Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ECOM

ECOM

Published by อัตตชัย เทียนทอง, 2021-03-03 07:19:14

Description: ECOM

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรดจิ ทิ ัลคอมเมริ ์ซ (Digital Commerce) กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (MICT) 1

E-Commerce คอื อะไร การพาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรอื อี คอมเมิรซ์ (E-Commerce) กระบวนการซื้อ-ขาย แลกเปลีย่ นผลิตภัณฑแ์ ละข้อมลู ขา่ วสาร โดยอาศยั คอมพวิ เตอรแ์ ละระบบเครือข่าย หมายความรวมถึง  การติดต่อสอื่ สารระหวา่ งธุรกิจกบั ธรุ กจิ ธรุ กิจกับผ้บู ริโภค  การทารายการธรุ กิจ การชาระเงนิ การจัดสง่ สนิ คา้  การใหบ้ ริการลกู คา้ และการสร้างความสัมพันธก์ บั ลกู คา้ 2

การดาเนนิ ธุรกจิ E-Commerce  การทาประชาสัมพันธ์ (broadcast)  การโต้ตอบกันทางธรุ กจิ (interaction)  การเชอื่ มโยงข้อมูลของผู้ซอ้ื เพอื่ ให้ได้ข้อมลู อย่างสมบรู ณ์ (integration)  เป็นระบบท่ผี ซู้ ้ือและผขู้ ายตดิ ต่อถึงกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว  เข้าถงึ ลกู คา้ ไดเ้ ปน็ จานวนมาก  มีต้นทุนการทาธรุ กรรมตอ่ หน่วยทต่ี ่ากว่าในรปู แบบเดิม 3

มูลค่า E-Commerce ในประเทศไทย ปี 2556 - 2558 ที่มา: ETDA 4

มูลค่า E-Commerce ปี 2557 และแนวโนม้ ปี 2558 จาแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ท่ีมา: ETDA 5

มูลค่า E-Commerce ปี 2557 และแนวโน้มปี 2558 ของอตุ สาหกรรมศลิ ปะ บนั เทิง และนนั ทนาการจาแนกตามประเภทสินคา้ และบริการ ที่มา: ETDA 6

ประโยชนข์ องพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีประโยชน์ร่วมกันท้ังต่อผู้บริโภค ผู้ประกอบการ เศรษฐกิจ และสงั คม ซ่งึ สรุปได้ 3 ประเดน็ หลัก 1. ประหยัดค่าใช้จ่าย ช่วยลดค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนทั้งภายในและภายนอกองค์กร เช่น ค่าพิมพเ์ อกสาร คา่ โฆษณาประชาสัมพันธ์ 2. ไม่มีขอ้ จากัดดา้ นสถานที่ สามารถเขา้ ถึงลกู ค้าไดท้ วั่ โลก 3.ไม่มีขอ้ จากดั ดา้ นเวลา สามารถทาธุรกรรมผา่ นระบบอัตโนมตั ไิ ด้ตลอดเวลา 7

ประโยชนข์ อง E-Commerce สาหรบั ผปู้ ระกอบการ  ขยายตลาดจากตลาดทอ้ งถน่ิ ไปสู่ตลาดระหวา่ งประเทศ  ลดต้นทุนการดาเนนิ การทางการตลาด โดยเฉพาะเอกสาร และคา่ ใช้จา่ ยในการ ติดตอ่ สอื่ สาร  ลดสินค้าคงคลงั และคา่ ใช้จา่ ยในช่องทางการจาหน่าย  เพม่ิ ความเช่ยี วชาญของธรุ กจิ ได้มากขน้ึ  ประโยชน์อนื่ ๆ เช่น สร้างภาพลักษณ์ขององคก์ ร เพม่ิ ช่องทางการให้ บรกิ ารลกู คา้ ฯลฯ 8

ประโยชนข์ อง E-Commerce สาหรบั ผบู้ ริโภค  สามารถเลือกซื้อผลติ ภัณฑ์ตา่ งๆ ได้สะดวกตลอด 24 ชม.  มโี อกาสในการเปรียบเทยี บและเลอื กซอื้ ผลิตภัณฑ์ได้มากข้ึน รวมท้งั เลือกผขู้ ายได้ด้วย  ไดผ้ ลติ ภัณฑ์ราคาถูก คณุ ภาพตามตอ้ งการ โดยไม่เสียเวลาและไม่เสยี ค่าเดนิ ทาง  ไดร้ บั ข้อมูลเกี่ยวกับผลติ ภณั ฑ์ในเวลาอนั ส้ันและโตต้ อบไดเ้ ร็ว  สามารถแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นกบั ผบู้ รโิ ภครายอ่ืน ๆ เพื่อใหม้ ีข้อมูลประกอบการ ตัดสนิ ใจซือ้ ได้มากขึ้น 9

ประโยชนข์ อง E-Commerceสาหรบั สงั คมและชุมชน  มีการทางานที่บา้ น และซ้อื ผลติ ภณั ฑจ์ ากที่บ้าน ไมต่ ้องเดนิ ทาง ทาให้ลดปญั หา การจราจรและมลภาวะ  คุณภาพชวี ติ ของประชาชนดีข้นึ เนือ่ งจากมีโอกาสเลอื กซ้อื ผลติ ภณั ฑ์คุณภาพดี ราคาถกู  ประชากรในแตล่ ะประเทศสามารถเลอื กซือ้ ผลิตภณั ฑท์ ี่ไม่มีขายในประเทศของตนรวมท้งั โอกาสในการเรียนรสู้ ่ิงใหม่ ๆ  หน่วยราชการใหค้ วามสาคญั กบั การเผยแพรข่ ่าวสารแก่ชุมชนมากขน้ึ รวมทง้ั การจัดให้มี บริการผ่านทาง Internet 10

ขอ้ จากดั ของ E-Commerce  ระบบการรกั ษาความปลอดภยั ความน่าเช่อื ถอื ของข้อมูล และมาตรฐานของ ระบบ  ความเรว็ ของอินเตอรเ์ น็ตและจานวนชอ่ งทางการตดิ ต่อสือ่ สาร  ยังตอ้ งมกี ารพัฒนาระบบและโปรแกรมคอมพิวเตอร์  ผู้บริโภคต้องการความเปน็ ส่วนตวั (Privacy)  กฎหมายพาณิชย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ยงั ไม่สมบูรณ์  ตอ้ งอาศยั บคุ ลากรทม่ี คี วามรู้แบบสหสาขาวชิ า (Multidisciplinary) 11

เครือ่ งหมายแสดงควา่ น่าเชื่อถอื (Trustmark) • DBD Registered โดย กรมพฒั นาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ • Smile Mark โดย สานกั พฒั นาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ มมี าตรฐานความ มั่นคงปลอดภัยของการซอ้ื ขายออนไลน์ Security, Privacy และ Transparency • Reliability Seal Program • buySAFE Seal 12

รูปแบบของพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ 1. ธุรกิจกบั ธุรกิจ (Business to Business : B to B , B2B) คือรปู แบบการซอื้ ขาย สนิ ค้าระหว่างธรุ กจิ กับธรุ กิจ เปน็ การซื้อขายทลี ะปรมิ าณมากๆ มีมลู คา่ การซอ้ื ขาย แต่ละครัง้ เปน็ จานวนมาก เปน็ การค้าสง่ เช่น ผผู้ ลติ ขายสง่ ให้กบั พ่อค้าคนกลางเป็นธรุ กิจนาเข้า - สง่ ออก ชาระเงินผ่านระบบธนาคารดว้ ยการเปิด L/C หรอื ในรปู ของ Bill of Exchange อืน่ ๆ 13

ตวั อยา่ งแบบ B to B 14

รูปแบบของพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (ตอ่ ) 2. ธุรกิจกบั ลูกคา้ (Business to Custom : B to C , B2C) คือ รปู แบบการจาหน่ายสนิ คา้ โดยตรงจากผคู้ ้ากับผู้บริโภคโดยตรง เปน็ การคา้ ปลกี 15

ตวั อยา่ ง E-Commerce ประเภท B2C 16

รูปแบบของพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (ตอ่ ) 3. ธุรกิจกบั ภาครฐั (Business to Government : B to G , B2G) คือ การทาการคา้ หรือการตดิ ตอ่ ประสานงานทางการคา้ ผา่ นสอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ระหว่างผ้ทู า การคา้ กบั รฐั บาล ยกตวั อย่างเชน่ การจดั ซอื้ ของภาครัฐทีต่ อ้ งตดิ ตอ่ กับเอกชน (eProcurement), การกรอกแบบฟอร์มและการลงทะเบียนตา่ ง ๆ จดทะเบยี นธรุ กิจออนไลน์ www.dbd.go.th , งานบรกิ ารสาธารณะตา่ ง ๆ เชน่ ระบบสาธารณูปโภค , งานเสนอโครงการ การเปดิ ประมูล การย่นื ซองประกวดราคา เปน็ ต้น 17

รูปแบบของพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (ตอ่ ) 4. ลกู คา้ กบั ลกู คา้ (Customer to Customer : C to C , C2C) Consumer-to-Consumer (C2C) เป็นรูปแบบการซื้อขาย สินคา้ ระหว่างผู้บรโิ ภคกบั ผ้บู รโิ ภค เช่นการประกาศขายสนิ ค้าใช้แลว้ เปน็ ตน้ 18

ตวั อยา่ ง E-Commerce ประเภท C2C 19

รูปแบบของพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (ตอ่ ) 5. ภาครฐั กับประชาชน (Government to Customer : G to C , G2C) • กจิ กรรมทีเ่ กิดข้ึนผา่ นอิเลก็ ทรอนกิ สป์ ระเภทนี้ไมม่ วี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือการค้า • แต่เนน้ การให้บริการกบั ประชาชน โดยผา่ นส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ • ซงึ่ เปน็ นโยบายหน่ึงของรัฐบาล เช่น การคานวณและชาระภาษีออนไลน์ของ กรมสรรพากร www.rd.go.th และ • งานบรกิ ารด้านจดทะเบียนของกระทรวงมหาดไทย www.mahadthai.com 20

ประเภทของสนิ คา้ • แบ่งตามลักษณะของสินค้าและบรกิ าร สามารถจาแนกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท 1. สนิ ค้าที่มีลักษณะเปน็ ข้อมูลดิจิทัล (Digital Products)  เปน็ สินคา้ ทจี่ บั ตอ้ งไมไ่ ด้ (intangible goods) เชน่ ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์  การจัดสง่ สินคา้ ขอ้ มูลดจิ ทิ ลั จะใหผ้ ้ซู ้ือดาวน์โหลดผา่ นทางเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต 2. สินค้าทไ่ี ม่ใชข่ อ้ มูลดจิ ทิ ลั (Non-Digital Products)  เปน็ สนิ คา้ ท่ีสามารถจบั ต้องได้ (tangible goods) เชน่ อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์, เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า  การจดั สง่ สนิ ค้าประเภทน้ีนิยมส่งในรูปพสั ดภุ ณั ฑ์ หรือจดั ส่งตามสถานทีท่ ล่ี กู ค้ากาหนด 3. สินค้าบรกิ าร  ได้แก่ การทอ่ งเท่ยี ว โรงแรม ร้านคา้ จองตั๋วเคร่ืองบิน 21

วงจรของระบบการค้าอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เข้าหาข้อมูล - คน้ หา ลกู ค้า โฆษณาออนไลน์ การส่ังซื้อสินค้าออนไลน์ ส่ังซื้อโดยทัว่ ไป - ส่งทางออนไลน์ (For soft goods) การกระจายสินค้า - ส่งทางทัว่ ไป (For hard goods) การบริการลกู ค้า การขายซ้า 22 ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์

23

โครงสรา้ งของระบบพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ โครงสรา้ งหลักของระบบพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ทท่ี าใหเ้ กิดการคา้ ขายบนเวบ็ ไซต์ • 1. หน้าร้าน (Storefront) • เป็นส่วนประกอบท่ีสาคญั ของระบบการค้าแบบพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ ใชส้ าหรบั แสดงขอ้ มูลสินคา้ ทง้ั หมดของรา้ นค้า • รวมถงึ ระบบค้นหาข้อมูลสินคา้ นโยบายการคา้ และขอ้ มูลที่เกย่ี วข้องกบั บรษิ ัท • ซึ่งสว่ นหนา้ ร้านน้จี ะต้องมีการออกแบบให้ดใี หเ้ หมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย 24

โครงสรา้ งของระบบพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (ตอ่ ) 2. ระบบตะกร้ารบั คาส่งั ซอื้ (Shopping Cart System) • เป็นระบบทต่ี ่อเน่อื งจากหนา้ รา้ น เม่ือลูกคา้ ตอ้ งการสั่งซ้ือสนิ คา้ • โดยคลกิ ทีข่ ้อความส่ังซ้ือ” หรอื สัญลักษณ์รปู ตะกรา้ หรอื รถเขน็ ก็จะปรากฏรายการ สนิ ค้าท่ลี กู ค้าต้องการในหน้าตะกรา้ • พร้อมกับคานวณค่าใช้จ่ายทัง้ หมด ซึง่ ลกู ค้าสามารถปรบั เปล่ยี นรายการสนิ ค้า หรือ ปริมาณที่สง่ั ได้ • หากลกู คา้ ตดั สินใจเลอื กสินคา้ ทต่ี อ้ งการแลว้ กจ็ ะเขา้ ส่ขู น้ั ตอนการชาระเงินตอ่ ไป 25

โครงสรา้ งของระบบพาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ (ตอ่ ) 3. ระบบการชาระเงิน (Payment System) • การค้าแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์มีวิธีการชาระเงนิ หลายรูปแบบเช่น การโอนเงินเข้าบัญชี ธนาคาร การชาระด้วยบัตรเครดติ การส่งธนาณตั ิ เปน็ ต้น • -ซึ่งผขู้ ายจะต้องมีทางเลือกให้ลูกคา้ หลายทางเลือก • เพื่อความสะดวกของลกู คา้ เชน่ ชาระโดยบตั รเครดิต นยิ มในกลุ่มผซู้ อื้ ชาว ต่างประเทศ • ซึ่งการชาระเงนิ ดว้ ยบัตรเครดิตรา้ นคา้ ตอ้ งติดต่อกับธนาคาร เพื่อขอเปน็ ร้านค้ารับ บตั รเครดติ 26

โครงสรา้ งของระบบพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (ตอ่ ) 3. ระบบการชาระเงนิ (Payment System) ต่อ • หากมลี ูกคา้ ซอื้ สนิ คา้ ชาระเงนิ ด้วยบัตรเครดติ จะมกี ารสง่ ขอ้ มลู หมายเลขบัตร เครดิตไปตรวจสอบกบั เคร่อื งคอมพวิ เตอรข์ องธนาคารแหง่ นน้ั • โดยการส่งข้อมลู บัตรเครดิต จะมรี ะบบรักษาความปลอดภัยที่เข้ารหสั ข้อมลู บตั ร เครดติ ทไ่ี ม่สามารถมผี อู้ นื่ มาขโมยไปใช้ได้ • วธิ ที นี่ ยิ มในปจั จบุ ันจะใช้ระบบรักษาความปลอดภัยทเ่ี รยี กวา่ Secure Socket Layer (SSL) 27

Digital Wallet กระเปา๋ เงนิ ดิจทิ ลั ของคนยคุ ใหม่ • Digital Wallet เปน็ รูปแบบการจ่ายเงนิ แบบใหมท่ ีถ่ ูกพัฒนาจากการนาเอาระบบดจิ ทิ ัลมาใช้ ในการ บันทึกข้อมูลช่องทางการชาระเงินท้งั หมดไวใ้ นสมาร์ทโฟน เช่น บัญชีธนาคาร บตั รเครดิต

mCommerce (Mobile Commerce) คือ การดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั ธุรกรรม หรือการเงิน โดยผา่ นเครือข่ายโทรศัพท์เคล่อื นท่ี หรอื การคา้ ขายตามระบบแนวความคดิ ของระบบการคา้ อิเลก็ ทรอนิกส์ E-Commerce ท่ใี ช้อปุ กรณ์ พกพาไรส้ ายเป็นเครื่องมือในการส่งั ซอื้ และขายสนิ คา้ ตา่ งๆ ทัง้ การสัง่ ซอื้ สินค้าที่เปน็ รูปธรรม หรอื นามธรรม รวมทง้ั การรบั -ส่งอเี มล์ 29

30

sCommerce (Social Commerce) \"Social Commerce\" หรอื การคา้ บนโซเชยี ลมเี ดีย Social Commerce คือ \"การขายสินค้าโดยอาศัยมวลขน และสงั คมเปน็ ตัวกระตนุ้ ใหเ้ กิดความยากและการซ้อื เกิดขึน้ ผ่านเทคโนโลยีของโซเชยี ลเน็ตเวิรก์ (Social Network)\" ท่ที าให้คนสามารถสื่อสารกบั เพ่อื นๆ และคน รอบข้างของตัวเองไดง้ ่ายมากข้ึน มันได้สรา้ งรูปแบบการ ปฏิสัมพนั ธ์ (Engagement) รูปแบบใหม่ ที่ทาใหเ้ กดิ การ โน้มนา้ ว ชักชวน คนจานวนมากไดง้ า่ ยๆ ผา่ นบริการอย่าง Facebook หรอื Twitter 31

ขอ้ ควรระวงั เม่ือซือ้ ของออนไลน์ 1.อย่าใหห้ มายเลขบตั รเครดิตผ่านทางอเี มลล์ 2.ตรวจสอบความน่าเชือ่ ถอื ของรา้ นค้าเสมอ 3.แน่ใจวา่ เว็บไซต์ตา่ งๆปลอดภัยสาหรบั คณุ 4.เช็คยอดหนี้ในบัตรเครดติ อยา่ งละเอยี ด 5.ไม่มีการสง่ ลิงค์หรอื ส่งข้อมลู สาคญั ทางอีเมลล์ 6.กรณีเชื่อตอ่ ผ่านไวไฟ ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ การเชอ่ื มต่อไดม้ ีการเข้ารหสั WPA2 32

33

34


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook