Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน ม.1

แผนการสอน ม.1

Published by narawutchuai, 2021-05-08 06:49:44

Description: แผนการสอน ม.1

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นิราศภูเขาทอง เวลา ๕ ช่ัวโมง ผงั มโนทศั น์เป้าหมายการเรียนร้แู ละขอบขา่ ยภาระงาน ความรู้ ๑. การอา่ นบทร้อยกรองเร่ือง นิราศภูเขาทอง ๒. การอ่านกลอนนิราศ ๓. ศิลปะการใชค้ าในงานประพนั ธ์ ๔. การแต่งกลอนนิราศ ภาระงาน/ชิ้นงาน นิราศภูเขาทอง ทกั ษะและกระบวนการ ๑. ทาแบบทดสอบ ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๑. กระบวนการฟังและ ๒. อ่านจบั ใจความและสรุป หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ นิราศภูเขาทอง การดู ความ ๒. กระบวนการพดู ๓. อา่ นทานองเสนาะ ๓. กระบวนการอา่ น ๔. ท่องจาบทร้อยกรอง ๔. กระบวนการเขยี น ๕. เขียนแผนที่การเดินทาง ๕. กระบวนการคดิ ๖. เขียนแผนภาพความคดิ ๗. พจิ ารณาศิลปะการใชค้ าใน วเิ คราะห์ ๖. กระบวนการกล่มุ งานประพนั ธ์ ๘. แต่งกลอนนิราศ ๙. ทาใบงาน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ๑. มีมารยาทการฟัง การดู และการพดู ๒. มีมารยาทในการอา่ นและมีนิสัยรักการอา่ น ๓. มีมารยาทในการเขยี นและมีนิสยั รักการเขียน ๔. เห็นคณุ คา่ ความสาคญั และซาบซ้ึงในวรรณคดีไทย

ขนั้ ท่ี ๑ ผลลพั ธป์ ลายทางท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกบั นักเรยี น ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี ๑. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสามกบั เรอ่ื งทอ่ี ่าน ท๑.๑ (ม.๑/๑) ๒. จบั ใจความสาคญั ของเร่อื งทอ่ี า่ น ท๑.๑ (ม.๑/๒) ๓. ระบแุ ละอธบิ ายคาเปรยี บเทยี บและคาทม่ี หี ลายความหมาย ท๑.๑ (ม.๑/๔) ๔. ปฎบิ ตั ติ ามคมู่ อื แนะนาวธิ กี ารใชง้ านของเครอ่ื งมอื หรอื เครอ่ื งใชใ้ นระดบั ทย่ี ากขน้ึ ท๑.๑ (ม.๑/๗) ๕. สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ท๕.๑ (ม.๑/๑) ๖. วเิ คราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่านพรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ ท๕.๑ (ม.๑/๒) ๗. อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ท๕.๑ (ม.๑/๓) ๘. สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ท๕.๑ (ม.๑/๔) ๙. ทอ่ งจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณคา่ ตามความสนใจ ท ๕.๑ (ม.๑/๕) ความร้ขู องนักเรยี นท่ีนาไปส่คู วามเข้าใจ ทกั ษะ/ความสามารถของนักเรยี นท่ี ที่คงทน. นาไปส่คู วาม เข้าใจที่คงทน นักเรยี นจะ สามารถ ๑. คาสาคญั ไดแ้ ก่ พระบรมธาตุ บาท บพติ ร อดศิ ร ผ่านเกลา้ โมทนา ๑. จบั ใจความสาคญั วเิ คราะหแ์ สดง

ชลมารค จบั เขม่า พระพุทธเจา้ หลวง ความคดิ เหน็ และบอกขอ้ คดิ จากเร่อื งท่ี ฐานปัทม์ เพยี ญชนงั อ่าน ๒. นริ าศภูเขาทอง เป็นนริ าศทก่ี ล่าวถงึ ๒. บอกคณุ ค่าของเร่อื งทอ่ี ่าน การเดนิ ทางไปนมสั การพระเจดยี ์ ๓. อ่านทานองเสนาะไดถ้ กู ตอ้ ง ไพเราะ ภูเขาทอง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ๔. ทอ่ งจาบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณค่า ซง่ึ บรรยายความรสู้ กึ ทม่ี ตี ่อนางอนั ๕. แต่งกลอนนริ าศ เป็นทร่ี กั ไดล้ กึ ซง้ึ กนิ ใจและยงั แทรก ๖. พจิ ารณาศลิ ปะการใชค้ าในงาน ขอ้ คดิ ทเ่ี ป็นประโยชน์ ประพนั ธ์ ๓. การอ่านบทรอ้ ยกรองจะตอ้ งมคี วามรู้ เกย่ี วกบั ฉนั ทลกั ษณ์ จงั หวะ ลลี า น้าเสยี ง และท่วงทานองในการอ่านจงึ จะอา่ นไดไ้ พเราะ ๔. การแต่งคาประพนั ธจ์ ะตอ้ งรจู้ กั เลอื กสรรคา รลู้ กั ษณะบงั คบั ของคา ประพนั ธช์ นิดนนั้ ๆ ขนั้ ที่ ๒ ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นหลกั ฐานท่ีแสดงว่านักเรยี นมีผลการเรียนรู้ ตามท่ีกาหนดไวอ้ ยา่ งแท้จริง ๑. ภาระงานท่ีนักเรียนต้องปฏิบตั ิ ๑.๑ อา่ นเร่อื งนิราศภเู ขาทองแลว้ จบั ใจความสาคญั วเิ คราะหแ์ สดงความคดิ เหน็ และตอบคาถาม ๑.๒ เขยี นแผนทก่ี ารเดนิ ทาง ๑.๓ อ่านทานองเสนาะกลอนนิราศ ๑.๔ ทอ่ งจาบทรอ้ ยกรอง ๑.๕ เขยี นแผนภาพความคดิ ๑.๖ พจิ ารณาศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธ์

๑.๗ แต่งกลอนนริ าศ ๒. วิธีการและเครื่องมอื ประเมินผลการเรยี นรู้ ๒.๑ วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๒.๒ เครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๑) การทดสอบ ๑) แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น ๒) การสนทนาซกั ถาม ๒) แบบประเมนิ การอ่าน ๓) การสงั เกต ๓) แบบประเมนิ การเขยี น ๔) การตรวจผลงาน/กจิ กรรมเป็น ๔) แบบประเมนิ การพดู รายบคุ คลหรอื รายกลุม่ ๕) แบบประเมนิ การฟังและการดู ๕) การวดั เจตคติ ๖) แบบประเมนิ ดา้ นคณุ ธรรม ๖) การวดั ทกั ษะและกระบวนการ จรยิ ธรรม และค่านิยม ๗) แบบประเมนิ ดา้ นทกั ษะและ กระบวนการ ๓. ส่ิงที่มุ่งประเมิน ๓.๑ ความสามารถในการอธบิ าย ชแ้ี จง การแปลความและตคี วาม การประยุกต์ ดดั แปลง และ นาไปใช้ การมมี มุ มองทห่ี ลากหลาย การใหค้ วามสาคญั และใสใ่ จความรสู้ กึ ของผอู้ น่ื และการรูจ้ กั ตนเอง ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการทางภาษา ๓.๓ สมรรถนะสาคญั ไดแ้ ก่ การสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชวี ติ และการใชเ้ ทคโนโลยี ๓.๔ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เช่น รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ย่าง พอเพยี ง มงุ่ มนั่ ในการทางาน รกั ความเป็นไทย มจี ติ สาธารณ ขนั้ ท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรู้

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ การอา่ นบทรอ้ ยกรองเรอ่ื ง นิราศภูเขาทอง เวลา ๒ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ การอา่ นกลอนนิราศ เวลา ๑ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ ศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธ์ เวลา ๑ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ การแตง่ กลอนนิราศ เวลา ๑ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ :๑ การอา่ นบทรอ้ ยกรอง เร่อื ง นริ าศภเู ขาทอง รหสั ช่อื รายวชิ า ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒ ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นายนราวุฒิ รยิ ะนา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ...................................................................................................................................................... ๑. สาระสาคญั นิราศภเู ขาทอง เป็นนิราศทส่ี นุ ทรภู่แต่งขน้ึ เพอ่ื บนั ทกึ เร่อื งราว และสงิ่ ทพ่ี บเหน็ ในขณะเดนิ ทางจากวดั ราชบรุ ณะ กรงุ เทพมหานคร เพอ่ื ไปนมสั การพระเจดยี ภ์ ูเขาทองทจ่ี งั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาเป็นนิราศท่ี

ถา่ ยทอดเร่อื งราววถิ ชี วี ติ ความเป็นอย่ขู องผคู้ นในอดตี ไดอ้ ย่างดเี ยย่ี ม ทงั้ วธิ กี ารเล่าเร่อื งและการใชส้ านวน ภาษา ทาใหน้ ิราศภูเขาทองน้จี ดั เป็นนริ าศเรอ่ื งเยย่ี มทส่ี ุดของวงการกวไี ทย ๒. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี ๑. ท ๑.๑(ม๑/๑) อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกบั เร่อื งทอ่ี า่ น ๒. ท ๑.๑ (ม.๑/๒) จบั ใจความสาคญั ของเรอ่ื งทอ่ี ่านได้ ๓. ท ๑.๑ (ม.๑/๔) ระบุและอธบิ ายคาเปรยี บเทยี บและคาทม่ี หี ลายความหมาย ๔. ท ๕.๑ (ม.๑/๑) สรปุ เน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ น ๕. ท ๕.๑ (ม.๑/๒)วเิ คราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ นพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ ๖. ท ๕.๑ (ม.๑/๓)อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ๗. ท ๕.๑ (ม.๑/๔)สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพ่อื ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ๓. สาระการเรียนรู้ การอ่านบทรอ้ ยกรอง เรอ่ื ง นริ าศภูเขาทอง ๔.ทกั ษะ/กระบวนการ ๑ กระบวนการฟัง ๒ กระบวนการดู ๓ กระบวนการพดู ๔ กระบวนการอา่ น ๕. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในคดิ การวเิ คราะห์ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ

๖ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. มมี ารยาทในการอา่ นและมนี ิสยั รกั การอ่าน ๒. มมี ารยาทในการเขยี นและมนี สิ ยั รกั การเขยี นมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี นภาษาไทย ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. ทาแบบทดสอบ ๒. อ่านจบั ใจความและสรุปความ ๓. ทาใบงาน ๘. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น ๒. นกั เรยี นดภู าพพระเจดยี ภ์ ูเขาทอง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา แลว้ ครซู กั ถามนกั เรยี นวา่ รจู้ กั สถานทใ่ี นภาพหรอื ไม่ อยทู่ ไ่ี หน เจดยี ท์ ม่ี ลี กั ษณะน้เี รยี กว่าอะไร ๓. ครนู าสนทนาโยงเขา้ เรอ่ื ง นิราศภเู ขาทอง ขนั้ ท่ี ๒ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครใู หน้ กั เรยี นดวู ดี ที ศั น์ ประวตั ขิ องสนุ ทรภู่ และสารคดที อ่ งเทย่ี วจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เน้นพระเจดยี ภ์ ูเขาทอง ๒. ครนู าสนทนาเก่ยี วกบั เน้อื หาในวดี ที ศั น์ทด่ี ู แลว้ ใหน้ กั เรยี นทเ่ี คยไปเทย่ี วพระเจดยี ภ์ ูเขาทอง ออกมาเลา่ ใหเ้ พอ่ื นฟัง ๓. นกั เรยี นอ่านในใจเร่อื ง นิราศภเู ขาทอง ในหนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เลม่ ๒ แลว้ ครซู กั ถามความเขา้ ใจตามแนวคาถามต่อไปน้ี ๑) ในเร่อื งสุนทรภเู่ ดนิ ทางจากทไ่ี หน เพอ่ื ไปทไ่ี หน และมจี ุดมงุ่ หมายอะไร ๒) สาเหตุทส่ี ุนทรภู่ตอ้ งออกจากวดั คอื อะไร

๓) การเดนิ ทางครงั้ น้ีมใี ครร่วมทางไปกบั สุนทรภู่บา้ ง ๔) สนุ ทรภ่นู ้อยใจในโชคชะตาของตนเองเร่อื งใดบา้ ง ๔. นกั เรยี นชว่ ยกนั ถอดคาประพนั ธแ์ ละเลา่ เร่อื งการเดนิ ทางตงั้ แตต่ น้ จนจบ ๕. แบ่งนกั เรยี นออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลุ่มเขยี นแผนทก่ี ารเดนิ ทางของสนุ ทรภู่ตงั้ แต่เรม่ิ ออก เดนิ ทาง จนถงึ เจดยี ภ์ เู ขาทอง ออกแบบตกแต่งใหส้ วยงามแลว้ นาเสนอหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ ท่ี ๓ ฝึกฝนผเู้ รยี น ๑. นกั เรยี นทากจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั เน้อื เร่อื ง นิราศภเู ขาทอง แลว้ ชว่ ยกนั เฉลยคาตอบ ๒. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ อา่ นเร่อื ง แนวทางการพจิ ารณาวรรณกรรมในหวั ขอ้ เน้อื เรอ่ื งศลิ ปะการ ประพนั ธ์ ขอ้ คดิ คตคิ าสอนและความจรรโลงใจ และการเชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ ประจาวนั แลว้ รว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ และสรปุ คุณค่าทไ่ี ดร้ บั จากเร่อื งทอ่ี ่าน ๓. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ยอ่ นกั เรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ๔. นกั เรยี นทาใบงานท่ี ๒ เรอ่ื งการอ่านตคี วาม แลว้ ชว่ ยกนั เฉลยคาตอบ ขนั้ ท่ี ๔ นาไปใช้ นกั เรยี นนาความรู้ ขอ้ คดิ จากเร่อื ง นิราศภูเขาทอง ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั และในการเรยี น ขนั้ ท่ี ๕ สรุป นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ คุณค่าและขอ้ คดิ จากเรอ่ื ง นิราศภเู ขาทอง บนั ทกึ ลงสมุด ๙. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. นกั เรยี นศกึ ษาเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ประวตั แิ ละผลงานของสุนทรภู่ แลว้ นามาจดั ป้ายนเิ ทศหน้าชนั้ เรยี น ๒. จดั ทศั นศกึ ษาไปนมสั การพระเจดยี ภ์ ูเขาทอง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยาหรอื จดั นทิ รรศการแสดง ประวตั แิ ละสว่ นตา่ ง ๆ ของพระเจดยี ภ์ เู ขาทอง

๓. นกั เรยี นอา่ นนิราศเร่อื งอ่นื ๆ ท่นี กั เรยี นสนใจ คดั ลอกขอ้ ความทไ่ี พเราะเป็นคตสิ อนใจ พรอ้ มบอก ทม่ี าสง่ ครู บนั ทกึ หลงั การสอน ๑. ผลการสอน การประเมนิ ดา้ นความรู้ : Knowledge ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมนิ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ: Process ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมนิ ดา้ นคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ : Attitude ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ปัญหาอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. แนวทางแกไ้ ขจดั กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะหรอื ซ่อมเสรมิ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …..........………….......................…….. ผจู้ ดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ( นายนราวุฒิ รยิ ะนา) ตาแหน่งครผู ชู้ ว่ ย

บนั ทกึ การนิเทศ ท่ี รายการผนู้ ิเทศ รายละเอยี ดความเหน็ ของผนู้ ิเทศ ลายมอื ช่อื ๑ หวั หน้ากลุม่ สาระ การเรยี นร/ู้ ผทู้ ่ี ………………………………………………….................................. ไดร้ บั มอบหมาย ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ๒ รองผอู้ านวยการ กลมุ่ บรหิ าร ………………………………………………….................................. วชิ าการ ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ๓ ผอู้ านวยการ โรงเรยี น ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. …………………………………………………..................................

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ : การอ่านกลอนนิราศ รหสั ช่อื รายวชิ า ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๑ ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นายนราวฒุ ิ รยิ ะนา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ .............................................................................................................................................. ๑. สาระสาคญั การอ่านบทรอ้ ยกรอง ทงั้ ทานองธรรมดาและทานองเสนาะตอ้ งอา่ นใหถ้ ูกตอ้ งตามจงั หวะลลี า น้าเสยี ง อารมณ์ความรสู้ กึ และท่วงทานองทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปตามลกั ษณะของคาประพนั ธ์ บทรอ้ ยกรองทน่ี ามาใหอ้ ่านจะ มคี วามไพเราะ มคี ตขิ อ้ คดิ ขอ้ เตอื นใจ ทค่ี วรคา่ แกก่ ารจดจา และสามารถนาไปปรบั ใชก้ บั ตนเองได้ ๒. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี ๑. ท ๑.๑ (ม.๑/๑) อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั เร่อื งทอ่ี ่าน ๒. ท ๑.๑ (ม.๑/๗) ปฏบิ ตั ติ ามคมู่ อื แนะนาวธิ กี ารใชง้ านของเคร่อื งมอื หรอื เคร่อื งใชใ้ นระดบั ทย่ี ากขน้ึ ๓. ท ๕.๑ (ม.๑/๓) อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ น ๔. ท ๕.๑ (ม.๑/๔) สรุปความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ๕. ทท่ ๕.๑ (ม.๑/๕)องจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ณุ ค่าตามความสนใจ ๓. สาระการเรียนรู้ การอา่ นกลอนนิราศ

๔.ทกั ษะ/กระบวนการ ๑ กระบวนการฟัง ๒ กระบวนการดู ๓ กระบวนการพดู ๔ กระบวนการอ่าน ๕ กระบวนการเขยี น ๖ กระบวนการคดิ วเิ คราะหก์ ระบวนการกลุ่ม ๕. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในคดิ การวเิ คราะห์ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑.มมี ารยาทการฟัง การดู และการพดู ๒. มมี ารยาทในการอา่ นและมนี สิ ยั รกั การอา่ น ๓.มมี ารยาทในการเขยี นและมนี สิ ยั รกั การเขยี นมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี นภาษาไทย ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. ทาแบบทดสอบ ๒. อา่ นจบั ใจความและสรปุ ความ ๓. เขยี นแผนภาพความคดิ ๔.อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็

๕. เขยี นย่อเร่อื ง ๖. ทาใบงาน ๘. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๒. ครสู นทนากบั นกั เรยี นเก่ยี วกบั หลกั เกณฑก์ ารอ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทานองธรรมดาและ ทานองเสนาะ ๓. ครสู ุม่ เรยี กนกั เรยี น ๒ คน ใหอ้ า่ นบทรอ้ ยกรองจากแผนภูมทิ ค่ี รตู ดิ บนกระดานเป็นทานอง ธรรมดาและทานองเสนาะใหเ้ พอ่ื นในชนั้ เรยี นฟัง ๔. ครแู ละนกั เรยี นช่วยกนั บอกวธิ กี ารอา่ นทถ่ี กู ตอ้ ง ขนั้ ท่ี ๒ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครเู ปิดแถบบนั ทกึ เสยี งการอ่านกลอนนิราศทานองธรรมดาใหน้ กั เรยี นฟัง ใหน้ กั เรยี นสงั เกต จงั หวะ วรรคตอน ลลี า และน้าเสยี งในการอา่ น ๒. นกั เรยี นฝึกอ่านนิราศภเู ขาทอง ในหนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เล่ม ๒ เป็นทานองธรรมดาพรอ้ มกนั ทงั้ ชนั้ ๓. ครใู หอ้ าสาสมคั รทอ่ี ่านทานองเสนาะไดไ้ พเราะออกมาอ่านนริ าศภเู ขาทองใหเ้ พอ่ื นในชนั้ เรยี นฟัง แลว้ ชว่ ยกนั วจิ ารณ์ความถูกตอ้ งของจงั หวะ วรรคตอน ลลี า และน้าเสยี งในการอา่ น ๔. นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ หลกั การอ่านทานองเสนาะ โดยเขยี นเป็นแผนภาพความคดิ ๕. ครเู ปิดแถบบนั ทกึ เสยี งการอ่านทานองเสนาะ นิราศภเู ขาทองใหน้ กั เรยี นฟัง นกั เรยี นอา่ นตาม พรอ้ มกนั ทงั้ ชนั้ ๖. แบ่งนกั เรยี นออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ ฝึกอ่านทานองเสนาะนิราศภูเขาทอง จนคล่องทุกคนใน กลมุ่ แลว้ คดั เลอื กตอนใดตอนหน่งึ ทก่ี ลมุ่ ประทบั ใจ ความยาวเกนิ ๑๐ บท มาอ่านกบั ครทู ลี ะกลุ่ม เพอ่ื ประเมนิ การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง

๗. ครตู ชิ มและแนะนาการอา่ นทานองเสนาะทถ่ี กู ตอ้ งของแต่ละกลมุ่ และคดั เลอื ก สมาชกิ ทอ่ี า่ นไดด้ ี ในแตล่ ะกล่มุ แขง่ ขนั กบั กลุม่ อน่ื เพอ่ื นคดั เลอื กตวั แทนไปแขง่ ขนั การอา่ นทานองเสนาะระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ขนั้ ท่ี ๓ ฝึกฝนผเู้ รยี น ๑. นกั เรยี นทากจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั การการอ่านกลอนนริ าศ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ๒. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ฝึกท่องจาบทอาขยานจากนิราศภเู ขาทอง โดยฝึกท่องตงั้ แต.่ .... ถงึ หน้าวงั ดงั หน่งึ ใจจะขาด.... จนถงึ แตเ่ มาใจน้ปี ระจาทุกค่าคนื ใหส้ มาชกิ ทุกคนฝึกท่องใหเ้ พอ่ื นในกล่มุ ฟัง เพอ่ื นชว่ ยกนั ตชิ มและปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง ๓. นกั เรยี นแต่ละคนท่องจาบทอาขยานกบั ครู เพอ่ื ประเมนิ การท่องจาบทประพนั ธ์ ขนั้ ท่ี ๔ นาไปใช้ ๑. นกั เรยี นอ่านทานองเสนาะและทอ่ งาบทอาขยานใหเ้ พอ่ื นหรอื สมาชกิ ในครอบครวั ฟังได้ ๒. นกั เรยี นนาความรู้ ขอ้ คดิ และคุณคา่ ของบทรอ้ ยกรองทอ่ี ่านทานองเสนาะและท่องจาบทอาขยาน ไปปรบั ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ขนั้ ท่ี ๕ สรุป นกั เรยี นสรุปการอา่ นกลอนนริ าศและการท่องจาบทอาขยาน บนั ทกึ ลงสมุด ๙. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. นกั เรยี นฝึกอา่ นบทรอ้ ยกรองเรอ่ื งอน่ื ๆ เป็นทานองเสนาะ ๒. จดั ประกวดการอ่านทานองเสนาะประจาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๓. นกั เรยี นเลอื กบทรอ้ ยกรอง จากวรรณกรรมหรอื วรรณคดเี ร่อื งอน่ื ๆ ทป่ี ระทบั ใจ ฝึกทอ่ งจาและ ทอ่ งใหเ้ พอ่ื นหรอื ครฟู ัง ๑๐. การบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรใ์ นโรงเรียน

กจิ กรรมปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู นักเรยี น ๑. ความพอประมาณ นกั เรยี น บนั ทกึ ช่อื ตน้ ไมใ้ นเขตท่ี ๒. มเี หตุผล รบั ผดิ ชอบเป็นภาษาไทยและ ภาษาถนิ่ ๓. มภี ูมคิ ุม้ กนั ในตวั เองดี ๔. เงอ่ื นไขความรู้ ๕. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม กจิ กรรมสวนพฤกษาศาสตร์ ครู บนั ทกึ หลงั การสอน ๑. ผลการสอน การประเมินด้านความรู้ : Knowledge ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมินด้านทักษะกระบวนการ: Process ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………… การประเมนิ ด้านคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ปัญหาอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. แนวทางแก้ไขจดั กจิ กรรมเสริมทักษะหรือซ่อมเสริม ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ …..........………….......................…….. ผจู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ ( นายนราวุฒิ ริยะนา) ตาแหน่งครูผชู้ ่วย บนั ทึกการนิเทศ ท่ี รายการผู้นเิ ทศ รายละเอยี ดความเหน็ ของผ้นู ิเทศ ลายมือช่ือ ๑ หวั หนา้ กลมุ่ สาระ การเรียนรู้/ผทู้ ี่ ………………………………………………….................................. ไดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. …………………………………………………..................................

๒ รองผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. กลมุ่ บริหาร วชิ าการ ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ๓ ผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. โรงเรียน ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ : ๑ ศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธ์ รหสั ช่อื รายวชิ า ท ๒๑๒๐๒ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๑ ชวั่ โมง ครผู สู้ อนนายนราวฒุ ิ รยิ ะนา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ .............................................................................................................................................. ๑. สาระสาคญั การสรา้ งสรรคค์ าประพนั ธก์ วตี อ้ งใชศ้ ลิ ปะในการแตง่ ทงั้ การสรรคา การสอ่ื ความหมาย ความเขา้ ใจ ความรสู้ กึ การเรยี บเรยี งคา เพอ่ื ใหเ้ กดิ สมั พนั ธภาพและใชโ้ วหารใหผ้ อู้ ่านเกดิ จนิ ตนาการ ๒. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี

๑. ท ๑.๑ (ม.๑/๒) จบั ใจความสาคญั ของเรอ่ื งทอ่ี า่ น ๒. ๕.๑ (ม.๑/๑) สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ๓. ท ๕.๑ (ม.๑/๒) วเิ คราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ นพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ ๔. ท ๕.๑ (ม.๑/๓)อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ น ๕. ท ๕.๑ (ม.๑/๔) สรุปความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ๓. สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธ์ ๔.ทกั ษะ/กระบวนการ ๑ กระบวนการเขยี น ๕. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในคดิ การวเิ คราะห์ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. . มมี ารยาทในการเขยี นและมนี สิ ยั รกั การเขยี น มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรยี นภาษาไทย ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. ทาแบบทดสอบ ๒. อา่ นจบั ใจความและสรปุ ความ

๓. เขยี นแผนภาพความคดิ ๔. อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ๕. เขยี นยอ่ เรอ่ื งทาใบงา ๘. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ครตู ดิ ตวั อยา่ งบทรอ้ ยกรองบนกระดาน เป็นเงาง้าน้าเจง่ิ ดเู วง้ิ วา้ ง ทงั้ กวา้ งขวางขวญั หายไม่วายเหลยี ว เหน็ คมุ่ คุ่มหนุ่มสาวเสยี งกราวเกรยี ว ลว้ นเรอื เพรยี วพรอ้ มหน้าพวกปลาเอย ๒. ครซู กั ถามนกั เรยี นเกย่ี วกบั การเลอื กใชค้ าในบทรอ้ ยกรองว่ามลี กั ษณะอย่างไรแลว้ สนทนาโยงเขา้ เร่อื ง การสานวนภาษาในบทรอ้ ยกรอง ขนั้ ท่ี ๒ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นเลอื กบทกลอนจากเรอ่ื ง นิราศภูเขาทอง ทต่ี นประทบั ใจคนละ ๑ บท พรอ้ มบอกเหตผุ ลท่ี ประทบั ใจ ๒. ครสู ุม่ เรยี กนกั เรยี น ๒-๓ คน ใหเ้ ขยี นบทกลอนทต่ี นประทบั ใจบนกระดาน แลว้ ครอู ธบิ ายใหเ้ หน็ ถงึ ความสละสลวยของการใชภ้ าษาจากบทกลอนนนั้ เช่น การเล่นคา การใชค้ าแสดงความรสู้ กึ การใชค้ าเลยี นเสยี งธรรมชาติ การใชค้ าเปรยี บเทยี บ ๓. แบง่ นกั เรยี นออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลุม่ ทาใบงานท่ี ๓ เร่อื ง การใช้ภาษาในงานประพนั ธ์ แลว้ ให้ ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกนั แสดงความคดิ เหน็ และ รว่ มกนั สรปุ ขนั้ ท่ี ๓ ฝึกฝนผเู้ รยี น ๑. นกั เรยี นทากจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั ศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธ์ แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ

๒. นกั เรยี นอ่านเรอ่ื ง นิราศภเู ขาทอง แลว้ คดั ลอกบทรอ้ ยกรองทใ่ี หข้ อ้ คดิ ในเร่อื งตา่ ง ๆ พรอ้ มทงั้ บอกว่าเป็นขอ้ คดิ ในเรอ่ื งใด และจะนาไปใชป้ ระโยชน์กบั ตนเองไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ทาเป็นรายงานสง่ ครู ๓. นกั เรยี นศกึ ษาศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธจ์ ากหนงั สอื หรอื สอ่ื อ่นื ๆ เพม่ิ เตมิ ขนั้ ท่ี ๔ นาไปใช้ นกั เรยี นนาความรเู้ กย่ี วกบั ศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธไ์ ปใชใ้ นการพจิ ารณาวรรณกรรมเรอ่ื งอ่นื ๆ ขนั้ ท่ี ๕ สรุป นกั เรยี นสรุปศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธ์ แลว้ บนั ทกึ ลงสมุด ๙. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. นกั เรยี นพจิ ารณาศลิ ปะการใชค้ าในวรรณกรรมเรอ่ื งทส่ี นใจแลว้ นามาสนทนากบั เพอ่ื นในกลุ่ม ๒. นกั เรยี นรวบรวมบทรอ้ ยกรองทม่ี ลี กั ษณะตา่ ง ๆ เช่น การเลน่ คา การใชค้ าเลยี นเสยี งธรรมชาติ การใชค้ าเปรยี บเทยี บจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมเร่อื งอน่ื ๆ ทาเป็นสมดุ ศลิ ปะการใชค้ าในงานประพนั ธ์ ๑๐. การบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรใ์ นโรงเรียน กจิ กรรมปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู นักเรียน ๑. ความพอประมาณ ๒. มเี หตผุ ล ๓. มภี ูมคิ ุม้ กนั ในตวั เองดี ๔. เงอ่ื นไขความรู้ ๕. เงอ่ื นไขคุณธรรม กจิ กรรมสวนพฤกษาศาสตร์ ครู นกั เรยี น บนั ทกึ ช่อื ตน้ ไมใ้ นเขตท่ี รบั ผดิ ชอบเป็นภาษาไทยและ

ภาษาถนิ่ บนั ทกึ หลงั การสอน ๑. ผลการสอน การประเมินด้านความรู้ : Knowledge ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมินด้านทักษะกระบวนการ: Process ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมนิ ด้านคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ปัญหาอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. แนวทางแก้ไขจดั กจิ กรรมเสริมทักษะหรือซ่อมเสริม ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ …..........………….......................…….. ผจู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ ( นายนราวฒุ ิ ริยะนา)

ตาแหน่งครูผชู้ ่วย บันทกึ การนเิ ทศ ท่ี รายการผู้นเิ ทศ รายละเอยี ดความเห็นของผ้นู ิเทศ ลายมือชื่อ ๑ หวั หนา้ กลมุ่ สาระ ………………………………………………….................................. การเรียนรู้/ผทู้ ่ี ………………………………………………….................................. ไดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ๒ รองผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. กลุ่มบริหาร ………………………………………………….................................. วชิ าการ ………………………………………………….................................. ๓ ผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. โรงเรียน ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. …………………………………………………..................................

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ : ๑ การแต่งกลอนนริ าศ รหสั ช่อื รายวชิ า ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๑ ชวั่ โม ครผู สู้ อน นายนราวุฒิ รยิ ะนา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ .............................................................................................................................................. ๑. สาระสาคญั กลอนนิราศเป็นคาประพนั ธ์ทม่ี ลี กั ษณะบงั คบั เหมอื นกลอนสภุ าพต่างกนั ทก่ี ลอนนิราศขน้ึ ตน้ ดว้ ยวรรค รบั การแต่งกลอนนริ าศจะต้องแตง่ ใหถ้ ูกตอ้ งตามลกั ษณะบงั คบั ของฉนั ทลกั ษณ์ จะเป็นการรกั ษามรดกทาง ภาษาของคนไทยใหอ้ ย่สู บื ไป ๒. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี ๑. ท ๑.๑ (ม.๑/๑) อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมกบั เร่อื งทอ่ี ่าน ๒. ท ๑.๑ (ม.๑/๒) จบั ใจความสาคญั ของเรอ่ื งทอ่ี า่ น ๓. ท ๑.๑ (ม.๑/๗)ปฏบิ ตั ติ ามคมู่ อื แนะนาวธิ กี ารใชง้ านของเคร่อื งมอื หรอื เคร่อื งใชใ้ นระดบั ทย่ี ากขน้ึ ๔. ท ๔.๑ (ม.๑/๕)แต่งบทรอ้ ยกรอง ๕. ท ๕.๑ (ม.๑/๔) สรุปความรแุ้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ๓. สาระการเรียนรู้ การแตง่ กลอนนิราศ ๔.ทกั ษะ/กระบวนการ ๑ กระบวนการเขยี น ๕. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในคดิ การวเิ คราะห์

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๖ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. มมี ารยาทการฟัง การดู และการพดู ๒. มีมารยาทในการอ่านและมีนิสยั รกั การอ่าน ๓. มีมารยาทในการเขียนและมนี ิสยั รกั การเขียน ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. ทาแบบทดสอบ ๒. เขยี นแผนภาพความคดิ ๓. อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ๔. เขยี นแตง่ กลอน ๘. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ครแู บ่งนกั เรยี นตามแถวทน่ี งั่ แลว้ ใหน้ กั เรยี นแขง่ ขนั การต่อคาคลอ้ งจองลกั ษณะตอ่ ไปน้ใี หไ้ ดม้ าก ทส่ี ดุ ภายในเวลาทค่ี รกู าหนด ๑) คาคลอ้ งจอง ๒ คา เช่น นกน้อย คลอ้ ยบนิ กนิ ลม ๒) คาคลอ้ งจอง ๓ คา เช่น ดใู หด้ ี มเี พอ่ื นไป ใครมองหา ๓) คาคลอ้ งจอง ๔ คา เช่น ดอกไมแ้ สนสวย กลว้ ยไมพ้ นั ธไุ์ ทย ๔) คาคลอ้ งจอง ๕ คา เช่น รกั ษาความสะอาด ประเทศชาตสิ วยงาม ๕) คาสมั ผสั อกั ษร ๒ คา เชน่ ครน้ื เครง เพอ่ื นพอ้ ง เร่อื งราว

๖) คาสมั ผสั อกั ษร ๓ คา เชน่ สวยสดใส เจบ็ ใจจรงิ ๒. ครแู ละนกั เรยี นช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของแต่ละกลมุ่ กล่มุ ทเ่ี ขยี นไดถ้ ูกตอ้ งมากทส่ี ุดจะ เป็นผชู้ นะ ๓. ครนู าสนทนาโยงเขา้ เร่อื ง การแต่งบทรอ้ ยกรอง ขนั้ ท่ี ๒ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครตู ดิ ตวั อยา่ งกลอนสภุ าพบนกระดาน ใหน้ กั เรยี นอ่านและสงั เกตลกั ษณะฉนั ทลกั ษณ์ของกลอน สุภาพ เช่น จานวนคาในแต่ละวรรค ลกั ษณะการสมั ผสั สมั ผสั อกั ษร สมั ผสั สระ เสยี งวรรณยกุ ต์ ทา้ ยวรรค ๒. นกั เรยี นช่วยกนั เขยี นแผนผงั และโยงเสน้ สมั ผสั บงั คบั ตวั อย่างกลอนสุภาพทต่ี ดิ บนกระดาน ๓. ครอู ธบิ ายลกั ษณะของกลอนนิราศและเปรยี บเทยี บกบั กลอนสุภาพใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจ ๔. นกั เรยี นสงั เกตกลอนนิราศและโยงเสน้ สมั ผสั กลอนนิราศจากนิราศภูเขาทอง สงั เกตการสมั ผสั อกั ษร และสมั ผสั บงั คบั ในแตล่ ะวรรค ๕. นกั เรยี นจบั ค่แู ต่งกลอนสภุ าพเกย่ี วกบั โรงเรยี นของเรา จานวนไมน้อยกวา่ ๒ บท แลว้ ครสู ุม่ ตวั อย่างเลอื กมาอ่านหน้าชนั้ เรยี นใหเ้ พอ่ื นฟัง เพอ่ื นร่วมกนั วจิ ารณ์แสดงความคดิ เหน็ ขนั้ ท่ี ๓ ฝึกฝนผเู้ รยี น ๑. นกั เรยี นทากจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั การแต่งกลอนนิราศ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ๒. นกั เรยี นศกึ ษาลกั ษณะของกลอนสุนทรภ่เู พม่ิ เตมิ จากในหนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เลม่ ๒ แลว้ ร่วมสนทนาแสดงความคดิ เหน็ กบั เพอ่ื นในชนั้ เรยี น ๓. นกั เรยี นแต่งกลอนนิราศการเดนิ ทางจากบา้ นมาโรงเรยี น สง่ ครตู รวจสอบความถูกตอ้ ง ๔. ครคู ดั เลอื กกลอนนิราศทแ่ี ต่งไดด้ ี นามาจดั ป้ายนเิ ทศหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ ท่ี ๔ นาไปใช้

นกั เรยี นแตง่ กลอนนิราศในโอกาสต่าง ๆ ได้ ขนั้ ท่ี ๕ สรปุ ๑. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ลกั ษณะการแตง่ กลอนนิราศ แลว้ บนั ทกึ ลงสมุด ๒. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ ๙. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. นกั เรยี นศกึ ษาเพม่ิ แต่งเกย่ี วกบั การแตง่ คาประพนั ธ์ ๒. นกั เรยี นฝึกแตง่ กลอนนิราศเมอ่ื เดนิ ทางไปท่องเทย่ี วสถานทต่ี ่าง ๆ ๓. จดั เสวนาเกย่ี วกบั กลอนของสนุ ทรภู่ โดยเฉพาะกลอนแปดหรอื กลอนตลาดทไ่ี มเ่ คร่งครดั ในฉันท ลกั ษณ์ บนั ทึกหลงั การสอน ๑. ผลการสอน การประเมินด้านความรู้ : Knowledge ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมินด้านทักษะกระบวนการ: Process ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมินด้านคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ : Attitude ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ปัญหาอปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. แนวทางแก้ไขจดั กจิ กรรมเสริมทักษะหรือซ่อมเสริม ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ …..........………….......................…….. ผจู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ ( นายนราวฒุ ิ ริยะนา) ตาแหน่งครูผชู้ ่วย บันทกึ การนิเทศ ท่ี รายการผู้นิเทศ รายละเอยี ดความเห็นของผ้นู ิเทศ ลายมือช่ือ ๑ หวั หนา้ กล่มุ สาระ ………………………………………………….................................. การเรียนรู้/ผทู้ ่ี ………………………………………………….................................. ไดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ๒ รองผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. กลุม่ บริหาร ………………………………………………….................................. วชิ าการ ………………………………………………….................................. ๓ ผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. …………………………………………………..................................

โรงเรียน ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ ร่ายสุภาษิตพระร่วง เวลา ๔ ช่ัวโมง ผงั มโนทศั น์เป้าหมายการเรยี นรแู้ ละขอบข่ายภาระงาน ความรู้ ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๐ ร่ายสุภาษติ พระร่วง ๑ การอ่านร่ายสุภาษิตพระร่วง ๒ การอา่ นร่ายสุภาพ ๓ การเขียนนิทานเทียบสุภาษติ ภาระงาน/ชิ้นงาน ร่ายสุภาษิตพระร่วง ทักษะและกระบวนการ ๑ ทาแบบทดสอบ ๗. กระบวนการฟังและ ๒ อ่านจบั ใจความและสรุปความ การดู เขียนแผนภาพความคิด ๘. กระบวนการพูด ๓ อ่านทานองเสนาะ ๙. กระบวนการอ่าน ๑๐. กระบวนการเขียน ทอ่ งจาบทอาขยาน ๑๑. กระบวนการคดิ ๔แต่งนิทานเทียบสุภาษติ ๕ ทาหนงั สือนิทานประกอบภาพ วิเคราะห์ ๑๒. กระบวนการกลมุ่

คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ๕. มีมารยาทการฟัง การดู และการพูด ๖. มีมารยาทในการอา่ นและมีนิสัยรักการอา่ น ๗. มีมารยาทในการเขยี นและมีนิสัยรักการเขยี น ๘. เห็นคุณคา่ ความสาคญั และซาบซ้ึงในวรรณคดีไทย ขนั้ ท่ี ๑ ผลลพั ธป์ ลายทางท่ีต้องการให้เกิดข้ึนกบั นักเรียน ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี ๑๐.อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสามกบั เร่อื งทอ่ี ่าน ท๑.๑ (ม.๑/ ๑) ๑๑.ระบุเหตแุ ละผล และขอ้ เทจ็ จรงิ กบั ขอ้ คดิ เหน็ จากเร่อื งทอ่ี า่ น ท๑.๑ (ม.๑/๓) ๑๒. ระบุและอธบิ ายคาเปรยี บเทยี บและคาทม่ี หี ลายความหมาย ท๑.๑ (ม.๑/๔) ๑๓.ตคี วามคายากในเอกสารวชิ าการโดยพจิ ารณาจากบรบิ ท ท๑.๑ (ม.๑/๕) ๑๔.ระบุขอ้ สงั เกตและความสมเหตสุ มผลของงานเขยี นประเภทชกั จงู โน้มน้าวใจ ท๑.๑ (ม.๑/๖) ๑๕.ปฏบิ ตั ติ ามค่มู อื แนะนาวธิ กี ารใชง้ านของเคร่อื งมอื หรอื เครอ่ื งใชใ้ นระดบั ทย่ี ากขน้ึ ท๑.๑ (ม.

๑/๗) ๑๖.สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ท๕.๑ (ม.๑/๑) ๑๗. วเิ คราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่านพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ ท๕.๑ (ม.๑/๒) ๑๘.อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ น ท ๕.๑ (ม.๑/๓) ๑๙.สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอา่ นเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ท ๕.๑ (ม.๑/๔) ๑๑. ท่องจาบทอาขยานทก่ี าหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณคา่ ตามความสนใจ ท ๕.๑ (ม.๑/๕) ความร้ขู องนักเรยี นที่นาไปส่คู วามเข้าใจ ทกั ษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนาไปสู่ ที่ ความ เขา้ ใจท่ีคงทน นักเรียนจะสามารถ คงทน นักเรียนจะรวู้ ่า... ๗. จบั ใจความสาคญั วเิ คราะหค์ วามแสดง ความคดิ เหน็ และบอกขอ้ คดิ จากเร่อื งทอ่ี ่าน ๖. คาสาคญั ไดแ้ ก่ ผดุงอาตม์ บรู พระบอบ ไฟฟุน ของเขญ็ ๘. อ่านร่ายสุภาพเป็นทานองธรรมดาและ พอแรง คาคด อยา่ เบา ทานองเสนาะ ๗. รา่ ยสุภาษติ พระร่วงเป็น ๙. ทอ่ งจาบทอาขยานถกู ตอ้ งครบถว้ น วรรณคดคี าสอนทม่ี เี น้อื ความ ในทางสงั่ สอนแนะนาให้ ๑๐.บอกลกั ษณะของร่ายสุภาพ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นเรอ่ื งตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหค้ นในสงั คมอย่กู นั อย่าง ๑๑.บอกลกั ษณะของนิทานเทยี บสภุ าษติ ปกตสิ ุข ๑๒. แตง่ นิทานเทยี บสภุ าษติ โดยมี ๘. การอ่านร่ายสุภาพจะตอ้ งอ่าน เน้อื ความสอดคลอ้ งกบั สุภาษติ ใหถ้ กู ตอ้ งตามจงั หวะวรรค ตอน ลลี า น้าเสยี งและ ทว่ งทานองใหเ้ หมาะสมกบั เน้อื เร่อื ง

๙. การเขยี นนิทานเทยี บสภุ าษติ จะตอ้ งมเี น้อื ความสอดคลอ้ ง กบั สุภาษติ นนั้ สว่ นวธิ กี ารและ ขนั้ ตอนในการเขยี นมลี กั ษณะ เดยี วกบั การเขยี นนทิ านทวั่ ๆ ไป ขนั้ ที่ ๒ ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหลกั ฐานท่ีแสดงว่านักเรยี นมีผลการ เรียนรู้ ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง ๒. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบตั ิ ๑.๑ อา่ นเรอ่ื งรา่ ยสภุ าษติ พระรว่ งแลว้ จบั ใจความสาคญั วเิ คราะหค์ วามแสดงความคดิ เหน็ และตอบ คาถาม ๑.๒ เขยี นแผนภาพความคดิ ๑.๓ อา่ นร่ายสุภาพเป็นทานองเสนาะ ๑.๔ ท่องจาบทอาขยาน ๑.๕ แตง่ นิทานเทยี บสุภาษติ ๑.๖ ทาหนงั สอื นิทานประกอบภาพ ๒. วิธีการและเคร่ืองมือประเมินผลการเรยี นรู้ ๒.๑ วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๒.๒ เคร่อื งมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๑) การทดสอบ ๑) แบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น ๒) การสนทนาซกั ถาม ๒) แบบประเมนิ การอา่ น ๓) การสงั เกต ๓) แบบประเมนิ การเขยี น

๔) การตรวจผลงาน/กจิ กรรมเป็น ๔) แบบประเมนิ การพดู รายบคุ คลหรอื รายกลมุ่ ๕) แบบประเมนิ การฟังและการดู ๕) การวดั เจตคติ ๖) แบบประเมนิ ดา้ นคุณธรรม ๖) การวดั ทกั ษะและกระบวนการ จรยิ ธรรม และคา่ นิยม ๗) แบบประเมนิ ดา้ นทกั ษะและ กระบวนการ ๓. ส่ิงท่ีมุ่งประเมิน ๓.๑ ความสามารถในการอธบิ าย ชแ้ี จง การแปลความและตคี วาม การประยกุ ต์ ดดั แปลง และ นาไปใช้ การมมี มุ มองทห่ี ลากหลาย การใหค้ วามสาคญั และใสใ่ จความรสู้ กึ ของผอู้ ่นื และการรูจ้ กั ตนเอง ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการทางภาษา ๓.๓ สมรรถนะสาคญั ไดแ้ ก่ การสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะชวี ติ และการใชเ้ ทคโนโลยี ๓.๔ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เช่น รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ย่าง พอเพยี ง มุง่ มนั่ ในการทางาน รกั ความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ ขนั้ ท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรู้

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๕ การอา่ นร่ายสุภาษติ พระร่วง เวลา ๒ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๖ การอา่ นรา่ ยสภุ าพ เวลา ๑ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๗ การเขยี นนิทานเทยี บสุภาษติ เวลา ๑ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ : ๒ การอา่ นร่ายสภุ าษติ พระรว่ ง ช่อื รายวชิ า ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒ ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นายนราวุฒิ รยิ ะนา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ............................................................................................................................................. ๑. สาระสาคญั สภุ าษติ พระรว่ ง เป็นวรรณกรรมภาษติ ทแ่ี ต่งขน้ึ เพอ่ื ใชอ้ บรมสงั่ สอนใหป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นแนวทางท่ี ถูกตอ้ ง โดยใชค้ าพดู สนั้ ๆ คลอ้ งจอง กนิ ใจ และแฝงดว้ ยคตคิ าสอน เชน่ เขา้ เถอื นอยา่ ลมื พรา้ เมอ่ื น้อยให้ เรยี นวชิ า ใหห้ าสนิ เม่อื ใหญ่ อย่าตงี ใู หแ้ กก่ า อย่าตปี ลาหน้าไซ การศกึ ษารา่ ยสภุ าษติ พระรว่ งมงุ่ หมายให้ ผเู้ รยี นไดร้ บั ความรคู้ วามเขา้ ใจ สามารถนาเอาคาสอนทม่ี คี ุณค่าไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ ๒. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี ๑. ท ๑.๑ (ม.๑/๑) อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมกบั เรอ่ื งทอ่ี ่าน ๒. ท ๑.๑ (ม.๑/๓) ระบุเหตแุ ละผล และขอ้ เทจ็ จรงิ กบั ขอ้ คดิ เหน็ จากเรอ่ื งทอ่ี า่ น ๓. ท ๑.๑ (ม.๑/๔) ระบแุ ละอธบิ ายคาเปรยี บเทยี บและคาทม่ี หี ลายความหมาย ๔.ท ๑.๑ (ม.๑/๕) ตคี วามคายากในเอกสารวชิ าการโดยพจิ ารณาจากบรบิ ท ท ๑.๑ (ม.๑/๗)

๑. ท ๕.๑ (ม.๑/๑)สรปุ เน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ๒. ท ๕.๑ (ม.๑/๒)วเิ คราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่านพรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ ๓. ท ๕.๑ (ม.๑/๓)อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ๔. ท ๕.๑ (ม.๑/๔)สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพอ่ื ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ๓. สาระการเรียนรู้ การอ่านร่ายสุภาษติ พระรว่ ง ๔.ทกั ษะ/กระบวนการ ๑ กระบวนการอ่าน ๕. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในคดิ การวเิ คราะห์ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๖ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑ มมี ารยาทการฟัง การดู และการพดู ๒ มมี ารยาทในการอ่านและมนี ิสยั รกั การอ่าน ๓ มมี ารยาทในการเขยี นและมนี ิสยั รกั การเขยี น มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรยี นภาษาไทย ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. ทาแบบทดสอบ ๒. อา่ นร่ายสุภาษติ พระรว่ ง ๓. เขยี นแผนผงั ร่าย

๘. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ๒ ครตู ดิ บตั รขอ้ ความบนกระดาน ใหน้ กั เรยี นอ่านแลว้ บอกว่าขอ้ ความทอ่ี ่านเป็นขอ้ ความประเภทใด เมอ่ื น้อยใหเ้ รยี นวชิ า ใหห้ าสนิ เม่อื ใหญ่ อยา่ รกั เหากวา่ ผม อยา่ รกั ลมกว่าน้า ๓ นกั เรยี นช่วยกนั อธบิ ายความหมายของคาวา่ สุภาษติ และอธบิ ายความหมายของขอ้ ความทต่ี ดิ บน กระดาน ขนั้ ท่ี ๒ กจิ กรรมการเรยี นรู้ นกั เรยี นอา่ นเรอ่ื ง รา่ ยสภุ าษติ พระรว่ ง ในหนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เล่ม ๒ แลว้ ชว่ ยกนั บอกคาทไ่ี ม่เขา้ ใจความหมาย เปิดหาความหมายจากพจนานุกรม หรอื ถามครู ๑. นกั เรยี นจบั คถู่ อดความสุภาษติ พระร่วงคนละ ๒ บท แลว้ ผลดั กนั มาอธบิ ายหน้าชนั้ เรยี น จนจบเรอ่ื ง ๒. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั เน้อื หาของสุภาษติ พระร่วง แลว้ ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ สรปุ คณุ ค่าของ สภุ าษติ พระร่วง กลุม่ ละ ๑ ประเดน็ โดยใหอ้ าสาสมคั รออกมาเขยี นบนกระดาน ๓. ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกนั จดั กลมุ่ สาระคณุ คา่ และแสดงความคดิ เหน็ เสนอแนะขอ้ บกพรอ่ ง ๔. ครแู จกขา่ วจากหนงั สอื พมิ พใ์ หก้ ลมุ่ ละ ๑ ขา่ ว ใหช้ ่วยกนั ระดมความคดิ วา่ คุณค่าจากสภุ าษติ พระ ร่วงมผี ลตอ่ ขา่ วอยา่ งไรบา้ ง เสรจ็ แลว้ สง่ ตวั แทนออกมาแสดงความคดิ เหน็ หน้าชนั้ เรยี น ๕. ครคู อยชแ้ี นะและเพม่ิ เตมิ การอภปิ รายของทุกกลุ่ม แลว้ รว่ มกนั สรุป นกั เรยี นบนั ทกึ ลงสมุด ขนั้ ท่ี ๓ ฝึกฝนผเู้ รยี น ๑ นกั เรยี นทากจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วกบั เน้อื เร่อื ง รา่ ยสภุ าษติ พระร่วง แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ ๒ นกั เรยี นศกึ ษาเร่อื ง ร่ายสภุ าษติ พระรว่ งเกย่ี วกบั ผแู้ ตง่ ทม่ี า จุดประสงคใ์ นการแต่ง ลกั ษณะคาประพนั ธ์ แลว้ เขยี นเป็นแผนภาพความคดิ สง่ ครู ๓.รยี นเขยี นสรปุ ความร่ายสุภาษติ พระรว่ งเป็นรอ้ ยแกว้ แลว้ นามาแลกเปลย่ี นกนั อ่านกบั เพอ่ื น ในชนั้ เรยี น ขนั้ ท่ี ๔ นาไปใช้

นกั เรยี นนาความรู้ ขอ้ คดิ คตคิ าสอน ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ขนั้ ท่ี ๕ สรุป นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปคณุ ค่าและขอ้ คดิ จากเรอ่ื ง นริ าศภเู ขาทอง บนั ทกึ ลงสมุด ๙. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. จดั ทศั นศกึ ษาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ เพอ่ื ชมจารกึ สภุ าษติ พระร่วงตน้ ฉบบั จรงิ และวรรณกรรมอน่ื ๆ ทจ่ี ารกึ ไวท้ ว่ี ดั พระเชตุพลวมิ ลมงั คลาราม ๒. จดั นิทรรศการเกย่ี วกบั สุภาษติ พระรว่ งสานวนตา่ ง บนั ทกึ หลงั การสอน ๑. ผลการสอน การประเมินด้านความรู้ : Knowledge ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการ: Process ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………… การประเมนิ ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ : Attitude ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ปัญหาอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. แนวทางแก้ไขจัดกจิ กรรมเสริมทกั ษะหรือซ่อมเสริม ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ …..........………….......................…….. ผจู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ ( นายนราวุฒิ ริยะนา) ตาแหน่งครูผชู้ ่วย บันทึกการนิเทศ ท่ี รายการผู้นิเทศ รายละเอยี ดความเหน็ ของผู้นิเทศ ลายมือช่ือ ๑ หวั หนา้ กลุ่มสาระ การเรียนรู้/ผทู้ ี่ ………………………………………………….................................. ไดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. …………………………………………………..................................

๒ รองผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. กลุ่มบริหาร วิชาการ ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ๓ ผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. โรงเรียน ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๖ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ : ๒ การอา่ นร่ายสุภาพ ชอ่ื รายวชิ า ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๑ ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นายนราวุฒิ รยิ ะนา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห๓์ ๑ ............................................................................................................................................................ ๑. สาระสาคญั รา่ ยสุภาพ เป็นคาประพนั ธช์ นดิ หน่งึ ทม่ี คี วามไพเราะมลี กั ษณะบงั คบั ทเ่ี ป็นระเบยี บแบบแผนมากกวา่ ร่ายชนดิ อ่นื ในการอ่านจะตอ้ งอ่านใหถ้ กู ตอ้ งตามจงั หวะวรรคตอน ลลี า น้าเสยี งใหเ้ หมาะสมกบั เน้อื เรอ่ื ง

๒. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี ๑. ท ๑.๑ (ม.๑/๑) อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั เรอ่ื งทอ่ี ่าน ๒. ๕.๑ (ม.๑/๕)ทอ่ งจาบทอาขยานทก่ี าหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณคา่ ตามความสนใจ ๓. สาระการเรียนรู้ การอ่านร่ายสุภาพ ๔.ทกั ษะ/กระบวนการ ๑ กระบวนการอ่าน ๒ กระบวนการเขยี น ๕. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในคดิ การวเิ คราะห์ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑ .มมี ารยาทการฟัง การดู และการพดู ๒. มมี ารยาทในการอ่านและมนี ิสยั รกั การอ่าน ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. ทาแบบทดสอบ ๒. อ่านร่าย ๘. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น

๑. นกั เรยี นอา่ นบทรอ้ ยกรองต่อไปน้บี น LCD ป่างสมเดจ็ พระรว่ งเจา้ เผา้ แผน่ ภพสุโขทยั พลกั เหน็ ในอนาคต จอื ผายพจนประภาษ เป็นอนุสาสนกถา สอนคณานรชน ทวั่ ธราดลพงึ เพยี ร ๒. นกั เรยี นช่วยกนั บอกจานวนคาในแตล่ ะวรรค สมั ผสั และชว่ ยกนั โยงเสน้ สมั ผสั แลว้ รว่ มกนั สรุปว่า เป็นบทรอ้ ยกรองชนดิ ใด ขนั้ ท่ี ๒ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครแู จกใบความรเู้ รอ่ื ง รา่ ยสภุ าพ ใหน้ กั เรยี นอ่าน แลว้ ร่วมสนทนาเกย่ี วกบั แผนผงั ลกั ษณะบงั คบั สมั ผสั ของร่ายสุภาพและอน่ื ๆ แลว้ ชว่ ยกนั สรุปเขยี นเป็นแผนภาพความคดิ ๒. ครใู หอ้ าสาอา่ นร่ายสุภาพบนกระดานใหเ้ พอ่ื นฟัง นกั เรยี นสงั เกตการณ์เวน้ วรรคตอน จงั หวะ ลลี า น้าเสยี ง และท่วงทานองในการอา่ น ๓. ครอู า่ นหรอื เปิดแถบบนั ทกึ เสยี งการอ่านรา่ ยสภุ าพใหน้ กั เรยี นฟัง แลว้ นกั เรยี นชว่ ยกนั เปรยี บเทยี บกบั ทเ่ี พ่อื นอา่ น ๔. นกั เรยี นอา่ นร่ายสุภาพตามแถบบนั ทกึ เสยี งจนคลอ่ ง แลว้ ฝึกอ่านเองโดยไม่มตี น้ แบบ ๕. นกั เรยี นจบั คกู่ บั เพอ่ื นฝึกอ่านร่ายสุภาษติ พระรว่ งจนคล่อง แลว้ ใหแ้ ตล่ ะคนฝึกท่องบทอาขยานตา ใบงานท่ี ๘ เร่อื ง การทอ่ งบทอาขยาน แลว้ ใหเ้ พอ่ื นหรอื ครปู ระเมนิ การท่องจาคาประพนั ธ์ ขนั้ ท่ี ๓ ฝึกฝนผเู้ รยี น ๔. นกั เรยี นทากจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วกบั การการอ่านรา่ ยสภุ าพ แลว้ ชว่ ยกนั เฉลยคาตอบ ๕. นกั เรยี นอา่ นร่ายสุภาษติ พระร่วง แลว้ หาสานวนสภุ าษติ จากเรอ่ื งเปรยี บเทยี บกบั สานวนสุภาษติ ในปัจจบุ นั ทาลงในใบงานท่ี ๙ เรอ่ื ง สานวนสภุ าษติ แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ ๖. แบง่ นกั เรยี นอกเป็นกลุ่มใหแ้ ต่ละกลุ่มจดั หมวดหมคู่ าสอนในร่ายสุภาษติ พระรว่ ง ทาเป็นรายงาน สง่ ครู

ขนั้ ท่ี ๔ นาไปใช้ นกั เรยี นนาการอา่ นร่ายสุภาพไปอ่านวรรณคดหี รอื วรรณกรรมทแ่ี ตง่ ดว้ ยร่ายสุภาพเร่อื งอน่ื ๆ ขนั้ ท่ี ๕ สรปุ นกั เรยี นร่วมสรุปหลกั การอ่านร่ายสุภาพ บนั ทกึ ลงสมุด ๙. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. นกั เรยี นสารวจและรวบรวมคาศพั ท์จากร่ายสภุ าษติ ทม่ี คี วามหมายต่างไปจากปัจจุบนั หรอื ปัจจบุ นั ไมม่ คี าศพั ทน์ ้ใี ชแ้ ลว้ ๒. นกั เรยี นวาดภาพประกอบคาสอนจากร่ายสุภาษติ พระรว่ งใหไ้ ดม้ ากทส่ี ุดทาเป็นสมุดภาพประกอบ คาสอนเร่อื งสภุ าษติ พระร่วง

บันทกึ หลงั การสอน ๑. ผลการสอน การประเมินด้านความรู้ : Knowledge ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการ: Process ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมนิ ด้านคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ปัญหาอปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. แนวทางแก้ไขจดั กจิ กรรมเสริมทกั ษะหรือซ่อมเสริม ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ …..........………….......................…….. ผจู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ ( นายนราวฒุ ิ ริยะนา) ตาแหน่งครูผชู้ ่วย

บันทึกการนเิ ทศ ที่ รายการผู้นิเทศ รายละเอยี ดความเห็นของผ้นู ิเทศ ลายมือช่ือ ๑ หวั หนา้ กลุม่ สาระ ………………………………………………….................................. การเรียนรู้/ผทู้ ี่ ………………………………………………….................................. ไดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ๒ รองผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. กล่มุ บริหาร ………………………………………………….................................. วชิ าการ ………………………………………………….................................. ๓ ผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. โรงเรียน ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. …………………………………………………..................................

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๗ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ : ๒ การเขียนนิทานเทียบสุภาษิต ชื่อรายวิชา ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๑ ชวั่ โมง ครผู ้สู อน นายนราวฒุ ิ ริยะนา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ...................................................................................................................................................... ๑. สาระสาคญั นิทานเทยี บสภุ าษติ เป็นนิทานทแ่ี ต่งขน้ึ โดยใหม้ เี น้อื เรอ่ื งสอดคลอ้ งกบั สุภาษติ นนั้ ๆ การเขยี นนิทาน เทยี บสุภาษติ จะตอ้ งวางโครงเร่อื ง เรยี บเรยี งเน้อื หาและขอ้ คดิ ใหส้ มั พนั ธก์ บั ความหมายของสุภาษติ ซง่ึ เป็นฝึก ทกั ษะการเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ ๒. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี ๑. ท ๑.๑ (ม.๑/๖)ระบุขอ้ สงั เกตและความสมเหตุสมผลของงานเขยี นประเภทชกั จงู โน้มน้าวใจ ๓. สาระการเรยี นรู้ การเขยี นนทิ านเทยี บสภุ าษติ ๔.ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. กระบวนการเขยี น ๕. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒. ความสามารถในคดิ การวเิ คราะห์ ๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. มมี ารยาทการฟัง การดู และการพดู ๒. มีมารยาทในการเขยี นและมนี ิสยั รกั การเขยี น ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑ เขยี นนทิ านเทยี บสุภาษติ ๘. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๓. นกั เรยี นเลน่ เกมทายคาสานวนสุภาษติ จากรปู ภาพทค่ี รูยกใหด้ ทู ลี ะภาพ ๔. นกั เรยี นคนใดทายไดส้ านวนใด ครมู อบภาพนนั้ ใหไ้ ปหาความหมายและออกมาอา่ นสานวน สภุ าษติ และความหมายใหเ้ พอ่ื นฟังหน้าชนั้ เรยี น ขนั้ ท่ี ๒ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครยู กตวั อยา่ งสุภาษติ และเลา่ นิทานเทยี บสุภาษติ เรอ่ื ง น้าผง้ึ หยดเดยี ว ใหน้ กั เรยี นฟัง ๒. นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั เร่อื งทฟ่ี ัง พรอ้ มทงั้ บอกคณุ ค่าและขอ้ คดิ ทไ่ี ดร้ บั จาก เน้อื เร่อื ง ๓. ครอู ธบิ ายลกั ษณะของนทิ านเทยี บสุภาษติ และการเขยี นนิทานใหน้ กั เรยี นฟัง พรอ้ มยกตวั อย่างจน นกั เรยี นเขา้ ใจ ๔. แบง่ นกั เรยี นออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ จบั สลากเลอื กสุภาษติ ทค่ี รกู าหนดใหก้ ลุ่มละ ๑ สภุ าษติ แลว้ ระดมสมองเขยี นนทิ านเทยี บสุภาษติ เร่อื งนนั้ ๆ โดยเขยี นแผนภาพโครงเร่อื งใหค้ รตู รวจสบ ความถูกตอ้ งกอ่ น แลว้ จงึ เขยี นเป็นเน้อื เร่อื ง ๕. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ นาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น ครแู ละเพอ่ื นรว่ มกนั ตชิ มและเสนอแนะ เพอ่ื นาไป ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ๖. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ วาดภาพประกอบนทิ าน ทาเป็นหนงั สอื นิทานเทยี บสุภาษติ ออกแบบและ ตกแต่งใหส้ วยงาม แลว้ นาผลงานมาแสดงทป่ี ้ายนิเทศหน้าชนั้ เรยี น

ขนั้ ท่ี ๓ ฝึกฝนผเู้ รยี น ๕. นกั เรยี นทากจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั การเขยี นนิทานเทยี บสุภาษติ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ๖. นกั เรยี นศกึ ษาเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั นิทานเทยี บสุภาษติ และเขยี นนิทานเทยี บสภุ าษติ จากสานวน ทค่ี รแู จกพรอ้ มภาพประกอบ แลว้ วาดภาพประกอบเรอ่ื งทาเป็นหนงั สอื เล่มเล่ม สง่ ครู ๗. นกั เรยี นเลน่ เกมตอ่ ปรศิ นาคาทายสุภาษติ ตามทค่ี รเู ตรยี มไวใ้ ห้ เช่น a. เขา้ เถอื น อยา่ ลมื พรา้ b. หมากดั อย่ากดั ตอบ c. น้าเชย่ี ว อย่าขวางเรอื d. เสยี สนิ อยา่ เสยี ศกั ดิ ์ กลุ่มใดตอบไดถ้ ูกตอ้ งมากทส่ี ดุ เป็นผชู้ นะ แลว้ ใหน้ กั เรยี นคดั สุภาษติ ทถ่ี กู ตอ้ งดว้ ยตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั สง่ ครู ขนั้ ท่ี ๔ นาไปใช้ ๑. นกั เรยี นนาหลกั การเขยี นนิทานเทยี บสุภาษติ ไปใชเ้ ขยี นนิทานจากสุภาษติ สานวนอน่ื ๆ ๒. นกั เรยี นนาความรแู้ ละขอ้ คดิ จากนิทานเทยี บสุภาษติ ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ขนั้ ท่ี ๕ สรุป นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ลกั ษณะและหลกั การเขยี นนทิ านเทยี บสุภาษติ แลว้ บนั ทกึ ลงสมุด ๙. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. นกั เรยี นศกึ ษานทิ านเทยี บสภุ าษติ พระยาสหี ราชฤทธไิ กร ๒. นกั เรยี นเขยี นนทิ านเทยี บสภุ าษติ จากสานวนท่ชี ่นื ชอบ แลว้ นามาอา่ นใหเ้ พอ่ื นฟัง

บันทกึ หลงั การสอน ๑. ผลการสอน การประเมินด้านความรู้ : Knowledge ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการ: Process ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… การประเมนิ ด้านคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ปัญหาอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. แนวทางแก้ไขจดั กจิ กรรมเสริมทักษะหรือซ่อมเสริม ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ …..........………….......................…….. ผจู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ ( นายนราวฒุ ิ ริยะนา) ตาแหน่งครูผชู้ ่วย บันทกึ การนิเทศ ที่ รายการผู้นเิ ทศ รายละเอยี ดความเห็นของผ้นู ิเทศ ลายมือช่ือ ๑ หวั หนา้ กลุม่ สาระ ………………………………………………….................................. การเรียนรู้/ผทู้ ี่ ………………………………………………….................................. ไดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ๒ รองผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. กลุ่มบริหาร ………………………………………………….................................. วิชาการ ………………………………………………….................................. ๓ ผอู้ านวยการ ………………………………………………….................................. โรงเรียน ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. …………………………………………………..................................

………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ………………………………………………….................................. ใบงานที่ ๑ เรอื่ ง การท่องบทอาขยาน แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๕ เร่อื ง ร่ายสุภาษิตพระรว่ ง คาชี้แจง จบั ค่กู บั เพอื่ นท่องจำบทร้อยกรองต่อไปน้ี แล้วฝึ กท่องกบั ครหู รอื เพือ่ นเพอื่ ประเมินทกั ษะ กำร ท่องจำบทร้อยกรอง ป่ างสมเดจ็ พระร่วงเจ้า เผา้ แผ่นภพสโุ ขทยั มลกั เหน็ ในอนาคต จึงผายพจนประภาษ เป็ นอนุสาสนกถา สอนคณานรชน ทวั่ ธราดลพงึ เพียร เรยี นอารงุ ผดงุ อาตม์ อยา่ เคลอื่ นคลาดคลาถอ้ ย เมอื่ น้อยให้เรียนวิชา ให้หาสินเมือ่ ใหญ่ อยา่ ใฝ่ เอาทรพั ยท์ ่าน อยา่ ริร่านแก่ความ ประพฤติตามบูรพพระบอบ เอาแต่ชอบเสียผิด อย่าประกอบกิจเป็ นพาล อยา่ อวดหาญแก่เพือ่ น เข้าเถ่ือนอยา่ ลืมพร้า

หน้าศึกอย่านอนใจ ไปเรือนท่านอย่านัง่ นาน การเรือนตนเร่งคิด อยา่ นัง่ ชิดผ้ใู หญ่ อย่าใฝ่ สงู ให้พ้นศกั ด์ิ ที่รกั อย่าดถู กู ปลูกไมตรีอยา่ ร้รู ้าง สรา้ งกศุ ลอยา่ ร้โู รย อย่าโดยคาคนพลอด เขน็ เรอื ทอดทางถนน เป็ นคนอย่าทาใหญ่ ขา้ คนไพรอ่ ยา่ ไฟฟนุ คบขนุ นางอย่าโหด โทษตนผิดราพึง อย่าคะนึงถึงโทษท่าน หวา่ นพืชจกั เอาผล เลีย้ งคนจกั กินแรง อยา่ ขดั แขง็ ผ้ใู หญ่ อย่าใฝ่ ตนให้เกิน น้าเชี่ยวอย่าขวางเรือ เดินทางอย่าเดินเปล่ียว จงเร่งระมดั ฟื นไฟ ท่ีสุ้มเสือจงประหยดั อย่าประมาทท่านผดู้ ี ผ้เู ฒ่าสงั่ จงจาความ ตนเป็ นไทยอย่าคบทาส ทารวั่ เรือกไวก้ นั ตน มสี ินอย่าอวดมงั่ ท่ีมภี ยั พึงหลีก ท่ีขวากหนามอย่าเสียเกือก ได้ส่วนอย่ามกั มาก คนรกั อย่าวางใจ รกั ตนกว่ารกั ทรพั ย์ ปลีกตนไปโดยด่วน เหน็ งามตาอย่าปอง อยา่ มีปากว่าคน ที่ทบั จงมีไฟ อย่าได้รบั ของเขญ็ ของฝากท่านอยา่ รบั ที่ไปจงมเี พื่อน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook