Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5 สารสนเทศผู้บริหารระดับสูง

หน่วยที่ 5 สารสนเทศผู้บริหารระดับสูง

Published by Suphatsorn.mo2541, 2018-11-15 00:50:20

Description: หน่วยที่ 5 สารสนเทศผู้บริหารระดับสูง

Search

Read the Text Version

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบ ริหารระดับสูง (EIS) 1

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบริหารระดับสงู (EIS) 2 คาํ นาํรายงานน้ีเปนสวนหน่ึงของ รายวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS.) หนวยท่ี 5 เรื่องระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง (EIS) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพข้ันสูง ชั้นปท่ี 2 เพ่ือใหนักเรยี น – นกั ศกึ ษา รวมไปถึงผูทีส่ นใจสามารถศึกษา และทาํ ความเขา ใจได โดยศึกษาจากรายงาน รายวิชาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (MIS.) หนวยที่ 5 เร่ือง ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง (EIS) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ช้ันปที่ 2 น้ี ทั้งน้ีในการศึกษาไดมีการคนควาขอมูลตาง ๆ ซ่ึงขอมูลตาง ๆ เหลาน้ีไดถูกรวบรวมรายละเอียดไวในรายงานฉบับน้ีเรียบรอยแลว สุดทายนี้ ทางคณะผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา รายงานรายวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS.) หนว ยที่ 5 เรื่อง ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบ รหิ ารระดับสูง (EIS) ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพข้ันสูง ช้ันปท่ี 2 ฉบับนี้ คงกอใหเกิดประโยชนแกผูท่ีสนใจไดไมมากก็นอย หากมีขอบกพรองประการใด ทางคณะผจู ัดทําขอนอ มรับไว ณ ที่น้ี คณะผูจดั ทาํ

ระบบสารสนเทศสาํ หรับผบู ริหารระดับสงู (EIS) 3 สารบญั หนา (ก)เร่ือง (ข)คาํ นาํ (ค)สารบัญ 5สารบญั ภาพ 9ความหมายระบบสารสนเทศสําหรบั ผบู ริหารระดบั สูง 12ขาวสารเพ่อื การบรหิ าร 12ความรทู ่ัวไปเกย่ี วกบั ระบบขาวสารเพื่อการบรหิ ารชัน้ สูง 13ความสามารถท่วั ไปของ EIS 14ภาระหนาทข่ี องผบู ริหารระดบั สงู และระบบขาวสารทตี่ อ งการ 15ภาระหนาท่ีของระบบ EIS 16คณุ สมบัตขิ องระบบสารสนเทศสําหรับผูบรหิ าร 16คุณลกั ษณะของระบบบริหาร EIS 17ผลกระทบของระบบ EIS ตอองคกร 17ขอดขี องระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ าร 18ขอ ดอ ยของระบบสารสนเทศสําหรบั ผบู รหิ าร 19โครงสรา งระบบบริหาร EIS 21ตัวอยา งการใชร ะบบ EIS ในธุรกิจตา ง ๆ (ง)สรปุ ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผูบ ริหารระดับสงู EISบรรณานกุ รมคณะผจู ดั ทาํอาจารยผสู อน

ระบบสารสนเทศสําหรับผบู รหิ ารระดบั สงู (EIS) 4 สารบญั ภาพ หนา 6ภาพที่ 8 ภาพที่ 1 ระบบสารสนเทศเพือ่ ผูบริหารระดับสูง 18 ภาพที่ 2 สารสนเทศ, EIS และผบู รหิ าร 18 ภาพที่ 3 โครงสรางของระบบ EIS 20 ภาพท่ี 4 รูปแบบขอ มูลในแตล ะจดุ 21 ภาพที่ 5 โลโกบริษัทอสังหารมิ ทรัพยตาง ๆ ภาพที่ 6 แสดงโลโกบริษทั ประกันภัย/ ประกันชีวติ

ระบบสารสนเทศสําหรับผบู รหิ ารระดับสงู (EIS) 5 ระบบขาวสารเพื่อการบริหารช้ันสูง (EIS) เปนระบบขาวสารที่มีความสําคัญตอ ผูบริหารองคกรในเร่ืองการพิจารณากําหนดนโยบาย วางแผนกลยุทธขององคกร ใหสามารถจัดการองคกร ใหสามารถดําเนินการบรรลุเปาหมายหรือแขงขันกับองคกรอ่ืน ๆ ไดอยางมีประสทิ ธิภาพ การจัดทําระบบขาวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง มิอาจจัดทําโดยเอกเทศไดโดยลําพัง จะตองรอผลการพัฒนาระบบขอมูล-ขาวสารข้ันตนอ่ืนๆ ข้ึนกอน ขอมูลท่ีไดจากการปฏิบัติงานในระบบ TPS,MIS และ/หรือ DSS จะเปนรากฐานท่ีสามารถนํามาสรุปประมวลผลกับขอมูลภายนอก (ถาจําเปน)เพ่ือประกอบการตัดสินใจ บอยครั้งการพัฒนาระบบ EIS จากวิธีการขางตน มิอาจไดขอมูลภายในองคกรอยางครบถว น 5.1 ความหมายระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ ารระดบั สงูระบบสารสนเทศเพือ่ ผูบรหิ ารระดับสูง นับตั้งแตการพัฒนาและนําระบบคอมพิวเตอรมาประยุกตในการดําเนินงานทางธุรกิจ การจดั การระบบสารสนเทศไดรับการยอมรบั วามคี วามสาํ คญั ตอ ความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจในปจ จุบันเทคโนโลยีสารสนเทศชวยสรางความแข็งแกรงเชิงกลยุทธ โดยพัฒนาความสามารถในการแขงขันใหกับองคการ เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนํามาประยุกตใหการปฏิบัติงานในระดับตาง ๆ ขององคการมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เชา การผลิต การขาย การตลาด การจัดการทางการเงิน และทรัพยากรบุคคลประการสําคัญหลายองคการไดใหความสนใจในการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหาร เพื่อใหการตัดสินใจในปญหาหรือโอกาสทางธุรกิจมีประสิทธิภาพสูงข้ึน ซ่ึงจะชวยสรางความไดเปรียบในการแขงขันใหกับองคการ ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหาร ( Executive Information Systems ) หรือที่เรียกวา EISหมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาข้ึนโดยเฉพาะ เพื่อใหสอดคลองกับความตองการ ทักษะ และความสามารถในการเขาถึงสารสนเทศสําหรับ ผูบริหารเน่ืองจากผูบริหารเปนกลุมบุคคลท่ีตองการ

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ ารระดับสูง (EIS) 6ขอมูลที่มีลักษณะเฉพาะ โดยเฉพาะดานระยะเวลาในการเขาถึงและทําความเขาใจกับขอมูลโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงและการแขงขันทางธุรกิจที่เกิดข้ึนและปรับตัวอยางรวดเร็วในปจจุบันไดสรางแรงกดดันให ผูบริหารตองตัดสินใจภายใตขอจํากัดของทรัพยากรทางการจัดการระยะเวลาขอ มลู และการดําเนินงานของคแู ขงขนั ภาพท่ี 1 ระบบสารสนเทศเพอ่ื ผูบ รหิ ารระดับสงู ที่มา : https://2.bp.blogspot.com/dn8F นอกจากนี้ผูบริหารหลายคนยังมีความรูเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่จํากัด โดยเฉพาะผูบริหารระดับสูงท่ีมีอายุมากและไมมีโอกาสไดพัฒนาความรู ความเขาใจ และทักษะดานการใชงานสารสนเทศ ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองพัฒนาและออกแบบระบบสารสนเทศที่สามารถชวยใหผูบริหารปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ ระบบขอมูลสําหรับผูบริหารตองมีพัฒนาการอยางตอเน่ืองโดยมีระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบรหิ ารจะมลี ักษณะของการใชง านตอไปนี้ บางครั้งเราอาจเรียก EIS วา \"ระบบสนับสนุนผูบริหาร ( Executive Support system )หรือ EIS \" เน่ืองจาก EIS จะมีสวนสําคัญในการสนับสนนุ การปฏิบัติงานของผูบริหาร แตหนงั สือเลมน้ีจะใชค าํ วา ระบบสารสนเทศสําหรับผบู ริหารเพียงคาํ เดยี ว เพอื่ ไมก อใหเกดิ ความสับสนในการกลาวถึงและการใชงาน นอกจากน้ีเพื่อความสะดวกในการนําเสนอเราจะกลาวถึงระบบสารสนเทศสําหรับผบู ริหารวา EIS EIS เนนการแสดงกราฟกและงายตอการใชสวนติดตอผูใช พวกเขามีการรายงานที่แข็งแกรงและเจาะลึกลงความสามารถในการ โดยทั่วไป EIS เปน DSS ท่ัวทั้งองคกรที่จะชวยใหผูบริหารระดับบนสุดวิเคราะหเปรียบเทียบและเนนแนวโนมในตัวแปรที่สําคัญเพ่ือใหพวกเขาสามารถตรวจสอบ

ระบบสารสนเทศสําหรับผูบ รหิ ารระดบั สูง (EIS) 7ประสิทธิภาพการทํางานและระบุโอกาสและปญหา EIS และขอมูลเทคโนโลยีคลังสินคาจะมาบรรจบกนั ในตลาด ในปลาสุด EIS ระยะไดสูญเสียความนิยมในความโปรดปรานของระบบธุรกิจอัจฉริยะ (พื้นที่ยอ ยของการรายงานการวิเคราะหและแดชบอรด ดิจิตอล) คํากลาวท่ีวา \"ผูใดมีขอมูล ผูน้ันมีอํานาจ\" นับวาเปนความจริงอยูไมนอย โดยเฉพาะตอการแขงขันในสังคมสารสนเทศท่ีแตละองคก ารตองสามารถตอบสนองตอความตองการของลกู คาและการพลวัตรของส่ิงแวดบอมอยา งถูกตองและทนั เวลา ดงั น้ันผบู ริหารจึงตองการการตอบสนองของขอมูลที่รวดเร็ว ชัดเจน ทันสมัย สมบูรณ ถูกตองและเช่ือได เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนํามาใชเปนเครื่องเชิงกลยุทธ เพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขันใหกับองคการ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศถูนํามาประยุกต เพ่ือใหการปฏิบัติงานและการตัดสินใจของผูบริหารมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดการเขาถึงแหลงขอมูลเปนปจจัยสําคัญในการจัดการสารเสนเทศใหมีความถูกตอง ชัดเจน เขาใจงายและรวดเรว็ โดดท่ัวไปแลว ผบู รหิ ารจะไดรับขอมูลจาก 3 แหลง ดังตอไปนี้ 1. ขอมูลที่ไดจากกระบวนการดําเนินงาน (Transaction Processing Data) เปนขอมูลที่แสดงผลการปฏิบัติงานขององคการ หนวยงาน หรือระบบท่ีสนใจ ขอมูลจากการดําเนินงานชวยสรางความเขาใจและสะทอนปญหาท่ีเกิดขึ้นจากการดําเนินงานท่ีผานในอดีต โดยขอมูลที่ไดจะเปนประโยชนตอการตรวจสอบ การควบคุม และการแกปญหาการดําเนนิ งานโดยทั่วไป ตลอดจนสามารถนํามาประกอบการวางแผนทั้งในระยะส้นั และระยะยาว 2. ขอมูลจากภายในองคการ (Internal Data) เปนขอมูลที่จัดทําข้ึนภายในองคการ เพ่ือแสดงใหเห็นถึงเปาหมายหรือผลการดําเนินงานของกิจกรรม และ/หรือโครงการในดานตาง ๆ ขององคก ารไดแก งบประมาณ แผนรายจา ย การคาดการณยอดขายและรายได และแผนทางการเงิน เปนตน ซ่ึงขอมูลสวนใหญจะครอบคลุมชวงเวลาต้ังแต 6เดือนจนถึงหลายป โดยขอมูลจะแสดงอดีตปจจุบันและทิศทางในอนาคตขององคการเพื่อกําหนดแนวทางและจัดสวนผสมของทรัพยากรในการดําเนนิ งานอยางมีประสิทธภิ าพ 3. ขอมูลจากภายนอกองคการ (External Data) ปจจัยภายนอกมีผลกระทบตอองคการโดยเฉพาะในสถานการณปจจบุ ันทก่ี ารเปลยี่ นแปลงปจจัยทางเศรษฐกิจ การเมอื ง สงั คม แลวทิ ยาการในประเทศหน่ึงจะมีเก่ียวเน่ืองไปทั่วโลก ผูบริหารระดับสูงมักใชขอมูลท่ีมาจากแหลงภายนอกมาประกอบในการตดั สินใจของผูบริหารในดานตาง ๆ เชน การวางแผนกลยทุ ธ การแกปญหาเฉพาะหนาหรือการตัดสนิ ใจทจี่ ะดาํ เนินธรุ กจิ หรือลมเลิกเปน ตน

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบ ริหารระดบั สงู (EIS) 8 ภาพท่ี 2 สารสนเทศ, EIS และผบู รหิ าร ทมี่ า : https://scontent.fbkk13-1.fna. แหลงขอมูลที่มีประสิทธิภาพจะเปนประโยชนตอการจัดการสารสนเทศขององคการสงผลโดยตรงตอประสิทธิภาพในการบริหารงานขององคการดังนั้นองคการที่จะประสบความสําเร็จในอนาคตตองสามารถจัดการขอมูลใหเกิดประโยชนสูงสุดในการแขงขันทางธุรกิจโดยเฉพาะขอมูลสําหรับผูบริหารที่ตองตอบสนองตอความตองการอยางถูกตอ ง ชัดเจน รวดเร็ว และตามความตองการตลอดจนสามารถปรบั ตวั เขา กับรูปแบบของปญหาทเ่ี กิดขึ้นอยา งเหมาะสม การจัดทําระบบขาวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง มิอาจจัดทําโดยเอกเทศไดโดยลําพัง จะตองรอผลการพัฒนาระบบขอมูล-ขาวสารขั้นตนอื่นๆ ข้ึนกอน ขอมูลท่ีไดจากการปฏิบัติงานในระบบ TPS,MIS และ/หรือ DSS จะเปนรากฐานท่ีสามารถนํามาสรุปประมวลผลกับขอมูลภายนอก (ถาจําเปน)เพ่ือประกอบการตัดสินใจ บอยครั้งการพัฒนาระบบ EIS จากวิธีการขางตน มิอาจไดขอมูลภายในองคกรอยางครบถวน การเขา สูวงจรการพฒั นาระบบงาน (System Development Life Cycle) เพื่อพฒั นาระบบขาวสาร จึงเปนวิธีการพ้ืนฐานที่ตองกระทํา หลายๆ องคกรไมตองการประสบปญหาข้นั ตน การจัดทําแผนแมบทสารสนเทศ เพื่อกําหนดกรอบของระบบงานสารสนเทศหลัก ระบบยอย และความตอ งการขอมูลของแตละประเภทของระบบขาวสาร (TPS, MIS, DSS, EIS) ไวอยางครบถวน ในข้ันตนน้ันกําหนดความจําเปนเรงดวนจะชวยในการพิจารณาคัดเลือกระบบงานท่ีจะพัฒนากอนหลังตอไปไดอยา งมรี ะบบคุณลักษณะของระบบ EIS (Characteristics of EIS ) 1. การเจาะลึกขอ มูล (Drill down) สามารถดูขอมลู โดยเจาะลกึ เฉพาะสวนทต่ี อ งการได 2. ปจ จัยวกิ ฤตสําเร็จ (Critical success Factors : CSF) เปนการติดตามขา วสารในองคกรท่ีคิดวาสามารถเปนจุดวิกฤตขององคกร (เชน ยอดขายท่ีตกต่ํา) และสามารถนําจุดวิกฤตนั้นมาทําใหประสบความสําเร็จ (เชน การใช Software ต้ังราคาขายสินคาใหสอดคลอ งกบั ฤดูกาล) อาจเก็บขอมูลขาวสารไดจาก 3 แหลง ไดแก ขอมูลระหวางการดําเนินงาน ขอมูลการผลิต และขอมูลสภาวะ

ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดบั สูง (EIS) 9แวดลอม เพื่อชวยกําหนดเปาหมายขององคกร ในการวางแผนกลยุทธ แผนควบคุมการทํางานภายในองคกรได 3. สถานะการเขาถึงขอมูล (Status access) สามารถเขาขาวสารถึงผานเครือขายไดทุกท่ีทุกเวลา 4. การวิเคราะหขอมูล (Analysis) ขอมูลในอดีตและปจจุบันจะตองสามารถนํามาวิเคราะหในลักษณะตา ง ๆ ได เพอ่ื นาํ ผลการวเิ คราะหไ ปใชสรางความไดเ ปรียบในการแขงขัน 5. การสรางรายงานพิเศษ (Exception reporting) เชน รายงานที่ไดจากการวิเคราะห หรือรายงานทผ่ี บู รหิ ารตอ งการใหจ ดั ทาํ ขึ้นเฉพาะ ดงั นน้ั รายงานจะตองมีความยืดหยนุ เชน รายงานแสดงแนวโนมการที่จะสูญเสียลูกคาของบริษัท ในอีก 6 เดือนขางหนา รายงานแผนกท่ีมีการขาดทุนสะสมติดตอกันเปน เวลา 2 ป เปนตน 6. ความสามารถในการใชสีและเสียง (Colors and audio) ระบบ EIS จะเนนในเร่ืองของรายงาน (Report) เพราะการนําเสนอขอมูลตอผูบริหารนั้น รูปแบบของขอมูลจะสรุปไวแลว แตผูบริหารจะตอง Drill down ไดเชนกัน ดังน้ันรายงานท่ีจัดทําควรมีการเนนสีและใชระบบเสียงเขามาชว ย 7. มีระบบนํารอ งขา วสารหรอื ปุมช้ี (Navigation of information) จะใชย นระยะเวลาในการใชงานทําใหผ บู ริหารไมส บั สนในการใชงาน 8. การสื่อสาร (Communication) ตองมีการติดตอสื่อสารท่ีรวดเร็วทันใจ สะดวก เชนระบบไปรษณยี อิเลก็ ทรอนิกส (E-mail) ระบบการแลกเปล่ยี นขอมลู อิเล็กทรอนิกส (Electronic Datainterchange : EDI) หรอื อนิ เตอรเ นต็ (Internet) เปนตน 5.2 ขา วสารเพอ่ื การบรหิ ารขาวสารเพือ่ การบรหิ าร ผบู ริหารจําเปน ตอ งมีขา วสารเพื่อประกอบการตดั สนิ ใจและทํางาน ประเภทของขอมูล/ขา วสารทจ่ี าํ เปน ตอ ผบู รหิ ารระดบั ตา งๆ จะแตกตางกันไป ประเภทของขา วสารเพื่อการบริหาร (ตวั อยาง) 1. ขา วสารภายใน (Internal) - ขา วสารเพอ่ื การผลติ ไดแก เปอรเซ็นตข องสินคาสงคนื จํานวนลกู คา ท่สี ง คําติ จาํ นวนลกู คา ทีพ่ อใจ ในสนิ คาจาํ นวนการผลติ จรงิ กับกําลังผลิต ฯลฯ - ขาวสารเกีย่ วกบั การบรกิ ารลูกคา ไดแก ระยะเวลา (จาํ นวนวนั ) สง ของใหถงึ มอื ลูกคา

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผูบ ริหารระดับสูง (EIS) 10เวลาตอบสนองการบริการตอการสงั่ ซอ้ื ของลกู คา ความพึงพอใจในบรกิ ารของลูกคา ฯลฯ - ขา วสารเกี่ยวกับพนกั งาน ไดแก ทศั นคตติ อ องคก รของพนักงาน อัตราการขาดงานอัตรา การลาออกจากงานของพนักงาน ฯลฯ 2. ขาวสารภายนอก (External) ทศิ ทางการเมอื ง ไดแ ก - การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยี - การเปดตวั - กจิ กรรม ทิศทางแผนงานของบริษทั คแู ขง ฯลฯ แหลง ขอ มูล/ขาวสาร ไดแ ก - ระบบรายงานขอมลู จากระบบคอมพวิ เตอรภ ายในองคก ร - รายงานขา วจากสอื่ ประเภทตา ง ๆ - แหลงขา วทไี่ มเปด เผยภายในและภายนอกองคก ร - ทปี่ รกึ ษาผเู ช่ยี วชาญ ในสายงานทเี่ กีย่ วของขอ มูล/ขา วสารท่ีจําเปน ตอการบริหารความคาดหวังของการพัฒนาโครงการ EIS ไดมีการวจิ ัยและคนควาโดย Watson, etal,1995 แจกแจง ปจจัยทจ่ี ูงใจตอการจัดทําโครงการ EIS คือปจ จัย คา เฉลยี่ (1 = ไมส าํ คญั , 5 = สําคญั สุด)1. นาํ เสนอขอ มลู ขาวสารโดยวธิ กี ารงา ย ๆ และรวดเร็ว 4.682. เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการทํางานของผบู ริหาร 3.953. สามารถตรวจสอบคาประสทิ ธผ์ิ ลขององคกรได 3.904. ปรับปรุงการติดตอ สอ่ื สารใหดีขึน้ 3.475. สกดั และบูรณาการขอมลู จากแหลง ขอมูลสารพดั แหลง ทแ่ี ตกตางกัน 3.316. ไดสารสนเทศเพอื่ การแขงขัน 2.717. ตรวจตราสภาวะการเปลี่ยนแปลงสงิ่ แวดลอ มภายนอก 2.288. ลดขนาดขององคก รลง 2.00 ดังน้ันจะพบวาการเขาถงึ ขอมูลทตี่ อ งการงายและรวดเร็ว เปน เปาหมายสาํ คัญของโครงการการกาํ หนดความตองการขน้ั ตน ความตอ งการขาวสารทด่ี คี วรจะมีลกั ษณะใดบา ง - เปนขา วสารทสี่ าํ คญั - เปน ขา วสารทม่ี ีผลกระทบตอการบรหิ ารงานชน้ั สูง

ระบบสารสนเทศสําหรับผบู ริหารระดับสูง (EIS) 11 - เปน ขาวสารซึง่ สามารถแสดงเปน เชิงปรมิ าณได การระบคุ วามตองการขนั้ ตน จะกระทําไดดว ยวธิ กี ารตาง ๆ ไดแ ก - ระบ/ุ กาํ หนดโดยตวั ผูบริหารชน้ั สูง - ระบ/ุ กาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของคณะผบู รหิ าร การระบุสารสนเทศทีต่ องการจาํ เปนอาจคัดเลอื กจากตัวแปร ขอมลู สารสนเทศซึง่ ใชเ ปน - ตวั ช้วี ัดประสิทธิผ์ ลของการทาํ งานในดานตางๆ (Key performance data) - ขอมลู ท่ีใช/ ชว ยในการตดิ ตอประสานงานกบั องคก ร/ธุรกิจ/ลกู คา ภายนอกองคก ร - ขอ มูลท่ีใชเ ปน ปจ จยั สําคญั ในการช้ีนาํ ความสําเร็จของการปฏบิ ัตงิ าน (Criticalsuccess factors : CSFS)การปรับปรุงเพม่ิ เตมิ ความตอ งการ บอยครง้ั ความตองการขอมูลขา วสารอาจเปนขอมูลทไ่ี มไ ดป ฏิบัตงิ าน/ใชงาน/จัดทาํ ในระบบปจ จบุ นั แตน าจะมกี ารใชง านในอนาคต หรอื ขอ มลู บางรายการจําเปนตองใช แตระบบงานปจ จบุ ันไมไดจ ดั ทํา/บรกิ ารให ทง้ั สองลกั ษณะนี้ ผูบ ริหารจะพิจารณาจดั ทําเปน ความตอ งการเพ่ิมเติม จากความตองการขั้นตนท่รี ะบบงานปจจุบนั ตอบสนองอยู/ใชง านอยูการจัดทาํ รา งสรปุ หลังจากการรวบรวมความตองการท้ังหมดแลว ขน้ั ตอนตอมา คอื การจดั กลมุ ของขา วสารท่ีตอ งการทงั้ หมดเปน ตนแบบ และนําเสนอตอ ผบู รหิ าร เพ่ือตรวจสอบความตองการเปนครง้ั สุดทายการเลอื กวตั ถุประสงค หากความตอ งการขา วสารของโครงการมีจํานวนมากมาย การจะดําเนนิ การจัดเตรยี ม/พัฒนาสารสนเทศ ทั้งหมดคงใชท รัพยากรมากมาย ดงั นั้น คณะทาํ งานจะจดั ทําผลการศกึ ษาความเหมาะสม/ความเปนไปไดตอวัตถุประสงคต า งๆ เพื่อนําเสนอขอ มูลวา - วตั ถุประสงคใด ท่ียอมรับไดกบั เง่ือนไข งบประมาณ เวลา บคุ ลากร ทม่ี ใี นองคกร - วัตถุประสงคใด เพยี งพอ/จําเปน ตอการตอบสนองความตอ งการสงู สดุ - วัตถุประสงคใดเปนไปไดในการจัดเตรียม/พัฒนา ดวยเทคโนโลยที บ่ี ริษัทมีหรือสามารถจัดหาได - วตั ถุประสงคใ ด บคุ ลากรในองคก รสามารถพัฒนาได (บุคลากรมศี ักยภาพพอท่ีจะจัดทํา/จัดบรกิ าร)

ระบบสารสนเทศสาํ หรับผบู ริหารระดบั สงู (EIS) 12 5.3 ความรทู วั่ ไปเกย่ี วกบั ระบบขา วสารเพอ่ื การบรหิ ารชนั้ สงู ระบบขาวสารคอมพิวเตอรที่จัดทําและบริการขาวสาร ท้ังภายในและภายนอกองคกร ท่ีเปนสารสนเทศในการบริหารชั้นสูง โดยสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา ถูกตอง โดยที่สารสนเทศเหลานี้ จะเปนสารสนเทศท่ีลวนเปนขาวสารที่มีผลกระทบเก่ียวของโดยตรงตอการบริหารและตัดสินใจใหสําเร็จและถกู ตอง ตรงทิศทางมากที่สุด อนึ่งนอกจากขาวสารท่ีเปนปจจัยสําคัญๆ ในการชวยพิจารณาตัดสินใจแลว ระบบ EIS ยังจะมคี ณุ สมบัติหรอื สงิ่ อาํ นวยความสะดวกอืน่ ๆ ประกอบดว ย เชน - พวงตอระบบชํานาญการพิเศษ (Expert System) เพ่ือชวยวิเคราะห ตีความเปรียบเทียบอดตี ทาํ นายอนาคตของขาวสารขององคก ร - ระบบแลกเปล่ียนขอมูลขาวสาร หรือ การจัดการสํานักงานอัตโนมัติ ใหสามารถติดตอแลกเปลยี่ นสงขอ มูลระหวา งบคุ คลตาง ๆ ได การสืบคน สรปุ ขอ มูลจากฐานขอมูลกลาง - อน่ื ๆ เชน ปฏิทนิ เครื่องคํานวณ การประชมุ ทางไกลฯ 5.4 ความสามารถทวั่ ไปของ EISความสามารถทัว่ ไปของ EIS – การเขาถึงดาตาแวรเฮาต (Data Warehouse) ซึ่งเปนการรวบรวมขอมูลสําหรับการตดั สนิ ใจ ประกอบดวยฐานขอมลู จากงานในระดบั ปฏบิ ตั ิการ เชน วัสดุคงคลัง และฐานขอมลู ภายนอกเชน ลักษณะของประชากร – การใชความสามารถในการเจาะขอมูล (Drill down) กลาวคือ EIS จะประกอบดวยการสรุปสารสนเทศเพ่ือใหผูบริหารสามารถเจาะลึกเพ่ือกาสารสนเทศในรายละเอียดอีกครั้ง ดังน้ันการเจาะขอมูลหมายถึง ความสามารถในการใหรายละเอียดของสารสนเทศ เชน หากผูบริหารสังเกตเห็นการลดลงของยอดขายในรายงานประจําสัปดาหผูบริหารอาจตองดูรายละเอียดของยอดขายในแตละภาคเพ่ือตองการหาเหตุผล ถาขอมูลแสดงวาภาคใดภาคหนึ่ง มีปญหา ผูบริหารอาจจะเจาะลงในรายละเอียดของการขายสินคาแตละผลิตภัณฑ หรือยอดขายของพนักงานขายแตละคนก็ได การ

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผูบริหารระดับสูง (EIS) 13เจาะลึกของขอมูลอาจทําไดตอเน่ืองกันหลายระดับของขอมูล การเจาะลึกดังกลาวผูบริหารสามารถทาํ ไดเ องโดยไมจําเปน ตอ งปรึกษากบั โปรแกรมเมอรแตอ ยางใด – การนําเสนอขอมูลในลักษณะท่ีมีความยืดหยุน ระบบ EIS จะมีการรายงานซ่ึงมีความยืดหยนุ กวา ระบบ MRS มาก กลา วคือ ระบบ MRS จะมีการกาํ หนดสารสนเทศไวลวงหนา แต EIS จะเริ่มจากส่ิงท่ีไมไดกําหนดไวลวงหนา และยังมีรูปแบบรายงานตาง ๆ ใหผูบริหารไดเลือกอีก (แนวคิดเดียวกับแบบ drill down) ซึ่งชวยใหผูบริหารสามารถ ไดทราบสารสนเทศในเชิงลึกมากขึ้น และบางครั้งถึงกับออกแบบในลักษณะกราฟฟกเอาไวดวย ลักษณะการนําเสนอในแบบน้ีเปนขอแตกตางของ MRS และ EIS – การเขาถึงสารสนเทศที่หลากหลาย ระบบ EIS ชวยใหผูบริหารสามารถเขาถึง สารสนเทศไดทุกประเภท ท้ังสารสนเทศจากภายในหนวยงานและภายนอกหนวยงานซ่ึงเปนเรื่องเกี่ยวกับสง่ิ แวดลอ มขององคการดวย – การใชโมเดลในการวิเคราะหแนวโนม (Trend analysis) การวิเคราะหขอมูลอาจจําเปนตองทราบแนวโนมในอนาคต โดยเฉพาะเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในขอมูล การวิเคราะหแนวโนมจะทําไดโดยใชโมเดลการพยากรณ การวิเคราะหแนวโนม เชน ยอดขายจะมีการเพิ่มข้ึนหรือไม สวนแบง การตลาดจะลดลงหรอื ไม 5.5 ภาระหนา ทขี่ องผบู รหิ ารระดบั สงู และระบบขา วสารทต่ี อ งการ ผูบริหารระดับสูง คือ บุคคลที่บริหารจัดการองคกร ทั้งองคกร หรือ บางครั้งอาจเปนแผนก/หนวยงานอิสระ (เชนโรงงานผลิต) ภาระความรับผิดชอบกวางขวางโดยมากไมเฉพาะท่ีงานใดงานหนึง่ ไดแก การวางแผนกลยุทธ การรกั ษาความอยรู อดขององคกรฯลฯ เปนผูตัดสินใจในเรื่องสําคญั ๆเปนคนสุดทาย เชน ดานงบประมาณ ดานบุคคลากร และแผนงานธุรกิจตาง ๆ นอกจากน้ัน ผูบริหารระดับสูง ยังเปนผูท่ีตองติดตอ เจรจา ทําความตกลง รวมมือกับองคกรอ่ืนๆ ผูบริหารจึงมีภารกิจความรับผิดชอบสงู ทส่ี ุดในองคก ร ผบู รหิ ารระดับสงู ทําหนาท่ใี ดบา ง ภารกิจหนา ทไี่ ดแก 1. ภารกิจดา นการบริหาร - จัดตัง้ บํารงุ รักษาองคก ร - จดั การดานแหลงเงนิ ทุน บคุ ลากร-กําลงั ผลิตและผลผลติ (สนิ คา ) - จัดการวางตัวสรรหา ยกเลิก/ และวางแผนความตอ งการ กําลงั คน/เคร่ืองจกั ร - ดูแลงานการวางแผน ควบคุม งบประมาณ คาใชจายและการติดตอส่ือสารขององคก ร

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู ริหารระดบั สูง (EIS) 14 - กําหนดมาตรฐานงาน การแกไ ขปญ หาภายในองคก ร - กาํ หนดเปา หมาย กจิ กรรม แผนงาน - จดั สรางเครือขา ยบคุ คล เพอ่ื ปฏบิ ตั งิ านและบริหารงาน 2. ภารกจิ ดานบทบาท - ตดิ ตอเจรจากบั ธุรกิจ/องคก รภายนอก - ติดตามควบคมุ สั่งการแกไ ขนโยบายแผนงานตามความจําเปน/เหมาะสม - เปน ผูนาํ ขององคกรที่ตอ งมวี สิ ยั ทศั นร อบรู เขา ใจปญหาตา ง ๆ และรแู นวทางแกไข 3. การตัดสินใจ ทาํ หนาท่ีในการพิจารณาตัดสนิ ใจ ช้ีขาดหาขอยุตใิ นกจิ กรรม หรือประเด็นตาง ๆ ขององคกร 4. ขาวสารเพ่อื การบริหาร ผูบริหารจําเปนตองมีขาวสารเพื่อประกอบการตัดสินใจและทํางาน ประเภทของขอมูล/ขา วสารที่จําเปนตอ ผูบรหิ ารระดบั ตาง ๆ จะแตกตา งกันไป 5.6 ภาระหนา ทข่ี องระบบ EIS 1. ชวยในการวางแผนกลยุทธ โดยประเมินและทําความเขาใจเก่ียวกับสถานการณตาง ๆ ไดอยางรวดเร็วและนําสารสนเทศท่ีถูกตองเปนปจจุบันมีความรวดเร็วและชวยในการพิจารณาสถานการณทัง้ ภายในและภายนอก รวมท้งั ทดสอบวา กลยุทธท่ีกําหนด ไดผลหรือไม 2. ชวยในการควบคุมเชิงกลยุทธ (Strategic control) ซ่ึงเกี่ยวกับการติดตาม และการจัดการการปฏิบัติขององคการโดยการสรางกระบวนการทํางานที่มีประสิทธิผลโดยการระบุปจจัยตางๆ ท่ีเกีย่ วของ เชน ปญหา โอกาส หรือการเปล่ยี นแปลง เพอื่ ท่ีจะชว ยใหกระบวนการทํางานลื่นไหลไปไดด วยดี 3. การสรางเครือขาย (Networks) เครือขายในท่ีนี้ หมายถึงบุคคลตาง ๆ ทํางานรวมกันในการบรรลุจุดมุงหมาย เครือขายนี้จะชวยทําใหสารสนเทศท่ีเกี่ยวกับความคิดเห็นขอสังเกต ขอมูลหรือการเตือนภัยลว งหนาไหลติดตอ ระหวางสมาชกิ ในเครือขา ย

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ ารระดบั สูง (EIS) 15 4. ชวยในการติดตามสถานการณอยางใกลชิด ระบบยังสามารถใหขอมูลท่ีเก่ียวของกับคูแขงทั้งในระดับประเทศและตา งประเทศรวมทงั้ สามารถในการจดั หาสนิ คาของซัพพลายเออร 5. ชวยในการจัดการกับวิกฤต (Crisis management) แมวาหนวยงานจะมีการวางแผนกลยุทธดีเพียงไร แตบางคร้ังวิกฤตที่ไมคาดคิดอาจเกิดข้ึนได การจัดการวิกฤตเปนหนาที่ของผูบริหารโดยตรง 5.7 คณุ สมบตั ขิ องระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ าร เพ่ือใหการใชงานของระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารเกิดประโยชน สูงสุด ดังนั้น ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบรหิ ารควรมีคุณสมบัติดงั ตอ ไปนี้ 1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning Support) การพัฒนาระบบ EISผูพัฒนาจะตองมีความรูในเร่ืองกลยุทธธุรกิจ (Business Strategy) และปจจัยสําคัญในการวางแผนกลยุทธ (Strategic Factors) เพื่อท่ีจะสามารถประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการชวยเพ่ิมประสิทธภ าพในการกําหนดแผนทางกลยุทธทส่ี มบรู ณ 2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดลอมภายนอกองคกร (External Environment Focus)เน่ืองจากขอ มูล หรอื สารสนเทศ เปนส่ิงสาํ คญั มากที่จะนาํ มาประกอบการตัดสินใจของผูบริหาร ดังน้ัน EIS ที่ ดีจะตองมีการใชฐานขอมูลขององคการไดอยางรวดเร็วแลว ยังจะตองออกแบบใหสามารถเช่ือมโยงกับแหลงขอ มลู ทม่ี าจากภายนอกองคก าร เพ่อื ใหไดซ ึ่งขอมลู ที่สําคัญท่ีจาํ เปนตอการตดั สินใจของผบู ริหาร 3. มีความสามารถในการคํานวณภาพกวาง (Broad-based Computing Capabilities) การตัดสินใจของผูบริหารสวนใหญเกี่ยวของกับปญหาท่ีมีโครงสรางไมแนนอนและ ขาดความชัดเจน โดยสวนใหญจะมองถึงภาพโดยรวมของระบบแบบกวาง ๆ ไมลงลึกในรายละเอียด ดังนั้นการคํานวณที่ผูบริหารตองการจึงเปนลักษณะงาย ๆ ชัดเจน เปนรูปธรรม และไมซับซอนมาก เชน การเรียกขอมูลกลับมาดู การใชกราฟ การใชแบบจาํ ลองแสดงภาพเหตุการณทเ่ี กิดขึ้น 4. งายตอการเรียนรูและใชงาน (Exceptional Ease of Learning and Use)ผู บริหารจะมีกิจกรรมท่ีหลากหลายท้ังภายในและภายนอกองคการ ผูบริหารจึงมีเวลาในการตัดสินใจในแตละงานนอยหรือกลาวไดวาเวลาของผูบริหารมีคามาก ดังนั้น การพัฒนา EIS จะตองเลือกรูปแบบการแสดงผลหรือการโตตอบกับผูใชในแนวทางที่งายตอการใชงาน และใชร ะยะเวลาส้ัน เชน การแสดงผลรูปกราฟ ภาษาทง่ี าย และการโตต อบทีร่ วดเร็ว 5. พัฒนาเฉพาะสําหรับผูบริหาร (Customization)การ ตัดสินใจของผูบริหารสวนใหญจะมีความสัมพันธตอพนักงานอื่น และตอการดําเนินธุรกิจขององคการ ซ่ึงเปนสิ่งที่นักวิเคราะหและ

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ ารระดบั สูง (EIS) 16ออกแบบระบบ (System Analyst and Designer) ตองคํานึงถึงในการพัฒนา EIS เพื่อใหสามารถพัฒนา EIS ใหมีศักยภาพสูง มีประสิทธิภาพดีเหมาะสมกับการใชงานและเปนแบบเฉพาะสําหรับผบู ริหารทีจ่ ะเขา ถึงขอ มลู ไดต ามตอ งการ 5.8 คณุ ลกั ษณะของระบบบรหิ าร EIS 1. มกี ารใชง านบอย 2. ไมต อ งมที กั ษะทางคอมพิวเตอรส ูง 3. ความยืดหยนุ สงู สามารถเขา กนั ไดกบั รปู แบบการทาํ งานของผูบริหาร EIS 4. การใชง านใชในการตรวจสอบ ควบคุม 5. การสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจไมมีโครงสรา งแนน อน 6. ผลลพั ธท แี่ สดงจะเปนตวั อกั ษร ตาราง ภาพและเสยี ง รวมท้ังระบบมัลติมีเดีย 7. การใชงานภาพกราฟกสูง จะใชรปู แบบการนาํ เสนอตา งๆ 8. ความเร็วในการตอบสนองรวดเร็วทันทที นั ใด 5.9 ผลกระทบของระบบ EIS ตอ องคก ร การจัดเตรยี มระบบขาวสารเพอื่ การบริหารชั้นสงู กอใหเ กดิ ผลกระทบตอ องคก รในหลายดานดวยกัน 1. ดา นเปาหมายนโยบายขององคกร นโยบาย/แผนงานขององคกร เดิมจะมีลักษณะเปนสถิติ กลาวคือ ผูบริหารจะสรุป/ประเมินสถานการณ จากขาวสารที่ไดรับเปนระยะๆ เชนรายเดือน รายป แตในกรณี EIS การสงขาวสารสามารถกระทําไดทุกนาที ดังน้ี เปาหมายขององคกรจะสามารถเปล่ียนแปลงไดอยางรวดเร็ว(Dynamic) 2. ดานบุคลากร ผูบริหารจะตอมีความรูขั้นตนในการใชงานระบบคอมพิวเตอร และเน่ืองจากการควบคุมติดตามประเมินผล ในงานบางเร่ืองสามารถกําหนดเปนเกณฑมาตรฐาน มีเง่ือนไข การตัดสินใจที่ชัดเจน ดังนั้นผูบริหารระดับตน ระดับกลาง อาจมีความสําคัญลดนอยลง เพราะใชระบบการ

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผบู รหิ ารระดับสูง (EIS) 17กล่ันกรอง แบบอัตโนมัติ และระบบผูเช่ียวชาญ ชวยวิเคราะห ตัดสินใจไดในบางสวน 3. ดา นเทคโนโลยี การพัฒนาการของเทคโนโลยีในดานการส่ือสารฐานขอมูล และสื่อประสมทําให วิธีการปฏิบัติงานใน องคกรเปล่ียนแปลงไป จากระบบเอกสาร-แฟม เปนระบบ แฟมดิจิตอล เชื่อมโยงภายใน วีดโี อ และเสยี ง ความเขา ใจ/การแกป ญหา กระทาํ ไดตรงประเดน็ มีประสทิ ธภิ าพย่ิงข้ึน 5.10 ขอ ดขี องระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ าร 1. งายตอ การใชง านของผูใชโ ดยเฉพาะผูบริหารระดับสูง 2. ผใู ชไมจ าํ เปน ตองมคี วามรอู ยา งลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. คนหาสารสนเทศทต่ี อ งการไดใ นเวลาสั้น 4. ชวยใหผ ใู ชเขา ใจสารสนเทศท่ีนําเสนออยางชดั เจน 5. ประหยัดเวลาในการดําเนินงานและการตัดสินใจ 6. สามารถตดิ ตามและจัดการสารสนเทศอยา งมีประสิทธิภาพ 5.11 ขอ ดอ ยของระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ าร 1. มีขอจาํ กัดในการใชง าน เนอื่ งจาก EIS ถูกพัฒนาข้นึ เพ่อื ใชง านเฉพาะอยาง 2. ขอมลู และการนําเสนออาจไมส อดคลองกับความตอ งการของผบู รหิ าร 3. ยากตอ การประเมนิ ประโยชนแ ละผลตอบแทนท่อี งคก ารจะไดรับ 4. ไมถกู พัฒนาใหทําการประมวลผลทซ่ี บั ซอ นและหลากหลาย 5. ซับซอ นและยากตอการจัดการขอมลู 6. ยากตอการรักษาความทนั สมยั ของขอมูลและของระบบ 7. ปญ หาดานการรกั ษาความลับของขอ มูล

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบ รหิ ารระดับสูง (EIS) 18 5.12 โครงสรา งระบบบรหิ าร EIS ภาพท่ี 3 โครงสรางของระบบ EIS ทม่ี า : https://is.gd/ztRFvnUser / Role Matrix Model ระบบ EIS รองรับใหสามารถใชงานและรวมกันทํางานไดหลายคน และหลายระดับต้ังแตผูปฏิบัติงานสวนตาง ๆ ไปจนถึงผูบริหารระดับสูง บนขอมูลชุดเดียวกัน ซึ่งทําใหขอมูลมีความถูกตองแมน ยํา และสามารถเห็นทง้ั ภาพรวม รวมท้ังรายละเอียดของแตละจุดได นอกจากนั้น ระบบ EIS สามารถที่จะกําหนดสิทธิในการเขา ถึงขอมูล และแกไขขอ มลู ของผใู ชงานในแตละระดับไดด วย ภาพท่ี 4 รูปแบบขอ มลู ในแตล ะจุด ที่มา : https://is.gd/Mm2x3Z

ระบบสารสนเทศสาํ หรับผูบรหิ ารระดับสงู (EIS) 19รปู แบบขอ มูลในแตละจุด ระบบรองรับใหสามารถเกบ็ ขอมลู ในลกั ษณะ ดังตอไปนี้ 1. ขอมูลทวไป (Static Information) ในรูปแบบขอความ หรือ ตัวเลข เชน ช่ือ, ท่ีอยู,เบอรโทรศัพท 2. รปู ภาพ หรอื VDO 3. ขอมูลสถติ(Statistics & History) เชน ยอดขาย หรือจํานวนลูกคา เพื่อใชในการวเิ คราะหข อ มูล หรือเรยี กดขู อมลู ตามเงื่อนไขท่กี ําหนด 4. ขอ มูลในรูปแบบท่กี ําหนดเอง (Customized Form Design) 5. URL Link เชน CCTV, Measurement device 5.13 ตวั อยา งการใชร ะบบ EIS ในธรุ กิจตา งๆตวั อยางท่ี 1 บริษทั ทมี่ ีหนวยงาน/ สาขา/ ผแู ทนหรือลูกคา กระจายอยูท ั่วพืน้ ทีใ่ นประเทศไทย - สามารถดขู อ มูลยอดขายในแตละพ้ืนท่(ี หรอื หลายพ้นื ที)่ ในชว งเวลาตาง ๆ ได - สามารถดูผล performance ของพนักงาน/หนวยงานซ่ึงประจายอยูในพ้ืนที่ตาง ๆในชวงเวลาตา ง ๆ ได - สามารถดูปริมาณสินคา คงเหลอื ของแตล ะประเภทสนิ คาในแตล ะพื้นที่(หรอื หลายพ้นื ที่)ณ. ชวงเวลาตาง ๆ ได - สามารถดปู ญหาทเี่ กดิ ข้ึนจากการใชบรกิ ารของลกู คาในพ้ืนที่และในชวงเวลาตาง ๆ - สามารถดปู ญหาการขนสงสนิ คาในพนื้ ทตี่ าง ๆ ณ ชวงเวลาที่ตอ งการได - สามารถดูการกระจายตัวของลูกคา เพื่อนําไปใชปรับกลยุทธในการขยายฐานลูกคาและพฒั นาผลิตภณั ฑแ ละบริการใหเหมาะกับความตองการของลูกคา ในแตล ะพนื้ ที่หมายเหตุ: การแสดงและเรียกดูขอมูลสามารถปรบั เปล่ียนไดตามความตองการของลกู คา

ระบบสารสนเทศสําหรับผบู ริหารระดบั สงู (EIS) 20ตวั อยางท่ี 2 ภาพที่ 5 โลโกบริษทั อสังหาริมทรัพยต าง ๆ ท่ีมา : https://is.gd/mwzcfP บริษัทอสงั หารมิ ทรพั ย (ขายโครงการบานเดยี่ ว ทาวนเฮาส และคอนโดมิเนียม) - สามารถดูการกระจายตัวของโครงการบานและคอนโดในจังหวัดหรือบริเวณที่ตองการ(รวมบรษิ ทั คแู ขง) - สามารถเลือกดูขอมูลตามประเภทโครงการ/ ราคา/ บริษัทเจาของโครงการในชวงเวลาตา ง ๆ ได - สามารถแสดงขอมูลโครงการที่ลูกคาสนใจไดงาย โดยอาจคลิกเลือกจากแผนท่ี หรือการคน หาโดยใสข อ มลู ตาํ แหนง , ราคา หรอื ประเภทโครงการ - สามารถดูขอมูลการกระจายตัวของประชากรในแตละพ้ืนท่ี ทําใหการวางแผนสรางโครงการตาง ๆ เปนไปไดอ ยางเหมาะสม - สามารถดูขอมูลพ้ืนที่นํ้าทวมในแตละปได ซ่ึงจะชวยตัดสินใจในการเลือกพื้นที่เพื่อกอ สรา งโครงการตาง ๆหมายเหต:ุ การแสดงและเรยี กดูขอ มูลสามารถปรับเปล่ียนไดต ามความตองการของลกู คา

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบริหารระดบั สงู (EIS) 21ตัวอยา งท่3ี ภาพที่ 6 แสดงโลโกบรษิ ัทประกันภยั / ประกันชวี ิต ท่ีมา : https://is.gd/BSBGKmบรษิ ัทประกันภยั / ประกนั ชีวติ - สามารถดูการกระจายตัวของลกู คา ทที่ ําประกันภัยประเภทตาง ๆ เพื่อใชในการบรหิ ารความเสย่ี งของธุรกิจ - สามารถดขู อบเขตพ้ืนท่ซี งึ่ เปน บรเิ วณเส่ยี งตอการเกิดโรคระบาด, ภัยแลง, นา้ํ ทวม หรือความไมสงบ เพื่อพจิ ารณาการอนุมัตคิ ํา้ ขอทําประกันและอตั ราเบีย้ ประกันภยั / ประกนั ชีวติ - สามารถดขู อมูลยอดขายของลูกคา ในบริเวณตาง ๆ ณ ชว งเวลาท่ีกําหนดหมายเหต:ุ การแสดงและเรยี กดขู อ มลู สามารถปรับเปลย่ี นไดต ามความตอ งการของลกู คา 5.14 สรปุ ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ ารระดบั สงู EISสรุป การดําเนินธุรกิจที่ซับซอนและท้ังความรุนแรงในการแขงขัน ทําใหผูบริหารตองสามารถตัดสินใจอยางถูกตอง รวดเร็ว จึงตองอาศัยสารสนเทศท่ีเหมาะสมดังท่ีมีผูกลาววา สารสนเทศ คืออํานาจทุกองคการจึงตองจัดหาและจัดการสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพแตบุคลากรบางกลุมใน

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบรหิ ารระดบั สงู (EIS) 22องคก ารจะมคี วามตองการสารสนเทศทเี่ ฉพาะ เชน ผูบรหิ ารจะมคี วามแตกตา งจากผูใชขอ มูลในระดับอ่นื ทต่ี อ งการขอมลู ทชี่ ัดเจน งายตอการตดั สินใจ ไมต อ งเสยี เวลาประมวลผลอีกระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหาร หรือ EIS ถูกพัฒนาขึ้นเพ่ือจัดการสารสนเทศของผูบริหารมีความตองการขอมูลที่มีความแตกตางจากบุคลากรกลุมอื่นขององคการ โดยเฉพาะลักษณะของงานของผูบริหารในปจจุบันที่มีความสําคัญกับองคการและมีระยะเวลาจํากัดในการตัดสินใจแกปญหา เมื่อมีเหตุการณหนึ่งเกิดขึ้นซึ่งมีผลกระทบตอองคการ ปจจุบันมีผูเขาใจผิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะบุคคลที่เขารับการสัมมนาระยะสั้น หรือผูที่รับขอมูลเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศอยางไมส ม บู ร ณ โ ด ยคิ ด ว า ระบบสารสนเทศเปนแกวสารพัดนึกที่ผูใชสามารถเรียกขอมูลทุกประเภทโดยเฉพาะ EIS ประการสําคัญเน่ืองจากผูบ ริหารระดบั สงู ในหลายองคการยงั มีความเขา ใจทไี่ มส มบูรณ ซึ่งทาํ ใหเกิดความคาดหวังท่ีคลาดเคลื่อนจากความสามารถของระบบสารสนเทศ ซึ่งจะมีผลตอความประทับใจ ความเชือ่ มัน่ และการสนบั สนุนตอการพัฒนาระบบในอนาคต

ระบบสารสนเทศสําหรับผบู รหิ ารระดับสงู (EIS) 23บรรณานกุ รม ระบบสารสนเทศเพอื่ ผบู รหิ ารระดบั สงู . [ออนไลน] เขาถงึ ไดจ าก : https://is.gd/VI9kYn (วันท่ีคน ขอมลู : 30 ตุลาคม 2561) ระบบสารสนเทศ (Information System). [ออนไลน] เขา ถึงไดจาก : http://yingpen. blogspot.com (วนั ที่คนขอมลู : 30 ตุลาคม 2561) ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู ริหาร (Executive Information Systems :EIS. [ออนไลน] เขา ถงึ ได จาก : https://arnono120.wordpress.com (วนั ทคี่ นขอมูล : 10 พฤศจิกายน 2561) อรรถสทิ ธ์ิ อุดรรตั น, ระบบขาวสารเพื่อการบรหิ ารชน้ั สูง (EIS). [ออนไลน] เขาถึงไดจ าก : https://www.gotoknow.org/posts/351965 (วันทคี่ นขอมูล : 1 พฤศจิกายน 2561) อไุ รรตั น โสภา, ระบบขา วสารเพือ่ การบรหิ ารช้ันสงู (EIS). [ออนไลน] เขาถงึ ไดจาก : https://www.gotoknow.org/posts/351236 (วันทีค่ นขอมูล : 30 ตุลาคม 2561) Pimchanok Kongdee, EIS ระบบสารสนเทศท่ีชวยผบู ริหารระดับสูงตดั สินใจ (บทที7่ ). [ออนไลน] เขา ถงึ ไดจาก : https://is.gd/vrxF2u (วันท่ีคน ขอ มูล : 30 ตลุ าคม 2561) Wilawan Ploymaglum, 2559. Executive Information System (EIS). กรุงเทพมหานคร

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบริหารระดับสูง (EIS) 24

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผบู ริหารระดับสงู (EIS) 25 คณะผูจ ัดทําประวตั ิสว นตวัช่อื -นามสกุล : นางสาวชวพร นิ่มพฤติชื่องาน : ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผูบริหาร ระดับสงู (EIS.)สาขาวิชา : คอมพวิ เตอรธุรกจิเกดิ เม่ือ : วนั ท่ี 22 มิถุนายน พ.ศ.2541ทีอ่ ยู : 4/1 ม.3 ต.โพแตง อ.บางไทร จ.พระนครศรอี ยุธยา 13290ประวตั กิ ารศึกษาป พ.ศ. 2554 ระดบั มัธยมศึกษา โรงเรียนวัดปาคาเจรญิ วทิ ยาป พ.ศ. 2559 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1-3 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีป พ.ศ. 2562 ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพข้ันสูง 1-2 สาขางานคอมพิวเตอรธรุ กิจ วทิ ยาลัยเทคนิคปทุมธานี

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ ารระดับสงู (EIS) 26 คณะผจู ัดทําประวตั ิสว นตัวชื่อ-นามสกลุ : นางสาวสภุ ัสสร การญุชื่องาน : ระบบสารสนเทศสาํ หรับผูบ รหิ าร ระดบั สงู (EIS.)สาขาวิชา : คอมพวิ เตอรธุรกิจเกดิ เมอ่ื : วันที่ 29 สงิ หาคม พ.ศ.2541ทอี่ ยู : 3/3 ม.18 ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120ประวตั กิ ารศึกษาป พ.ศ. 2554 ระดบั มัธยมศึกษา โรงเรียนธรรมศาสตรค ลองหลวงวทิ ยาคมป พ.ศ. 2559 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1-3 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีป พ.ศ. 2562 ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ข้ันสูง 1-2 สาขางานคอมพิวเตอรธรุ กจิ วทิ ยาลัยเทคนิคปทุมธานี

ระบบสารสนเทศสาํ หรับผบู ริหารระดบั สูง (EIS) 27 คณะผูจดั ทําประวตั สิ ว นตัวชอื่ -นามสกลุ : นางสาวอาทมิ า ขนั อินทรชอ่ื งาน : ระบบสารสนเทศสําหรบั ผบู รหิ าร ระดบั สูง (EIS.)สาขาวิชา : คอมพวิ เตอรธรุ กจิเกดิ เม่อื : วนั ท่ี 2 ตุลาคม พ.ศ.2541ท่อี ยู : 46 ม.2 ต.คลองควาย อ.สามโคก จ.ปทมุ ธานี 12160ประวตั กิ ารศกึ ษาป พ.ศ. 2554 ระดบั มัธยมศกึ ษา โรงเรยี นสามโคกป พ.ศ. 2559 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1-3 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปทมุ ธานีป พ.ศ. 2562 ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง 1-2 สาขางานคอมพิวเตอรธุรกจิ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี

ระบบสารสนเทศสาํ หรับผูบ รหิ ารระดบั สงู (EIS) 28 คณะผูจัดทําประวตั สิ ว นตัวชื่อ-นามสกลุ : นางสาววิภาพร ภสั สรวิฃาญชื่องาน : ระบบสารสนเทศสําหรับผบู ริหาร ระดับสงู (EIS.)สาขาวิชา : คอมพวิ เตอรธุรกจิเกดิ เมื่อ : วันท่ี 17 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ.2540ทอ่ี ยู : 72/7 ม.2 ต.บางพูด อ.เมอื ง จ.ปทมุ ธานี 12000ประวตั กิ ารศกึ ษาป พ.ศ. 2553 ระดับมัธยมศกึ ษา โรงเรียนคณะราษฎรบ าํ รุงปทมุ ธานีป พ.ศ. 2558 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1-3 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปทมุ ธานีป พ.ศ. 2562 ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพข้ันสูง 1-2 สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ วทิ ยาลัยเทคนิคปทุมธานี

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ ารระดบั สูง (EIS) 29 คณะผูจดั ทําประวตั สิ ว นตัวชื่อ-นามสกลุ : นางสาวศศปิ ระภา กระฃอนสขุช่ืองาน : ระบบสารสนเทศสําหรับผบู ริหาร ระดับสงู (EIS.)สาขาวิชา : คอมพวิ เตอรธรุ กิจเกดิ เม่อื : วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ.2541ทอี่ ยู : 34/2 ม.6 ต.กระชอน อ.พิมาย จ.นครราชสีมา 30110ประวตั กิ ารศึกษาป พ.ศ. 2554 ระดบั มัธยมศึกษา โรงเรยี นวัดปา คาเจรญิ วิทยาป พ.ศ. 2559 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1-3 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีป พ.ศ. 2562 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ขั้นสูง 1-2 สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ วทิ ยาลัยเทคนิคปทุมธานี

ระบบสารสนเทศสาํ หรับผูบริหารระดับสงู (EIS) 30 คณะผูจ ดั ทําประวตั สิ ว นตัวช่ือ-นามสกลุ : นางสาวเนตรนภา ฃูวงษชื่องาน : ระบบสารสนเทศสําหรบั ผบู ริหาร ระดบั สูง (EIS.)สาขาวิชา : คอมพวิ เตอรธรุ กิจเกดิ เมื่อ : วนั ที่ 15 ตลุ าคม พ.ศ.2541ทอ่ี ยู : 91 ม.3 ต.เชียงรากใหญ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 12160ประวตั ิการศึกษาป พ.ศ. 2554 ระดบั มัธยมศึกษา โรงเรยี นคลองบา นพรา วป พ.ศ. 2559 ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ 1-3 สาขาวชิ าการบัญชี วิทยาลยั อาชีวะปทุมธานีป พ.ศ. 2562 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพข้ันสูง 1-2 สาขางานคอมพิวเตอรธรุ กิจ วิทยาลัยเทคนิคปทมุ ธานี

ระบบสารสนเทศสาํ หรับผูบริหารระดบั สงู (EIS) 31 อาจารยผ ูสอนชือ่ -นามสกลุ : อาจารยว ิลาวัลย วัชโรทัย : วิชาระบบสารสนเทศเพ่ือการคจดั การ (3204-2105)รายวิชา : วทิ ยฐานะครชู ํานาญการตาํ แหนงครู แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ ุรกจิ วทิ ยาลัยเทคนคิ ปทมุ ธานี

ระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบริหารระดับสูง (EIS) 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook