Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวปฏิบัติในสังคมดิจิทัล

แนวปฏิบัติในสังคมดิจิทัล

Published by อัตตชัย เทียนทอง, 2021-03-03 06:43:40

Description: แนวปฏิบัติในสังคมดิจิทัล

Search

Read the Text Version

แนวปฏบิ ตั ใิ นสังคมดิจทิ ัล (Digital Etiquette) หลกั สตู รความเขา้ ใจดิจิทัล (Digital Literacy) 1

คำถำมสำคัญ • มารยาทในการรว่ มอยู่สังคมออนไลนม์ ี อะไรบา้ ง? • พฤติกรรมท่ีสร้างความราคาญ ไม่เหมาะสม ใน สังคมออนไลน์มอี ะไรบา้ ง? • จะรบั มอื กบั บุคลท่ีสรา้ งความราคาญอยา่ งไรให้ เหมาะสม? ที่มารปู ภาพ:นติ ยสาร e-C2ommerce

ควำมหมำย • Netiquette เป็นคาทม่ี าจาก “network etiquette” หมายถึง จรรยามารยาทของ การอย่รู ่วมกนั ในสังคมอินเทอรเ์ น็ต หรือ cyberspace ซงึ่ เป็นพ้นื ทท่ี ีเ่ ปดิ โอกาสให้ ผู้คนเขา้ มาแลกเปลย่ี น ส่อื สาร และทากจิ กรรมรวมกัน ชมุ ชนใหญบ่ ้างเล็กบา้ งบน อินเทอรเ์ น็ตนนั้ ก็ไมต่ า่ งจากสงั คมบนโลกแห่งความเป็นจริง ซึ่งจาเป็นต้องมีกฎกติกา (codes of conduct) เพอ่ื ใชเ้ ป็นกลไกสาหรับการกากบั ดูแลพฤตกิ รรมและการ ปฏิสัมพนั ธข์ องสมาชกิ ทีม่ า:www.thaihotline.org 3

บัญญัติ 10 ประกำร ของกำรใช้อินเตอรเ์ น็ต • ต้องไม่ใชค้ อมพวิ เตอรท์ าร้าย หรือ ละเมดิ ผู้อ่นื • ตอ้ งไม่รบกวนการทางานของผู้อืน่ • ตอ้ งไมส่ อดแนม แกไ้ ข หรอื เปิดดแู ฟ้มขอ้ มูลของผอู้ ื่น • ตอ้ งไม่ใชค้ อมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การโจรกรรมขอ้ มูลข่าวสาร • ต้องไม่ใชค้ อมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เปน็ เทจ็ • ตอ้ งไมค่ ดั ลอกโปรแกรมของผู้อื่นท่ีมีลิขสิทธิ์ • ต้องไมล่ ะเมิดการใชท้ รพั ยากรคอมพิวเตอร์ โดยทต่ี นเองไมม่ สี ทิ ธ์ิ • ต้องไม่นาเอาผลงานของผู้อ่ืนมาเป็นของตน • ต้องคานึงถงึ สง่ิ ที่จะเกดิ ข้ึนกับสงั คม ทีเ่ กดิ จากการกระทาของทา่ น • ต้องใช้คอมพิวเตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กตกิ า และมมี ารยาท ขอขอบคณุ อาจารย์ยนื ภ่วู รวรรณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

มำรยำทกำรใชม้ ือถือ ท่ีมารปู ภาพ:ilovebuddyphone o เคารพสถานที่ เช่น หา้ มเสยี งดัง ห้ามมีแสงสวา่ ง o ไม่ใช้โซเชียลเน็ตเวิรค์ ขณะประชมุ o กดโทรศัพท์มากกว่าคุยกับเพื่อน ก้มหน้าเวลา สนทนา o ไมร่ ับโทรศพั ท์ขณะขึน้ ลงรถยนต์ หรือข้ามถนน 5

Cyberbullying กลั่นแกลง้ กันบนโลกไซเบอร์ กำรกลนั่ แกล้งในโลกไซเบอร์ คือการประทุษร้ายหรือทาให้ผู้อ่ืนอับอายผ่านทางการใช้ส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น อีเมล์, การส่งข้อความ, บล็อก, เว็บไซต์, ชุมชนออนไลน์, เมสเสจ, และโทรศัพท์ ส่ิงที่นักเลงไซเบอร์ ตัง้ ใจคือการแสดงความเปน็ ศตั รหู รือแสดงออกในแง่ลบต่ออีก ฝ่ายนน่ั เอง 6

Cyberbullying กลน่ั แกล้งกันบนโลกไซเบอร์ (ต่อ) 33% ของเด็กไทยมีประสบการณ์ของการเป็นทั้งผู้ท่ีถูกกลั่นแกล้งหรือก่อกวน บนโลกออนไลน์ จากคนท่ีไม่รู้จัก และหรือจากคนที่รู้จกั ซึ่งเป็นคนเดียวกับที่แกล้ง อยู่ในโลกของความเป็นจริง และในขณะเดียวกันเด็กเหล่าน้ีก็กลับเป็นผู้กล่ันแกล้ง คนอื่นบนโลกออนไลน์โดยปิดบัง ไม่เปิดเผยชอ่ื จริงในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ 35% ของเดก็ ไทย จะถูกส่ิงเรา้ ตา่ งๆ ได้ง่าย โดยเฉพาะกับเว็บไซด์ท่ีไม่เหมาะสม ต่างๆ อาทิ เกมอันตราย หรือเว็บอนาจาร ท่ีเต็มไปด้วยคาก้าวร้าวและหยาบคาย ซึง่ จะเข้าไปดูและเกดิ พฤติกรรมเลียบแบบ 59% ของเด็กไทย จะรู้สึกว่าตนเองสามารถแก้ปัญหาหรือเผชิญหน้ากับความ เลวรา้ ยบนโลกออนไลนน์ ีไ้ ด้ดว้ ยตวั เอง หรอื จะปรกึ ษาเพอ่ื นเป็นอันดับแรก 7

ทำไมนักเลงไซเบอรถ์ งึ มีมำกข้นึ ? • มีหลายทฤษฎอี ธบิ ายวา่ การเพิม่ ขึน้ ของการประทษุ ร้ายออนไลน์ส่วนหนง่ึ เกดิ จากเด็กท่ีมลี ักษณะชอบแกล้งผ้อู ื่นอยูแ่ ลว้ เปลี่ยนวธิ ีการมาใช้อินเตอร์เน็ต แทนการแกลง้ โดยตรงท่ีโรงเรยี นเนอื่ งจากปลอดภยั จากสายตาของผู้ใหญ่มากกวา่ • แมเ้ วบ็ ไซตห์ ลายแหง่ มีผู้ดแู ลเปน็ ผู้ใหญ่และสามารถควบคุมให้ผู้ใชบ้ ริการรกั ษากติกาและใช้ภาษาท่เี หมาะสมได้ แต่นักเลงไซเบอรก์ อ็ าจป้วนเปีย้ นแถวๆ น้นั และหาโอกาสจ้องทาร้ายดว้ ยการเอาคาพดู ของผู้ดแู ลไปปรบั เปล่ียน ให้ดแู ย่ลง หรือปลอ่ ยขา่ วลอื ด้านลบตอ่ เวบ็ ไซต์แหง่ นั้นได้เช่นกัน • ปัจจบุ ันน้หี ลายประเทศได้ประกาศใช้พรบ.ป้องกันการกระทาผิดทางอนิ เตอรเ์ นต็ แล้ว และยอมรบั วา่ ผทู้ ท่ี าตวั เป็นนักเลงไซเบอร์เป็น “อาชญากร” ดว้ ย แมแ้ ต่การเขยี นคอมเมนตท์ ี่เปน็ การสบประมาทในเรอ่ื งเชอื้ ชาติ, ศาสนา, เผ่าพันธุ์, หรอื เพศก็จดั เปน็ การกระทาผดิ ดว้ ยเชน่ กัน 8

กรณีศกึ ษำ จำกใจแม่..ท่ีเกือบเสยี ลูกให้กบั ด้ำนมดื ของโลกออนไลน์ “แมค่ รบั หำกผมสอบเข้ำม.1 ได้ ผมขอโทรศพั ทม์ อื ถอื เป็นรำงวลั นะครบั ” ท่ีมา: http://www.brandbuffet.in.th/2016/05/dtac-mother-and-son-story/ 9

วิธปี ้องกันภยั จำกนักเลงไซเบอร์ • สิ่งแรกที่พ่อแม่ควรทาก่อนติดอินเตอร์เน็ตให้ลูกที่ บ้านคือเตือนให้ทราบว่าโลกภายนอกมีอะไรที่ อนั ตรายบ้าง และสอนให้ร้จู กั คุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งหมายถึงความคิดดีและพฤติกรรมทาดีว่าเป็น อย่างไร ไมใช่เฉพาะเร่ืองท่ัวไปเท่าน้ัน การคิดชอบ ทาชอบในโลกออนไลน์ก็ต้องสอนด้วย รวมถึง โทรศัพท์มือถอื เชน่ กัน 10

วธิ ปี อ้ งกนั ภัยจำกนกั เลงไซเบอร์ (ต่อ) • เด็กๆ สำมำรถปอ้ งกนั ตัวเองจำกนักเลงไซเบอร์ได้อยำ่ งไร • อยา่ ให้ขอ้ มลู ติดต่อของตวั เองทางเน็ตเดด็ ขาด เช่น เบอรโ์ ทรศพั ท์, ช่ือที่เราใช้ในเนต็ , อีเมลแ์ อดเดรส, หรือทีอ่ ยูท่ บ่ี ้าน • บอกผู้ใหญ่ถ้ารู้สกึ ว่าโดนรังแกในเนต็ • ถา้ เป็นเวบ็ เกมออนไลนห์ รอื สงั คมออนไลน์ ให้แจง้ ผู้ดูแลเวบ็ ไซต์เพื่อตดิ ตามพฤตกิ รรมนักเลงไซเบอร์ เหลา่ น้ี • ยืนหยดั สูก้ ับพวกนกั เลงไซเบอร์ด้วยการไมเ่ ข้าร่วมพฤตกิ รรมการกล่นั แกล้งหรอื ผสมโรงแกลง้ คนอื่น หรอื ให้ความเห็นตามนา้ ไปด้วย • ที่มำ: How To Protect Kids From Cyberbullies: Keeping Teens and Tweens Safe From Online Dangers [Internet]. 11

แนวทำงปฏบิ ัตเิ มื่อเกดิ กำรรังแกในโลกไซเบอรข์ ้ึน • บอกนกั เลงคนน้ันใหห้ ยดุ เสยี ที ต้องบอกใหช้ ัดเจนและหนกั แน่น 12 • ถา้ รวู้ ่านักเลงอยู่ท่ไี หน อาจส่งจดหมายไปทบ่ี ้านเพื่อเตือน • ถา้ นกั เลงเปน็ คนที่ร้จู กั เชน่ เพอ่ื นของลูก อาจแจ้งกับอาจารยท์ ่ีโรงเรียน ใหช้ ่วยเหลือดว้ ย • รายงานพฤติกรรมการรงั แกตอ่ เจ้าหน้าท่ีตารวจ • รายงานไปยงั หนว่ ยงานท่ดี แู ลความเรยี บร้อยของโลกออนไลน์หรอื บริษัท ให้บรกิ ารโทรศพั ท์ • เซฟข้อความทเี่ ป็นการรงั แกเอาไว้เพือ่ เป็นหลกั ฐาน • บลอ็ กไม่รบั ขอ้ ความจากนกั เลงคนนั้น • ที่มำ: How To Protect Kids From Cyberbullies: Keeping Teens and Tweens Safe From Online Dangers [Internet].

STOP Cyberbullying Day 17 มถิ นุ ำยน 2559 “วันหยุดกำรกล่นั แกล้งทำงโลกออนไลน์” ขอขอบคุณภาพจาก เว็บ Blog Noossara Leenark, และ 13 \"บรษิ ัท เนชนั่ บรอดแคสต้งิ คอร์ปอเรช่ัน จากดั (มหาชน)\"

ภัยจำก Social Network ขอขอบคณุ ภำพจำก Panyapiwat Institute of Management 14

ขอขอบคณุ ภาพจาก Panyapiwat Institute of Management 15

ใกลก้ นั มำกขึ้น..แต.่ . ขอขอบคณุ ภาพจาก Panyapiwat Institute of Management 16

17


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook