นการสื่อสารที่ผู้รับข้อมูลสามารถสื่อสารโต้ตอบกับผู้ส่ง ข้อมูลได้ในทันทีซึ่งเป็นการเปิดโอกาสสอบถามข้อสงสัย แสดงความคิดเห็น ก่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ตรงกัน ท้ังผู้รับสารผู้ส่งสาร โดยสามารถดาเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น การจัดประชุมสัมมนา การจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพบปะพูดคุยกับผู้ปฏิบัติงานในแต่ล่ะ หน่วยงาน การสื่อสารผ่านทางสื่อสังคม ออนไลน์ เป็นต้น และเพื่อให้ความม่นั ใจว่าบุคลากรมคี วามรบั รู้ เข้าใจแนวทางไปปฏิบัติได้จริงส่วนราชการควร มีการตดิ ตามผลการสือ่ สารผลดังกล่าว นอกจากการสื่อสารไปยังบุคลากรภายในท่ัวทั้งองค์การเพื่อนาไปสู่การปฏิบัติแล้วผู้บริหารของส่วน ราชการ ควรสื่อสารถ่ายทอดทิศทางไปสู่ส่วนราชการหรือองค์การที่เกี่ยวข้องในการให้บริการ หรือส่งมอบ งานต่อกันที่สาคัญ รวมถึงผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อเกิดการรับรู้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติ เพื่อนาไปสู่การบรรลุทิศทางที่ได้กาหนดไว้ เครื่องมือกำรบริหำรจัดกำร 1) การแปลงวิสัยทัศน์เป็นตัววัด (Vision Clarification) เชิงคุณภาพระดับผลลัพธ์(Outcome)และ ผลกระทบ (impact) 2) การวิเคราะห์จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (Strengths Weaknesses Opportunities and Threats –Analysis :SWOT Analysis) ด้วยกนั ใช้ขอ้ มูลพิจารณาเทียบกบั ภาพอนาคตของส่วนราชการ 3) การมงุ่ เน้นเป้าหมายทั้งระยะสั้นระยะยาว( Shot and long –Term Orientation) อย่างสมดลุ 4) การส่อื สาร 2 ทาง (Two way Communication) แนวทำงกำรปฏิบัติทีด่ ี รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพนั ธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
57 องค์การที่มีแนวทางปฏิบัติที่ดีด้านการกาหนดทิศทางและสื่อสารถ่ายทอดทิศทางองค์การควรมีการ ดาเนนิ ดงั น้ี - มีแนวทาง/กระบวนการในการกาหนดทิศทางที่ทิศทางที่ครอบคลุมวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ หรอื ผลการดาเนินงานที่คาดหวังขององค์การอย่างมีระบบ โดยให้ความสาคัญกับความต้องการความคาดหวัง ของผู้รบั บริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสีย - ผู้บริหารมีการดาเนินการตามแนวทางกาหนดทิศทาง ซึ่งครอบคลุมวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ หรอื ผลการดาเนนิ งานทีค่ าดหวงั ขององค์การ - ผู้บริหารมีการสื่อสารทิศทางของบุคลากร ส่วนราชการหรอื องค์การที่เกีย่ วข้องกันในการใหบ้ ริการ หรอื ส่งมอบงานต่อกันทีส่ าคัญ ผรู้ ับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างครอบคลุมทว่ั ถึง และมีวธิ ีการส่ือสารที่ หลากหลายตามลักษณะแต่ล่ะกลุ่ม ทั้งแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ และอาจใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศการสื่อสาร เช่น เว็บไซต์ (Website) ทวิต (Tweets) บล็อก (Blogging) รวมทั้งการติดตามเว็บไซต์ และบล็อกภายนอก และตอบกลับตามที่เห็นสมควร ท้ังนี้ เพื่อให้เกิดการรับรู้ เข้าใจในทิศทางขององค์การ รวมท้ังเพือ่ ให้เกิดความรว่ มมอื ในการปฏิบัติเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จขององค์การ - ผบู้ ริหารมปี ฏิสัมพนั ธ์กับผรู้ บั บริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียเป็นประจาอย่างตอ่ เนื่องและสม่าเสมอ - ผู้บริหารนาแนวทางการปรบั ปรุงกระบวนการมาพัฒนาอย่างต่อเน่ือง และส่งผลต่อเป้าประสงค์เชิง ยุทธ์ศาสตร์อย่างชัดเจน - ทิศทางขององค์การสอดคล้องกบั ความตอ้ งการขององค์การ (ลกั ษะความสาคญั ของการ) - ทิศทางขององค์การสอดคล้องกับแนวทาง/กระบวนการอ่นื ๆ 2. ผู้บริหำรของสว่ นกำรแสดงควำมมุ่งมน่ั ตอ่ กำรประพฤติปฏิบตั ิตำมหลกั ธรรมำภิบำล ควำมหมำย “ก ารแสดงความมุ่งมั่นของผู้บ ริหารส่วนรา ชก ารต่อก ารป ระพฤ ติปฏิบัติตามหลักธ รรมาภิบาล ” หมายถึง วิธีการที่ผู้บริหารของส่วนราชการทาให้ม่ันใจว่าการตัดสินใจ การปฏิบัติ และการปฏิสัมพันธ์กับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียเปน็ ไปหลักธรรมาภิบาลของการบริหารบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ซึ่งหมาย หลกั ในการ ปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุมดูแล กิจกรรมต่างๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม ประกอบด้วย องค์ประกอบ 10 หลัก ได้แก่ หลักประสิทธิภาพ หลักการตอบสนอง หลักภาระรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมสี ่วนรว่ ม หลักการกระจายอานาจ หลกั นิตธิ รรม หลกั ความเสมอภาค และหลกั การมงุ่ ฉันทามติ 1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลการปฏิบัติราชการที่บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายของแผนการปฏิบัติราชการตามที่ได้รับงบประมาณมาดาเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับส่วน ราชการ หรือหน่วยงานที่มีภารกิจคล้ายคลึงกันและมีผลการปฏิบัติงานในระดับช้ันนาของประเทศ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน โดยการปฏิบัติราชการจะต้องมีทิศทางยุทธศาสตร์และเป้าสงค์ที่ชัดเจน มี กระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานที่มาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงอย่าง ต่อเนอ่ื งและเปน็ ระบบ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
58 2) หลักประสิทธิภำพ (Efficiency) หมายถึง การบริหารราชการตามแนวทางการกากับดูแลที่ดีที่มี การอกแบบกระบวนการปฏิบัติงาน โดยการใช้เทคนิคและเคร่ืองมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมให้องค์การ สามารถใช้ทรัพยากรท้ังด้านต้นทุน แรงงานและระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาขีด ความสามารถในการปฏิบัติราชการตามภารกิจ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วน เสียทุกกลุ่ม 3) หลักกำรตอบสนอง (Responsive) หมายถึงการให้บริการที่สามารถดาเนินการได้ภายใน ระยะเวลาที่กาหนดและสร้างความเชื่อมั่นความไว้วางใจ รวมถึงตอบสนองตามคาดหวัง/ความต้องการของ ประชาชนผู้รับบริการผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียที่มคี วามหลากหลายและมีความแตกต่าง 4) หลักภำระรับผิดชอบ( Accountability) หมายถึง การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ และผลงานต่อเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยความรับผิดชอบน้ันควรรู้อยู่ในระดับที่สนองต่อความคาดหวังของ สาธารณะรวมทั้งการแสดงถึงความสานกึ ในการรับผดิ ชอบต่อปัญหาสาธารณะ 5) หลักควำมโปร่งใส (Transparency) หมายถึง กระบวนการเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมาชี้แจงได้ เม่ือมีข้อสงสัยและความสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอันไม่ต้องห้ามตามกฎหมายได้เสรี โดยประชาชน สามารถรู้ทกุ ขั้นตอนในการดาเนินกิจกรรม หรอื กระบวนการตา่ งๆ และสามารถตรวจสอบได้ 6) หลักกำรมีส่วนรวม (Participation) หมายถึง กระบวนการที่ข้าราชการ ประชาชน และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ทุกกลุ่มมีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ทาความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศน์ ร่วมเสนอปัญหา/ ประเด็นที่สาคัญ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วม กระบวนการพฒั นาในฐานะหนุ้ ส่วนพัฒนา 7) หลักกำรกระจำย (Decentralization) หมายถึง การถ่ายโอนอานาจ การตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจจากส่วนกลางให้แก่หน่วยการปกครองอื่น (ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น) และภาคประชาชน ดาเนินการแทนการโดยมีอิสระตามสมควร รวมถึงการมอบอานาจ และความรับผิดชอบในการตัดสินใจ และ การ ดาเนินการให้แก่บุคลากร โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจในการให้บริการต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วน ได้สว่ นเสีย การปรบั ปรงุ กระบวน และเพิ่มผลิตภาพ เพือ่ ผลการดาเนินงานที่ดีของสว่ นราชการ 8)หลักนิติธรรม(Rule of Law) หมายถึง การใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับในการ บริหารราชการด้วยความเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบตั ิ และคานงึ ถึงสทิ ธิ เสรีภาพของผู้สว่ นได้ส่วนเสีย 9) หลักควำมเสมอภำค (Equity) หมายถึง การได้การปฏิบตั ิและได้รับการอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ มีการแบ่งแยกด้านชาย/หญิง ถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกาย หรือสุขภาพ สถานะของบคุ คล ฐานะทางเศรษฐกิจ และสงั คมความเชื่อทางศาสนา การศกึ ษา การฝึกอบรม และอืน่ ๆ 10) หลักกำรมุ่งเน้นทำมติ (Consensus oriented) หมายถึง การหาข้อตกลงท่ัวไปภายในกลุ่มผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดจากจากกลุ่มบุคคลที่ ได้รับ ประโยชน์และเสียประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มทีไ่ ด้รับผลกระทบโดยตรงซึง่ ต้องไม่มีข้อคัดค้านทีย่ ุติไม่ได้ใน ประเด็นทีส่ าคญั โดยฉนั ทามตไิ ม่จาเปน็ ต้องจาเป็นต้องหมายความว่าเปน็ ความเห็นพ้องโดยเอกฉนั ท์ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพนั ธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
59 เครือ่ งมือกำรบริหำรจดั กำร 1) การวิเคราะหค์ วามเสีย่ งดา้ นธรรมาภิบาล 2) การนโยบาย มาตรการ แนวทางในการบริหารจัดการองค์การตามหลักธรรมาภิบาล 3) การกาหนดตัวช้ีวดั ด้านธรรมมาภบิ าลขององค์การ 4) ผนู้ าเป็นต้นแบบทีด่ ี (Exemplary Leadership) ผจู้ ะต้องปฏิบตั ิอย่างมีธรรมาภบิ าลเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา แนวทำงกำรปฏิบตั ิทีด่ ี องค์การที่มีการปฏิบตั ิทีด่ ดี ้านความมุงมนั่ ต่อการประพฤติตามหลกั ธรรมาภิบาล ควรมีการ ดาเนนิ การดังนี้ การดาเนินการเพื่อธรรมาภิบาลในองค์การ ผู้บริหารสามารถประยุกต์ใช้เคร่ืองมือ หรือวิธีการต่างๆ เช่น สร้างภาวะผนู้ าต้นแบบ การฝกึ อบรม การจัดทาแนวทางปฏิบัติ การตรวจสอบด้านธรรมาภบิ าล โดยอาจ กาหนดตัวชี้วัดในการติดตามการดาเนินการด้านธรรมาภิบาลของส่วนราชการ เช่น ทัศนคติของประชาชนต่อ ความโปร่งใสของส่วนราชการ ร้อยล่ะของข้อร้องเรียน หรือข้อร้องทุกข์ทั้งภายในและภายนอกของส่วน ราชการที่ลดลง จานวนผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นหรือจานวนข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็นของประชาชน ดาเนนิ การเป็นต้น 3. ผู้บริหำรของส่วนรำชกำรดำเนินกำรสร้ำงคุณภำพแวดล้อมเพื่อให้เกิดกำรบรรลุพันธกิจ กำร ปรบั ปรุงผลกำรดำกำรสว่ นรำชกำร และกำรเรียนรู้ระดับระดบั กำรและระดับผล ควำมหมำย องค์การจะบรรลุวิสัยทัศน์ได้ ผู้บริหารขององค์การต้องมีหน้าที่ในการ “กระตุ้น ส่งเสริม และสร้าง บรรยากาศ” มีหน้าที่หลกั ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์การ เพื่อให้ทราบจุดแขง้ จุดอ่อน อปุ สรรค หาแนวทางหรือกระบวนวิธีที่จะบริหารและจัดการให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดในการนาไปสู่การบรรลุพันธกิจ การปรับปรุงผลการดาเนินการของส่วนราชการ และการเรียนรู้ระดับองค์การและ ระดับบุคคลในด้านต่างๆ เชน่ - การกระจายอานาจในการตัดสินใจ(Empowerment) ให้กับผู้ปฏิบัติงาน องค์การควรพิจารณาและ จัดลาดับความสาคัญเร่ืองที่ต้องตัดสินใจและมอบอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่บุคลากรแต่ล่ะระดับ อย่างชัดเจน และเหมาะสม จึงจะทาให้การทางานเกิดความคล่องตัว และทาให้บุคลากรในองค์การเกิด ความรู้สึกมีส่วนร่วมในการทางานและเป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจขององค์การ ทาให้เกิดการปรับปรุงการ ทางานพัฒนาเปน็ วัตกรรมต่อไป - การออกแบบหรือทบทวนระบบงานและรูปแบบการปฏิบัติงาน การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎระเบียบคาสง่ั - ทบทวนผลการดาเนินงานโดยกาหนดตัวชี้วัดที่สาคัญที่สะท้อนถึงความสาเร็จต่อประเด็น ยุทธศาสตร์ และการบรรลุพันธกิจหลัก และแผนโครงงานที่สาคัญ รวมทั้งกาหนดเป้าหมายของการ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรัมย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
60 ดาเนินการของตัวชีว้ ัดสาหรับใช้ในการทบทวนและติดตามผลการดาเนินการว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด ไว้หรอื ไม่เพือ่ นาผลกระทบทวนไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาองค์การตอ่ ไป - ส่งเสริมให้บุคลากรมีการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง เพื่อใหบ้ ุคลากรมคี วามต่ืนตวั กระตอื รือร้นในการ ใฝ่หาความรู้ มคี วามรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้นและนามาใช้ในการทางานและปรบั ปรงุ การทางานขององค์การ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อันจะก่อให้เกิดเป็นองค์ความรู้ขององค์การต่อไป การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในลักษณะ ต่างๆ ซึ่งการส่งเสริมการเรยี นรู้ขององค์การมี 2 ระดับ คอื ระดบั องค์การและระดบั บุคคล 1. ระดับองค์กำร โดยการส่งเสริมให้มีการวิจัยและการพัฒนา การประเมินและพัฒนากระบวนการ ทางาน การรับฟังความคิดของบุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงาน ที่เป็นเลิศ การเทียบเคียงผลการปฏิบตั ิงาน 2. ระดับบุคคล โดยการส่งเสริมให้บุคลากรมีโอกาสพัฒนาตนเอง ผุ้บริหารมีบทบาทสาคัญในการ สร้างบรรยากาศภายในองค์การ เพื่อใหเ้ กิดการบูรณาการและสร้าง ความผูกพนั ความรว่ มมอื ภายในองค์การ รวมท้ังเป็นการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายที่กาหนด โดยการส่งเสริมใหม้ ีกระบวนการ/จัด กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันภายในองค์การ เช่น การจัดกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติวัฒนาธรรมอาสา กิจกรรม แลกเปลีย่ นเรียนรู้ประสบการณ์การทางาน Team Building และ Shared Vision เป็นต้น เครื่องมือกำรบริหำรจดั กำร 1. ระบบติดตามและทบทวนการดาเนินงาน (Monitoring and Evaluation Review) 2. การจัดการความร(ู้ Knowledge Management) 3. การสรา้ งทีม(Team Building) 4. การจดั ทาวสิ ยั ทัศนร์ ่วมขององค์การ (Shared Vision) แนวทำงกำรปฏิบัติที่ดี องค์กำรทีม่ ีแนวทำงปฏิบัติทีด่ ดี ้ำนกำรสรำ้ งบรรยำกำศทด่ี ีควรมกี ำรดำเนินกำร ดงั นี้ ผู้บริหารจะต้องรวบรวมผลการดาเนินงานที่สาคัญของการ และความคิดเห็นของบุคลากร นามา จดั ลาดับความสาคัญ และนาไปสื่อสารเพื่อปรับปรงุ ผลการดาเนินงานที่ดีขนึ้ รว่ มกนั สื่อสารให้ทราบถึงประโยชน์ทีอ่ งคก์ ารจะได้รบั จากการดาเนินงานและผลประโยชน์ที่บคุ ลากรจะได้รบั ผบู้ ริหารจะต้องนาผลการทบทวนการดาเนินงานทั้งข้อดีข้อเสียและปัญหาอุปสรรคจากการดาเนินงาน ในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องมาใช้ในการทบทวนปรบั ปรงุ การทางาน การวัดผลการดาเนินงานสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความจาเป็นและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ไป ผู้บริหารมีการพัฒนาโครงสร้างองค์การและมอบอานาจตามความจาเป็น เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมในการทางาน รวมท้ังการเรยี นรู้และการพัฒนาองค์การ ผู้บริหารมีการแนะนาเพื่อให้เกิดผลสาเร็จในการองค์การอย่างต่อเน่ืองและการพัฒนาแบบก้าว กระโดด รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เว็บไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
61 บคุ ลากรในองค์การมีเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้รว่ มกันอย่างตอ่ เนื่อง ผบู้ ริหารรวบรวมความคดิ ต่างๆ จากบุคลากรเพือ่ นามาใช้ในการพฒั นาองค์การ ผบู้ ริหารมสี ่วนรวมในการเรียนรู้ในระดับองค์การ ผบู้ ริหารมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการยกย่องชมเชย ผบู้ ริหารมสี ่วนรวมในการพฒั นาบคุ ลากรในรูปแบบการปรึกษาแนะนาหรอื การเปน็ พี่เลีย้ ง 4. ส่วนรำชกำรมีกำรดำเนินกำรระบบกำรกำกับดูแลองค์กำรท่ีดีในด้ำนควำมรับผิดชอบต่อกำร ปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำร ควำมรับผิดชอบด้ำนกำรเงิน และกำรป้องกันกำรทุจริตและประพฤติมิ ชอบ ควำมหมำย “ระบบกำกับดูแลองค์กำร” หมายถึงระบบจัดการและควบคุมต่างๆ ที่ใช้ในส่วนราชการรวมทั้ง ความรับผิดชอบในด้านต่างๆ ของหัวส่วนงาน คณะกรรมการบริหาร และของผู้บริหารของส่วนราชการ โดย กาหนดเป็นกฎระเบียบที่บังคับใช้และนโยบายของส่วนราชการจะระบุเป็นลายลักษณ์อักษรถึงสิทธิและความ รับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้องแต่ล่ะกลุ่ม รวมท้ังอธิบายถึงวิธีการกาหนดทิศทางและการควบคุมถึงหลักประกัน ในด้านต่างๆดงั น้ี 1. ความรับผดิ ชอบต่อการมีสว่ นเสียต่างๆ 2. ความโปร่งใสของการปฏิบัติงาน 3. การปฏิบัติอย่างยตุ ิธรรมตอ่ ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียทกุ กลุ่ม ความรับผิดชอบด้านการเงิน และ การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ครอบคลุมถึงความ โปร่งใสในการดาเนินการของระบบกากับดูแลองค์การ รวมท้ังเร่ืองการควบคุมภายในของกระบวนการกากับ ดูแลองค์การ กระบวนการต่างๆ ด้านการกากับดูแลอาจรวมถึงการอนุมัติ ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ การตรวจติดตาม และประเมินผลการดาเนินการของผู้บริหารของส่วนราชการ การกาหนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์ของ ระดับบริหาร การวางแผนการสืบทอดตาแหน่ง การตรวจสอบทางการเงินและการปฏิบัติการ การจัดการ ความเสี่ยง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร การทาให้ม่ันใจว่าระบบการกากบั ดูแลมีประสิทธิผล มีความสาคัญต่อผู้ มีสว่ นได้ส่วนเสียและสังคมโดยรวม ตลอดจนตอ่ ประสิทธิผลของส่วนราชการ เครือ่ งมือกำรบริหำรจัดกำร 1. ระบบควบคุมภายใน และตรวจสอบภายใน 2. การบริหารแบบมีสว่ นร่วม แนวทำงกำรปฏิบัติทีด่ ี องคก์ ำรที่มีแนวกำรปฏิบตั ิทีด่ ดี ้ำนกำกบั ดแู ลองค์กำรท่ดี ีควำมมีกำรดำเนินกำรดังนี้ รวบรวมและนำมำเผยแพรโ่ ดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com
62 การกาหนดโยบาย แนวทาง มาตรการในการกากับดูแลองค์การที่ดีสะท้อนถึงความรบั ผดิ ชอบต่อผู้ที่มี ส่วนได้ส่วนเสีย ต่างๆ ความโปร่งใสของการปฏิบัติงาน การปฏิบัติอย่างยุติธรรมต่อผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกกลุ่ม การเปิดโอกาสใหป้ ระชานชนเข้ามามีสว่ นในการบริหารราชการโดยผ่านขบวนการหรอื กิจกรรมต่างๆ การพัฒนาการเพื่อให้เกิดความตรวจสอบได้ เช่น การจัดทาคู่มือการปฏิบัติงานการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศในการให้บริการเป็นต้น 5. ส่วนรำชกำรมีวิธีกำรและมำตรำในกำรจัดกำรผลกระทบทำงลบทเ่ี กิดขึ้นต่อสังคม และมีกำรเตรยี ม กำรเชิงรกุ มีกระบวนกำร ตวั วดั และเป้ำประสงค์ทส่ี ำคัญในกำรดำเนินกำร ควำมหมำย พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 8(3) ระบุว่า ก่อนเริ่มดาเนินการส่วนราชการต้องจัดให้มีการวิเคราะห์ผลดีผลเสียให้ครบทุกด้าน กาหนดข้ันตอนการ ดาเนินการ ที่โป่รงใส มีกลไกตรวจสอบการดาเนินการในแต่ล่ะขั้นตอน ในกรณีใดที่ผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และชี้แจงทาความเข้าใจเพื่อให้ประชาชน และ ชแี้ จงทาความเข้าใจเพื่อใหป้ ระชาชนตระหนกั ถึงประโยชน์ที่ ส่วนจะได้รับภารกิจนน้ั ดังน้ัน หากการดาเนินการของส่วนราชการก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสังคม ส่วนราชการต้อง กาหนด วิธีการ มาตรการและผู้รับชอบในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้น เพื่อแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อแก้ไขผลกระทบที่เกิดจากการดาเนินงานของส่วนราชการให้หมดไป หรือลดลง รวมท้ังกาหนดมาตรการ เชิงรุกในการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดกระทบ ต่อสังคม เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับชุมชน สังคม รวมท้ังควรกาหนดตัวช้ีวัด และเป้าหมายของการดาเนนิ การทีช่ ดั เจน เพื่อให้ใชใ้ นการติดตามประเมินผล ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การ เครือ่ งมือกำรบริหำรจดั กำร การวิเคราะหค์ วามเสีย่ ง แนวทำงกำรปฏิบตั ิทีด่ ี องค์การที่มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการจัดการผลกระทบทางลบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสังคมคว รมีการ ดาเนนิ การดงั นี้ องค์การควรให้ความสาคัญกับประเด็นที่ประชาชนให้ความสนใจหรือวิตกกังวล เพื่อจะไดนาประเด็น ดังกล่าวมาวางแผนป้องกนั ผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดข้ึน องค์การควรมีการวิเคราะห์หว่ งโซคุณค่า (Value Chain) เพื่อพิจารณาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสังคม และหาปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนาที่ย่ังยืนให้กับองค์การ รวมทั้งกาหนดเป็นกลยุทธ์เพื่อนาไปสู่ ความสาเรจ็ องค์การควรคานึงถึงการใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมท้ังการหมุนเวียนทรัพยากรที่ใช้ กบั มาใช้ใหม่ ขอใหโ้ ชคดีในกำรสอบทุกทำ่ นครับ รวบรวมและนำมำเผยแพร่โดยประพันธ์ เวำรมั ย์ เวบ็ ไซตh์ ttp://valrom.igetweb.com ประพนั ธ์ เวำรมั ย์ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141