Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อ Google Site

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อ Google Site

Published by Guset User, 2023-02-21 06:13:40

Description: การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อ Google Site

Search

Read the Text Version

การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นโดยใชส้ ่ือ Google Sites เรือ่ งพนั ธุศาสตร์ประชากร ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นพชิ ัย กญั ญารตั น์ สทุ ธิประภา 61031530119 วิจัยในช้ันเรียนฉบบั นเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาในรายวชิ า การปฏบิ ัติการสอนใน สถานศึกษา 1 รหสั วชิ า 1043411 คณะครศุ าสตร์ สาขาชวี วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ ปีการศกึ ษา 2565

การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นโดยใชส้ ่ือ Google Sites เรือ่ งพนั ธุศาสตร์ประชากร ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นพชิ ัย กญั ญารตั น์ สทุ ธิประภา 61031530119 วิจัยในช้ันเรียนฉบบั นเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาในรายวชิ า การปฏบิ ัติการสอนใน สถานศึกษา 1 รหสั วชิ า 1043411 คณะครศุ าสตร์ สาขาชวี วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ ปีการศกึ ษา 2565

กติ ติกรรมประกาศ การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้สื่อ Google Sites เรื่อง พนั ธศุ าสตร์ประชากร ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนพิชัย สาเร็จสมบูรณ์ได้โดยความกรุณาเป็น อยา่ งย่ิง ขอขอบพระคุณอาจารยน์ ิเทศ ดร.สุทธิดา วิทนาลัย ทใ่ี หค้ วามอนุเคราะห์ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ี เปน็ ประโยชน์ในการจดั ทาการวจิ ัยในชัน้ เรยี นคร้ังน้ี และผเู้ ช่ยี วชาญในการประเมินเครื่องมือประกอบการวิจัย คุณครูสุจินดา มีรอด คุณครูบุบผาชาติ บุตรตะราช และคุณครู ว่าท่ี รต. ฉัตรกมล เช้ือสะอาด ท่ีให้ความ ชว่ ยเหลอื ในการประเมินคุณภาพเคร่อื งมอื วิจยั ในครั้งนี้ ขอขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิชัย ที่ให้ความร่วมมือในการศึกษาค้นคว้าและ ทดลองครงั้ น้ี สดุ ท้ายนค้ี ณะผู้จัดทาขอขอบพระคณุ ทกุ ทา่ นทีไ่ ม่ไดเ้ อ่ยนาม และมสี ่วนช่วยในการวจิ ยั ฉบบั น้ี กญั ญารตั น์ สุทธปิ ระภา ผูจ้ ดั ทา

ชื่อเรอื่ ง การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นโดยใชส้ ือ่ Google Sites เรือ่ ง พนั ธุศาสตรป์ ระชากร ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพชิ ัย ผู้วจิ ยั กัญญารตั น์ สทุ ธิประภา ที่ปรกึ ษาวจิ ยั คณุ ครูสุจินดา มรี อด ประเภทวิจัย วิจัยระดับชนั้ เรียน คบ. สาขาวชิ าชวี วทิ ยา, มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ,์ 2565 บทคดั ย่อ การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาสื่อการสอนออนไลน์ Google Sites เรื่องพันธุศาสตร์ ประชากร ใหม้ ีประสิทธิภาพ 80/80 2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยผล หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ 0.05 3) เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนในการ ใช้ส่อื การเรียนรู้ให้อยู่ในระดบั มาก ประชากรเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนพิชัย จานวน 3 ห้องเรียน จานวน 125 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 จานวน 42 คน ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง โดยเลือกจากห้องเรียนแผนการเรียนเน้นคณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) สื่อ Google Sites เรื่องพันธุศาสตร์ประชากร 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 4) แบบประเมนิ ความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการ หาค่าเฉลี่ย (x̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติทดสอบความแตกต่าง t-test ผลการศึกษาพบว่า 1) ส่ือ Google Sites เรื่องพันธุศาสตร์ประชากร มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 92.00/88.45 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของนกั เรยี นพบวา่ หลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสาคัญทร่ี ะดับ .05 และความพงึ พอใจของ นักเรยี นในการใช้ส่ือโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย (x̅) เท่ากับ 4.48 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.82 คาสาคญั : สอื่ Google Sites, ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น, นกั เรยี น

สารบัญ หนา้ 1 บทท่ี 1 1 บทนา 2 ทีม่ าและความสาคัญของปญั หา 2 วัตถุประสงค์ของโครงการวจิ ัย 3 ขอบเขตของโครงการ 3 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 4 ทฤษฎี สมมติฐาน และกรอบแนวคิด 5 ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ 6 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 11 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 22 การจัดการเรียนร้โู ดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเวบ็ 34 โปรแกรม Google Sites 36 การทดสอบประสทิ ธภิ าพสอ่ื หรือชุดการสอน 38 งานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง 38 3 วิธดี าเนินการวิจัย 38 ประชากรกลุ่มตวั อย่าง 38 เคร่อื งมือในการวิจัยและการพัฒนา 40 วิธกี ารสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 40 ข้ันตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะหข์ อ้ มูล

สารบัญ (ต่อ) หนา้ 42 บทท่ี 42 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 42 สัญลักษณ์ท่ีใชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู 43 ลาดับขั้นตอนในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 45 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 45 5 สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 45 สรุปผลการวิจยั 46 อภปิ รายผลการวจิ ัย 47 ข้อเสนอแนะ 49 บรรณานกุ รม ภาคผนวก

สารบัญภาพ หนา้ 3 ภาพ 23 1.1 กรอบแนวคดิ ในการทาวจิ ัย 23 2.1 ลงช่อื เขา้ ใช้งาน 24 2.2 ไอคอล Sites 24 2.3 เลอื กสร้างไซตแ์ บบใหม่ 25 2.4 สรา้ งเว็บไซตใ์ หม่ 25 2.5 โครงสร้างเว็บไซต์ 26 2.6 ออกแบบหนา้ จอ 26 2.7 หน้าแรกของเพจ 27 2.8 แถบรายการสาหรบั เพม่ิ ฟงั กช์ นั 28 2.9 การสร้างเมนู 28 2.10 รปู แบบธีม Google Sites 29 2.11 การออกแบบ 29 2.12 การใสร่ ูปภาพ 30 2.13 การสรา้ งลิ้งค์ 30 2.14 เชอื่ มข้อมลู จากไดรฟ์ 31 2.15 สร้างวีดโี อ 31 2.16 สร้างแผนที่ 2.17 สรา้ งปฏทิ ิน

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้ 32 ภาพ 32 2.18 เผยแพรเ่ ว็บไซต์ 33 2.19 กาหนดสทิ ธ์ิเผยแพร่ 33 2.20 ช่ือไซต์ 2.21 ดูเวบ็ ไซตท์ ่ีเผยแพร่

สารบญั ตาราง หนา้ 43 ตาราง 43 4.1 การหาประสิทธภิ าพการใช้สอ่ื Google Sites 44 4.2 การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ระหว่างกอ่ นและหลังการใช้ส่อื 4.3 ผลวิเคราะห์ความพงึ พอใจของนักเรยี นในการใชส้ ื่อ

บทท่ี 1 บทนา 1. ท่ีมาและความสาคัญของปัญหา พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 หมวด 4 มาตรา 22 กาหนดว่า “การจัดการศึกษาต้อง ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ” (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ, 2555) ซึ่งการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ (Web Based Instruction : WBI ) เป็นวิธีการหน่ึงที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีการ ผสมผสานกันระหวา่ งเทคโนโลยีปจั จบุ ันกับกระบวนการจดั การเรียนรู้เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพทางการเรียนรู้และ แก้ปญั หาในเร่อื งข้อจากดั ทางดา้ นสถานท่ีและเวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ ในการจัดสภาพแวดลอ้ มทีส่ ง่ เสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซ่ึงการเรียนการสอนที่จัดข้ึนผ่านเว็บน้ีอาจ เปน็ บางส่วนหรอื ทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้ (ถนอมพร, 2544) สามารถแบ่งประเภทของการ เรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะ (Parson, 1997) คือ 1) เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) 2) เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) 3) เว็บ ชว่ ยสอนแบบศนู ยก์ ารศึกษา (Web Pedagogical Resources) โปรแกรม Google Sites เป็นโปรแกรมท่ีผู้สอนสามารถออกแบบส่ือการเรียนรู้ โดยสร้างเว็บไซต์ใน ลักษณะตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเองผ่านโปรแกรม Google Sites โดยสามารถเช่อื มโยงเนือ้ หาแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น รปู แบบไฟล์ เสียง วีดิโอ ท่ีนักเรยี นสามารถเขา้ ถงึ แหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ ได้งา่ ยและหลากหลาย ใชบ้ ริการได้ฟรีโดย ไม่มีค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะอยู่ท่ีไหนเวลาใดก็สามารถเรียนรู้ได้ ข้ึนอยู่กับความพร้อมของสัญญาณเครือข่าย อนิ เตอร์เน็ต โดยไม่จากัดการปฏิสัมพันธ์ไว้แต่เพียงในห้องเรียน ผู้สอนสามารถให้ผลย้อนกลับได้ทันที โดยไม่ ต้องรอให้ถึงเวลาเรียน (เกษม และคณะ, 2557) ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีทักษะด้าน สารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี รวมถึงเกดิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคด์ า้ นการใฝ่เรียนรู้ จากประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาชีววิทยาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนพิชัย ในรายวิชาชีววิทยา 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ซ่ึงมักจะให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจาก แหล่งเรยี นรู้ออนไลน์ท้ังจากเว็บไซต์และแหล่งโซเชียลมีเดียต่าง ๆ อาทิ ค้นคว้าข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้างส่วน ตา่ ง ๆ ของเซลล์ ภาพประกอบ สื่อเสมือนจริงในรูปแบบโมเดลกล้องจุลทรรศน์ 3 มิติ วีดีโอการทดลองศึกษา ตา่ ง ๆ ในยทู ปู และการทาใบงานออนไลน์จาก Google form หรือ Live work sheet และคาบเรียนท่ีมักจะ ตรงกับวันหยุดนักขัตฤกษ์ และตรงกับกิจกรรมต่างๆ ของทางโรงเรียน ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโควิด-19 ในปัจจุบัน ซ่ึงมีผู้เรียนจานวนมากจะต้องลาป่วยและกักตัวเพ่ือรักษาอาการให้ หายเป็นปกตโิ ดยใช้ระยะเวลาหลายวัน ทาให้การเรียนการสอนขาดความต่อเนอื่ ง จากปัญหาดังกล่าว ทาให้ผู้วิจัยในฐานะท่ีเป็นผู้สอน มีความสนใจในการใช้โปรแกรม Google Sites มาสร้างเวบ็ ไซต์เพ่อื สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ในเร่ือง พันธุศาสตร์ประชากร ซ่ึงจัดอยู่ในรายวิชาชีววิทยา 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 เพื่อการแก้ปัญหาการเรียนไม่ต่อเน่ือง โดยผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษาและ ทบทวนเนื้อหาที่เรียนได้ด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนเกิดทักษะแก้ปัญหา และทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ

2 เรียนท่ีดีขึ้น เพราะผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง เรียนรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลาและตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบคุ คลไดด้ ้วย จงึ ทาให้ผู้เรยี นมีความเข้าใจบทเรยี นมากขนึ้ ผู้เรียนตนื่ ตาตน่ื ใจดว้ ยการนาเสนอเนื้อหาท่ี หลากหลาย เช่น วดี ีโอสาธิต ภาพเคลอ่ื นไหว เป็นต้น ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียนทาให้ กระบวนการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและสง่ เสริมการพฒั นาความรูค้ วามเขา้ ใจของนกั เรียน ต่อไป 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการวิจยั 2.1 เพือ่ พฒั นาส่ือการสอนออนไลน์ Google Sites เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2.2 เพ่อื เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นโดยผลหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 2.3 เพอื่ ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นในการใชส้ อ่ื การเรียนรู้ให้อยู่ในระดับมาก 3. ขอบเขตของโครงการวจิ ัย 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 3.1.1 ประชากร คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนพิชัย อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ จานวน 3 ห้อง ได้แก่ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 อยู่ในแผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ท่ีเน้นภาษาอังกฤษ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/2 อยู่ในแผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ท่ีเน้นเทคโนโลยีและนวัตกรรม และ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 อยู่ในแผนการเรียนท่ีเน้น วทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์โดยเฉพาะ มจี านวนทงั้ สน้ิ จานวน 125 คน 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง การศึกษาคร้ังนี้ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ( Purposive Sampling) โดยเลือกนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 ที่อยู่ในแผนการเรียนที่เน้นเฉพาะวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์โดยเฉพาะ จานวน 42 คน เปน็ กลมุ่ ตวั อย่างในการศกึ ษา 3.2. ตวั แปรทศี่ ึกษา 3.2.1 ตัวแปรอสิ ระ การใชส้ ่ือ Google Sites เร่อื ง พันธศุ าสตรป์ ระชากร 3.2.2 ตัวแปรตาม ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนก่อนและหลังเรยี นเร่ือง พันธศุ าสตร์ประชากร 3.3. เนือ้ หา เน้ือหาการเรียนการสอนที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี เป็นเน้ือหากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 วิวฒั นาการ เรอื่ งพนั ธุศาสตร์ประชากร เน้ือหาประกอบดว้ ย การหา ความถ่ีของแอลลีลในประชากร กฎของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิร์ก และปัจจัยที่ทาให้เกดิ การเปล่ียนแปลงความถี่

3 3.4. ระยะเวลา ระยะเวลาในการทดลองดาเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้ระยะเวลาใน การทดสอบทั้งสน้ิ 6 ชวั่ โมง 4. นิยามศพั ท์เฉพาะ สื่อ Google Sites หมายถึง สื่อการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ท่ีผู้วิจัยสร้างและออกแบบเว็บไซต์โดยใช้ โปรแกรม Google sites ซึ่งศึกษาวิธีการจาก คู่มือการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites (ธีรพันธ์, 2562)เพื่อ นามาใช้ในการเรยี นเรอื่ ง พันธุศาสตร์ประชากร ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลที่ได้รับจากการเรียน เร่ือง พันธุศาสตร์ประชากรหลังจากได้ เรยี นโดยใช้สือ่ Google Sites ซึ่งวัดผลได้จากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ เร่ือง พันธศุ าสตรป์ ระชากร นกั เรยี น หมายถึง นักเรียนแผนการเรียนที่เน้นเฉพาะ วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2565 โรงเรยี นพิชัย อาเภอพชิ ยั จังหวดั อตุ รดิตถ์ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา พษิ ณโุ ลก อุตรดติ ถ์ 5. ทฤษฎี สมมติฐาน และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย การศึกษาการจัดเรียนการสอนโดยใช้ส่ือ Google Sites จากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่า สื่อการเรียน Google Sites มีผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสภาวะที่การเรียนรู้ ในห้องเรียนขาดความต่อเนื่อง ผู้วิจัยจึงนาสื่อดังกล่าวมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เรื่อง พนั ธศุ าสตร์ประชากร สาระการเรียนรู้ เมื่อประชากรอยู่ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก โดยประชากรมีขนาดใหญ่ ไม่มีการถ่ายเทยีน ระหว่างประชากร ไม่เกิดมิวเทชัน สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่ากัน และไม่เกิดการคัดเลือกโดย ธรรมชาติจะทาให้ความถี่ของแอลลีลของลักษณะนั้นไม่เปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะผ่านไปที่รุ่นก็ตาม เป็นผลให้ ลักษณะนั้นไม่เกิดวิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนหรือแอลลีลในประชากร เกิดจากปัจจัยหลาย ประการ และนาไปสู่การเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต สมมติฐาน 5.1 ส่ือการสอนออนไลน์ Google Site เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร มีประสิทธิภาพ 80/80 5.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมีผลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5.3 ระดับความพึงพอใจของนกั เรียนในการใช้ส่อื การเรียนรู้อยู่ในระดับมาก กรอบแนวคิด การใช้สื่อ Google site เร่อื ง พนั ธุศาสตร์ -ประสทิ ธิภาพการใช้ส่ือ ประชากร ในการเรียนของนักเรียนช้ัน -ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น มัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 ภาคเรียนที่ 2 -ระดับความพึงพอใจ ปีการศกึ ษา 2565 ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคิดในการทาวิจัย

4 6. ประโยชน์ที่ได้รับ 6.1 พัฒนาสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริมนักเรียนให้เกิดสมรรถนะของผู้เรียนใน ศตวรรษท่ี 21 ในการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าหาความรู้ 6.2 ลดการสอนเนื้อหาในรูปแบบการบรรยายท่ีทาให้นักเรียนเบื่อหน่าย กระตุ้นให้เกิดความสนใจ ด้วยรูปแบบของสื่อที่มีความหลากหลาย ท้ังสีสัน รูปภาพ และวีดีโอ 6.3 นักเรียนสามารถเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ได้ง่ายและหลากหลายจากการเชื่อมโยงเข้าสู่หน้า เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสะดวกรวดเร็ว 6.4 นักเรียนสามารถย้อนกลับไปทบทวนความรู้ได้ตลอดเวลา 6.5 เพ่ิมช่องทางในการเรียนรู้ที่นอกเหนือจากห้องเรียน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องของเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อ Google Sites เรื่องพันธุศาสตร์ประชากร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิชัย ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องและได้นาเสนอตามหัวข้อดังน้ี 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 1.1 จุดประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน 1.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.3 สาระชีววิทยา 2. การจดั การเรียนรโู้ ดยใชบ้ ทเรยี นคอมพิวเตอรผ์ า่ นเวบ็ (Web Based Instruction : WBI ) 2.1 ความหมายบทเรียนคอมพิวเตอรผ์ า่ นเว็บ 2.2 ประเภทของบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ผ่านเว็บ 2.3 องค์ประกอบบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผา่ นเว็บ 2.4 การจัดการเรยี นรู้โดยใช้บทเรยี นคอมพวิ เตอรผ์ ่านเว็บ 2.5 ข้อดีและข้อจากัดบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผ่านเวบ็ 2.6 โปรแกรมที่ใช้ในการผลิตบทเรียนคอมพวิ เตอรผ์ ่านเวบ็ 3. โปรแกรม Google Sites 3.1 ความหมายของ Google Sites 3.2 ลักษณะของ Google site 3.3 การเข้าใช้งานโปรแกรม Google site 3.4 การสร้างส่ือ Google site 3.5. จุดเด่นและขอ้ จากัด Google site 4. การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน 4.1 ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ 4.2 การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ 4.3 การคานวณหารประสิทธิภาพ 4.4 การตีความหมายผลการคานวณ 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

6 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกระทรวงศึกษาธิการ, 2560) คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. 1239 / 2560 เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แทนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.1 จุดประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มุ่งพัฒนา ผ้เู รยี นให้เปน็ คนดี มปี ญั ญา มคี วามสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมาย เพ่ือให้เกดิ กับผ้เู รียนเมอื่ จบการศึกษาขั้นพน้ื ฐานดงั น้ี 1) มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย ปฏิบัติตน ตามหลักธรรมศาสนาทีต่ นนับถอื ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2) มคี วามร้คู วามสามารถในการสื่อสาร การคดิ แก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยแี ละมีทักษะชวี ิต 3) มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี มสี ขุ นสิ ัยและรักการออกกาลงั กาย 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข 5) มีจิตสานึกอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อมมีจิต สาธารณะท่มี งุ่ ทาประโยชน์สรา้ งส่ิงท่ดี ีงามในสงั คมอยู่รว่ มกันในสงั คมอย่างมีความสขุ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดังน้ี 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคดิ 3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็น พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ 1) รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2) ซื่อสตั ย์สุจรติ 3) มวี ินยั 4) ใฝเ่ รียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุง่ ม่นั ในการทางาน 7) รักความเป็นไทย 8) มจี ติ สาธารณะ 1.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุก คนทั้งในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยีเครื่องมือเคร่ืองใช้และผลผลิตต่าง ๆ ท่ีมนุษย์ได้ใช้เพ่ืออานวยความสะดวกในชีวิต และการทางานเหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกบั ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็น เหตุเปน็ ผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ ใช้ความรู้ และทักษะ เพือ่ แก้ไขปัญหาหรอื พฒั นางานดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่าง เปน็ ระบบ รวมท้งั สามารถค้นคว้าหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน สารสนเทศ ประยุกต์ใช้ทักษะการคิดเชิง คานวณและความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เพ่ือแก้ไข ปัญหาในชีวติ จริงอยา่ งสรา้ งสรรค์ สามารถตดั สินใจโดยใช้ข้อมูลทีห่ ลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบ ได้ วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ึงเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge - based society) ดังนั้นทุกคนจึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อท่ีจะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและ เทคโนโลยีท่มี นุษย์สรา้ งสรรค์ขน้ึ สามารถนาความรูไ้ ปใชอ้ ย่างมีเหตุผล สรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม เป้าหมายของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากท่ีสุด เพ่ือให้ได้ทั้ง กระบวนการและความรู้ จากวิธีการสังเกตการสารวจตรวจสอบการทดลอง แล้วนาผลท่ีได้มาจัดระบบเป็น หลกั การแนวคดิ และองค์ความรู้ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์จงึ มีเปา้ หมายที่สาคัญ ดังนี้ 1) เพื่อใหเ้ ข้าใจหลกั การทฤษฎีและกฎท่เี ป็นพื้นฐานในวชิ าวิทยาศาสตร์ 2) เพ่ือให้เข้าใจขอบเขตธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจากัดในการศึกษาวิชา วิทยาศาสตร์

8 3) เพอ่ื ให้มีทักษะท่ีสาคัญในการศึกษาคน้ ควา้ และคิดค้นทางเทคโนโลยี 4) เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีมวลมนุษย์ และ สภาพแวดลอ้ มในเชิงทมี่ อี ทิ ธิพลและผลกระทบซ่ึงกนั และกนั 5) เพ่ือนาความรู้ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ สงั คม และการดารงชวี ติ 6) เพอ่ื พัฒนากระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทกั ษะในการสือ่ สารและความสามารถในการตัดสินใจ 7) เพ่ือให้เปน็ ผู้ทีม่ ีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์ 1.2 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์มุ่งหวงั ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเน้นการเชื่อมโยงความรู้กับ กระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วย การลงมือ ปฏบิ ตั ิจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชั้น โดยกาหนดสาระสาคญั ดงั น้ี 1) วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต การ ดารงชีวติ ของมนษุ ย์และสัตว์ การดารงชวี ติ ของพชื พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการ ของ สิ่งมีชีวติ 2) วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การ เคล่อื นที่ พลังงาน และคล่ืน 3) วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับองค์ประกอบของเอกภพ ปฎิสัมพันธ์ภายใน ระบบ สรุ ยิ ะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปล่ียนแปลงลม ฟ้า อากาศ และผลต่อสิ่งมชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม 4) เทคโนโลยี - การออกแบบและเทคโนโลยี เรยี นรูเ้ ก่ียวกบั เทคโนโลยีเพือ่ การดารงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ แก้ไข ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการเรียนออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ิต สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม - วิทยาการคานวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็น ข้ันตอนและเป็นระบบ ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อสาร ในการ แก้ปญั หาทีพ่ บในชวี ิตจริงได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

9 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธร์ ะหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลง แทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม แนวทางในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา สง่ิ แวดล้อมรวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิตหนว่ ยพน้ื ฐานของส่ิงมีชวี ิต การลาเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ทีข่ องระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าทีข่ องอวยั วะต่าง ๆ ของพืชทที่ างานสมั พันธก์ ัน รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ ววิ ฒั นาการของสิ่งมชี วี ิต รวมทงั้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่ือนทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ท่ี เก่ียวข้อง กบั เสียง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ภิ ัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผล ตอ่ สิ่งมีชวี ิตและส่งิ แวดล้อม สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา

10 งานอยา่ งมีความคดิ สรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย คานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวิตสงั คมและสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตอย่างเป็นขั้นตอน และ เป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทางาน และการแก้ไขปัญหา ได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รู้เทา่ เทยี มและมีจริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพม่ิ เติม เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพิ่มเติม วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเตมิ ผู้เรยี นจะได้เรียนรู้สาระสาคญั ดังนี้ 1) ชีววทิ ยา เรยี นรเู้ กยี่ วกับการศกึ ษาชีววทิ ยา สารทเ่ี ปน็ องค์ประกอบของสง่ิ มีชีวิต เซลล์ของ สิง่ มชี ีวิต พนั ธุกรรมและการถา่ ยทอด วิวัฒนาการ ความหลากหลายทางชีวภาพ โครงสร้างและการทางานของ สว่ นต่างๆ ในพชื ดอก ระบบและการทางานในอวัยวะต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ยแ์ ละสิ่งมชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม 2) เคมี เรียนรู้เกี่ยวกับปริมาณสาร องค์ประกอบและสมบัติของสาร การเปลี่ยนแปลงของ สาร ทกั ษะและการแกป้ ญั หาทางเคมี 3) ฟิสิกส์ เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการค้นพบทางฟิสิกส์แรงและการเคลื่อนที่และ พลงั งาน 4) โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับโลกและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง ธรณีวิทยา ข้อมูลทางธรณีวิทยาและการนาไปใช้ประโยชน์การถ่ายโอนพลังงานความร้อนของโลกการ เปลี่ยนแปลง ลักษณะลมฟา้ อากาศกบั การดารงชวี ติ ของมนุษย์ โลกในเอกภพ และดาราศาสตรก์ ับมนษุ ย์ 1.3 สาระชีววิทยา กลุ่มวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมชีววิทยา เรียนรู้เก่ียวกับ การศึกษาชีววิทยา สารที่เป็นองค์ประกอบของ สิ่งมีชีวิต เซลล์ของสิ่งมีชีวิต พันธุกรรมและการถ่ายทอด วิวัฒนาก าร ความหลากหลายทางชีวภาพ โครงสร้างและการทางานของส่วนต่าง ๆ ในพืชดอก ระบบและการทางานในอวัยวะต่าง ๆ ของสัตว์และ มนุษย์และสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยมีประเด็นดังนี้ สาระชีววิทยา 1) เข้าใจธรรมชาติของส่ิงมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สารที่เป็น องค์ประกอบของสง่ิ มชี ีวติ ปฏิกิริยาเคมีในเชลล์ของสิ่งมีชีวิต กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าท่ีของเซลล์ การลาเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบง่ เซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ 2) เขา้ ใจการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม การถา่ ยทอดยนี บนโครโมโชม สมบัติและหน้าที่ ของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของ ส่งิ มีชวี ติ ความหลากหลายของสิง่ มชี วี ติ และอนุกรมวิธาน รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 3) เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปล่ียนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมท้ังนา ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

11 4) เขา้ ใจการยอ่ ยอาหารของสัตวแ์ ละมนุษย์ การหายใจและการแลกเปล่ียนแก๊สการลาเลียง สารและการหมุนเวียนเลอื ด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนองการเคล่ือนที่ การ สืบพันธ์ุและการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 5) เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสาร ในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศประชากรและ รูปแบบการเพิ่มของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการใช้ ประโยชน์ และแนวทางการแก้ไขปญั หา 2. การจดั การเรียนร้โู ดยใช้บทเรยี นคอมพิวเตอร์ผ่านเวบ็ (Web Based Instruction : WBI ) เวิลด์ไวด์เว็บ (www.) เป็นบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน ปัจจุบัน เริ่มเข้ามาเป็นที่รู้จักในวงการศึกษาในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ที่ผ่านมาเว็บได้เข้ามามี บทบาทสาคัญทางการศึกษาและกลายเป็นคลังแห่งความรู้ท่ีไร้พรมแดน ซึ่งผู้สอนได้ใช้เป็นทางเลือกใหม่ใน การส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อเปิดประตูการศึกษาจากห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้อันกว้างใหญ่ รวมทั้ง การนาการศึกษาไปสู่ผู้ที่ขาดโอกาสด้วยข้อจากัดทางด้านเวลาและสถานที่ (ถนอมพร, 2544) 2.1 ความหมายบทเรยี นคอมพวิ เตอรผ์ า่ นเวบ็ การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต มาออกแบบเพื่อใช้ใน การศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ เช่น การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บ ฝึกอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วย สอน(Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บ ช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์, 2545) ทั้งนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียน การสอนผ่านเว็บเอาไว้หลายนิยาม ได้แก่ คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ( Web-Based Instruction) ไว้ว่า เป็นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอนโดยการใช้ ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ต มาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายโดย ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้อย่างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกทาง คลาร์ก (Clark, 1996) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เป็นการเรียนการสอน รายบุคคลที่นาเสนอโดยการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์สาธารณะหรือส่วนบุคคล และแสดงผลในรูปของการ ใช้เว็บบราวเซอร์สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ติดต้ังไว้ได้โดยผ่านเครือข่าย รีแลน และกิลลานิ (Relan and Gillani, 1997) ได้ให้คาจากัดความของเว็บในการสอนเอาไว้ว่า เป็นการกระทาของคณะหนึ่งในการเตรียมการคิดในกลวิธีการสอนโดยกลุ่มคอนสตรัคติวิซึ่มและการเรียนรู้ ในสถานการณ์ร่วมมือกัน โดยใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรในเวิลด์ไวด์เว็บ

12 พาร์สัน (Parson, 1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เป็นการสอนที่นาเอา สิ่งท่ีต้องการส่งให้บางส่วนหรือทั้งหมดโดยอาศัยเว็บ โดยเว็บสามารถกระทาได้ในหลากหลายรูปแบบและ หลายขอบเขตท่ีเช่ือมโยงกัน ทั้งการเชื่อมต่อบทเรียน วัสดุช่วยการเรียนรู้และการศึกษาทางไกล ดริสคอล (Driscoll, 1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เป็นการใช้ทักษะ หรือความรู้ต่างๆ ถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ไวด์เว็บเป็นช่องทางในการเผยแพร่สิ่งเหล่านั้น แฮนนัม (Hannum, 1910) กล่าวถึงการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าเป็นการจัดสภาพการเรียน การ สอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต บนพื้นฐานของหลักและวิธีการออกแบบการเรียนการสอน อย่างมีระบบ คาร์ลสันและคณะ (Carlson et al., 19100) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นภาพที่ชัดเจน ของการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสที่ชัดเจนในการนาการศึกษาไปสู่ที่ด้อยโอกาส เป็นการจัดหา เครื่องมือใหม่ ๆ สาหรับส่งเสริมการเรียนรู้และเพิ่มเครื่องมืออานวยความสะดวกที่ช่วยขจัดปัญหา เรื่อง สถานที่และเวลา แคมเพลสและแคมเพลส (Camplese and Camplese, 1910) ให้ความหมายของการเรียนการ สอนผ่านเว็บว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือบางส่วน โดยใช้เวิลด์ไวด์เว็บ เป็น สื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้แลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูลระหว่างกัน เนื่องจากเวิลด์ไวด์เว็บมีความ สามารถในการถ่ายทอดข้อมูลได้หลายประเภทไม่ว่าจะเป็น ข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง จึง เหมาะแก่การเป็นสื่อกลาง ในการถ่ายทอดเน้ือหาการเรียนการสอน ลานเพียร์ (Laanpere, 1997) ได้ให้นิยามของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เป็นการจัดการเรียน การสอนผ่านสภาพแวดล้อมของเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งอาจเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในหลักสูตร มหาวิทยาลัย ส่วนประกอบการบรรยายในชั้นเรียน การสัมมนาโครงการกลุ่มหรือการสื่อสารระหว่าง ผู้เรียนกับผู้สอนหรืออาจเป็นลักษณะของหลักสูตรท่ีเรียนผ่านเวิลด์ไวด์เว็บโดยตรงทั้งกระบวนการเลยก็ได้ กิดานันท์ (2543) ให้ความหมายว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บในการเรียนการสอน โดยอาจใช้เว็บเพื่อนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตร หรือใช้เพียงการ เสนอข้อมูลบางอย่างเพ่ือประกอบการสอนก็ได้ รวมท้ังใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะต่างๆของการสื่อสารท่ี มีอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การเขียนโต้ตอบกันทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และการพูดคุยสดด้วย ข้อความและเสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ถนอมพร (2544) ให้ความหมายว่า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการ ผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้ คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการ สอน ซึ่งการเรียนการสอนท่ีจัดขึ้นผ่านเว็บน้ีอาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ ได้

13 ใจทิพย์ (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง การผนวก คุณสมบัติ ไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มี ขอบเขตจากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without Boundary) วิชุดา (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียนบนเว็บเพจ โดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งผู้ออกแบบและสร้างโปรแกรมการสอน ผ่านเว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถและบริการที่หลากหลายของอินเทอร์เน็ต และนาคุณสมบัติต่างๆ เหล่านั้นมาใช้เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนให้มากที่สุด จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษา ทั้งในต่างประเทศและภายใน ประเทศไทยดังที่กล่าวมาแล้วนั้นสามารถสรุปได้ว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียน การสอนที่ได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็น สื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการ เรียนการสอนทั้งกระบวนการ หรือนามาใช้เป็นเพียงส่วนหน่ึงของกระบวนการทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหา อุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้านสถานท่ีและเวลาอีกด้วย 2.2 ประเภทของบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ผ่านเวบ็ การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาได้ในหลายลักษณะ โดยแต่ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมี วิธีการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของการเรียนการสอน ผ่านเว็บได้ดังน้ี พาร์สัน(Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะคือ 1) เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มี เคร่ืองมือและแหล่งท่ีเข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุด ถ้าไม่มีการสื่อสารก็ สามารถที่จะไปผ่านระบบคอมพิวเตอร์สื่อสารได้ ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบวิทยา เขตมีนักศึกษาจานวนมากท่ีเข้ามาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชาทางไกล 2) เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มี ลักษณะเป็นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครูกับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ทา บนเว็บ การกาหนดให้อ่าน การส่ือสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือการมีเว็บท่ีสามารถชี้ตาแหน่งของแหล่ง บนพื้นท่ีของเว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้ 3) เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของ เว็บไซต์ท่ีมีวัตถุดิบเครื่องมือ ซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุน กิจกรรมทางการศึกษา ซึ่งผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความ เป็น ภาพกราฟิก การส่ือสารระหว่างบุคคล และการทาภาพเคล่ือนไหวต่างๆ เป็นต้น

14 2.3 องค์ประกอบบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ผา่ นเว็บ ในการจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีรูปแบบ WBI/WBT จาเป็นต้องมีส่วนประกอบในการจัดอยู่ หลายส่วน ได้แก่ 1) เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เคล่ือนที่ ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือในการแสดงสาระ ข้อมูลเนื้อหา ซึ่งก็คือตัวบทเรียน เครื่อง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ อาทิ โทรศัพท์ หรือ ipad หรือ Galaxy Tab ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ ต้องมี ระบบและคุณสมบัติในการแสดงผลด้านมัลติมีเดียท่ีสมบูรณ์ด้วย 2) ระบบเครือข่าย นับเป็นส่วนสาคัญในการให้ผู้เรียนเชื่อมต่อจากเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ ให้สามารถเข้าถึงฐานการเรียนรู้ออนไลน์ได้ ผ่านผู้ให้บริการด้านอินเทอร์เน็ต ( Internet service provider) 3) โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) โปรแกรม browser ที่สามารถแสดงผลได้ทั้งในรูปแบบข้อความ ภาพ ตอบสนองความ เป็นมัลติมีเดียที่หลากหลาย อาทิ เสียง ภาพเคลื่อนไหว กระบวนการโต้ตอบ กระบวนการติดตามผู้เรียน ทั้งข้อมูล และหลักสูตรบทเรียน รวมถึงภาษาคาสั่ง และคุณลักษณะพิเศษต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาจาวา หรือ Flash animation เป็นต้น 4) ตัวบทเรียน (Content) ซึ่งต้องเป็นบทเรียนท่ีถุกออกแบบสาหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยเฉพาะ มีกระบวนการ ในการนาเสนอสาระเน้ือหาอย่างเป็นลาดับ 2.4 การจดั การเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอรผ์ า่ นเว็บ การจัดการเรียนผ่านเว็บมีลักษณะการเรียนการสอนท่ีแตกต่างไปจากการเรียนการสอน ในชั้นเรียน ปกติที่คุ้นเคยกันดี ซึ่งการจัดการเรียนการสอนแบบดั้งเดิมในชั้นเรียนส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่เน้นให้ผู้สอน เป็นผู้ป้อนความรู้ให้แก่ผู้เรียนทาให้ผู้เรียนไม่ใฝ่ท่ีจะหาความรู้เพิ่มเติม การจัดการเรียนการสอนโดยการใช้ เว็บช่วยสอนจะมีวิธีการจัดที่แตกต่างไปจากการจัดการเรียนการสอนตามปกติ เพราะคุณลักษณะและ รูปแบบของเว็บเป็นสื่อที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งแตกต่างไปจากการจัดการเรียนการสอนด้วยสื่อ แบบอ่ืน ๆ จึงต้องคานึงถึงการออกแบบระบบการสอนท่ีสอดคล้องกับคุณลักษณะของเว็บ เช่น การสื่อสาร ระหว่างผู้เรียนกับครู การสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ที่กระทาได้แตกต่างไปจากการเรียนการสอน แบบเดิม เช่น การใช้เว็บช่วยสอนสามารถสื่อสารกันได้โดยผ่านเว็บโดยตรงในรูปคุยกันในห้องสนทนา (Chat Room) การฝากข้อความบนกระดานอิเล็กทรอนิกส์หรือกระดานข่าวสาร (Bulletin Board) หรือ จะสื่อสารกันโดยผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ก็สามารถกระทาได้ในระบบนี้ ความเป็นเว็บช่วย สอนจึงไม่ใช่แค่การสร้างเว็บไซต์เนื้อหาวิชาหนึ่งหรือรวบรวมข้อมูลซักเรื่องหนึ่งแล้วบอกว่าเป็นเว็บช่วย สอน เว็บช่วยสอนมีความหมายกว้างขวางอันเกิดจากการรวมเอาคุณลักษณะของเว็บ โปรแกรมและ

15 เคร่ืองมือสื่อสารในระบบอินเทอร์เน็ตและการออกแบบระบบการเรียนการสอนเข้าด้วยกัน ทาให้เกิดการ เรียนรู้ขึ้นอย่างมีความหมายไม่เป็นเพียงแค่แหล่งข้อมูลเท่าน้ัน (ปรัชญนันท์.2543) เองเจลโล (Angelo, 1993 อ้างใน วิชุดา, 2542) ได้สรุปหลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการ สอนกับการเรียนการสอนผ่านเว็บ 5 ประการดังนี้คือ 1) ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถ ติดต่อ สื่อสารกันได้ตลอดเวลา การติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมีส่วนสาคัญในการสร้างความ กระตือรือล้นกับการเรียนการสอน โดยผู้สอนสามารถให้ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะกาลัง ศึกษา ทั้งยังช่วยเสริมสร้างความคิดและความเข้าใจ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บสามารถสนทนาแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นรวมทั้งซักถามข้อข้องใจกับผู้สอนได้โดยทันทีทันใด เช่น การมอบหมายงานส่งผ่าน อินเทอร์เน็ตจากผู้สอน ผู้เรียนเมื่อได้รับมอบหมายก็จะสามารถทางานที่ได้รับมอบหมายและส่งผ่าน อินเทอร์เน็ต กลับไปยังอาจารย์ผู้สอน หลังจากนั้นอาจารย์ผู้สอนสามารถตรวจและให้คะแนนพร้อมทั้ง ส่งผลย้อนกลับไปยังผู้เรียนได้ในเวลาอัน รวดเร็วหรือในทันทีทันใด 2) การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้เรียน ความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความเข้าใจได้ดีกว่าการทางานคนเดียว ทั้งยังสร้าง ความสัมพันธ์เป็นทีมโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด เป็นการ พัฒนาการแก้ไขปัญหาการเรียน รู้และก ารยอมรับคว ามคิดเห็นของคนอื่นมาปร ะกอบเพื่อหาแน วทางที่ดี ที่สุด ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บแม้ว่าจะเรียนจากคอมพิวเตอร์ที่อยู่กันคนละที่ แต่ด้วยความสามารถของ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ีเช่ือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ัวโลกไว้ด้วยกัน ทาให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสาร กันได้ทันทีทันใด เช่น การใช้บริการสนทนาแบบออนไลน์ที่สนับสนุนให้ผู้เรียนติดต่อสื่อสารกันได้ตั้งแต่ 2 คนข้ึนไปจนถึงผู้เรียนท่ีเป็น กลุ่มใหญ่ 3) ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learners) หลีกเลี่ยง การกากับให้ผู้สอนเป็นผู้ป้อนข้อมูลหรือคาตอบ ผู้เรียนควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูลองค์ความรู้ต่างๆ เอง โดยการแนะนาของผู้สอน เป็นท่ีทราบดีอยู่แล้วว่าอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้นการ จัดการเรียนการสอนผ่านเว็บน้ี จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหา ข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ 4) การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใดช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความสามารถของ ตน อีกทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับแนวทางวิธีการหรือพฤติกรรมให้ถูกต้องได้ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็ บ สามารถได้รับผลย้อนกลับจากทั้งผู้สอนเองหรือแม้กระทั่งจากผู้เรียนคนอื่นๆ ได้ทันทีทันใด แม้ว่าผู้เรียนแต่ ละคนจะไม่ได้น่ังเรียนในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้ากันก็ตาม 5) ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนท่ีไม่มีขีดจากัด สาหรับบุคคลที่ใฝ่หาความรู้ การ เรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับทุก ๆ คนที่สนใจศึกษา เนื่องจากผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้อง เดินทางไปเรียน ณ ท่ีใดท่ีหน่ึง ผู้ที่สนใจสามารถเรียนได้ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้มีคุณลักษณะท่ีช่วยสนับสนุนหลักพื้นฐานการจัดการเรียน การสอนท้ัง 5 ประการได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเรียนการสอนผ่านเว็บได้มีการดาเนินการอย่างจริงจังทั่ว โลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม ประเทศทางซีกโลกตะวันตก สาหรับวงการการศึกษาในประเทศไทยเริ่มมี

16 ความเปลี่ยนแปลงจากเป็นเพียงผู้รับข้อมูลและสังเกตการณ์การเรียนการสอนบนเครือข่ายเ ป็นความ พยายามในการจัดการเรียนการสอนและใช้เครื่องมือบนเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเสริมในชั้นเรียนปกติ และ บางมหาวิทยาลัยที่ดาเนินการเรียนการสอนแบบทางไกลกาลังดาเนินการที่จะสร้างชั้นเรียนเสมือนให้ เกิดข้ึนจริง การดาเนินการเรียนการสอนผ่านเว็บมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (ใจทิพย์, 2542) 1) ความพร้อมของเครื่องมือและทักษะการใช้งานเบื้องต้น ความไม่พร้อมของเครื่องมือ และการขาดทักษะทางเทคนิคท่ีจาเป็นในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมเป็นส าเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดความ สับสนและผลทางลบต่อทัศนคติของผู้ใช้ จากการศึกษาการนาเทคโนโ ลยีเครือข่ายมาใช้พบว่าผู้ใช้ที่ไม่มี ความพร้อมทางทักษะการใช้จะพยายามแก้ปัญหาและศึกษาเร่ืองของเทคนิคมากกว่าจากัดความสนใจอยู่ที่ เน้ือหา นอกจากนั้นจากงานวิจัยของใจทิพย์ (2542) พบว่ายังไม่มีความพร้อมทางด้านทักษะการใช้ภาษา เขียนและภาษาต่างประเทศ ซึ่งเป็นทักษะจาเป็นพื้นฐานที่จาเป็นอีกประการหนึ่งสาหรับการสื่อสารผ่าน เครือข่าย 2) การสนับสนุนจากฝ่ายบริหารและผู้ใช้เช่นเดียวกับการนาเทคโนโลยีอื่นเข้าสู่องค์กรต้อง อาศัยการสนับสนุนอย่างจริงจังจากฝ่ายบริหาร ทั้งในการสนับสนุนด้านเครื่องมือและนโยบายส่งเสริมการ ใช้เครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การกาหนดการใช้เครื่องมือดังกล่าวจึงไม่สามารถ เป็นไปในลักษณะแนวดิ่ง (Top down) โดยการกาหนดจากฝ่ายบริหารเพียงฝ่ายเดียว แต่ต้องเป็นการ ประสานจากทั้งสองฝ่ายคือฝ่ายบริหารและผู้ใช้จะต้องมีการประสานจากแนวล่างข้ึนบน ผู้ใช้จะต้องมีทัศนะ ที่ยอมรับการใช้สื่อดังกล่าวเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ฝ่ายบริหารสามารถสร้างนโยบายที่กระตุ้น แรงจูงใจของผู้ใช้ เช่น สร้างแรงจูงใจจากภายในของผู้ใช้ให้รู้สึกถึงความท้าทายและประโยชน์ที่จะได้รับ หรือสร้างแรงจูงใจจากภายนอก เช่น สร้างเง่ือนไขผลตอบแทนพิเศษทั้งในรูปนามธรรมและรูปธรรม 3) การเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียนจากการเรียนรู้แบบตั้งรับ (Passive) โดยพึ่งพิงการป้อน จากครูผู้สอนมาเป็นพฤติกรรมการเรียนท่ีสอดคล้องกับการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กล่าวคือ เป็น ผู้เรียนที่เรียนรู้วิธีการเรียน (Learning How to learn) เป็นผู้เรียนที่กระตือรือร้นและมีทักษะที่สามารถ เลือกรับข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีระบบนั้น ผู้สอนจะต้องสร้างวุฒิทางการเรียนให้ เกิดกับผู้เรียนก่อน กล่าวคือจะต้องเตรียมการให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการเลือกสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ในการเรียนผ่านเครือข่ายทักษะดังกล่าว ได้แก่ ทักษะการอ่านเขียน ทักษะในเชิง ภาษา ทักษะในการอภิปรายและที่จาเป็นคือ ทักษะในการควบคุมตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง 4) บทบาทของผู้สอนในการเรียนการสอนบนเครือข่าย จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ บทบาทที่เอ้ือต่อการเรียนการสอนที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยในเบื้องต้นจะเป็นบทบาทผู้นาเพื่อสนับสนุน กลุ่มและวัฒนธรรมการเรียนรู้บนเครือข่าย ผู้สอนต้องใช้เวลามากไปกว่าการเรียนการสอนในชั้นเรียน ธรรมดา 5) การสร้างความจาเป็นในการใช้ ผู้สอนที่จะนาการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายมาใช้ควร คานึงถึงความจาเป็นและผลประโยชน์ที่ต้องการจากกิจกรรมบนเครือข่าย ซึ่งจะเป็นตัวกาหนดรูปแบบการ ใช้ว่าผู้สอนเพียงต้องการใช้เครือข่ายเพื่อเสริมการเรียนหรือเป็นการศึกษาทางไกล ผู้สอนต้องสร้างสภาวะ

17 ให้ผู้ใช้มีความจาเป็นท่ีต้องใช้เช่น การส่งผ่านข้อมูลที่จาเป็นทางการเรียนให้กับผู้ใช้ผ่านทางเครือข่ายหรือ สร้างแรงจูงใจท่ีเป็นผลประโยชน์ทางการเรียนให้กับผู้ใช้ 6) ผู้สอนต้องออกแบบการเรียนการสอนและใช้ประโยชน์ของความเป็นเครือข่ายอย่าง สูงสุด และเหมาะสมวิธีออกแบบการเรียนการสอนควรต้องพัฒนาให้เข้ากับคุณสมบัติความเป็น คอมพิวเตอร์เครือข่ายซึ่งมีความแตกต่างจากการออกแบบสาหรับโปรแกรมช่วยสอนในคอมพิวเตอร์ทั่วไป นอกเหนือจากเนื้อหาบทเรียนท่ีผู้สร้างเสนอส่งผ่านเครือข่าย ผู้สอนสามารถสร้างการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูล อื่นที่สนับสนุนเนื้อหาหลักที่ผู้สอนสร้างเป็นการแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศึกษา ทั้งนี้เนื้อหาแ ละการ เชื่อมโยง ควรจะต้องปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลาและควรจะต้องมีการจัดกิจกรรมการปฏิสัมพันธ์ให้ ผู้เรียนได้ประโยชน์จากการศึกษาร่วมกับผู้อื่น การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บนั้น ผู้สอนและผู้เรียน จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้าไว้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการเครือข่าย (File Server) และเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการเว็บ (Web Server) อาจเป็นเป็นการเชื่อมโดยระยะใกล้หรือเชื่อมโยงระยะไกลผ่านทางระบบการสื่อสารและ อินเทอร์เน็ต การจัดการเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ตท่ีเป็นเว็บนั้นผู้สอนจะต้องมีขั้นตอนการจัดการเรียนการ สอนดังน้ี (ปทีป, 2540) 1) กาหนดวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน 2) การวิเคราะห์ผู้เรียน 3) การออกแบบเน้ือหารายวิชา - เนื้อหาตามหลักสูตรและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน - จัดลาดับเนื้อหา จาแนกหัวข้อตามหลักการเรียนรู้และลักษณะเฉพาะในแต่ละ หัวข้อ - กาหนดระยะเวลาและตารางการศึกษาในแต่ละหัวข้อ - กาหนดวิธีการศึกษา - กาหนดส่ือท่ีใช้ประกอบการศึกษาในแต่ละหัวข้อ - กาหนดวิธีการประเมินผล - กาหนดความรู้และทักษะพ้ืนฐานท่ีจาเป็นต่อการเรียน - สร้างประมวลรายวิชา 4) การกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ต โดยใช้คุณสมบัติของ อินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอนน้ัน ๆ 5) การเตรียมความพร้อมสิ่งแวดล้อมการเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ต ได้แก่ สารวจ แหล่งทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงได้ กาหนดสถานที่และอุปกรณ์ท่ี ให้บริการและท่ีต้องใช้ในการติดต่อทางอินเทอร์เน็ตสร้างเว็บเพจเน้ือหาความรู้ตามหัวข้อของการเรียนการ สอนรายสัปดาห์ สร้างแฟ้มข้อมูลเน้ือหาวิชาเสริมการเรียนการสอนสาหรับการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล 6) การปฐมนิเทศผู้เรียน ได้แก่ - แจ้งวัตถุประสงค์ เน้ือหา และวิธีการเรียนการสอน

18 - สารวจความพร้อมของผู้เรียนและเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ในขั้นตอนนี้ ผู้สอนอาจจะต้องมีการทดสอบหรือสร้างเว็บเพจเพิ่มขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนที่มี ความรู้พื้นฐานไม่เพียงพอได้ศึกษาเพิ่มเติมในเว็บเพจเรียนเสริมหรือให้ผู้เรียน ถ่ายโอนข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ไปศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง 7) จัดการเรียนการสอนตามแบบที่กาหนดไว้โดยในเว็บเพจจะมีเทคนิคและกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถสร้างขึ้นได้แก่ - การใช้ข้อความเร้าความสนใจที่อาจเป็นภาพกราฟฟิกส์ ภาพการเคล่ือนไหว - แจ้งวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของรายวิชา หรือหัวข้อในแต่ละสัปดาห์ - สรุปทบทวนความรู้เดิม หรือโยงไปหัวข้อท่ีศึกษาแล้ว - เสนอสาระของหัวข้อต่อไป - เสนอแนะแนวทางการเรียนรู้ เช่น กิจกรรมสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนและ ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนกิจกรรมการอภิปรายกลุ่ม กิจกรรมการค้นคว้าหาข้อมูลเพ่ิมเติม กิจกรรมการตอบ คาถาม กิจกรรมการประเมินตนเอง และกิจกรรมการถ่ายโอนข้อมูล - เสนอกิจกรรมดังกล่าวมาแล้ว แบบฝึกหัด หนังสือหรือบทความ การบ้าน การ ทารายงานเด่ียว รายงานกลุ่มในแต่ละสัปดาห์ และแนวทางในการประเมินผลในรายวิชานี้ - ผู้เรียนทากิจกรรม ศึกษา ทาแบบฝึกหัด และการบ้านส่งผู้สอนทั้งทางเอกสาร ทางเว็บเพจผลงานเพ่ือให้ผู้เรียนคนอ่ืนๆได้รับทราบด้วยและผู้เรียนส่งผ่านทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิ กส์ - ผู้สอนตรวจผลงานของผู้เรียน ส่งคะแนนและข้อมูลย้อนกลับเข้าสู่เว็บเพจ ประวัติของผู้เรียน รวมท้ังการให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ไปสู่เว็บเพจผลงานของผู้เรียนด้วย 8) การประเมินผลผู้สอนสามารถใช้การประเมินผลระหว่างเรียนและการประเมินผลเมื่อ สิ้นสุดการเรียน รวมทั้งการที่ผู้เรียนประเมินผลผู้สอนและการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนทั้ง รายวิชา เพื่อให้ผู้สอนนาไปปรับปรุงแก้ไขระบบการเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ต การประเมินผลการเรียนการสอนผ่านเว็บ การประเมินผลการเรียนที่มีการเรียนการสอนผ่านเว็บนั้น มีลักษณะที่แตกต่างอยู่บ้าง แต่ก็อยู่บน พื้นฐานความต้องการให้มีการเรียนการสอนผ่านเว็บที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน สาหรับการประเมินในแง่ของการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ ซึ่งจัดว่าเป็นการจัดการเรียนการสอน ทางไกล วิธีในการประเมินผลสามารถทาได้ทั้งผู้สอนประเมินผู้เรียนหรือให้ผู้เรียนประเมินผลผู้สอน ซึ่งองค์ประกอบที่ใช้เป็นมาตรฐานจะเป็นคุณภาพของการเรียนการสอน วิธีประเมินผลที่ใช้กันอยู่ในการ ประเมินผลมีหลายวิธีการ แต่ถ้าจะประเมินผลมีการเรียนการสอนผ่านเว็บก็ต้องพิจารณาวิธีการที่เหมาะสม และทันกับเทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะกับเว็บซึ่งเป็นการศึกษาทางไกลวิธีหนึ่ง การ ประเมินผลแบบทั่วไป ที่เป็นการประเมินระหว่างเรียน(Formative Evaluation) กับการประเมินรวมหลัง เรียน (Summative Evaluation) เป็นวิธีการประเมินผลสาหรับการเรียนการสอน โดยการประเมิน ระหว่างเรียนสามารถทาได้ตลอดเวลา ระหว่างมีการเรียนการสอน เพื่อดูผลสะท้อนของผู้เรียนและดูผลที่ คาดหวังไว้ อันจะนาไปปรับปรุงการสอนอย่างต่อเนื่องขณะที่การประเมินหลังเรียนมักจะใช้การตัดสินใน ตอนท้ายของการเรียนโดยการใช้แบบทดสอบเพื่อวัดผลตามจุดประสงค์ของรายวิชา (ปรัชญนันท์. 2546)

19 พอตเตอร์ (Potter, 19100) ได้เสนอวิธีการประเมินการเรียนการสอนผ่านเว็บ ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้ ประเมินสาหรับการเรียนการสอนทางไกลผ่านเว็บของมหาวิทยาลัยจอร์จ เมสัน โดยแบ่งการประเมิน ออกเป็น 4 แบบ คือ 1) การประเมินด้วยเกรดในรายวิชา (Course Grades) เป็นการประเมินที่ผู้สอนให้ คะแนนกับผู้เรียน ซึ่งวิธีการนี้กาหนดองค์ประกอบของวิชาชัดเจน เช่น คะแนน 100 % แบ่งเป็นการสอบ 30% จากการมีส่วนร่วม 10% จากโครงงานกลุ่ม 30% และงานท่ีมอบหมายในแต่ละสัปดาห์อีก 30% 2) การประเมินรายคู่ (Peer Evaluation) เป็นการประเมินกันเองระหว่างคู่ของผู้เรียนที่ เลือกจับคู่กันในการเรียนทางไกลด้วยกันไม่เคยพบกันหรือทางานด้วยกัน โดยให้ทาโครงงานร่วมกันให้ ติดต่อกันผ่านเว็บและสร้างโครงงานเป็นเว็บท่ีเป็นแฟ้มสะสมงาน โดยแสดงเว็บให้นักเรียนคนอื่นๆ ได้เห็น และจะประเมินผลรายคู่จากโครงงาน 3) การประเมินต่อเน่ือง (Continuous Evaluation) เป็นการประเมินที่ผู้เรียนต้องส่งงาน ทุกๆสัปดาห์ให้กับผู้สอนโดยผู้สอนจะให้ข้อเสนอแนะและตอบกลับในทันที ถ้ามีสิ่งท่ีผิดพลาดกับผู้เรียนก็จะ แก้ไขและประเมินตลอดเวลาในช่วงระยะเวลาของวิชา 4) การประเมินท้ายภาคเรียน (Final Course Evaluation) เป็นการประเมินผลปกติของ การสอนที่ผู้เรียนนาส่งสอน โดยการทาแบบสอบถามส่งผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องมืออื่นใดบน เว็บตามแต่จะกาหนด เป็นการประเมินตามแบบการสอนปกติที่จะต้องตรวจสอบความก้าวหน้า และ ผลสัมฤทธ์ิการเรียนของผู้เรียน โซวอร์ด (Soward, 1997) ได้กล่าวถึงการประเมินการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า จะต้องอยู่บนฐาน ที่ผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง โดยให้นึกถึงเสมอว่าเว็บไซต์ควรเน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ได้สะดวกไม่ประสบปัญหา ติดขัดใด ๆ การประเมินเว็บไซต์มีหลักการท่ีต้องประเมินคือ 1) การประเมินวัตถุประสงค์ (Purpose) จะต้องกาหนดวัตถุประสงค์ว่า เพื่ออะไร เพื่อ ใคร และกลุ่มเป้าหมายคือใคร 2) การประเมินลักษณะ (Identification) ควรจะทราบได้ทันทีเมื่อเปิดเว็บไซต์เข้าไปว่า เกี่ยวข้องกับ เรื่องใด ซึ่งในหน้าแรก (Homepage) จะทาหน้าที่เป็นปกในของหนังสือ (Title) ที่บอก ลักษณะและรายละเอียดของเว็บนั้น 3) การประเมินภารกิจ (Authority) ในหน้าแรกของเว็บจะต้องบอกขนาดของเว็บและ รายละเอียดของโครงสร้างของเว็บ เช่น แสดงที่อยู่และเส้นทางภายในเว็บ และชื่อผู้ออกแบบเว็บ 4) การประเมินการจัดรูปแบบและการออกแบบ (Layout and Design) ผู้ออกแบบควร ประยุกต์แนวคิดตามมุมมองของผู้ใช้ ความซับซ้อน เวลา รูปแบบท่ีเป็นที่ต้องการของผู้ใช้ 5) การประเมินการเชื่อมโยง (Links) การเชื่อมโยงถือเป็นหัวใจของเว็บ เป็นสิ่งที่จาเป็น และมีผลต่อการใช้ การเพ่ิมจานวนเชื่อมโยงโดยไม่จาเป็นจะไม่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ควรใช้เครื่องมือสืบค้น แทนการเช่ือมโยงท่ีไม่จาเป็น 6) การประเมินเนื้อหา (Content) เนื้อหาที่เป็นข้อความ ภาพ หรือเสียง จะต้อง เหมาะสมกับเว็บและให้ความสาคัญกับองค์ประกอบทุกส่วนเท่าเทียมกัน

20 2.5 ข้อดีและข้อจากัดบทเรยี นคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บ การใช้ประโยชน์จากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนการสอนผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) นั้นมีข้อดีอยู่หลายประการ ดังที่ ถนอมพร, 2544 ได้กล่าวถึงข้อดีของการจัดการ เรียนบนเว็บ โดยสรุปได้ ดังน้ี 1) การเรียนบนเว็บเปิดโอกาสให้นักเรียนที่อยู่ห่างไกลหรือไม่มีเวลาเข้าชั้นเรียนได้เรียน ในเวลาและสถานที่ๆ สามารถเข้าไปใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้ จึงช่วยแก้ปัญหาข้อจากัดเกี่ยวกับเวลา และสถานที่ศึกษาของนักเรียนเป็นอย่างดี 2) การเรียนบนเว็บส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษา นักเรียนที่ศึกษาอยู่ใน สถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปรายกับอาจารย์ ครู ผู้สอน ซึ่งสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในนครหลวงหรือในต่างประเทศได้ 3) การเรียนบนเว็บช่วยส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เน่ืองจากเว็บเป็น แหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งสามารถเข้ามาค้นคว้า หาความรู้ได้อย่าง ต่อเนื่องและตลอดเวลา 4) การเรียนบนเว็บช่วยทลายกาแพงของห้องเรียนไปสู่โลกกว้างแห่งการเรียนรู้ เปิด โอกาสให้นักเรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ สนับสนุนส่ิงแวดล้อม ทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปัญหาที่พบในความเป็นจริง โดยเน้นให้เกิดการเรียนรู้ตามบริบทใน โลกแห่งความเป็นจริง (Contextualization) และการเรียนรู้จากปัญหา (Problem-based Learning) 5) การเรียนบนเว็บเป็นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพ เนื่องจากเว็บเป็นแหล่งค้นคว้า ข้อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม่ ช่วยแก้ปัญหาข้อจากัดของแหล่งค้นคว้าแบบเดิมจากห้องสมุดที่มีทรัพยากร การศึกษาและเวลาที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลอย่างจากัด เนื่องจากเว็บมีข้อมูลที่หลากหลายและเป็นจานวน มาก รวมทั้งการที่เว็บใช้การเชื่อมโยงในลักษณะของไฮเปอร์มีเดีย (สื่อหลายมิติ) จึงทาให้การค้นหาทาได้ สะดวกและง่ายกว่าการค้นหาข้อมูลแบบเดิม 6) การเรียนบนเว็บสนับสนุนการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น เนื่องจากเว็บเอื้ออานวยให้เกิด การศึกษา กระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นได้ตลอดเวลา โดยไม่จาเป็นต้องเปิดเผยตัวตนที่แท้จริง เช่น การให้นักเรียนร่วมมือกันในการทากิจกรรมต่างๆ บนเครือข่าย การแสดงความคิดเห็นบนเว็บบอร์ดหรือ การพบปะกับนักเรียนคนอื่นๆ อาจารย์หรือผู้เช่ียวชาญในเวลาเดียวกันที่ห้องสนทนา เป็นต้น 7) การเรียนบนเว็บเอ้ือให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ซึ่งอาจทาได้ 2 รูปแบบ คือ ปฏิสัมพันธ์กับ นักเรียนด้วยกันหรือผู้สอน และปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการเรียนบนเว็บซึ่งลักษณะแรกนี้ จะอยู่ในรูปของการเข้าไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ส่วนในลักษณะหลังนั้นจะอยู่ใน รูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบท่ีผู้สอนได้จัดหาไว้ 8) การเรียนบนเว็บเปิดโอกาสให้นักเรียนเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ทั้งในและนอก สถาบัน จากในประเทศและต่างประเทศทั่วโลก โดยสามารถติดต่อสอบถามปัญหา ขอข้อมูลต่างๆ ท่ี ต้องการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญจริงโดยตรง ซึ่งไม่สามารถทาได้ในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ ยังประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย เม่ือเปรียบเทียบกับการติดต่อส่ือสารในลักษณะเดิมๆ

21 9) การเรียนบนเว็บเปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานของตนสู่สายตาผู้อื่น อย่างง่ายดาย ทั้งนี้ไม่ได้จากัดเฉพาะเพื่อนๆ ในชั้นเรียนหากแต่เป็นบุคคลทั่วไป จึงถือเป็นการสร้าง แรงจูงใจภายนอกในการเรียนสาหรับนักเรียน นักเรียนจะพยายามผลิตผลงานที่ดีเพื่อไม่ให้เสียชื่อเสียง ตนเอง นอกจากน้ียังมีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อ่ืน เพื่อนามาพัฒนางานตนเองให้ดีข้ึน 10) การเรียนบนเว็บเปิดโอกาสให้ผู้สอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรให้ทันสมัยได้ อย่างสะดวกสบาย เนื่องจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัตร (Dynamic) นอกจากนี้การให้นักเรียนได้ สื่อสารและแสดงความคิดเห็นที่เก่ียวข้องกับเน้ือหา ทาให้เนื้อหามีความยืดหยุ่นมากกว่าการเรียนการสอน แบบเดิม และเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของนักเรียนเป็นสาคัญ 11) การเรียนบนเว็บสามารถนาเสนอเนื้อหาในรูปของมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ ภาพ 3 มิติ โดยผู้สอนและนักเรียนสามารถเลือกรูปแบบของการนาเสนอ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน ข้อจากัด 1) การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นยังมีน้อย เมื่อเทียบกับการออกแบบ โปรแกรมเพื่อใช้ในวงการอื่น ๆ ทาให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีจานวนและขอบเขตจากัดที่จะ นามาใช้เรียนในวิชาต่างๆ 2) การท่ีจะให้ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเองนั้น นับว่า เป็นงานที่ต้องอาศัยเวลา สติปัญญา และความสามารถเป็นอย่างยิ่ง ทาให้เป็นการเพิ่มภาระของผู้สอนให้มี มากยิ่งขึ้น 3) เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นการวางโปรแกรมบทเรียนไว้ล่วงหน้า จึงมีลาดับ ขั้นตอนในการสอนทุกอย่างตามที่วางไว้ ดังนั้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงไม่สามารถช่วยในการ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนได้ 4) ผู้เรียนบางคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่ อาจจะไม่ชอบโปรแกรมท่ีเรียงตาม ข้ันตอน ทาให้เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ได้ 2.6 โปรแกรมท่ีใช้ในการผลิตบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผา่ นเวบ็ ภาษา HTML (hypertext markup language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียนบนเว็บ เพื่อให้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ต่าง ๆ สามารถแปลงคาสั่ง และแสดงผลเป็นรูปภาพ เสียง หรือข้อมูลได้ ไฟล์ของภาษา HTML จะเป็นไฟล์ Text ที่มีนามสกุลเป็น .html (ASCII Text Files) โดยไฟล์ของภาษา HTML จะประกอบไปด้วย คาสั่ง (Tags) หลายคาสั่งประกอบกันเป็นโครงสร้างไฟล์ สาหรับการเขียนหรือ สร้างไฟล์ HTML จะประกอบไปด้วยโปรแกรม 2 โปรแกรม คือ 1) โปรแกรมสร้างเว็บ เช่น HTML ร่วมกับภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น ASP .NET PHP PERL เป็นต้น 2) โปรแกรมสาเร็จรูป โดยโปรแกรมจะถูกออกแบบมาให้จัดการด้านลงทะเบียน โต้ตอ บ เว็บบอร์ด เพียงแต่ผู้เรียนรู้การใช้งาน และเพิ่มเติมเนื้อหาลงไป เช่น Blackboard PageCloud Domain.com Bookmark Wix Google Sites เป็นต้น

22 3. โปรแกรม Google Sites Google Sites ให้บริการครั้งแรกเม่ือเดือน พฤษภาคม 2551 ซึ่งสามารถสร้างเว็บไซต์ฟรีได้อย่าง ง่ายดาย ไม่จาเป็นต้องรู้ภาษาเขียนเว็บ (HTML) มีแบบเทมเพลตสาเร็จรูปให้เลือกหลากหลายคล้ายกับ แบบสาเร็จเพาเวอร์พอยท์ 3.1 ความหมายของ Google Sites Google Sites คือโปรแกรมของ Google ท่ีให้บริการสร้างเว็บไซต์ฟรี สามารถสร้างเว็บไซต์ได้ง่าย ปรับแต่งรูปลักษณ์ได้อย่างอิสระ และสามารถรวบรวมความหลากหลายของข้อมูลไว้ในที่เดียว โดยผู้ใช้ สามารถปรับแต่งลักษณะของเว็บไซต์ได้ตามความต้องการ สามารถรวบรวมความหลากหลายของข้อมูลไว้ ในที่เดียวได้ เช่น วิดีโอ ปฏิทิน การนาเสนอเอกสารหรือสิ่งที่แนบ และข้อความ ทาให้ช่วยอานวยความ สะดวกได้เป็นอย่างมากในการแก้ไขหน้าเว็บ (ธีรพันธ์, 2542) 3.2 ลักษณะของ Google sites ลักษณะทั่วไปของโปรแกรม (กาญจนา และคณะ, 2563) 1) สร้างเว็บไซต์ได้อย่างง่ายดาย 2) สามารถแสดงผลงานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่จาเป็นต้องรู้ภาษาเขียนเว็บ (HTML) 3) รายการเครื่องมือหรือแถบเมนูเป็นภาษาไทย 4) สามารถเลือกใช้รูปแบบเทมเพลตสาเร็จได้อย่างหลากหลาย 5) เผยแพร่เว็บให้ผู้ใช้อื่นร่วมแก้ไขเว็บได้ 6) เป็นระบบที่ครอบคลุม สามารถใช้ข้อมูลได้หลายรูปแบบ เช่น อีเมล์ (Gmail) ปฏิทิน (Calendar) เอกสาร (Documents) ยูทูบ (YouTube) อัลบ้ัมภาพ (Picasa) แผนท่ี (Map) ฯลฯ 7) พื้นที่จัดเก็บ 10 Gb* (GB=กิกะไบต์) ขนาดไฟล์สูงสุด 10 MB (MB-เมกกะไบต์) จานวนหน้าเว็บเพจไม่จากัดการใช้งาน Google sites เฉพาะพ้ืนที่เว็บไซต์ไม่เกิน 100 MB แต่หากรวมเป็น สมาชิกบริการอื่น ๆ ของ Google เช่น ยูทูบ (YouTube) ไดรฟ (Drive) ปฏิทิน (Calendar) อัลบั้มภาพ (Picasa) แล้วจะมีพ้ืนที่ไม่เกิน 10 GB สิ่งท่ีสามารถดาเนินการได้กับโปรแกรม Google Sites มีดังนี้ 1) กาหนดรูปลักษณ์ของเว็บไซต์ 2) สร้างเพจย่อยเพื่อให้เน้ือหาน่าสนใจ 3) เลือกประเภทเพจ เช่น เว็บเพจประกาศหรือตู้เก็บเอกสาร 4) ใส่เน้ือหาหรือข้อมูลในเว็บ เช่น วิดีโอ เอกสารออนไลน์ สไลด์ ภาพถ่าย และไฟล์ 5) ต้ังค่าการเผยแพร่ให้เว็บไซต์เป็นส่วนตัวหรือสาธารณะ

23 3.3 การเข้าใช้งานโปรแกรม Google site (ธีรพันธ์, 2542) 1) เร่ิมต้นใช้โดยไปที่ หรือเลือก ไดรฟ์ สมัครเข้าใช้งาน โดยเข้าไปท่ี URL พิมพ์ https://sites.google.com/ แล้วลงช่ือเข้าใช้ Gmail โดยกรอก Email และ Password คลิกปุ่ม “ลงช่ือเข้าใช้งาน” ภาพท่ี 2.1 ลงชื่อเข้าใช้งาน หรือเลือกที่ไอคอล Sites เพ่ือไปหน้าที่สร้างเว็บไซต์ ภาพท่ี 2.2 ไอคอล Sites การเลือกสร้างเว็บไซต์มีด้วยกัน 2 แบบ ได้แก่ สร้างไซต์แบบใหม่ และสร้างไซต์แบบคลาสสิค (แบบเก่า)

24 เลือกไซต์แบบใหม่ เข้าไปท่ีปุ่ม Sites ภาพที่ 2.3 เลือกสร้างไซต์แบบใหม่ คลิ๊กตามลูกศรชี้ สร้างเว็บไซต์ใหม่ ภาพท่ี 2.4 สร้างเว็บไซต์ใหม่

25 3.4 การสร้างสื่อ Google site (ธีรพันธ์, 2542) ออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ เร่ิมต้นการออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ คือการทาโครงสร้างเว็บไซต์ที่จะพัฒนา เพ่ือท่ีจะได้ทราบถึงแนวคิด ในการพัฒนาออกมาทั้งหมดว่ามีอะไรบ้าง และดาเนินการพัฒนาตามท่ีได้ออกแบบไว้ ภาพท่ี 2.5 โครงสร้างเว็บไซต์ การออกแบบหน้าจอ คือการออกแบบหน้าจอ ตามแนวคิดที่ได้เขียนไว้ในโครงสร้างเว็บไซต์ เพ่ือแสดงเป็น ผลลัพธ์ตามท่ีได้วางแผนไว้ ภาพที่ 2.6 ออกแบบหน้าจอ

26 การสร้างหน้าแรกเพจของเว็บไซต์ 1. ใส่ชื่อไซต์ ช่ือเว็บให้ส่ือถึงข้อมูลเว็บไซต์ อาจจะมีการสร้างหลายเว็บในพ้ืนที่ 2. ใส่ช่ือข้อมูลหน้าเพจ ภาพท่ี 2.7 หน้าแรกของเพจ ขั้นตอนการเพ่ิมหน้าเพจเว็บไซต์ แถบเมนูและฟังก์ช่ันใช้สาหรับการเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บไซต์ รวมไปถึง Gadget ต่าง ๆ และ เคร่ืองมือในการจัดการหน้าเว็บ สาหรับการเพ่ิมหน้าเพจ เลือกเมนูแทรก เป็นเมนูที่ควบคุมเกี่ยวกับการใช้ มีเดีย เช่น การใส่รูปภาพ ลิงก์ วิดิโอ แผนที่ ปฏิทิน และ gadget ต่างๆ จึงทาให้เมนูนี้ ถูกใช้งานบ่อยที่สุด ภาพท่ี 2.8 แถบรายการสาหรับเพ่ิมฟังก์ชัน

27 สร้างเมนูหน้าเพจ 1. เร่ิมต้นสร้างเมนูหน้าเพจ หน้าเว็บ โดยคลิกท่ีปุ่มด้านบนของหน้าจอเมนูมุมด้านขวาหน้าเว็บ 2. เลือกด้านล่างคาว่า สร้างหน้าเว็บใหม่ และเมนูหน้าเพจ เมื่อเปิดหน้าสร้างเพจใหม่ข้ึนมาแล้ว กรอกชื่อ ต้ังชื่อหน้าเว็บเพจ เมนู เลือกตาแหน่งเมนูท่ีต้องการ ภาพท่ี 2.9 การสร้างเมนู

28 การใช้งานธีม Theme Google Sites ให้เราเลือกใช้ตามท่ีมีให้เท่านั้น ไม่สามารถเพ่ิมหรือสร้างเองได้ ภาพท่ี 2.10 รูปแบบธีม Google Sites ขั้นตอนการสร้างเนื้อหาในเว็บไซต์ การออกแบบเอกสาร จะใส่รูปหรือข้อความเนื้อหา ทาได้ตามรูปแบบที่ Google Sites กาหนดมาให้ เลือก และวางตามจุดท่ีต้องการ ใส่เน้ือหาข้อมูลและรูปภาพ ภาพท่ี 2.11 การออกแบบ

29 การใส่รูปภาพ สามารถเลือกอัพโหลดท่ีรูปภาพท่ีต้องการจะใส่รูป หรือภาพท่ี Google Sites มีให้และปรับ ขนาดของภาพได้ตามท่ีเราต้องการ ภาพท่ี 2.12 การใส่รูปภาพ การสร้างลิงค์ในเว็บไซต์ เลือกข้อความลากมาวางไว้ตามตาแหน่งที่ต้องการ ใส่ข้อมูลเน้ือหาท่ีต้องการลิงค์ แล้วเลือก URL เว็บท่ีต้องการลิงค์ไปหา ภาพที่ 2.13 การสร้างลิงค์

30 การเช่ือมข้อมูลจากไดรฟ์ เลือกแบบฟอร์มการประเมิน หรือแบบฟอร์มท่ีมีในไดรฟ์เอามาแทรกลงในหน้า เพจได้เลย ภาพที่ 2.14 เชื่อมข้อมูลจากไดรฟ์ การสร้างวีดีโอ เลือกวิดีโอจากที่เอาอัพโหลดเองหรือเลือก Youtube เอามาแทรกลงในหน้าเพจได้เลย ภาพท่ี 2.15 สร้างวีดีโอ

31 การสร้างแผนที่ เลือกแผนท่ีจาก Google Map ได้เข้าใช้ร่วมกันได้เลย ภาพที่ 2.16 สร้างแผนท่ี การสร้างปฏิทิน เลือกสร้างใช้ร่วมกับปฏิทินจาก Google Calendar แทรกเข้ามาในหน้าเพจปรับขนาดให้ เหมาะสม ภาพท่ี 2.17 สร้างปฏิทิน

32 ขั้นตอนการเผยแพร่เว็บไซต์ การแชร์ใช้งานร่วมกับผู้อื่น การกาหนดสิทธ์ิผู้ที่มีสิทธ์ิเข้าถึงในการใช้เว็บไซต์ หรือผู้ท่ีทางานร่วมกัน สามารถเพ่ิมอีเมล์ช่ือผู้ท่ีทางานร่วมกัน 1. กาหนดสิทธ์ิในการการเผยแพร่ 2. เพิ่มอีเมล์ผู้ท่ีทางานร่วมกัน ภาพท่ี 2.18 เผยแพร่เว็บไซต์ กาหนดสิทธ์ิในการการเผยแพร่ สามารถให้ทุกคนจะค้นหาและดูได้หรือจากัดเฉพาะกลุ่มบุคคลที่สามารถดู ได้ 1. ทุกคนท่ัวโลกสามารถเข้าดูได้ 2. ทุกคนที่เป็นบุคลากรท่ีใช้อีเมลล์หน่วยงาน สามารถเข้าดูได้ 3. บุคคลที่ระบุในอีเมล์ถึงจะสามารถเข้าดูได้ ภาพที่ 2.19 กาหนดสิทธ์เผยแพร่

33 ข้ันตอนการเผยแพร่เว็บไซต์ คล๊ิกเลือกเมนูปุ่มเผยแพร่ ใส่ช่ือไซต์ท่ีเราต้องการเผยแพร่ แนะนาให้ใส่เป็น ภาษาอังกฤษ เช่น comecom ก็จะได้ต่อท้ายจาก URL Google Sites เป็น https://sites.google.com/chula.ac.th/comecon/ ภาพที่ 2.20 ชื่อไซต์ คล๊ิกท่ีหัวข้อ ดูเว็บไซต์ท่ีเผยแพร่ เพื่อดูเว็บไซต์ที่เราจะเผยแพร่ ภาพที่ 2.21 ดูเว็บไซต์ที่เผยแพร่

34 3.5. จุดเด่นและข้อจากดั Google site (ธีรพันธ์, 2562) จุดเด่น 1. ให้บริการฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่าย 2. พ้ืนท่ีจัดเก็บข้อมูลมีพ้ืนที่ให้บริการ 10 GB. 3. มี Gadget มากมาย 4. สามารถเผยแพร่ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ และเป็นความรู้ หรือบทเรียนอะไรอีกหลายๆอย่างใน Sites ได้ 5. เป็นระบบที่ครอบคลุม เอาข้อมูลมาใช้ด้วยกันได้เลย เช่น อีเมล์ (Gmail) ปฏิทิน (Calendar) เอกสาร (Documents) ยูทูบ (YouTube) อัลบ้ัมภาพ (Picasa) แผนท่ี (Map) ฯลฯ ข้อจากัดของ Google Sites 1. ใช้เทมเพลตที่ออกแบบเองไม่ได้ ไม่สามารถใช้เป็นเว็บฐานข้อมูลได้ ปรับแต่งได้เท่าท่ี Google Sites มีให้ 2. เว็บไซต์เป็นของผู้สร้างแต่อยู่ภายใต้การดูแลของ Google จึงทาให้ชื่อยาว 3. ใช้งานร่วมกับ CSS ท่ีออกแบบเองไม่ได้ ยังมีปัญหาเร่ืองการใช้งานร่วมกับ script อื่นๆ 4. ทาได้เฉพาะเม่ือต่ออินเตอร์เน็ตเท่านั้น 4. การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน (ชัยยงค์, 2556) การผลิตส่ือหรือชุดการสอนน้ัน ก่อนนาไปใช้จริงจะต้องนาสื่อหรือชุดการสอนที่ผลิตขึ้นไปทดสอบ ประสิทธิภาพเพ่ือดูว่าสื่อหรือชุดการสอนทาให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่ มีประสิทธิภาพในการช่วยให้ กระบวนการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์หรือไม่และ ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนจากสื่อหรือชุดการสอนในระดับใด ดังนั้นผู้ผลิตสื่อการสอนจา เป็น จะต้องนาสื่อหรือชุดการสอนไปหาคุณภาพ เรียกว่า การทดสอบประสิทธิภาพ 4.1 ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง สภาวะหรือคุณภาพของสมรรถนะในการดาเนินงาน เพื่อให้งานมีความสาเร็จโดยใช้เวลา ความพยายามและค่าใช้จ่ายคุ้มค่าที่สุดตามจุดมุ่งหมายที่กา หนดไว้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยกาหนดเป็นอัตราส่วนหรือร้อยละระหว่างปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์ (Ratio between input, process and output) ประสิทธิภาพเน้นการดาเนินการที่ถูกต้องหรือกระทาสิ่ง ใด ๆ อย่างถูกวิธี (Doing the thing right) คาว่าประสิทธิภาพ มักสับสนกับคาว่า ประสิทธิผล (Effectiveness) ซ่ึงเป็นคาที่คลุมเครือ ไม่เน้นปริมาณ และมุ่งให้บรรลุวัตถุประสงค์และเน้นการทาสิ่งที่ถูก ที่ควร (Doing the right thing) ดังน้ันสองคาน้ีจึงมักใช้คู่กัน คือ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอน จึงหมายถึงการหาคุณภาพของสื่อหรือ ชุดการสอน โดยพิจารณาตามขั้นตอนของการพัฒนาสื่อหรือชุดการสอนแต่ละขั้น ตรงกับภาษาอังกฤษว่า

35 “Developmental Testing” คือ การทดสอบคุณภาพตามพัฒนาการของการผลิตสื่อหรือชุดการสอน ตามลาดับขั้นเพื่อตรวจสอบคุณภาพของแต่ละองค์ประกอบของต้นแบบชิ้นงาน ให้ดาเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ สาหรับการผลิตสื่อและชุดการสอน การทดสอบประสิทธิภาพ หมายถึง การนาสื่อหรือชุด การสอนไปทดสอบด้วยกระบวนการสองข้ันตอน คือ การทดสอบประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น (Try Out) และ ทดสอบประสิทธิภาพสอนจริง (Trial Run) เพ่ือหาคุณภาพของสื่อตามขั้นตอนที่กาหนดใน 3 ประเด็น คือ การทาให้ผู้เรียนมีความรู้เพ่ิมข้ึน การช่วยให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนและทาแบบประเมินสุดท้ายได้ดี และการทาให้ผู้เรียนมีความพึงพอใจ นาผลท่ีได้มาปรับปรุงแก้ไข ก่อนที่จะผลิตออกมาเผยแพร่เป็นจานวน มาก 4.2 การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ เกณฑ์ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิด การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เป็นระดับที่ผลิตสื่อหรือชุดการสอนจะพึงพอใจว่า หากสื่อหรือชุดการสอนมี ประสิทธิภาพถึงระดับน้ันแล้ว สื่อหรือชุดการสอนนั้นก็มีคุณค่าท่ีจะนามาสอนนักเรียนและคุ้มแก่การลงทุน ผลิตออกมาเป็นจานวนมาก การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพกระทาได้โดยการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) กาหนดค่าประสิทธิภาพเป็น E1 = Efficiency of Process (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) กาหนดค่าประสิทธิภาพเป็น E2 = Efficiency of Product (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์) ประเมินพฤติกรรมต่อเนื่อง (Transitional Behavior) คือประเมินผลต่อเนื่องซึ่งประกอบด้วย พฤติกรรมย่อยของผู้เรียน เรียกว่า “กระบวนการ” (Process) ที่เกิดจากการประกอบกิจกรรมกลุ่ม ได้แก่ การทาโครงการ หรือทารายงานเป็นกลุ่ม และรายงานบุคคล ได้แก่งานที่มอบหมายและกิจกรรมอื่นใดท่ี ผู้สอนกาหนดไว้ ประเมินพฤติกรรมสุดท้าย (Terminal Behavior) คือประเมินผลลัพธ์ (Product) ของผู้เรียน โดย พิจารณาจากการสอบหลังเรียนและการสอบไล่ ประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนจะกาหนดเป็นเกณฑ์ที่ผู้สอนคาดหมายว่าผู้เรียนจะเปลี่ยน พฤติกรรมเป็นที่พึงพอใจ โดยกาหนดให้ผลเฉลี่ยของคะแนนการทางานและการประกอบกิจกรรมของ ผู้เรียนท้ังหมดต่อร้อยละของผลการประเมินหลังเรียนท้ังหมด นั่นคือ E1/E2 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสทิ ธิภาพของผลลัพธ์ ตัวอย่าง 80/80 หมายความว่าเม่ือเรียนจากส่ือหรือชุดการสอนแล้ว ผู้เรียนจะสามารถทาแบบฝึก ปฏิบัติ หรืองานได้ผลเฉล่ีย 80% และประเมินหลังเรียนและงานสุดท้ายได้ผลเฉลี่ย 80% การที่จะกาหนด เกณฑ์ E1/E2 ให้มีค่าเท่าใดนั้น ให้ผู้สอนเป็นผู้พิจารณาตามความพอใจ โดยพิจารณาพิสัยการเรียนที่ จาแนกเป็นวิทยพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) และทักษพิสัย (Skill Domain) ในขอบข่ายวิทยพิสัย (เดิมเรียกว่าพุทธิพิสัย) เนื้อหาที่เป็นความรู้ความจามักจะตั้งไว้สูงสุดแล้วลดต่า ลงมา คือ 90/90 85/85 80/80 ส่วนเนื้อหาสาระที่เป็นจิตพิสัย จะต้องใช้เวลาไปฝึกฝนและพัฒนา ไม่สามารถทา ให้ถึงเกณฑ์ระดับสูงได้ในห้องเรียนหรือในขณะที่เรียน จึงอนุโลมให้ต้ังไว้ต่าลง นั่นคือ 80/80 75/75 แต่ไม่

36 ต่ากว่า 75/75 เพราะเป็นระดับความพอใจตา่ สุด จึงไม่ควรตั้งเกณฑ์ไว้ตา่ กว่าน้ี หากต้ังเกณฑ์ไว้เท่าใด ก็มัก ได้ผลเท่าน้ัน 4.3 การตีความหมายผลการคานวณ หลังจากคานวณหาค่า E1 และ E2 ได้แล้ว ผู้หาประสิทธิภาพต้องตีความหมายของผลลัพธ์โดยยึด หลักการและแนวทางดังน้ี ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธ์ ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือความแปรปรวนของ ผลลัพธ์ได้ไม่เกิน .05 (ร้อยละ 5) จากช่วงต่าไปสูง ±2.5 การให้ผลลัพธ์ของค่า E1 หรือ E2 ที่ถือว่า เป็นไปตามเกณฑ์ มีค่าตา่ กว่าเกณฑ์ ไม่เกิน 2.5% และ สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกิน 2.5% หากคะแนน E1 หรือ E2 ห่างกันเกิน 5% แสดงว่า กิจกรรมที่ให้นักเรียนทากับการสอบหลังเรียนไม่สมดุลกันเช่น ค่า E1 มากกว่า E2 แสดงว่า งานท่ีมอบหมายอาจจะง่ายกว่า การสอบ หรือ หากค่า E2 มากกว่าค่า E1 แสดงว่า การสอบง่ายกว่าหรือไม่สมดุล กับงานที่มอบหมายให้ทา จาเป็นที่จะต้องปรับแก้ หากสื่อหรือชุดการสอน ได้รับการออกแบบและพัฒนาอย่างดีมีคุณภาพ ค่า E1 หรือ E2 ที่คานวณได้จากการทดสอบประสิทธิภาพ จะต้องใกล้เคียงกันและห่างกันไม่เกิน 5% ซึ่งเป็นตัวชี้ที่จะยืนยันได้ว่า นักเรียนได้มีการเปลี่ยนพฤติกรรม ต่อเนื่องตามลาดับขั้นหรือไม่ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนพฤติกรรมขั้นสุดท้าย หรืออีกนัยหนึ่งต้องประกันได้ว่า นักเรียนมีความรู้จริงไม่ใช่ทากิจกรรมหรือทาข้อสอบได้เพราะการเดา 5. งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง พงษ์วิภา, 2563 พัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อการสอนออนไลน์ Google Site รายวิชาการ ประมาณราคางานก่อสร้าง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร ผลการวิจัยพบว่า การจัดการเรียนการสอนโดย ใช้สื่อการสอนออนไลน์ Google Site มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดที่ 80.28/88.33 มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนมีค่าเฉลี่ย ( ) ก่อนเรียนเท่ากับ 24.08 คะแนน และหลังเรียนเท่ากับ 26.50 คะแนน ซึ่ง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 และนักศึกษามี ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อรูปแบบการสอนโดยใช้ส่ือการสอนออนไลน์ Google Site มีค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 4.39 และค่า S.D. เท่ากับ 0.18 ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ปาณิสรา, 2560 พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ (ง31231) ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสายปัญญารังสิตโดยการจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วย โปรแกรม Google Site ผลการศึกษาพบว่า 1) บทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 91.69/88.65 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน หลังการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ ด้วยโปรแกรม Google Site โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( 4.29, S.D.=0.52) กุลนิษฐ, 2564 พัฒนาบทเรียนผ่านเว็บด้วย Google Site เร่ือง โครงงานอาชีพเห็ดสวรรค์ สาหรับ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเว็บ ด้วย Google Site เร่ือง โครงงาน อาชีพเห็ดสวรรค์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 (E1/E2 ) เท่ากับ 86.68/82.74 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่าง คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน ด้วยบทเรียนผ่านเว็บด้วย Google Site เรื่อง โครงงานอาชีพเห็ด สวรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนอย่างมี

37 นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนผ่านเว็บด้วย Google Site เรื่อง โครงงาน อาชีพเห็ดสวรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ลัดดาวรรณ, 2559 ศึกษาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วยโปรแกรม Google Site ตาม แนวทฤษฎีสร้างสรรค์ความรู้ เรื่อง หลักการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัยพบว่า 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วยโปรแกรม Google Site ตามแนวทฤษฎีสร้างสรรค์ ความรู้ สาหรับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 86.13/87.83 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วยโปรแกรม Google Site ตาม แนวทฤษฎีสร้างสรรค์ความรู้ มีความพึง พอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน เว็บ อยู่ในระดับมากท่ีสุด

บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การวิจัย การวิจยั คร้งั นผี้ ู้วจิ ัยไดศ้ กึ ษา เรือ่ งการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้ส่ือ Google Site เร่ืองพันธุศาสตร์ ประชากร ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นพชิ ัย ผ้วู ิจัยได้ดาเนินการวิจยั ตามขน้ั ตอนดังน้ี 1. ประชากรกล่มุ ตัวอย่าง 2. เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั และการพัฒนา 3. วธิ กี ารสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 4. ขั้นตอนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 5. การวิเคราะหข์ ้อมลู 1.ประชากรกลุม่ ตวั อยา่ ง 1.1 ประชากร คอื นกั เรียนโรงเรียนพิชัย อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มธั ยมศกึ ษาพิษณุโลก อตุ รดติ ถ์ 1.2 กลุ่มตวั อยา่ ง การศกึ ษาคร้ังน้ีใช้วิธกี ารสุ่มตัวอยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือก นกั เรียนทีอ่ ยใู่ นแผนวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรียน พิชัย อาเภอพชิ ยั จังหวดั อุตรดติ ถ์ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก อุตรดติ ถ์ จานวน 42 คน เปน็ กลุ่มตวั อยา่ งในการศึกษา 2.เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัยและการพัฒนา เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ัย เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั ครงั้ นม้ี ี 4 ชนดิ ประกอบดว้ ย 2.1 ส่อื Google site เรอ่ื ง พันธศุ าสตร์ประชากร 2.2 แผนการจดั การเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรียนรูส้ บื เสาะหาความรู้ (5E) เร่ืองพันธุศาสตรป์ ระชากร 2.3 แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเรือ่ ง พันธุศาสตร์ประชากร เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จานวน 20 ขอ้ 2.4 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรียนทมี่ ตี อ่ การเรียนเร่ือง พันธุศาสตรป์ ระชากร 3. วิธกี ารสร้างและตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่อื งมอื 3.1 สอื่ การสอนออนไลน์ Google Site 3.1.1 ศกึ ษาหลกั สตู ร หนังสอื ประกอบและเอกสารทเ่ี ก่ยี วข้องกบั สาระการเรยี นรู้ 3.1.2 วิเคราะหจ์ ุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1.3 ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ส่ือ Google Site 3.1.4 สรา้ งสอ่ื การสอนออนไลน์ Google Site (โดยใช้วิธกี ารสร้างส่อื ของ ธีรพนั ธ์, 2562) 3.1.5 วิเคราะหห์ าคา่ ความเหมาะสมของสอ่ื 3.2.3.1 สรา้ งแบบประเมนิ ส่อื สาหรับใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญไดป้ ระเมิน 3.2.3.2 จดั ทาตารางวิเคราะหค์ ่าความเหมาะสมของแบบประเมนิ สื่v

39 3.2 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนสาหรับการใช้สื่อ Google site เร่ือง พันธุศาสตร์ประชากร ผู้วิจัยมีขั้นตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพแผนการจัดการ เรยี นรู้ดังน้ี 3.2.1 ศกึ ษาทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้องกับการจัดการเรยี นการสอนผ่านเว็บ 3.2.2 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนพิชัย 3.2.2.1 ศึกษามาตรฐานการเรียนรรู้ ายวชิ าวิทยาศาสตร์ หลักสูตรสถานศึกษา ศึกษา สาระการเรยี นรู้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ศกึ ษาตวั ช้ีวดั 3.2.2.2 ศึกษาสาระการเรียนรู้ เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร เพ่ือให้ทราบขอบข่าย เนื้อหาจากหนงั สอื เอกสารและตารางเรยี น 3.2.2.3 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 ววิ ัฒนาการ เรื่องพนั ธุศาสตรป์ ระชากร ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เพ่อื เขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.2.3 วิเคราะห์หาค่าความเหมาะสมของแผน 3.2.3.1 สร้างแบบประเมนิ แผนการจดั การเรียนรสู้ าหรบั ให้ผู้เชีย่ วชาญไดป้ ระเมิน 3.2.3.2 จัดทาตารางวเิ คราะหค์ า่ ความเหมาะสมของแบบประเมินแผน 3.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ผ้วู ิจยั มขี ้ันตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพดงั นี้ - ศกึ ษาเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับวธิ กี ารสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน - สรา้ งตารางวเิ คราะห์ข้อสอบ เรอื่ ง พนั ธศุ าสตร์ประชากร - สรา้ งแบบทดสอบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ มี 4 ตวั เลือก ขั้นตอนการสร้างและตรวจสอบคณุ ภาพแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นมี รายละเอียดดงั น้ี 3.3.1 ศกึ ษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ เอกสารท่เี ก่ยี วข้องกบั การวดั และประเมนิ ผลการเรียน 3.3.2 สร้างตารางวิเคราะห์ข้อสอบ เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ให้ ครอบคลมุ ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรทู้ ่ีนามาจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.3.3 สร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบมี 4 ตัวเลือกจานวน 25 ข้อ นาไปใช้จริง จานวน 20 ขอ้ ใหส้ อดคลอ้ งกับตัวชีว้ ดั ทีน่ ามาจัดการเรยี นการสอน เรื่องพันธุศาสตร์ประชากร 3.3.4 วิเคราะห์หาคา่ IOC 3.3.4.1 สรา้ งแบบประเมินแบบทดสอบสาหรับใหผ้ ้เู ชีย่ วชาญได้ประเมิน 3.3.4.2 จดั ทาตารางวิเคราะห์คา่ IOC ของแบบทดสอบ 3.4 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนในการใช้สื่อ Google site มีข้ันตอนการสร้างและ ตรวจสอบคณุ ภาพดังน้ี - กาหนดเกณฑ์ประเมินความพึงพอใจจานวน 10 ข้อ - จดั ทาในรูปแบบเอกสารและ google form 3.4.1 วิเคราะห์หาค่าความเหมาะสม 3.4.1.1 สร้างแบบประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรยี นใหผ้ เู้ ช่ียวชาญได้ประเมนิ 3.4.1.2 จัดทาตารางวิเคราะห์คา่ ความเหมาะสมของแบบประเมนิ ความพึงพอใจ

40 4. ข้นั ตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีดาเนนิ การทดลอง การวจิ ัยคร้งั นีเ้ ปน็ การวิจัยเชิงทดลอง ผู้วจิ ัยมีข้ันตอนในการทดลองดงั นี้ 4.1 ขั้นก่อนการทดลอง ผู้วิจัยช้ีแจงข้ันตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อ Google site ให้นักเรียน ทราบรวมท้ังขอความร่วมมือในการทดลอง หลังจากนั้นให้นักเรียนกลุ่มทดลองทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนและเก็บคะแนนไว้เป็นคะแนนก่อนการทดลอง (Pre-test) ในการดาเนินการทดสอบผวู้ จิ ัยเปน็ ผู้ควบคมุ การสอบใหเ้ ป็นไปด้วยความเรียบร้อย 4.2 ขั้นดาเนินการทดลอง ผู้วิจัยจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างขึ้น โดยใช้ ระยะเวลาทดลอง 4 ชว่ั โมง ในการจัดการเรยี นการสอน 4.3 หลังการจัดการเรียนการสอนครบทั้ง 4 ช่ัวโมง ผู้วิจัยให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร โดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวกันกับการทดสอบก่อนการทดลองและ เกบ็ คะแนนไว้เป็นคะแนนหลังการทดลอง (Post-test) ในการดาเนินการทดสอบผู้วิจัยเป็นผู้ควบคุมการสอบ ให้เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย 5. การวิเคราะหข์ ้อมลู ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูลในครง้ั นี้ ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนินการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี 5.1 ศึกษาประสทิ ธิภาพส่ือการสอนออนไลน์ Google Site เรื่องพันธุศาสตร์ประชากร โดยใช้สูตร ดังน้ี (ชัยยงค์, 2556) ∑x X A สูตรท่ี 1 E1 = N × 100 หรือ × 100 A เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ ∑ x คือ คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมหรืองานที่ทาระหว่างเรียนทั้งที่เป็นกิจกรรม ในห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือออนไลน์ A คือ คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติทุกช้ินรวมกัน N คือ จานวนผู้เรียน ∑F F × 100 หรือ A × 100 สูตรท่ี 2 E2 = N B เม่ือ E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ∑ F คือ คะแนนรวมของผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียน B คือ คะแนนเต็มของการประเมินสุดท้ายของแต่ละหน่วย ประกอบด้วยผลการสอบหลังเรียน N คือ จานวนผู้เรียน

41 5.2 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ก่อนและหลังการ จัดการเรยี นรู้โดยใชส้ ือ่ Google site โดยใช้ t-test แบบ dependent 5.3 ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยประเมินความ พึงพอใจตามเกณฑ์แบบประเมนิ สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู 1. สถติ ิพ้ืนฐาน ได้แก่ 1.1 ค่าเฉลย่ี เลขคณติ (x̅ ) โดยใช้สตู ร (มลิวัลย์, 2550) ������̅ = ∑������ ������ เม่อื แทน คะแนนเฉล่ยี ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมด n แทน ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่าง 1.2 ค่าความเบยี่ งเบนมาตรฐาน S.D.โดยใชส้ ตู ร (มลวิ ลั ย์ สมศกั ด์ิ, 2550) ������. ������. = √������ ∑ ������2−(∑ ������)2 ������(������−1) เม่อื S.D. แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละคน ∑ ������2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะคนยกกาลังสอง n แทน จานวนตวั อย่าง 2. สถิติทีใ่ ช้ในการทดสอบสมมติฐาน 2.1 ศึกษาผลสัมฤทธ์ขิ องนกั เรียนก่อนและหลงั การจดั การเรยี นรู้ โดยใช้ t - test แบบ dependent โดยใช้สูตร ∑ ������ ������ = √������ ∑ ������2 − (∑ ������)2 df เทา่ กบั n-1 (������ − 1) เมอ่ื t แทน ค่าสถติ ทิ จ่ี ะใช้เปรยี บเทยี บกับค่าวิกฤต เพอ่ื ทราบความมีนัยสาคญั D แทน ผลต่างระหวา่ งคูค่ ะแนน ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนความกา้ วหน้า n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่างหรือจานวนคคู่ ะแนน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook