Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือปูชนียาจารย์แห่งคณะครุศาสตร์และศิษย์เก่าเกียรติยศประจำปี ๒๕๖๕

หนังสือปูชนียาจารย์แห่งคณะครุศาสตร์และศิษย์เก่าเกียรติยศประจำปี ๒๕๖๕

Published by tkitsanan, 2022-07-07 11:21:36

Description: หนังสือปูชนียาจารย์แห่งคณะครุศาสตร์และศิษย์เก่าเกียรติยศประจำปี ๒๕๖๕

Search

Read the Text Version

ปชู นยี าจารย์ แหง่ คณะครศุ าสตร์ ศิษย์เก่าเกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕ เน่อื งในโอกาสวันคล้ายวนั สถาปนาคณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๕



คำ�นำ� คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ สถาบนั แหง่ แรกของประเทศ ทจ่ี ดั หลกั สตู รการฝกึ หดั ครใู นระดบั อดุ มศกึ ษา โดยเรม่ิ จากแผนกครุ ศุ กึ ษาของโรงเรยี น ข้าราชการพลเรอื นของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว และพัฒนามา เปน็ แผนกวิชาฝึกหดั ครู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนกระทง่ั สถาปนาเปน็ คณะครศุ าสตร์ ในวนั ท่ี ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ โดยมศี าสตราจารย์ ทา่ นผหู้ ญงิ พนู ทรพั ย ์ น พวงศ ์ ณ อ ยธุ ยาเปน็ คณบดคี นแรกของคณะและยงั เปน็ คณบดี หญงิ คนแรกของประเทศไทยอกี ด้วย กวา่ หกทศวรรษที่ผา่ นมากับบทบาทสถาบนั ผลติ ครใู นแตล่ ะบรบิ ทของยคุ สมยั คณะครศุ าสตรเ์ ผชญิ กบั ความทา้ ทายทห่ี ลากหลาย และสามารถกา้ วผา่ นบรบิ ทตา่ ง ๆ มาไดอ้ ยา่ งสงา่ งามตามความเปลย่ี นแปลงทเี่ กิดขึ้น แต่ละช่วงเวลา ในโอกาสคลา้ ยวันสถาปนาคณะครุศาสตร์ ครบรอบ ๖๕ ปี ซง่ึ ปีนต้ี รงกบั วันหยุดราชการ คณะครุศาสตร์จึงเลื่อนมาจัดในวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๕ คณะครศุ าสตรไ์ ดจ้ ดั กจิ กรรมทส่ี �ำ คญั ทง้ั พธิ สี งฆ์ การแสดงปาฐกถาศาสตราจารย์ ทา่ นผหู้ ญงิ พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา ครง้ั ท่ี ๓๖ พธิ ปี ระกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารย์ และศษิ ยเ์ ก่าเกียรตยิ ศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕ โดยการรกั ษาระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ซึ่งเป็นมาตรการทจ่ี ำ�เป็นตอ้ งปฏิบัตอิ ยู่ 4 ปชู นยี าจารยแ์ ห่งคณะครศุ าสตร์และศิษย์เกา่ เกียรตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

คณะครุศาสตร์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า งานวันสถาปนาคณะครุศาสตร์ ในครั้งนี้ แม้จะมีรูปแบบกิจกรรมบางอย่างเปลี่ยนแปลงไปบ้าง แต่ยังคงไว้ซึ่ง การสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม รวมถึงสืบทอดสายใยความผกู พัน ระหว่างคณาจารย์ และระหวา่ งครูกับศษิ ย์ เพอ่ื เสรมิ สร้างความเข้มแข็งให้สถาบัน ครศุ กึ ษาแหง่ น้ี เปน็ เสาหลกั ของแผน่ ดนิ ดา้ นการศกึ ษาอยา่ งมน่ั คงและดงี ามสบื ตอ่ ไป (รองศาสตราจารย์ ดร.ศริ ิเดช สุชีวะ) คณบดี 5 ปูชนยี าจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์และศษิ ย์เกา่ เกยี รตยิ ศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ปูชนียาจารย์แห่งคณะครุศาสตร์ และศิษย์เก่าเกียรติยศ นบั เนอ่ื งจากปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๓๓ ทจ่ี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดป้ ระกาศ เกยี รตคิ ุณยกยอ่ งศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ทา่ นผหู้ ญงิ พนู ทรพั ย ์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา ผกู้ อ่ ตง้ั คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ ปฐมปชู นยี าจารยแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั อนั เปน็ เกยี รตคิ ณุ ทค่ี ณะครศุ าสตรภ์ าคภมู ใิ จอยา่ งยง่ิ ในมงคลโอกาส ครบรอบหา้ ทศวรรษแหง่ การสถาปนาคณะครศุ าสตร์ และ ๑๑๕ ปี การฝกึ หดั ครไู ทย เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะครศุ าสตรจ์ งึ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารย์ แหง่ คณะครศุ าสตรเ์ ปน็ ปแี รก เพอ่ื ยกยอ่ งเชดิ ชบู คุ คลผเู้ ปน็ ตน้ แบบแห่งวิชาชพี ครู จ�ำ นวน ๖ ทา่ น คอื ศาสตราจารยก์ ิตติคณุ คุณดวงเดือน พศิ าลบตุ ร ศาสตราจารย์ ดร.วจิ ติ ร ศรสี อา้ น ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร.วรศกั ด์ิ เพยี รชอบ ศาสตราจารย์ กิตติคุณ ดร.สุจริต เพียรชอบ ศาสตราจารย์กิตติคุณ สุมน อมรวิวัฒน์ และ ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ อ�ำ ไพ สจุ รติ กลุ จากนน้ั ๕๑ ปขี องการสถาปนาคณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงจัดให้มีการประกาศเกียรติคุณ “ปูชนียาจารย์แห่ง คณะครศุ าสตร”์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เปน็ ปที ่ี ๒ มคี ณาจารยท์ ไ่ี ดร้ บั การประกาศเกยี รตคิ ณุ จ�ำ นวน ๕ ท่าน คอื ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.นงลักษณ์ วิรัชชัย ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร.ไพฑรู ย ์ สนิ ลารตั น ์ ศาสตราจารย์ กติ ตคิ ณุ ดร.สมหวงั พธิ ยิ านวุ ฒั น์ และศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร.อทุ มุ พร จามรมาน 6 ปูชนยี าจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์และศษิ ยเ์ กา่ เกียรติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

ตอ่ มาใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ จงึ ไดม้ กี ารพจิ ารณาประกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารย์ แหง่ คณะครศุ าสตร์ เปน็ ครง้ั ท่ี ๓ มคี ณาจารยท์ ไ่ี ดร้ บั การประกาศเกยี รตคิ ณุ จ�ำ นวน ๓ ท่าน คอื รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา ศาสตราจารย์ กิตติคณุ ยุพิน พพิ ธิ กลุ และรองศาสตราจารย์ ดร.รตั นา ตุงคสวัสดิ์ คณะครุศาสตร์ได้จัดกิจกรรมสำ�คัญนี้สืบเนื่องมาจนถึง ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ซง่ึ ปนี ้ี มผี ไู้ ดร้ บั การประกาศเกยี รตคิ ณุ เปน็ ปชู นยี าจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตร์ จ�ำ นวน ๕ ทา่ นคือ ศาสตราจารย์ ดร.สรุ างค์ โคว้ ตระกลู ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ุณ สชุ าติ โสมประยรู ศาสตราจารย์กิตตคิ ณุ ประคอง ตันเสถยี ร รองศาสตราจารย์ นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์ และศาสตราจารย์ ประภาศรี สีหอ�ำ ไพ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการโครงการประกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารย์ แหง่ คณะครศุ าสตร์ ประจ�ำ ปี ๒๕๕๔ มมี ตเิ หน็ วา่ ควรมกี ารประกาศเกยี รตคิ ณุ แห่งคณะครุศาสตร์ ในโอกาสหรือวาระที่สำ�คัญเพื่อให้สมเกียรติแก่ผู้ได้รับ การประกาศเกียรติคุณ จึงสมควรให้มีการประกาศเกียรติคุณดังกล่าวใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ซึ่งเป็นโอกาสได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ทรงเปดิ อาคารพระมง่ิ ขวญั การศึกษาไทยและทรงเข้ารว่ มการประชมุ นานาชาติ CESA ๒๐๑๒ พรอ้ มทงั้ ทรง พระราชทานเขม็ ทร่ี ะลึกแกศ่ าสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ปฐมปชู นียาจารย์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในการนี้ คณะครุศาสตร์ จงึ ได้ ประกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตร ์ จ�ำ นวน ๕ ทา่ น คอื ดร.สายสรุ ี จุตกิ ุล รองศาสตราจารย ์ ดร.กรรณิการ์ สจั กุล รองศาสตราจารย์ ดร.ถนอมวงศ ์ กฤษณ์เพ็ชร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณี และผู้ช่วยศาสตราจารย ์ พนั เอกชชู าติ พิทักษากร ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะครศุ าสตรไ์ ดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ จากสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเขา้ รว่ มการประชุมวิชาการ เรอื่ ง “สมเด็จ พระพันวัสสาอยั ยิกาเจ้า: ตน้ ธารการศึกษาสตรีไทย” คณะครุศาสตร ์ จึงถือเปน็ อกี วาระหนง่ึ ทจ่ี ดั ใหม้ กี ารพจิ ารณาประกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตร ์ โดยในปนี ้ี มีผู้ได้รับการประกาศเกียรติคณุ จ�ำ นวน ๒ ทา่ น คือ รองศาสตราจารย์ 7 ปชู นยี าจารยแ์ ห่งคณะครุศาสตรแ์ ละศิษย์เก่าเกียรตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

นริ มล สวสั ดบิ ตุ ร และศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ ิ์ ศริ บิ รรณพทิ กั ษ์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ นบั เปน็ ปพี เิ ศษ ดว้ ยคณะครศุ าสตรไ์ ดผ้ นวกงานวนั ครู ซง่ึ จดั ขน้ึ ในวนั ท่ี ๑๖ มกราคมของทกุ ปี เขา้ กบั งานวนั สถาปนาคณะครศุ าสตรใ์ นปนี ้ี เน่อื งจากมีอุปสรรคท่เี ป็นเหตุให้ไม่สามารถจัดงานวันครูได้ตามกำ�หนดเดิมดังเช่น ที่ผ่านมา ในปีนี้งานวันสถาปนาคณะครุศาสตร์และงานวันครู จึงมีกิจกรรมที่ หลากหลาย ประกอบด้วย พิธีสงฆ์ พิธีการประกาศเกียรติคุณต่าง ๆ การมอบ รางวลั ผปู้ ระกวดค�ำ ประพนั ธเ์ กย่ี วกบั ครแู ละวชิ าชพี ครู การปาฐกถาศาสตราจารย์ ทา่ นผหู้ ญงิ พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา ครง้ั ท่ี ๒๘ และการจดั ประชมุ วชิ าการ เรื่อง การศกึ ษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ในปนี มี้ ีผ้ไู ดร้ บั การประกาศเกียรตคิ ณุ เป็น ปูชนยี าจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์ จำ�นวน ๓ ท่าน คอื รองศาสตราจารย์วบิ ลู เพญ็ ชยั ปาณ ี รองศาสตราจารยร์ จุ ริ ะ สภุ รณไ์ พบลู ย ์ และรองศาสตราจารย ์ ดร.อนนั ต ์ อตั ชู ส�ำ หรับปี พ.ศ. ๒๕๕๘ งานวันสถาปนาคณะครุศาสตรม์ ีกิจกรรมทจ่ี ดั เปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี ประกอบด้วย พิธีสงฆ์ พธิ ีการประกาศเกียรตคิ ุณตา่ ง ๆ ปาฐกถา ศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพนู ทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา คร้งั ท่ี ๒๙ หัวข้อ “ดว้ ยจติ วญิ ญาณคร:ู ครู ตชด. โดย พ.ต.ท. ปรชี า วงั จนิ า ผบู้ งั คบั กองรอ้ ย ตชด. ท่ี ๓๒๒ และการบรรยายพเิ ศษ “สง่ิ ทข่ี าดหายไปในกระบวนการปฏริ ปู การศกึ ษาไทย” การแถลงขา่ วเปดิ โครงการ Education Watch และผลการส�ำ รวจ “นสิ ยั การเรยี น” ของเด็กไทยและเสวนา “นิสัยการเรียนของเดก็ ไทยจะไปทางไหนดี” ปนี ี้มผี ู้ไดร้ บั การประกาศเกียรตคิ ุณเปน็ ปชู นียาจารย์แห่งคณะครศุ าสตร์ จำ�นวน ๒ ท่าน คือ รองศาสตราจารย์ ดร.สิรพิ ันธุ์ สวุ รรณมรรคา และอาจารยช์ ยั ธวชั ว์ ไทยง ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เนอ่ื งจากวนั ท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ตรงกบั วนั หยดุ ราชการ คณะครศุ าสตร์ จึงเลอ่ื นการจัดงานวันสถาปนาคณะครศุ าสตรม์ าเปน็ วนั ท่ี ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ในปนี ม้ี กี จิ กรรมเหมอื นปที ผ่ี า่ นมา ประกอบดว้ ย พิธีสงฆ์ พิธีการประกาศเกยี รตคิ ณุ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ปูชนยี าจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์ จำ�นวน ๓ ทา่ น คือ รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีวัฒน์ ปติ ยานนท ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สนานจิตร สุคนธทรัพย์ และรองศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ นอกจากน้ี เพอ่ื เปน็ การร�ำ ลกึ ถงึ ปฐมปชู นยี าจารยแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และ ผกู้ อ่ ตง้ั คณะครศุ าสตรท์ จ่ี ากไป คณะครศุ าสตรจ์ งึ เหน็ ควรจดั ปาฐกถาศาสตราจารย์ 8 ปชู นียาจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตรแ์ ละศษิ ยเ์ กา่ เกียรติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

ทา่ นผหู้ ญงิ พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา ครง้ั ท่ี ๓๐ เรอ่ื ง “คดิ ถงึ ...ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา” เพื่อเป็นการเผยแพร่เกียรติคุณ ของท่านที่มีต่อวงการศึกษาโดยเฉพาะวงการศึกษาวชิ าชีพครู ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เนอ่ื งจากวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ตรงกบั วันหยดุ ราชการคณะครุศาสตร์จึงเลอื่ นการจัดงานวนั สถาปนาคณะครศุ าสตร์มาเปน็ วนั ท่ี ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ในปีน้มี ีกจิ กรรมเหมอื นปที ่ผี า่ นมา ประกอบดว้ ย พิธสี งฆ์ พิธีการประกาศเกยี รติคุณต่างๆ ไดแ้ ก ่ ปชู นียาจารย์แห่งคณะครศุ าสตร์ จำ�นวน ๓ ทา่ น คือ อาจารย์สวสั ดิ์ จงกล ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา และรองศาสตราจารย์วารินทร์ มาศกุล และ เพอ่ื ใหเ้ หน็ ถงึ พฒั นาการของ คณะครุศาสตรใ์ นดา้ นตา่ งๆตั้งแตอ่ ดีตปัจจุบนั จนถึงอนาคตคณะครศุ าสตรจ์ งึ จดั ปาฐกถาศาสตราจารย์ทา่ นผหู้ ญิงพนู ทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ครง้ั ที่ ๓๑ เรือ่ ง “ครศุ าสตร์ รฤก : มองอดตี สอู่ นาคต” เพ่อื เปน็ การมองไปข้างหนา้ โดยนำ� ประสบการณ์ที่ผ่านมาในแต่ละทศวรรษมารวบรวมและสังเคราะห์ เพื่อนำ�ไปสู่ การสรา้ งสรรค์นวัตกรรมทางการศกึ ษาให้เหมาะสมกับทศวรรษปจั จบุ ัน ปีพ.ศ.๒๕๖๑งานวนั สถาปนาคณะครุศาสตร์มกี จิ กรรมทีจ่ ัดเป็นประจ�ำ ทุกปี ประกอบด้วย พิธีสงฆ์ พิธีการประกาศเกียรติคุณต่าง ๆ และปาฐกถา ศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ครั้งที่ ๓๒ เรื่อง “ความเป็นผูน้ ำ�ทางวชิ าการของศาสตราจารย์ ทา่ นผู้หญิงพูนทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา” ปนี ม้ี ผี ไู้ ดร้ บั การประกาศเกยี รตคิ ณุ เปน็ ปชู นยี าจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตร์ จ�ำ นวน ๒ ทา่ น คอื ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ วริ ตั น์ พชิ ญไพบลู ย์ และรองศาสตราจารย์ สนุ ยี ์ สนิ ธเุ ดชะ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ งานสถาปนาคณะครศุ าสตรม์ กี จิ กรรมทเ่ี ปน็ จดั ประจ�ำ ทกุ ปี ประกอบด้วย พิธีสงฆ์ พิธีการประกาศเกียรติคุณต่าง ๆ ได้แก่ปูชนียาจารย์แห่ง คณะครุศาสตร์จำ�นวน ๒ ท่าน คือ รองศาสตราจารย์ทรรศนียา กัลยาณมิตร และศาสตราจารยก์ ิตติคุณ ดร.รัตนา พุ่มไพศาล และเนื่องจากเป็นปีมหามงคล พระบรมราชาภเิ ษกฯ คณะครศุ าสตรจ์ งึ เหน็ ควรจดั ปาฐกถาศาสตราจารยท์ า่ นผหู้ ญงิ 9 ปูชนยี าจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์และศิษยเ์ กา่ เกียรตยิ ศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา ครั้งที่ ๓๓ เรื่อง “พระบรมราโชบายในพระบาท สมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทร มหาวชริ าลงกรณฯ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั กบั การพัฒนาการศึกษา” โดย พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสวุ รรณ องคมนตรี ปี พ.ศ.๒๕๖๓ เนื่องจากเกิดเหตุการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนาหรือ โควิด-๑๙ ไปทั่วโลก ซึ่งส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของพลเมืองโลกในทุก ๆ ด้าน เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั สขุ อนามยั และความปลอดภยั ในปนี ี้ คณะครุศาสตรจ์ งึ เปลย่ี น รูปแบบของการจัดงานแตกตา่ งจากเดมิ โดยการรกั ษาระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) แตย่ ังคงกจิ กรรมท่ีสำ�คัญไวค้ รบถว้ น ท้งั พธิ ีสงฆ์ (งดกจิ กรรมตักบาตร) การแสดงปาฐกถาศาสตราจารยท์ า่ นผหู้ ญงิ พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ครั้งที่ ๓๔ แต่งดพิธีรับมอบเข็มและโล่ประกาศเกียรติคุณปูชนียาจารย์และศิษย์เก่าเกียรติยศ ปนี ม้ี ผี ไู้ ดร้ บั การประกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตร์ จ�ำ นวน ๒ ทา่ น คอื รองศาสตราจารย์วาสนา โกวิทยา และรองศาสตราจารย์ปิตินันธ์ สุทธสาร และผูไ้ ด้รับการประกาศเกยี รติคณุ ศิษยเ์ ก่าเกียรติยศ จ�ำ นวน ๑๙ ท่าน โดยจดั ทำ� วดี ทิ ศั นป์ ระกาศเกยี รตคิ ณุ และถา่ ยทอดสดกจิ กรรมทง้ั หมด ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ ปี พ.ศ.๒๕๖๔ สถานการณก์ ารระบาดของไวรสั โคโรนา หรอื โควดิ -๑๙ มีแนวโน้มที่ยังไม่ดีขึ้น ทำ�ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นการป้องกัน สขุ อนามยั และความปลอดภยั คณะครศุ าสตรจ์ งึ ไดจ้ ดั รปู แบบของกจิ กรรมแตกตา่ ง จากเดิม โดยการรักษาระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ซึ่งเป็นมาตรการ ที่จำ�เปน็ ต้องปฏบิ ตั อิ ยู่ แตย่ ังคงกิจกรรมทีส่ ำ�คญั ครบถ้วน ทัง้ พิธีสงฆ์ (งดกจิ กรรม ตักบาตร) การแสดงปาฐกถาศาสตราจารยท์ า่ นผหู้ ญงิ พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ครง้ั ท่ี ๓๕ ส�ำ หรบั พธิ ปี ระกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารยแ์ ละศษิ ยเ์ กา่ เกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔ ซง่ึ มผี ไู้ ดร้ บั การประกาศเกยี รตคิ ณุ ปชู นยี าจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตร์ จำ�นวน ๑ ท่าน คือ ศาสตราจารย์กิตติคุณกำ�จร สุนพงษ์ศรี และผู้ได้รับการประกาศเ กยี รตคิ ณุ ศษิ ยเ์ กา่ เกยี รตยิ ศ จ�ำ นวน ๒๓ ทา่ น คณะครศุ าสตรไ์ ดจ้ ดั ท�ำ เปน็ วดี ทิ ศั น์ ประกาศเกียรติคุณ ทั้งนี้ กิจกรรมที่กล่าวมาทั้งหมดได้ดำ�เนินการถา่ ยทอดสดผ่ านชอ่ งทางออนไลน์ 10 ปชู นียาจารย์แหง่ คณะครุศาสตรแ์ ละศิษย์เกา่ เกยี รติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ปี พ.ศ.๒๕๖๕ เนอ่ื งจากวนั ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ตรงกบั หยุดราชการ คณะครศุ าสตร์ จงึ เลอ่ื นการจดั งานวนั สถาปนาคณะครศุ าสตรม์ าเปน็ วนั ท่ี๘ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ในปีนี้ คณะครุศาสตร์สามารถจัดกิจกรรมได้ตามปกติเช่นในช่วงก่อนเกิด สถานการณก์ ารระบาดของไวรสั โคโรนา หรอื โควดิ -๑๙ อันประกอบด้วย พิธีสงฆ์ การแสดงปาฐกถาศาสตราจารย ์ ท า่ นผหู้ ญงิ พนู ทรพั ย ์ น พวงศ ์ ณ อ ยธุ ยา ค รง้ั ท ่ี ๓ ๖ พิธีการประกาศเกียรติคณุ ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ปูชนียาจารย์แหง่ คณะครศุ าสตร์จำ�นวน ๑ ทา่ น คอื ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ อมจนั ทร์ สวุ นิ ทวงศ์ และผไู้ ดร้ บั การประกาศเ กียรติคุณศษิ ย์เก่าเกยี รติยศ จ�ำ นวน ๑๒ ทา่ น การจัดงานวนั คล้ายวนั สถาปนา คณะครุศาสตร์ครั้งนี้ คงไว้ซึ่งการสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม รวมถึงสืบทอดสายใยความผูกพันระหว่างคณาจารย์ และระหว่างครูกับศิษย์ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้สถาบันครุศึกษาแห่งนี้ เป็นเสาหลักของแผ่นดิน ด้านการศกึ ษาอย่างม่ันคงและดงี ามสืบตอ่ ไป 11 ปูชนียาจารยแ์ ห่งคณะครุศาสตร์และศษิ ย์เก่าเกียรติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

ก�ำ หนดการ งานวันคลา้ ยวันสถาปนาคณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ครบรอบ ๖๕ ปี ในวันศกุ ร์ท่ี ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .................................... ๐๖.๐๐ – ๐๖.๓๐ น. สกั การะพระพรหม – เจ้าท่ี พิธสี งฆ ์ ณ หอ้ งพนู ทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา อาคารพระมิ่งขวญั การศกึ ษาไทย ๐๖.๓๐ – ๐๗.๒๐ น. ถวายภตั ตาหารเช้าพระสงฆ์ จ�ำ นวน ๙ รปู พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ ถวายสังฆทาน ตักบาตรอาหารแห้ง ๐๗.๒๐ – ๐๘.๓๐ น. ผ้รู ่วมงานรบั ประทานอาหารเชา้ ณ บริเวณชั้น ๒ อาคารพระมงิ่ ขวัญการศึกษาไทย พิธกี าร ณ ห้องพนู ทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา อาคารพระมิ่งขวัญการศึกษาไทย ๐๘.๐๐ – ๐๘.๔๕ น. ลงทะเบียนผู้ร่วมงาน ๐๘.๔๕ – ๐๙.๓๐ น. พธิ เี ปดิ งานวนั คลา้ ยวนั สถาปนาคณะครศุ าสตร์ ครบรอบ ๖๕ ปี - ประธาน (รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาร มาลากลุ ณ อยธุ ยา) จดุ ธปู เทยี นบชู าพระรัตนตรัย - คณบดี (รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สชุ ีวะ) กล่าวรายงาน - ประธาน (รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาร มาลากลุ ณ อยธุ ยา) กลา่ วเปิดงาน ๐๙.๓๐ – ๑๐.๓๐ น. ปาฐกถาศาสตราจารยท์ า่ นผู้หญงิ พูนทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ครั้งท่ี ๓๖ 12 ปูชนียาจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์และศิษยเ์ กา่ เกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

- วีดทิ ัศนป์ ระกาศเกียรติคณุ ปชู นียาจารย์ แห่งคณะครศุ าสตร์ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ - วดี ิทัศนป์ ระกาศเกยี รติคุณศษิ ยเ์ กา่ เกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ - วดี ิทศั นป์ ระกาศเกยี รตคิ ุณคณาจารย์อาวุโส ประจำ�ปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ - วีดิทัศนป์ ระกาศเกียรติคุณคณาจารย์ดีเด่น ประจำ�ปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ - วดี ทิ ศั นป์ ระกาศเกยี รตคิ ณุ นสิ ติ ดเี ดน่ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ - มอบโลป่ ระกาศเกียรตคิ ณุ และของท่รี ะลึกแก่ ๑๒.๐๐– ๑๓.๐๐ น. ปชู นียาจารย์และศษิ ย์เกา่ เกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕ โดย ประธานในพธิ ี - มอบของทร่ี ะลกึ แกป่ ชู นยี าจารยแ์ ละศษิ ยเ์ กา่ เกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕ โดย สมาคมครศุ าสตร์สัมพันธ์ รับประทานอาหารกลางวัน ณ บรเิ วณช้ัน ๒ อาคารพระมิง่ ขวัญการศกึ ษาไทย .....................................................

ประกาศเกียรตคิ ณุ ปูชนียาจารย์ แห่งคณะครุศาสตร์ ประจำ�ปี ๒๕๖๕ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ เอมจันทร์ สุวินทวงศ์ 14 ปชู นยี าจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตร์และศิษย์เกา่ เกยี รติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕



ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ เอมจันทร์ สุวินทวงศ์ ประวตั กิ ารศึกษา พ.ศ. ๒๕๐๙ – ๒๕๑๑ ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๐๑ – ๒๕๐๔ ครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ามัธยมศึกษา (การสอนสงั คมศึกษา – การสอนภาษาองั กฤษ) จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๔๙๙ – ๒๕๐๐ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๘ โรงเรยี นสรุ นารีวิทยา ประวตั กิ ารท�ำ งาน พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๔๒ อาจารย์ประจำ�ภาควชิ ามัธยมศกึ ษา สอนวิชาในระดับปริญญาตรี - โท สาขาการสอนสงั คมศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๓ – ๒๕๒๐ ฝา่ ยทะเบียน ผปู้ ระสานงานและเลขานุการ ส�ำ นกั งานบณั ฑติ ศกึ ษา คณะครุศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๐๕ – ๒๕๑๓ รบั ราชการตำ�แหนง่ อาจารยต์ ร ี คณะครศุ าสตร์ ปฏบิ ัติงานโรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 16 ปชู นียาจารยแ์ ห่งคณะครศุ าสตรแ์ ละศิษยเ์ ก่าเกยี รติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

ผลงานส�ำ คัญ - เลขานกุ ารโรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั - เลขานกุ ารและผปู้ ระสานงานส�ำ นกั งานบณั ฑติ ศกึ ษา ประจ�ำ คณะครศุ าสตร์ - เลขานกุ ารภาควิชามัธยมศกึ ษา - เจ้าหนา้ ทีฝ่ า่ ยแนะแนวของมหาวทิ ยาลยั - อนกุ รรมการฝา่ ยวชิ าการ สโมสรอาจารย์ - ผปู้ ระสานงานบัณฑิตศึกษาของภาควิชามัธยมศกึ ษา - กรรมการจัดประสบการณว์ ชิ าชพี คณะครุศาสตร์ - ร่วมจัดอบรมครูในสังกัดกระทรวงมหาดไทยในนามวิทยากรจาก โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย - ร่วมจัดนำ�นักเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเข้าค่ายพักแรมเป็น กรณตี วั อยา่ งในลกั ษณะกจิ กรรมพเิ ศษทโ่ี รงเรยี นจดั เสรมิ ใหก้ บั นกั เรยี น - รว่ มจดั โปรแกรม Observation & Participation นสิ ติ ชน้ั ปที ่ี ๓ คณะครศุ าสตร์ - ประธานคณะกรรมการบริหารจดั การสอนวิชาพน้ื ฐานวิชาชีพครู - ผรู้ ่วมวิจยั เร่อื ง “ทักษะการตั้งค�ำ ถาม” - ผแู้ ตง่ ต�ำ รา เรอ่ื ง กลวธิ สี อนสงั คมศกึ ษา : การพฒั นาความคดิ และคา่ นยิ ม - วทิ ยากรจัดท�ำ “คมู่ อื ครูวชิ าสงั คมศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ 17 ปูชนยี าจารย์แห่งคณะครศุ าสตร์และศษิ ย์เกา่ เกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ประกาศเกยี รติคุณ ศษิ ย์เกา่ เกยี รติยศ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี ๒๕๖๕ ประเภทผูป้ ระสบความส�ำ เรจ็ สงู ในหน้าที่การงานหรอื วชิ าชีพ ๑. ศาสตราจารย ดร.ชูชัย สมทิ ธไิ กร ๒. ศาสตราจารย นาวาอากาศโท ดร.สุมติ ร สวุ รรณ ๓. ศาสตราจารย ดร.พนอเน่อื ง สุทัศน ณ อยุธยา ๔. ศาสตราจารย ดร.วิโฬฏฐ วัฒนานิมิตกูล ๕. รองศาสตราจารย ดร.นนั ทิยา นอยจันทร ประเภทผู้สรา้ งชื่อเสียงในระดับชาติ หรือ นานาชาติ ๑. รองศาสตราจารย นันทา ขนุ ภักดี ๒. รองศาสตราจารย ดร.บุรทนิ ขําภริ ัฐ ๓. รองศาสตราจารย ดร.เขมณัฏฐ มง่ิ ศริ ิธรรม

ประเภทผทู้ �ำ คุณประโยชนต์ ่อวงการศกึ ษา สังคม หรอื ประเทศชาติ ๑. รองศาสตราจารย ดร.ฉัตรนภา พรหมมา ๒. ผชู ว ยศาสตราจารย ปรญิ ญา มีสุข ๓. นางสาวจีเรียง บุญสม ๔. นายพิชติ วรี ังคบุตร 19 ปูชนียาจารย์แห่งคณะครศุ าสตรแ์ ละศิษยเ์ กา่ เกยี รติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

ประเภทผ้ปู ระสบความสําเรจ็ สงู ในหนา้ ท่กี ารงานหรือวชิ าชีพ ๑. ศาสตราจารย ดร.ชูชัย สมิทธไิ กร ๒. ศาสตราจารย นาวาอากาศโท ดร.สมุ ติ ร สุวรรณ ๓. ศาสตราจารย ดร.พนอเนือ่ ง สุทัศน ณ อยุธยา ๔. ศาสตราจารย ดร.วโิ ฬฏฐ วฒั นานมิ ิตกลู ๕. รองศาสตราจารย ดร.นนั ทิยา นอ ยจันทร 20 ปชู นียาจารย์แห่งคณะครุศาสตรแ์ ละศษิ ย์เก่าเกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕



ศาสตราจารย ดร.ชูชยั สมิทธิไกร ประวัตกิ ารศึกษา Ph.D. Industrial & Organizational Psychology พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๓๖ University of Nebraska, USA (Fulbright Scholarship) ครศุ าสตรมหาบัณฑติ พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๒๕ จติ วิทยาการศึกษาและการแนะแนว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั วิทยาศาสตรบณั ฑติ (สาธารณสุขศาสตร)์ พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๒๒ มหาวิทยาลยั มหดิ ล 22 ปชู นยี าจารยแ์ ห่งคณะครุศาสตรแ์ ละศษิ ยเ์ ก่าเกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ประวัตกิ ารท�ำ งาน พ.ศ. ๒๕๕๓-ปจั จุบัน ศาสตราจารยภ์ าควชิ าจติ วทิ ยา คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ (ได้รับการต่ออายรุ าชการเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๖๑) พ.ศ. ๒๕๓๙-๒๕๕๒ รองศาสตราจารย์ภาควิชาจติ วทิ ยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๓๘ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ภาควิชาจติ วิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๒๖-๒๕๓๐ อาจารย์ภาควชิ าจิตวิทยา คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๐-ปจั จบุ นั อาจารยพ์ เิ ศษ หลกั สตู รบณั ฑติ ศกึ ษา สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๑-ปัจจบุ นั Editorial Board The Journal of Behavioral Science (SCOPUS Indexed) พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๔๔ ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา และ ๒๕๕๐-๒๕๖๐ สาขาวชิ าจติ วิทยาอุตสาหกรรมและองคก์ าร ภาควชิ าจติ วิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๗–๒๕๖๐ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม ่ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๗ กรรมการบรหิ ารหลักสูตรบัณฑติ ศึกษา สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๖ รองผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั บรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 23 ปชู นยี าจารยแ์ ห่งคณะครศุ าสตรแ์ ละศิษยเ์ ก่าเกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๓๘ หวั หน้าภาควิชาจิตวทิ ยาภาควชิ าจติ วิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ มุมมองทมี่ ตี อ่ การพฒั นาวิชาชีพครู ครู คอื ผ้เู อ้ืออำ�นวยใหน้ กั เรยี นและนกั ศึกษาเกดิ การเรยี นรู้ทั้งในด้านความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ รวมทงั้ การพฒั นาบคุ ลิกภาพทีเ่ หมาะสม ดงั น้ัน ครูจึงมสี ่วน สำ�คัญในการก�ำ หนดคณุ ภาพของประชากรและสังคม วิชาชีพครจู ึงมีความส�ำ คญั อยา่ งยง่ิ ตอ่ การพฒั นาประเทศ และควรเปน็ ทร่ี วมของผทู้ ม่ี ที ง้ั ความเกง่ และความดี สามารถเปน็ ตวั อยา่ งดา้ นการท�ำ งาน การด�ำ เนนิ ชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ธรรม ดงั นน้ั จงึ ควร สง่ เสริมให้วิชาชีพครมู ีสถานภาพทโ่ี ดดเดน่ เป็นท่ียอมรับในสงั คม และมีรายได้ที่ เหมาะสม เพอ่ื เปน็ การดงึ ดดู ใหบ้ คุ คลทม่ี ที ง้ั ความเกง่ และความดใี หเ้ ขา้ มาสวู่ ชิ าชพี น้ี นอกจากนน้ั สถาบนั และหนว่ ยงานทด่ี แู ลก�ำ กบั การท�ำ งานของครูจะตอ้ งมนี โยบาย และแผนงานทส่ี ่งเสริมความกา้ วหนา้ ดา้ นอาชีพใหแ้ ก่ครู เพือ่ ให้ครสู ามารถเจริญ เติบโตในวิชาชีพของตนได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ในส่วนของตัวครเู อง กจ็ �ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมกี ารพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไมว่ า่ จะเปน็ การยกระดบั ทกั ษะ (upskill) หรอื การปรบั เปลีย่ นทักษะ (reskill) เพื่อใหท้ นั ตอ่ ความเปลยี่ นแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง และเทคโนโลยี 24 ปชู นยี าจารย์แห่งคณะครุศาสตรแ์ ละศษิ ย์เก่าเกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ศาสตราจารย นาวาอากาศโท ดร.สุมิตร สุวรรณ ประวัติการศกึ ษา ครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต (พฒั นศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๖ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ (การศกึ ษานอกระบบ) พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๔๐ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (บริหารศาสตร)์ พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๓๔ โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัตกิ ารท�ำ งาน กรรมการสภาวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๗ กรรมการสภาวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๗ กรรมการสภามหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๖ ประเภทคณาจารยป์ ระจ�ำ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรรมการบณั ฑิตศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๕ 25 ปูชนยี าจารย์แหง่ คณะครุศาสตร์และศษิ ยเ์ ก่าเกียรตยิ ศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

มุมมองที่มีตอ่ การพัฒนาวิชาชีพครู “คร”ู คือ ผ้สู ร้างทกุ คนใหม้ คี วามรแู้ ละมอี าชีพ เป็นผู้ชีน้ �ำ ทางปญั ญาใหก้ ับ คนในสงั คม วชิ าชพี ครจู ึงมีความส�ำ คญั ต่อทกุ คน ดงั น้ันเราจึงจำ�เปน็ ตอ้ งคดั เลือก “คนดแี ละคนเกง่ ” เขา้ มาสวู่ ชิ าชพี ครู (ไมใ่ ชใ่ ครกไ็ ดม้ าเปน็ คร)ู วชิ าชพี ครตู อ้ งพฒั นา ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูงอย่างแท้จริง มีการสอบคัดเลือกอย่างเข้มข้น มีการเรียน ทจ่ี รงิ จงั ทง้ั ในเนอ้ื หาวชิ าเอก วชิ าชพี ครแู ละการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอน ซง่ึ อาจจะตอ้ งมี การเรยี นมากถึง ๖ ปี และให้เป็นวุฒิปริญญาโท เพื่อให้ได้ครูที่มีความรู้ดแี ละ มวี ฒุ ิภาวะมากพอสมควรก่อนไปปฏิบตั กิ ารสอนเดก็ นักเรียนได้ ในขณะเดยี วกนั รฐั เองกต็ ้องใหค้ วามส�ำ คญั ต่อการพัฒนาวชิ าชีพครู มีการให้ใบอนุญาตประกอบ วชิ าชพี พรอ้ มทง้ั เงนิ คา่ ตอบแทนรายเดอื นทส่ี มกบั ความเปน็ วชิ าชพี ชน้ั สงู มรี ะบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานที่เข้มข้น หากประพฤติผิดวินัยร้ายแรงต้องให้ออก จากราชการ และตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณอยา่ งเขม้ งวด โดยเฉพาะเรอ่ื งการดม่ื เหลา้ สบู บหุ ร่ี และการมหี นส้ี นิ ลน้ พน้ ตวั เพอ่ื เปน็ แบบอยา่ งทด่ี กี บั เดก็ นกั เรยี น “เพราะครู คอื คนสำ�คัญของระบบการศกึ ษา” 26 ปูชนยี าจารย์แห่งคณะครุศาสตรแ์ ละศิษย์เกา่ เกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ศาสตราจารย์ ดร.พนอเน่ือง สุทัศน์ ณ อยธุ ยา ประวตั กิ ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๓๙-๒๕๔๖ อกั ษรศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (ภาษาศาสตร)์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (ระดบั ปรญิ ญาโทควบปริญญาเอก) พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๙ ครศุ าสตรบณั ฑติ (มัธยมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประวตั ิการท�ำ งาน พ.ศ. ๒๕๕๗-ปจั จุบัน ผู้อำ�นวยการสถาบนั วจิ ัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจา้ พระยา พ.ศ. ๒๕๔๖-ปจั จบุ ัน อาจารยป์ ระจ�ำ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗ รองอธกิ ารบด ี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ รองคณบดี คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 27 ปูชนยี าจารย์แห่งคณะครศุ าสตรแ์ ละศิษยเ์ ก่าเกียรตยิ ศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

มุมมองท่ีมตี ่อการพัฒนาวิชาชพี ครู การพฒั นาวิชาชพี ครู ควรให้ความสำ�คัญกับ ๒ มิติหลัก คอื บุคคลผเู้ ปน็ ครู และมติ ิภายนอกที่หนุนเสริมการพัฒนา สำ�หรับการพัฒนาตัวบุคคลผู้เปน็ ครู นอกเหนือจากการพัฒนาให้ครูมีความรู้และทักษะในการสอน ซึ่งเป็นลักษณะ พน้ื ฐานแลว้ สง่ิ ส�ำ คญั คอื การพฒั นาใหค้ รมู คี ณุ ธรรมทศั นคติเจตคติและบคุ ลกิ ภาพ ทส่ี ามารถเทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลงทั้งในระดบั ชุมชน ประเทศ และโลก พร้อมทจี่ ะ ประยุกต์องค์ความรู้และทักษะท่ีตนเองมีไปสู่การพัฒนาคุณภาพของเยาวชน และลกู ศษิ ยใ์ หเ้ ปน็ ผเู้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลงและสามารถเปน็ พลเมอื งที่มีคุณภาพ ตง้ั แตร่ ะดบั ของครอบครวั ชมุ ชน ประเทศ และโลก โดยผเู้ ปน็ ครคู วรไดร้ บั การพฒั นา ให้มีความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาและเลือกใช้วิธีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ การปลูกฝังคุณธรรม วิธกี ารคิดวเิ คราะห์ ทศั นคติ เจตคติ และบคุ ลกิ ภาพ ในทางบวกให้แก่เยาวชนและลูกศิษย์ สำ�หรับองค์ประกอบภายนอกที่หนุนเสริม การพัฒนาบุคคลผู้เป็นครูนั้น หากจะวิเคราะห์ในภาพรวม มอี งคป์ ระกอบทม่ี ี ความยดื หยนุ่ ในการด�ำ เนนิ การแตกตา่ งกนั ดงั นน้ั การหนนุ เสรมิ การพฒั นาวชิ าชพี ครู ดว้ ยองคป์ ระกอบภายนอกสว่ นใด ตอ้ งใหเ้ หมาะสมและเออ้ื ประโยชนต์ อ่ ประเดน็ การพฒั นาในขณะนัน้ 28 ปูชนียาจารย์แห่งคณะครุศาสตร์และศษิ ยเ์ กา่ เกียรติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

ศาสตราจารย์ ดร.วโิ ฬฏฐ์ วัฒนานิมิตกลู ประวตั ิการศกึ ษา ครุศาสตรดุษฎีบัณฑติ (หลกั สตู รและการสอน) พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๔๑ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ครุศาสตรมหาบัณฑติ พ.ศ. ๒๕๒๙-๒๕๓๐ (นิเทศการศกึ ษาและพฒั นาหลกั สูตร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั การศกึ ษาบัณฑติ (ประวตั ิศาสตร)์ พ.ศ. ๒๕๒๔-๒๕๒๕ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร ประวัตกิ ารทำ�งาน รองอธิการบดี ฝา่ ยวชิ าการ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา คณบดคี ณะครศุ าสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจา้ พระยา รองอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๐ 29 ปชู นยี าจารย์แหง่ คณะครุศาสตร์และศิษย์เกา่ เกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

มมุ มองที่มีตอ่ การพัฒนาวชิ าชพี ครู การพฒั นาวชิ าชพี ครู จ�ำ เปน็ ตอ้ งด�ำ เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอ่ื งใหท้ นั กบั การเปลย่ี นแปลง ในยุกตโ์ ลกาภิวัตน์ ในมุมมองของการด�ำ เนินงานใน ๒ ลักษณะ ไดแ้ ก่ (๑) ในระดบั การบรหิ ารจดั การกลา่ วคอื เปน็ การบรหิ ารจดั การปจั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ประกอบดว้ ย การสรา้ งวฒั นธรรมในการปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเองของผปู้ ระกอบ วชิ าชพี ครู การสนบั สนนุ ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม การวางแผนและการบรหิ ารจดั การ ด้านวิธีการพัฒนาและงบประมาณที่สอดคล้องกับบริบทของแต่ละสถานศึกษา และการก�ำ หนดรปู แบบการสง่ เสรมิ และพฒั นาดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การพฒั นา รวมท้งั การประสานการดำ�เนินงานร่วมกับองค์กรวิชาชีพครูในการพัฒนาบุคลากร ด้านวิชาชีพครู (๒) ในระดบั บคุ คล กลา่ วคอื ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารเสรมิ ศกั ยภาพ ด้วยการประเมินความสามารถของตนเอง เพื่อนำ�ไปสู่การวางแผนการพัฒนา อยา่ งรอบดา้ นในทกุ มมุ มอง ตอ้ งมที ศั นคตทิ างบวกในการแสวงหาความรทู้ เ่ี กย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงและการปรบั ปรงุ ตนเอง รวมทง้ั การสรา้ งเครอื ขา่ ยในกลมุ่ วชิ าชพี ท้งั ในระดบั บุคคลและระดับองคก์ รวชิ าชีพ 30 ปูชนียาจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์และศิษยเ์ ก่าเกียรตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

รองศาสตราจารย์ ดร.นันทยิ า นอ้ ยจนั ทร์ ประวตั ิการศกึ ษา ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต (การบรหิ ารการศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๐ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ครุศาสตรมหาบัณฑติ (การศกึ ษาปฐมวยั ) พ.ศ. ๒๕๒๙-๒๕๓๒ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศึกษาศาสตรบณั ฑติ (การบริหารการศึกษา) พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๓๒ มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมธริ าช ครุศาสตรบณั ฑิต (การศึกษาปฐมวัย) พ.ศ. ๒๕๒๕-๒๕๒๘ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประวตั กิ ารท�ำ งาน รองอธกิ ารบดี ฝา่ ยวชิ าการ พ.ศ. ๒๕๖๓-ปจั จุบัน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา คณบดคี ณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๓ 31 ปูชนยี าจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตรแ์ ละศิษยเ์ กา่ เกียรติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๓ คณบดคี ณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙ ประธานหลักสตู รครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๒ รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๘ ผู้ช่วยผูอ้ ำ�นวยการ โรงเรยี นสาธิตสถาบนั ราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๗ รองคณบดีฝา่ ยบริหาร คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๔๕ หัวหนา้ ฝ่ายเลขานกุ าร สำ�นกั งานอธกิ ารบดี วิทยาลัยครูนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๖ หวั หนา้ ฝ่ายทะเบยี นและประเมินผลการศึกษา ส�ำ นกั สง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น วทิ ยาลัยครูนครสวรรค์ มมุ มองทมี่ ีต่อการพฒั นาวิชาชพี ครู ความเปน็ ครมู คี วามหมายและความส�ำ คญั ยง่ิ ตอ่ การพฒั นาประเทศ เปน็ ผทู้ จ่ี ะ ก�ำ หนดทศิ ทางอนาคตของประเทศ เพราะเดก็ ในวนั นจ้ี ะเปน็ ผเู้ ตบิ โตเปน็ ผใู้ หญใ่ นอนาคต ความคาดหวงั ของทกุ ภาคสว่ นของสงั คมจงึ อยทู่ ค่ี รู ครจู ะตอ้ งเปน็ แมพ่ มิ พ์ เปน็ แบบอยา่ ง ทด่ี แี กน่ กั เรยี น ตอ้ งเปน็ ผทู้ อ่ี ทุ ศิ เสยี สละ ทมุ่ เทเพอ่ื การพฒั นานกั เรยี น แตใ่ นสภาพ ความเป็นจรงิ ปัญหาและภาระต่างๆ ของครกู ็ทำ�ให้สมรรถนะในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ ลดลง การจดั การเรยี นการสอนยงั ไมม่ คี ณุ ภาพ ผลสมั ฤทธจ์ิ ากการทดสอบระดบั ชาติ ต�ำ่ กวา่ เกณฑ์ ตลอดจนการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ จนท�ำ ใหค้ รเู องกา้ วไมท่ นั การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบดจิ ทิ ลั เมอ่ื สภาพกบั ความคาดหวงั ทม่ี ตี อ่ วชิ าชพี ครนู บั วนั จะยง่ิ หา่ งขน้ึ ทกุ ที จงึ ตอ้ งมกี ารพฒั นาวชิ าชพี ครเู รม่ิ ตน้ จาก 32 ปชู นยี าจารย์แห่งคณะครุศาสตร์และศิษย์เก่าเกยี รติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

๑) การสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนเลือกศึกษาต่อในสาขาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ เปน็ อนั ดบั แรก ๒) จดั สรรงบประมาณตอ่ หวั ใหใ้ กลเ้ คยี งกบั สาขาทางวทิ ยาศาสตร ์ ๓) หนว่ ยผลติ บณั ฑติ กบั หนว่ ยใชบ้ ณั ฑติ ตอ้ งวางแผนรว่ มกนั ในการก�ำ หนดอตั ราก�ำ ลงั แนวโนม้ อตั ราก�ำ ลงั โดยใชต้ วั เลขเดยี วกนั ๔) ก�ำ หนดสาขาการรบั กบั สาขาการผลติ ใหต้ รงกนั ๕) วางกรอบและเปา้ หมายทช่ี ดั เจนในการผลติ ๖) ก�ำ หนดและตรวจสอบ มาตรฐานสถาบนั ผลติ ซง่ึ การพฒั นาวชิ าชพี ครไู มใ่ ชอ่ ยทู่ ก่ี ารพฒั นาหลกั สตู รเทา่ นน้ั แต่อยู่ท่ีการปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายและสอดคล้องกับบริบทของประเทศและบริ บทโลก 33 ปูชนียาจารย์แหง่ คณะครุศาสตร์และศิษยเ์ ก่าเกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

ประเภทผสู้ รา้ งช่อื เสียงในระดับชาติ หรือ นานาชาติ ๑. รองศาสตราจารย นันทา ขุนภกั ดี ๒. รองศาสตราจารย ดร.บุรทิน ขําภิรัฐ ๓. รองศาสตราจารย ดร.เขมณฏั ฐ ม่งิ ศริ ธิ รรม 34 ปชู นียาจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์และศิษย์เกา่ เกยี รติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

รองศาสตราจารย์ นันทา ขนุ ภักดี ประวัตกิ ารศึกษา ครุศาสตรมหาบณั ฑติ (โสตทศั นศึกษา) พ.ศ. ๒๕๑๔-๒๕๑๕ บัณฑิตวทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประกาศนยี บตั รชัน้ สูง (โสตทศั นศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๑๓-๒๕๑๔ บณั ฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ครุศาสตรบัณฑติ (มธั ยมศกึ ษา เอกไทย โทอังกฤษ) พ.ศ. ๒๕๐๘-๒๕๑๒ คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประวัติการท�ำ งาน พ.ศ. ๒๕๓๘-ปัจจุบนั กรรมการบริหารและสาราณียกรสภาวัฒนธรรม จังหวัดนครปฐม สภาวัฒนธรรมจงั หวดั นครปฐม พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๖ อาจารย์พเิ ศษวชิ าการประพันธร์ ้อยกรองและการอ่าน ทำ�นองรอ้ ยกรอง ภาควชิ าภาษาไทย คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 35 ปชู นียาจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตรแ์ ละศษิ ย์เก่าเกียรติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๔๖ รองศาสตราจารยร์ ะดับ ๙ คณะอักษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๔๐ อาจารย์พเิ ศษวิชาภาษาไทย โรงเรยี นนายร้อยต�ำ รวจ อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม พ.ศ. ๒๕๓๐ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ระดับ ๘ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร พ.ศ. ๒๕๒๘ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดบั ๗ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร พ.ศ. ๒๕๒๕ อาจารย์ ๖ คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร พ.ศ. ๒๕๒๑ อาจารย์ ๕ คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร พ.ศ. ๒๕๑๙ อาจารยโ์ ท คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร อำ�เภอเมอื งนครปฐม พ.ศ. ๒๕๑๘ ครใู หญ่ ๔ โรงเรียนประถมฐานบนิ ก�ำ แพงแสน อ�ำ เภอกำ�แพงแสน จังหวดั นครปฐม พ.ศ. ๒๕๑๕ ครใู หญโ่ ท โรงเรยี นประถมฐานบนิ กำ�แพงแสน อ�ำ เภอกำ�แพงแสน จังหวดั นครปฐม พ.ศ. ๒๕๑๕ ครโู ท โรงเรียนวัดลาดปลาเคา้ อำ�เภอเมอื งนครปฐม พ.ศ. ๒๕๑๒ ครูตรี โรงเรียนวัดลาดปลาเคา้ อ�ำ เภอเมอื งนครปฐม 36 ปชู นยี าจารย์แห่งคณะครุศาสตร์และศิษย์เก่าเกียรตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

มมุ มองที่มตี อ่ การพฒั นาวิชาชพี ครู มมุ มองท่ีมตี ่อการพัฒนาวิชาชีพครู คือ ครูควรรู้จักบูรณาการความรู้ทีต่ น มอี ยู่เพอ่ื น�ำ ไปพัฒนาองคค์ วามรใู้ หม่ให้ได้ ทัง้ ควรร้จู กั ปรับปรงุ นวตั กรรมใหม่ๆ ขึ้นอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อนำ�ไปใช้สอนผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยให้ผ้เู รีย นสามารถคดิ วิเคราะห์เรื่องต่างๆได้อย่างดีงามด้วยตนเองและเป็นประโยชนแ์ ล้ วจงึ ส่งเสริมใหน้ ำ�มาแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ กันย่ิงไปกวา่ น้นั ครูควรต้องพยายาม รจู้ กั และเขา้ ใจเทคโนโลยใี หม่ ๆ พรอ้ มทง้ั สามารถใชเ้ ทคโนโลยเี หลา่ นน้ั เพอ่ื สง่ เสรมิ ความร้ใู ห้ผู้เรยี นได้อยา่ งหลากหลายและเหมาะสม ถา้ มขี อ้ เสียครตู อ้ งรบี ชีแ้ จงให้ ผู้เรียนทราบพร้อมแนะนำ�ใหแ้ ก้ไขทันที นอกจากนี้ครูควรต้องส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ใหเ้ หมาะกบั วยั ผเู้ รยี น และสนบั สนนุ ใหป้ รบั ปรงุ ศกั ยภาพไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี ชแ้ี จงผเู้ รยี น ใหเ้ ขา้ ใจวา่ ตอ้ งไมเ่ ปน็ แตเ่ พยี งผรู้ บั ความรอู้ ยา่ งเดยี ว หากตอ้ งเปน็ ผรู้ จู้ กั ปรบั เปลย่ี น และสรา้ งสรรคอ์ งคค์ วามรใู้ หไ้ ด้ด้วยตนเองดว้ ย อน่ึงครูควรมีบทบาทสง่ เสรมิ แกไ้ ข และประเมินผลการเรียนรพู้ ร้อมวิชาชีพในสถานศึกษาร่วมกับผู้บริหาร บุคลากร และชมุ ชนใหม้ ากขน้ึ ขอ้ ส�ำ คญั ครตู อ้ งยดึ มน่ั ในจรรยาบรรณวชิ าชพี รกั ษาคณุ ธรรม จริยธรรม และแนะนำ�ผู้เรียนให้ปฏิบตั ติ นตอ่ ตนเองและตอ่ สงั คมอย่างเหมาะสม ซง่ึ ครูตอ้ งสรา้ งใหเ้ กดิ ขนึ้ แกผ่ เู้ รียนอย่างแท้จริง 37 ปชู นียาจารยแ์ หง่ คณะครศุ าสตร์และศษิ ย์เก่าเกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

รองศาสตราจารย์ ดร.บรุ ทนิ ข�ำ ภริ ฐั ประวัติการศกึ ษา ครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (วิธีวทิ ยาการวจิ ยั การศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๙ คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต (พ้นื ฐานการศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๔๐ คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครศุ าสตรบัณฑติ (สขุ ศึกษา) พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๓๖ คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประวตั กิ ารท�ำ งาน พ.ศ. ๒๕๕๓-ปัจจบุ นั อาจารย์ สำ�นักวิชาเทคโนโลยสี งั คม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๕๓ เจ้าหน้าท่ีบริหารงานท่วั ไป ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี 38 ปูชนียาจารย์แห่งคณะครศุ าสตร์และศษิ ยเ์ ก่าเกียรติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

พ.ศ. ๒๕๔๐ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน ศนู ยเ์ ทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหง่ ชาติ (MTEC) ส�ำ นักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) มุมมองท่ีมีตอ่ การพฒั นาวิชาชีพครู ในปจั จุบนั เป็นทป่ี ระจกั ษว์ า่ การศกึ ษาไม่เพยี งแตเ่ พอื่ พฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ใหม้ ีความรู้ แต่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและสังคมยังคาดหวงั ให้สถาบนั การศกึ ษาผลิต ก�ำ ลงั คนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของภาคสว่ นตา่ งๆ ใ นสงั คมดว้ ยการเปลย่ี นแปลง อย่างรวดเรว็ ในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทำ�ให้ บทบาทของครูมีความสำ�คัญมากข้ึนในการพัฒนาผู้เรียนให้ประสบความสำ�เร็จ ทง้ั ดา้ นการศึกษาและการดำ�รงชีวิต ครูที่ดีมีผลอย่างมากตอ่ การพฒั นาผูเ้ รียน ตลอดระยะเวลาของหลกั สตู รและเขา้ สวู่ ยั ผใู้ หญ่ ครใู นฐานะผอู้ �ำ นวยความสะดวก (facilitators) ในการศึกษาของผู้เรียน ต้องรู้เท่าทันและสามารถใช้เทคโนโลยี ตลอดจนต้องท�ำ ให้ตัวเองเปน็ “ผเู้ รยี นมืออาชีพ (professional learner)” เพื่อ ให้ตนเองสามารถปรับตัวให้เข้ากับความต้องการท่ีเปลี่ยนแปลงและสามารถพัฒ นาความเช่ยี วชาญในวิชาชพี และเทคโนโลยที เ่ี กีย่ วขอ้ งอยา่ งตอ่ เน่อื ง 39 ปูชนียาจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์และศษิ ย์เกา่ เกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

รองศาสตราจารย ดร.เขมณัฏฐ ม่งิ ศริ ิธรรม ประวตั กิ ารศึกษา ครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (เทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๓ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยกี ารศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๕ มหาวทิ ยาลยั รามค�ำ แหง ศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต (เทคโนโลยกี ารศึกษา) พ.ศ. ๒๕๓๙-๒๕๔๒ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ประวตั ิการท�ำ งาน รองผอู้ �ำ นวยการ ส�ำ นักเทคโนโลยกี ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๓-ปจั จบุ นั หัวหน้าศนู ยว์ ชิ าการเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๓-ปัจจุบัน ส�ำ นกั เทคโนโลยกี ารศึกษา 40 ปูชนยี าจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตร์และศิษยเ์ ก่าเกียรตยิ ศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

มมุ มองทม่ี ตี อ่ การพฒั นาวิชาชพี ครู วชิ าชพี ครเู ปน็ วชิ าชพี ชน้ั สงู ทเ่ี ปน็ ผชู้ แ้ี นะสงั คม การบม่ เพาะเพอ่ื พฒั นาบคุ ลากร ทางการศึกษาหรอื ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพครจู ึงมีความสำ�คัญ ผู้เสนอในฐานะทีส่ �ำ เรจ็ การศึกษาท้ังในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาในวิชาชีพครูมาโดยตลอด จึงนำ�ความรู้ความสามารถมาร่วมพัฒนาวิชาชีพครูผ่านการเป็นวิทยากรบรรยาย ใหค้ วามรู้ การเปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ หค้ �ำ ปรกึ ษานกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ตลอดจน การทำ�วิจยั เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู เพราะผู้เสนอมีความเชอื่ วา่ บคุ คลทปี่ ระกอบ วิชาชีพครูจะต้องมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้มีความรู้ท่ีเหมาะสมกับ ยคุ สมยั และสามารถน�ำ ความรู้ท่ีมอี ยู่มาปรับประยุกต์ใชใ้ นวชิ าชพี ให้เป็นรปู ธรรม อาทิ การพฒั นาส่อื นวตั กรรมทีส่ ามารถนำ�ไปใชไ้ ดจ้ รงิ และเกิดประโยชนก์ บั ผอู้ น่ื ดังนั้นจุดเร่ิมต้นของการพัฒนาวิชาชีพครูจึงควรเร่ิมจากการพัฒนาตนเองของ ผู้ประกอบวิชาชีพครู และนำ�ผลจากการพัฒนาตนเองดังกล่าวไปสร้างสรรค์ องคค์ วามรผู้ ่านวิธีการต่างๆ เพื่อให้วิชาชีพครูมีการพัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื ง สมกับ เป็นวิชาชีพช้นั สงู 41 ปูชนียาจารย์แห่งคณะครศุ าสตรแ์ ละศิษยเ์ กา่ เกียรติยศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

ประเภทผ้ทู �ำ คณุ ประโยชน์ ต่อวงการศึกษา สงั คม หรอื ประเทศชาติ ๑. รองศาสตราจารย ดร.ฉตั รนภา พรหมมา ๒. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรญิ ญา มีสุข ๓. นางสาวจเี รยี ง บญุ สม ๔. นายพิชติ วีรังคบุตร 42 ปูชนียาจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตรแ์ ละศิษย์เก่าเกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

รองศาสตราจารย ดร.ฉัตรนภา พรหมมา ประวัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๓๙ Certificate in Total Quality Managment California State University, Stanislaus พ.ศ. ๒๕๒๘ ครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ (การวดั และประเมินผลทางการศกึ ษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๒๑ ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต (การสอนคณติ ศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๖ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู วชิ าชพี เฉพาะคณติ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ พ.ศ. ๒๕๑๔ การศึกษาบัณฑติ (คณิตศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 43 ปชู นยี าจารยแ์ หง่ คณะครุศาสตรแ์ ละศิษย์เกา่ เกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ประวัติการทำ�งาน พ.ศ. ๒๕๖๑-ปจั จุบัน ผู้ทรงคณุ วุฒิโครงการวิจยั เพื่อการพฒั นาชมุ ชน ทอ้ งถิ่นโดยเครือข่ายผบู้ รหิ ารสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เครือข่ายผบู้ ริหารสถาบนั วจิ ัย และพฒั นามหาวทิ ยาลัยราชภฏั พ.ศ. ๒๕๖๑-ปจั จุบนั กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิประจ�ำ สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ก�ำ แพงเพชร พ.ศ. ๒๕๖๐-ปจั จุบัน กรรมการหลกั สูตรครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาวิจยั และประเมนิ เพื่อพัฒนาการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ ์ พ.ศ. ๒๕๕๙-ปัจจุบัน กรรมการบรหิ ารงานวจิ ัย มหาวิทยาลัยพบิ ลู ราชภัฏสงครามสงคราม พ.ศ. ๒๕๕๗-ปจั จุบัน ที่ปรึกษาศูนยบ์ รู ณาการพันธกจิ สัมพนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔ ผู้ทรงคณุ วุฒโิ ครงการวิจยั พัฒนาระบบบรหิ ารงานวิจัย สูค่ วามเปน็ เลศิ เพอ่ื พฒั นาสังคมชุมชน ท้องถิ่นภายใต้ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง มรภ.-สกว. โครงการความร่วมมอื มรภ.- สกว. พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๒ ผทู้ รงคุณวุฒปิ ระเมนิ งานวจิ ยั ท่มี งุ่ เปา้ ตอบสนอง ความต้องการในการพฒั นาประเทศดา้ นการศึกษา และสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นร ู้ สถาบนั การจดั การเพอ่ื ชนบท และสังคม มูลนธิ บิ รู ณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๗ ประธานหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ และหลกั สตู ร ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาสง่ิ แวดล้อมศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ 44 ปูชนียาจารยแ์ ห่งคณะครุศาสตรแ์ ละศิษย์เก่าเกียรตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

พ.ศ. ๒๕๕๓–๒๕๕๖ ผ้อู �ำ นวยการศูนย์เรยี นร้แู ละพัฒนาสขุ ภาวะชมุ ชน มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ ์ พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๕๒ รองอธิการฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๒ รองอธกิ ารบดฝี ่ายวจิ ยั และประกันคณุ ภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์ พ.ศ.๒๕๓๓-๒๕๔๐ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ พ.ศ. ๒๕๒๘-๒๕๓๒ ผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ พ.ศ. ๒๕๒๑-๒๕๒๓ คณบดีคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์ มุมมองทีม่ ตี ่อการพัฒนาวชิ าชพี ครู การพฒั นาวชิ าชพี ครเู ปน็ ความส�ำ คญั ทเ่ี ปน็ ฐานการพฒั นาทกุ ดา้ น เปน็ งานทท่ี กุ คน ต้องร่วมมือกันตั้งแต่ระดับนโยบายถึงระดับปฏิบัติโดยต่อยอดจากฐานที่เป็น ความส�ำ เรจ็ ทผ่ี า่ นมาใหม้ กี ารยกระดบั คณุ ภาพทนั ตอ่ ความเปลย่ี นแปลงตอ่ เนอ่ื ง... งานครูท่ีทำ�ด้วยใจรักตระหนักในคุณค่าเป็นส่วนสำ�คัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาใน ส่วนตนเองได้ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นส่วนหน่ึงของการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างเต็ม ศกั ยภาพ เปน็ ความภมู ใิ จอยา่ งทส่ี ดุ ประการแรกภมู ใิ จในตนเองและศษิ ย์ รวมทง้ั ผ้รู ว่ มเรียนรู้ รว่ มงานท่ีเป็นกำ�ลงั ส�ำ คญั ในการขยายเครอื ข่ายสรา้ งสรรคง์ านทเ่ี กดิ คณุ คา่ ตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ประการทส่ี องภมู ใิ จในคณุ ครู อาจารยผ์ ใู้ หแ้ บบอยา่ งทด่ี ี ทกุ ทา่ นและองคก์ รผลติ ครทู ช่ี ว่ ยบม่ เพาะสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหไ้ ดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงาน ทเ่ี ป็นรูปธรรมต่อเนื่อง ประการที่สามภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งของการสบื สาน สรา้ งสรรคก์ ารศกึ ษา วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาใหเ้ ปน็ มรดกทม่ี คี ณุ คา่ แหง่ การพฒั นา สังคมและประเทศชาตมิ ัน่ ใจว่าประสบการณข์ องครทู ีท่ ำ�งานด้วยใจรัก ตระหนกั ในคุณค่าของงานครูจะใช้เป็นฐานการพัฒนาท่ีส่งผลต่อสังคมและประเทศชาติ อย่างยงั่ ยนื ต่อไป 45 ปูชนียาจารย์แห่งคณะครศุ าสตรแ์ ละศิษย์เก่าเกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ปรญิ ญา มีสุข ประวัตกิ ารศึกษา ครุศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต (วิธวี ิทยาการวจิ ยั การศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๒ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต (จติ วิทยาพฒั นาการ) พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๖ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ครศุ าสตรบณั ฑติ (การสอนวทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป-ชวี วทิ ยา) พ.ศ. ๒๕๓๗-๒๕๔๐ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย Dip. University Pedagogy: Teaching and Learning พ.ศ. ๒๕๕๙ in Higher Education 46 ปูชนยี าจารย์แหง่ คณะครุศาสตร์และศษิ ย์เกา่ เกียรตยิ ศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

ประวตั กิ ารทำ�งาน พ.ศ. ๒๕๖๒-ปจั จุบัน Coordinator Assistant UNESCO-UNEVOC Centre RMUTT Thailand องค์การเพอื่ การศกึ ษา วิทยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) พ.ศ. ๒๕๖๑-ปจั จุบัน Secretariat สมาคมระดบั ภมู ิภาคเพื่อพฒั นา ครอู าชวี และเทคนิคศกึ ษาในเอเชยี (Regional Association of Vocational and Technical Education in Asia: RAVTE) พ.ศ. ๒๕๕๗-ปจั จบุ ัน อาจารย์ คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๗ รองคณบดี ฝ่ายวางแผนและพฒั นา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๗ อาจารย ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ มุมมองท่ีมีต่อการพัฒนาวชิ าชพี ครู มมุ มองท่มี ีต่อการพัฒนาวิชาชีพครูของข้าพเจ้า เป็นมุมมองการพัฒนาแบบ มสี ว่ นรว่ มเชงิ ระบบ ภายใตก้ ารมวี สิ ยั ทศั นร์ ว่ มกนั มงุ่ เปา้ หมายเพอ่ื การพฒั นาทกุ คน ให้อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ ในบริบทของตนเอง ทัง้ นี้ ด้วยฐานความคิดว่า วชิ าชพี ครู เปน็ วิชาชีพสำ�หรับบุคคลทมี่ ี “หัวใจ” เป็นครู เนือ่ งจากผลท่เี กดิ ขึ้นจาก วิชาชพี ครูนอกจากจะมีผลผลิตแลว้ ยงั มผี ลลพั ธ์และผลกระทบต่อคนจำ�นวนมาก ดงั นน้ั การพฒั นาวชิ าชพี ครจู งึ ตอ้ งเปน็ ระบบของการสรา้ งผลผลติ คอื ตวั ครู ใหเ้ ปน็ ผู้มี “หัวใจ” พร้อมในการเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ความรู้ และการสร้างความรู้ ในฐานะนวตั กรทางการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม เพอ่ื น�ำ ไปสผู่ ลลพั ธ์ คอื ผเู้ รยี น ทม่ี คี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามสถานการณแ์ ละยคุ สมยั สว่ นผลลพั ธท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จาก การพัฒนาวิชาชีพ ก็คือ สังคม ที่พัฒนาเจริญงอกงามจากการท่คี นในสังคมไดร้ ับ 47 ปูชนยี าจารยแ์ ห่งคณะครุศาสตรแ์ ละศษิ ยเ์ กา่ เกยี รตยิ ศ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๕

การพฒั นา โดยมคี รเู ปน็ ส่วนหน่งึ ของกลไกในการขับเคลื่อน การพฒั นาวิชาชีพครู จึงตอ้ งเป็นการรว่ มมือพฒั นาอยา่ งเป็นระบบจากหลายภาคสว่ น ท่เี ห็นเป้าหมาย เดยี วกนั มกี ารพฒั นาทส่ี อดคลอ้ งกนั ทง้ั การคดั กรองและการคดั เลอื กผเู้ ขา้ สวู่ ชิ าชพี การพัฒนาผู้ด�ำ รงอย่ใู นวิชาชีพให้ก้าวหนา้ ทงั้ รา่ งกายและจิตใจ สามารถด�ำ รงตน ในวิชาชพี ไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพและมคี วามสุข 48 ปชู นยี าจารยแ์ ห่งคณะครุศาสตรแ์ ละศิษยเ์ กา่ เกยี รติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

นางสาวจเี รยี ง บุญสม ประวตั ิการศกึ ษา ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต (จิตวิทยาการศกึ ษา) พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๔ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครุศาสตรบัณฑติ (เกยี รตนิ ิยมอันดบั ๑) พ.ศ. ๒๕๓๔-๒๕๓๘ (การศกึ ษาปฐมวยั ) สถาบันราชภฏั สวนดุสติ ประวตั กิ ารทำ�งาน พ.ศ. ๒๕๕๙-ปจั จุบนั ครู คศ. ๓ โรงเรียนบา้ นทุง่ มะขามเฒา่ สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๑ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๙ ครู คศ. ๒ โรงเรียนบา้ นท่งุ มะขามเฒา่ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๔๘ ครู คศ. ๑ โรงเรียนบา้ นทุง่ มะขามเฒา่ สพท.กาญจนบุรี เขต ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗ อาจารย์ ๑ ระดับ ๕ โรงเรยี นบา้ นทุง่ มะขามเฒา่ สพท.กาญจนบุรี เขต ๑ 49 ปูชนียาจารยแ์ ห่งคณะครุศาสตร์และศษิ ยเ์ ก่าเกยี รติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕

พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๗ อาจารย์ ๑ ระดบั ๕ โรงเรียนบา้ นไทรทอง สพท.กาญจนบุรี เขต ๑ พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๖ อาจารย์ ๑ ระดับ ๔ โรงเรยี นบ้านไทรทอง สปจ.กาญจนบรุ ี พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๔๐ อาจารย์ ๑ ระดับ ๓ โรงเรยี นบ้านไทรทอง สปจ.กาญจนบรุ ี มมุ มองทีม่ ตี อ่ การพัฒนาวิชาชพี ครู “ครู” เป็นวิชาชีพที่ข้าพเจ้าเลือกประกอบอาชีพนี้ด้วยความรกั และศรทั ธา เพราะเปน็ วิชาชีพท่มี คี ณุ คา่ มีประโยชนต์ ่อประเทศชาติ เป็นวชิ าชีพที่สร้างคนให้ มคี วามรคู้ วามสามารถ เตบิ โตเปน็ คนดขี องสงั คมและประเทศชาติ คนทกุ คนต้องมี “ครู” แต่คนส่วนใหญ่ยังไม่เห็นความสำ�คัญของวิชาชีพครู และไม่เลือกที่จะ ประกอบวชิ าชพี น้ี ทั้ง ๆ ท่ีวชิ าชพี นีเ้ ปน็ วชิ าชีพอันทรงเกยี รติ เพราะมาพรอ้ มกับ ความรบั ผดิ ชอบอนั ยง่ิ ใหญ่ ดงั นน้ั จงึ ควรมกี ารพฒั นาวชิ าชพี ครใู หม้ คี วามกา้ วหนา้ ยกยอ่ งใหเ้ ป็นวชิ าชีพชน้ั สงู ยกระดับวิทยฐานะทางสังคม และบุคคลทเี่ ปน็ ครเู อง ก็ควรดำ�รงตนให้สมกบั คุณคา่ ความเปน็ ครู มคี วามรกั และภมู ิใจในวิชาชีพ ตัง้ ม่นั อยใู่ นจรรยาบรรณ มคี ณุ ธรรม มใี จรกั และเมตตา หวงั ดตี อ่ ศษิ ย ์ และตอ้ งพฒั นาตนเอง ใหเ้ ปน็ มอื อาชพี กา้ วทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง ดว้ ยการแสวงหาความรู้ เพม่ิ พนู ทกั ษะ รวมถงึ การใหบ้ รกิ ารในวชิ าชพี ของตน ใหส้ มกบั ค�ำ พดู ทว่ี า่ ครเู ปรยี บเสมอื นแมพ่ มิ พ์ ของชาติ ครูที่สามารถส่งลูกศษิ ย์ของตนให้ข้นึ ฝัง่ ได้ส�ำ เร็จ และเดินไปบนเสน้ ทาง แห่งชวี ิตของแต่ละคน ถอื เปน็ ความส�ำ เรจ็ ในวชิ าชพี ครู แม้ในวนั ทีเ่ ดก็ จะพ้นจาก สถานะการเปน็ นักเรียนมาแล้ว แต่ความเป็นศิษย์และครูยังติดตวั ระหว่างกัน ตราบนานเทา่ นาน 50 ปูชนยี าจารย์แหง่ คณะครุศาสตร์และศิษยเ์ กา่ เกียรติยศ ประจำ�ปี ๒๕๖๕