Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ComunityBookHouse

Description: ComunityBookHouse

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาเนินงานบา้ นหนงั สือชมุ ชน สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

คานา การพัฒนากิจกรรมโครงการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติมีความเข้าใจตรงกันและมีทิศทางการดาเนินงาน ในทางเดียวกัน จาเป็นต้องมีแนวปฏิบัติเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ การดาเนินงานกิจกรรมโครงการ การดาเนินงาน บา้ นหนงั สอื ชุมชนกเ็ ช่นกัน เปน็ กิจกรรมทพ่ี ัฒนามาจากบา้ นหนังสอื อจั ฉริยะ จงึ มีวิธีการ ขั้นตอนบางอย่างคล้ายคลึงกัน แต่ก็มีอีกหลายประเด็นท่ีแตกต่างกันออกไป สานักงาน กศน. จึงได้จัดทาแนวทางการดาเนินงาน บ้านหนังสือชุมชน เพ่อื ให้ครู กศน.ตาบล หรือผู้เกี่ยวขอ้ งในระดับต่าง ๆ ได้ศึกษาและใช้เป็นแนวทางการดาเนินงาน รวมทั้งเป็นแนวทาง ในการสรรหาอาสาสมคั รจัดทาบา้ นหนงั สอื ชุมชนในอนาคตด้วย หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแนวทางการดาเนินงานบ้านหนังสือชุมชนเล่มนี้จะเกิดประโยชน์และผู้รับผิดชอบ กิจกรรมบ้านหนังสือชุมชน ได้นาไปใช้ในการขับเคล่ือนบ้านหนังสือชุมชนเพ่ือส่งเสริมให้การอ่านเป็นส่วนหนึ่งของ วิถกี ารดาเนนิ ชีวิต และเกดิ เปน็ วัฒนธรรมการอา่ นของชุมชนอย่างย่ังยืนตอ่ ไป สถาบันส่งเสริมและพฒั นานวตั กรรมการเรียนรู้ สานักงาน กศน. สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ 2

สารบญั คานา หน้า สารบญั 4 5 ตอนที่ 1 บทนา 5 บทนา 6 วตั ถุประสงค์ 6 ความหมายและลกั ษณะของบ้านหนังสอื ชุมชน 7 7 ตอนที่ 2 แนวคิดการดาเนินงานบา้ นหนงั สือชมุ ชน 10 11 แนวคิดการดาเนนิ งานบ้านหนงั สอื ชมุ ชน 11 องคป์ ระกอบบา้ นหนังสือชุมชน 12 1. การบรหิ ารจัดการ 14 2. สือ่ สง่ เสริมการอ่านและการเรยี นรู้ 14 3. การจัดกจิ กรรมสร้างเสริมการอา่ นและการเรยี นรู้ 14 4. การบรกิ ารและการอานวยความสะดวก 15 5. การมสี ่วนร่วมของชุมชนและเครอื ขา่ ย 15 6. การนิเทศ 15 ตอนที่ 3 บทบาทและภารกิจของหน่วยงานในการดาเนินงานบา้ นหนงั สือชมุ ชน 17 18 สานักงาน กศน. 19 สานกั งาน กศน.จังหวัด 20 กศน.อาเภอ 22 ห้องสมดุ ประชาชน 24 กศน.ตาบล 25 เจ้าของสถานที่ตั้งบ้านหนงั สือชุมชน และอาสาสมัคร 28 30 ภาคผนวก 3 แบบขอเขา้ ร่วมกจิ กรรมบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ตวั อย่างแบบรบั บรจิ าคหนงั สือ ตวั อย่างแบบสารวจความต้องการสอ่ื ตวั อยา่ งแบบสารวจความพงึ พอใจต่อการให้บริการ ตัวอย่างเคร่ืองมือนิเทศ ตวั อย่างแบบรายงานผลการนิเทศ ตวั อย่างโครงการปนั กนั อ่านสู่บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ตัวอยา่ งโครงการหมุนเวยี นหนังสอื สบู่ ้านหนงั สือชุมชน คณะผจู้ ดั ทา

ตอนที่ 1 บทนา จากการที่รัฐบาลได้ประกาศให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ กาหนดให้ปี 2552 – 2561 เป็นทศวรรษ แห่งการอ่าน และกาหนดให้วันที่ 2 เมษายนของทุกปี เป็นวันรักการอ่าน กระทรวงศึกษาธิการโดยสานักงาน กศน. ไดด้ าเนนิ งานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้แก่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ผ่านแหล่งการเรียนรู้ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนจังหวัด ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” และห้องสมุดประชาชนอาเภอ แต่ก็ยังไม่ครอบคลุมพ้ืนที่ จึงได้มีแนวคิดท่ีจะให้มี แหล่งการเรียนรู้อยู่ใกล้บ้านให้มากท่ีสุดในรูปแบบของบ้านหนังสือชุมชน แต่กว่าจะมาเป็นบ้านหนังสือชุมชนได้ ในทกุ วันน้ี ไดม้ กี ารปรับเปล่ียนชอื่ และรูปแบบการดาเนินงานมาหลายยุค โดยมีจุดเร่ิมต้นคล้ายกันคือ ยึดคนในชุมชน เป็นหลัก ในอดีต สานักงาน กศน. เคยมีที่อ่านหนังสือประจาหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ให้บริการหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร จนถึงสมัยหน่ึงได้มีพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์การ ปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2542 สานักงาน กศน. ได้โอนท่ีอ่านหนังสือประจาหมู่บ้านให้แก่องค์การปกครองท้องถิ่น เป็นผูด้ าเนินการแทน ซง่ึ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ บางแหง่ มคี วามจาเปน็ ต้องใช้งบเพ่ือแก้ไขพัฒนางานด้านอ่ืนทาให้ การดาเนินงานท่อี า่ นหนังสือประจาหมู่บ้านไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง แต่ทว่าบทบาทและความรับผิดชอบด้านการอ่านออก เขียนได้ของประชาชนซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาก็ยังคงอยู่ในความรับผิดชอบของ สานักงาน กศน. จึงไม่อาจจะ เพิกเฉยได้เพราะสถิติการไม่รู้หนังสือของคนไทยกลับกลายเป็นเพ่ิมขึ้น สานักงาน กศน. จึงได้คิดพลิกฟื้นท่ีอ่านหนังสือ ประจาหมู่บ้านขึ้น ภายใต้กรอบแนวคิดว่า ถ้ามีแหล่งการอ่านในชุมชนท่ีอยู่ใกล้บ้านอย่างน้อยก็มีแหล่งการอ่านและ เป็นฐานการพบปะกันระหว่างคนในชุมชนบวกกับการส่งเสริมการอ่าน ป้องกันการลืมหนังสือ ภายใต้โครงการ บ้านหนังสอื อจั ฉริยะ จานวน 41,800 แหง่ ในปงี บประมาณ 2556 ในปีงบประมาณ 2559 รัฐบาลได้ตัดงบประมาณจัดซ้ือหนังสือพิมพ์ และนิตยสารของบ้านหนังสือ อัจฉรยิ ะ เนอ่ื งจากภารกิจและการใช้งบประมาณซ้าซ้อนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถึงแม้การจัดสรรงบประมาณ ของรัฐบาลได้ถูกยกเลิกไป แต่ชุมชนยังเห็นความสาคัญและประโยชน์ของบ้านหนังสืออัจฉริยะอยู่ อย่างน้อยก็เป็น แหล่งพบปะพูดคุยกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน และเป็นแหล่งดึงดูดคนในชุมชนให้หันมาสนใจเร่ืองการอ่านได้บางส่วน พอ่ แม่ผปู้ กครองตอ้ งการใหม้ แี หลง่ เพือ่ ปลูกฝงั การอ่านให้กับลูกหลานของตนในอนาคต สานักงาน กศน. จึงได้สานต่อ โครงการดังกล่าวโดยการปรับเปลี่ยนช่อื “บ้านหนังสืออัจฉริยะ” เป็น “บ้านหนังสือชุมชน” เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู้มจี ติ อาสาดาเนินงานภายใตศ้ กั ยภาพของตนทม่ี ีอย่ตู ามความสมคั รใจ จานวนกวา่ 18,000 แหง่ โดย สานักงาน กศน. ได้เข้าไปส่งเสริมสนับสนุน ให้คาปรึกษา หรือช่วยเหลือตามที่ผู้มีจิตอาสาร้องขอ ยกเว้นการสนับสนุนงบประมาณ ในการดาเนนิ งาน 4 4

วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ เป็นแหล่งการอ่านทีใ่ กล้ตวั ในชุมชน 2. เพ่ือสรา้ งเสรมิ นสิ ยั รักการอา่ น ป้องกันการลมื หนังสอื และเกดิ การเรียนรู้ สามารถเชอื่ มโยง ความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการอ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวัน 3. เพือ่ เป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนแบบมีสว่ นรว่ ม ความหมาย และลกั ษณะของบา้ นหนงั สือชมุ ชน บ้านหนังสือชุมชน เป็นแหล่งการอ่าน การจัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึน ในชุมชน เป็นสถานที่พบปะพูดคุย แลกเปล่ียนความคิดเห็น สามารถเข้าใช้บริการได้สะดวก มีความเหมาะสมกับ บริบทของพ้ืนท่ีและชุมชน โดยมีเจ้าของบ้าน หรืออาสาสมัคร ทาหน้าท่ีดูแล ให้บริการ และจัดกิจกรรมสร้างเสริม การอ่านและการเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ิตของคนในชมุ ชน นิยามศพั ท์ อาสาสมัคร หมายถึง ผู้มีจิตอาสาช่วยเหลือบ้านหนังสือชุมชนในทุก ๆ ด้าน เพ่ือส่งเสริมให้คนในชุมชน เกิดความตระหนักเห็นความสาคัญของการอ่านและการเรียนรู้ สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมสร้างเสริมการอ่านให้กับ กลมุ่ เป้าหมายทกุ เพศทกุ วยั ฑูตการอ่าน หมายถึง นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ที่ทาหน้าท่ีให้บริการและจัดกิจกรรม สร้างเสริมการอา่ น บ้านหนังสือชุมชนบ้านจานใต้ บ้านหนังสือชุมชนบ้านปากแพรก อ.ปทมุ รัตต์ จ.ร้อยเอด็ อ.บางสะพานน้อย จ.ประจวบคีรีขันธ์ บ้านหนังสือชุมชนบ้านสระบัว บ้านหนังสือชุมชนบ้านโต้ล้ง อ.ปทุมรัตต์ จ.ร้อยเอด็ อ.กระท่มุ แบน จ.สมุทรสาคร 5 5

ตอนท่ี 2 แนวคิดการดาเนินงานบา้ นหนงั สือชมุ ชน ปัจจุบันบ้านหนังสือชุมชนเป็นการดาเนินงานท่ีเกิดจากแรงศรัทธา พละกาลังทรัพย์ กาลังใจและ กาลังกายของผู้มีจิตอาสา ทาให้บ้านหนังสือชุมชนเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง และย่ังยืน หากแต่เพียงลาพังของผู้มีจิตอาสา อาจจะไม่สามารถดาเนินการเองได้ทุกเร่ือง จะมีครู กศน.ตาบล ให้ข้อเสนอแนะหรือประสานขอความร่วมมือจาก ชุมชนมาช่วยอีกแรงหน่ึงก็ได้ บ้านหนังสือชุมชนบางแห่งอาจไม่หยุดการเติบโตเพียงเท่าน้ัน อาจมีการพัฒนาต่อไป อย่างไมห่ ยดุ ย้งั จากการมีส่วนรว่ มของเครือข่ายทม่ี ุ่งมัน่ ร่วมกนั พฒั นาบ้านหนงั สือชุมชนสูห่ อ้ งสมดุ ชุมชนในอนาคต การดาเนนิ งานบ้านหนังสือชมุ ชนทจี่ ะประสบผลสาเร็จได้ ควรมีองค์ประกอบในการดาเนินงาน ดังน้ี การบรหิ ารจัดการ ส่ือสร้างเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ การบริการ และการอานวยความสะดวก การมีสว่ นร่วมของชมุ ชนและเครือข่าย และการนเิ ทศ องคป์ ระกอบบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน 1. การบรหิ ารจดั การ 6. การนิเทศ 2. ส่อื สร้างเสริม การอา่ นและการเรียนรู้ บา้ นหนงั สือชมุ ชน 3. การจัดกจิ กรรม 5. การมีส่วนรว่ ม สรา้ งเสรมิ การอ่าน ของชุมชนและเครอื ข่าย และการเรยี นรู้ 4. การบรกิ ารและ การอานวยความสะดวก 6 องคป์ ระกอบการดาเนินงานบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน 6

1. การบริหารจดั การ 1.1 ภารกิจของหน่วยงาน/สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ควรจัดทาแผนงาน/โครงการประจาปี เพื่อกาหนดเปา้ หมายในการดาเนนิ งานที่ชัดเจน มีการจัดทาฐานข้อมลู บา้ นหนังสือชุมชน ไดแ้ ก่ ทาเนียบ สถติ ิ เป็นรายตาบล รายอาเภอ เพอื่ สะดวกในการจดั ทาสารสนเทศตลอดจนเอกสาร แบบฟอรม์ ที่เกยี่ วข้อง 1.2 การจดั หางบประมาณ เพอ่ื ให้เกิดความยงั่ ยนื ในการสร้างเสรมิ การอา่ นให้แกป่ ระชาชน จงึ ควรจดั ตง้ั งบประมาณใหเ้ พยี งพอและเกดิ ความค้มุ ค่ากบั งบประมาณท่ีได้รบั 1.3 การคัดเลือกสถานท่ีจัดตง้ั บา้ นหนังสือชมุ ชน ควรพจิ ารณาจาก 1) เปน็ สถานทท่ี เ่ี หมาะสม สะดวกต่อการเข้าใช้บริการ 2) เป็นทย่ี อมรับของคนในชุมชน 3) ไดร้ ับอนญุ าตจากเจ้าของบ้าน หรอื สถานท่นี ั้น ๆ 1.4 การสร้างสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อตอ่ การอา่ นของบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน 1) ควรมีป้ายชอ่ื บ้านหนังสอื ชุมชน และอุปกรณ์ ส่ิงอานวยความสะดวก 2) ควรจัดให้มีลักษณะเป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีข้อมูลต่าง ๆ ของชุมชนตนเอง ได้แก่ ข้อมูล ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน สขุ ภาพอนามัย อาชพี สงั คมเศรษฐกจิ การเมอื ง สถานทต่ี ่าง ๆ ของชุมชน เทคโนโลยขี องคนในชมุ ชนท่ใี ช้ในชีวติ ประจาวัน ฯลฯ 3) ควรมคี ณะทางานบา้ นหนงั สือชมุ ชนตามความเหมาะสมของชุมชน 2. สอ่ื สรา้ งเสริมการอ่านและการเรยี นรู้ 2.1 ส่ือท่ีให้บริการในบ้านหนังสือชุมชน ควรเป็นส่ือท่ีตรงกับความต้องการและเหมาะสมกับ คนในชมุ ชนเปน็ หลกั มคี วามหลากหลาย เช่น หนังสือพิมพร์ ายวัน นิตยสาร วารสาร หนังสือสาหรับเด็ก ผู้สูงอายุ หนังสือ เกีย่ วกับการประกอบอาชพี ฯลฯ นอกจากนคี้ วรจัดใหม้ สี ือ่ ทค่ี นในชุมชนควรรู้ เช่น หนังสือกฎหมายสาหรับประชาชน หนงั สอื เกี่ยวกบั สขุ ภาพอนามยั เปน็ ตน้ ตลอดจนการจดั ให้มเี ทคโนโลยีสมยั ใหม่ในการสบื ค้นข้อมูลความรขู้ า่ วสาร 2.2 การจดั หาสื่อสาหรบั ใหบ้ รกิ ารในบ้านหนังสือชุมชน สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การจัดซื้อ การรับบริจาค การทอดผ้าป่าหนังสือ การตักบาตรหนังสือ การยืมและหมุนเวียนสื่อจากห้องสมุดประชาชน สู่บา้ นหนังสอื ชุมชน กศน. ตาบลสู่บ้านหนงั สือชมุ ชน บา้ นหนังสอื ชมุ ชนสูบ่ า้ นหนงั สอื ชุมชน เปน็ ต้น บ้านหนังสือชุมชนบ้านโพธ์ิชัย บ้านหนังสือชุมชนบ้านหนองอีบุตร บ้านหนังสือชุมชนบ้านหนองแคน อ.เวียงชัย จ.เชียงราย อ.ห้วยผงึ้ จ.กาฬสินธ์ุ อ.ปทมุ รัตต์ จ.ร้อยเอด็ 7 7

ตวั อยา่ งการยืมและหมนุ เวียนสอ่ื สบู่ า้ นหนงั สือชมุ ชน แบบท่ี 1 การหมนุ เวียนสื่อจากหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสบู่ า้ นหนงั สอื ชมุ ชน ชมุ ชน การหมุนเวียนส่ือจากห้องสมุดประชาชนอาเภอสู่บ้านหนังสือชุมชน มีขัน้ ตอน ดังน้ี 1. ห้องสมุดประชาชนอาเภอ ให้ กศน. ตาบล ยมื ส่อื 2. กศน. ตาบล นาส่ือมาหมุนเวียนในบา้ นหนงั สือชมุ ชนในตาบล 3. บ้านหนงั สือชุมชน แห่งที่ 1 หมนุ เวียนส่ือไปยงั บ้านหนังสือชมุ ชน แห่งท่ี 2 , 3 , ...... ไปเรือ่ ย ๆ จนครบทุกแห่งในตาบลนน้ั 4. บ้านหนังสอื ชมุ ชนแหง่ สุดทา้ ยจดั สง่ สื่อคนื ให้ กศน. ตาบล 5. กศน. ตาบล จัดสง่ สอ่ื ให้ กศน. ตาบล ตอ่ ไป และหมนุ เวยี นตามข้อ 2 และ ข้อ 3 6. เมือ่ ครบทุก กศน. ตาบล ให้ กศน. ตาบลแหง่ สุดท้ายคนื ส่ือให้ห้องสมุดประชาชนอาเภอ 8 8

แบบที่ 2 การหมนุ เวียนสือ่ จากหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสบู่ า้ นหนงั สอื ชมุ ชน การหมุนเวียนสอ่ื จากหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสบู่ า้ นหนังสอื ชุมชน มขี นั้ ตอน ดงั นี้ 1. หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอ จดั สง่ สอ่ื ให้ กศน. ตาบล 2. กศน. ตาบล จดั สง่ ส่อื ให้บ้านหนงั สือชมุ ชน แห่งที่ 1 3. บ้านหนังสือชุมชน แห่งท่ี 1 จัดส่งหนังสือให้บ้าน แห่งท่ี 2 บ้านหนังสือชุมชน แห่งท่ี 2 จดั สง่ ให้บา้ น แหง่ ที่ 3 และจัดส่งไปเรื่อย ๆ จนครบทุกแหง่ ในตาบลนน้ั 4. กศน. ตาบลนน้ั จัดสง่ สอื่ คืนให้หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอ 9 9

แบบที่ 3 การหมนุ เวียนส่อื จากหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสบู่ า้ นหนงั สือชมุ ชน หอ้ หง้อสงมสุดมปุดรปะรชะาชชานชอนาอเภาเอภอ กศกนศ.นต.าตบาลบล บ้าบน้าหนนหังนสงั อื สชือุมชชุมนชน การหมุนเวยี นส่ือจากห้องสมุดประชาชนอาเภอสู่บา้ นหนังสอื ชุมชน 1. หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอจัดสง่ สื่อให้ กศน. ตาบล 2. กศน. ตาบล จดั สง่ สื่อให้บ้านหนังสอื ชมุ ชน 3. บ้านหนงั สอื ชุมชน ส่งส่ือคืนให้ กศน. ตาบล 4. กศน. ตาบล สง่ ส่อื คืนให้ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ 3. การจดั กิจกรรมสรา้ งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ นอกจากการให้บริการการอ่านจากส่ือที่มีอยู่ในบ้านหนังสือชุมชนแล้ว ควรจัดกิจกรรมสร้างเสริม การอา่ นและการเรียนรู้เพิม่ เติมตามความต้องการของคนในชมุ ชน ดังน้ี 3.1 กิจกรรมสร้างเสริมการอ่าน เป็นการกระทาต่าง ๆ เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจ ในการอ่าน เห็นความสาคัญและความจาเป็นของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินในการอ่าน พยายามพัฒนาการอ่านของตน จนเป็นนิสัย เช่น กิจกรรมเล่าเรื่องหนังสือ กิจกรรมอ่านดีมีรางวัล กิจกรรมพี่เล่าน้องวาด กิจกรรมการเล่าตานาน หมู่บ้าน ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรมอ่านนิทาน นิทานวรรณคดี นิทานพ้ืนบ้าน กิจกรรมประกวดอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง เกมค้นหาป้ายคา กิจกรรมต้นไม้พูดได้ (สุภาษิตคาพังเพย) ป้ายนิเทศ นิทรรศการ กระดานข่าว เป็นต้น รวมถึง กิจกรรมของชุมชน เช่น การจัดประชุม การจัดกลุ่มเสวนา การไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทต่าง ๆ การจัดกลุ่มสนใจ การพบปะสังสรรค์ ฯลฯ 10 10

3.2 กจิ กรรมสรา้ งเสริมการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่เกิดข้ึนตามสภาพวิถีชีวิตของชุมชนน้ัน ๆ จาก การอ่าน และการฝกึ ปฏิบัติ เชน่ 1) กิจกรรมศิลปะประดิษฐ์ เช่น การพับใบเตย การทาเหรียญโปรยทาน การทาพวงมโหตร การทาตงุ งานประดิษฐ์จากเศษวสั ดุ เปน็ ตน้ 2) กจิ กรรมสง่ เสริมอาชีพ เชน่ 1 คน 1 อาชพี การสานตะกรา้ จากเสน้ พลาสตกิ เปน็ ต้น 3) กจิ กรรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรมประเพณี เช่น สลากภัต กระยาสารท ราวงย้อนยุค เปน็ ตน้ 4) กจิ กรรมสง่ เสริมดแู ลสขุ ภาพอนามยั เชน่ แอโรบคิ ไทเกก๊ ราไม้พลอง ฮูล่าฮูป เป็นต้น 5) กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม เชน่ ปิ่นโตคุณธรรม ย่ามนอ้ ยห้อยรถเมล์ ลงขันปันหนงั สอื ตกั บาตรหนังสอื เป็นตน้ ท้ังน้ี การจัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ในบ้านหนังสือชุมชนอาจจัดเพียงกิจกรรมใด กิจกรรมหน่ึงก็ได้ หรืออาจจัดท้ังสองกิจกรรมก็ได้ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของบ้านหนังสือชุมชน แตล่ ะแห่ง 4. การบรกิ ารและการอานวยความสะดวก 4.1 การบริการ เชน่ บริการการอา่ น บรกิ ารยืม-คืน การแนะนาหนังสอื การหมนุ เวยี นส่อื การเปดิ -ปิดให้บรกิ าร เป็นต้น 4.2 การอานวยความสะดวก เช่น จัดสถานท่ีพร้อมบริการ โต๊ะ เก้าอ้ี การติดป้ายหมวดหนังสือ ป้ายกจิ กรรม บริการนา้ ดม่ื ห้องน้า แวน่ ตาสาหรับผสู้ งู อายุ เป็นตน้ 5. การมีส่วนรว่ มของชุมชนและเครอื ขา่ ย การดาเนินงานบ้านหนังสอื ชมุ ชน มีเป้าหมายให้เกดิ ความสาเร็จอย่างย่งั ยืน ควรเกิดจากการมีส่วนร่วม ของชมุ ชนและเครือขา่ ยในทุกขั้นตอนของการดาเนินงาน เช่น การบริหารจัดการ การรับบริจาคส่ือ การหมุนเวียนส่ือ การรว่ มจดั กิจกรรม (ร่วมคดิ ร่วมทา รว่ มให้ขอ้ เสนอแนะ) การระดมทรัพยากร การประชาสัมพนั ธ์ เปน็ ตน้ บ้านหนังสือชุมชนบ้านฮ่องแฮ่ บ้านหนังสือชุมชนบ้านนาแค อ.ปทมุ รัตต์ จ.ร้อยเอด็ อ. ปทมุ รัตต์ ร้อยเอด็ บ้านหนังสือชุมชนบ้านสบฟ้ า 11 อ. แจ้ห่ม จ.ลาปาง 11

6. การนิเทศ การนิเทศ เป็นข้ันตอนหนึ่งที่สาคัญในการดาเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ทาให้ทราบสภาพ การดาเนินงานท่ีเป็นอยู่ และเพื่อให้ความช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน และให้ขวัญ กาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน เพ่ือให้งาน บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ที่กาหนดไว้ 6.1 นิเทศเพื่ออะไร การนิเทศการดาเนินงานบ้านหนังสือชุมชน เพื่อให้บ้านหนังสือชุมชน มีการดาเนินงานท่ีเข้มแข็งและย่ังยืน มีประชาชนมาใช้บริการอ่านและเข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและ การเรียนร้อู ย่างตอ่ เนื่อง 6.2 ใครเป็นผู้นิเทศ ครูอาสาสมัคร กศน. และหรือ ครู กศน. ตาบล ที่รับผิดชอบพื้นที่ บ้านหนงั สอื ชุมชนต้ังอยู่ หรือบุคคลที่ไดร้ บั มอบหมายจากผู้บริหารสถานศึกษา ควรนิเทศอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง /แห่ง และรายงานผลใหผ้ บู้ ริหารสถานศึกษาทราบ และใหข้ ้อเสนอแนะในการพัฒนาบ้านหนังสือชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืน ตอ่ ไป 6.3 นิเทศอะไร ในการนิเทศแต่ละครั้งผู้นิเทศจาเป็นต้องรู้จักบ้านหนังสือชุมชนแต่ละแห่งก่อน โดยการกาหนดประเด็นการนิเทศ เพ่ือให้ผู้นิเทศมีข้อมูลที่เป็นสภาพจริงของบ้านหนังสือชุมชน เพื่อนามาใช้ในการ ช่วยเหลือ สนับสนุนการดาเนินงาน ซึ่งในที่นี้ขอเสนอตัวอย่างประเด็นการนิเทศบ้านหนังสือชุมชน ซึ่งสถานศึกษา สามารถนาไปปรบั ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพพื้นทไ่ี ด้ ดงั ต่อไปน้ี 1) ทมี่ าของบ้านหนังสือชุมชน มีแรงบันดาลใจมาจากอะไรหรือใคร อย่างไร เร่ิมดาเนินการ ตั้งแต่เมื่อไร อย่างไร มีใครร่วมดาเนินการบ้าง และทาอย่างไรบ้าง มีปัญหาอุปสรรคอะไร แก้ไขอย่างไร และผลการ แก้ไขเป็นอย่างไร 2) ลักษณะกายภาพ สถานท่ีที่ตั้งสะดวกในการมาใช้บริการหรือไม่มีบรรยากาศที่เอื้อต่อ การอา่ นและเรยี นร้มู ากน้อยเพียงใดอยา่ งไร 3) การบรหิ ารจัดการ 3.1) กรณดี าเนินการเอง ดาเนนิ การอยา่ งไร มีปัญหาอุปสรรคอะไรและแก้ไขอยา่ งไร ผลการแกไ้ ขเป็นอย่างไร 3.2) กรณีบริหารโดยคณะทางาน ทาไมจึงมีคณะทางาน ประกอบไปด้วยใครบ้าง จานวน ก่ีคน มีตาแหน่งอะไรบ้าง แต่ละตาแหน่งมีบทบาทหน้าท่ีอะไร มีวาระการเป็นคณะทางานหรือไม่ ถ้ามีก่ีปี มีการประชุม หารือกันมากน้อยเพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรและแก้ไขอย่างไร ผลการแก้ไขเป็นอย่างไร การบริหารจัดการ ในปจั จุบนั นัน้ มีความมั่นคงหรือไม่ ต้องการปรับเปลย่ี นอะไรเพมิ่ เตมิ 4) ส่ือ มสี ่ืออะไรบ้าง ได้มาอยา่ งไร ใครมีสว่ นร่วม เพยี งพอหรอื ไม่ ต้องการสื่ออะไร เพ่มิ เติมอื่นๆ 5) การบรกิ าร มใี ห้บริการอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ใหบ้ รกิ าร ใหบ้ ริการวนั /เวลาใดบ้าง 6) กิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ มีกิจกรรมอะไรบ้าง ใครจัด จัดบ่อยเพียงใด มผี ู้มาร่วมกจิ กรรมจานวนกี่คน และใครเข้าร่วมกิจกรรมในแตล่ ะครั้ง ผลการจัดกิจกรรมเป็นอย่างไร 12 12

6.4 นิเทศอย่างไร ก่อนท่ีจะดาเนินการนิเทศ ผู้นิเทศจาเป็นต้องรู้ข้อมูลพ้ืนฐานที่เป็นจริงของ บา้ นหนงั สือชุมชนดงั ท่กี ลา่ วมาแลว้ ดังนัน้ จึงควรดาเนนิ การนิเทศ ดงั น้ี 1) กาหนดประเด็นการนิเทศ ดังตัวอย่างประเด็นท่ีกาหนดในหัวข้อ “นิเทศอะไร” ท่ีกล่าว มาแลว้ เพอ่ื จดั ทาเครือ่ งมอื นิเทศบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน 2) รวบรวมข้อมูลตามประเด็น 3) ค้นหาสาเหตุของสภาพการดาเนินงาน และความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน/คณะทางาน บ้านหนังสือชุมชน 4) ให้คาแนะนา ช่วยเหลือตามความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน/คณะทางานบ้านหนังสือชุมชน ดว้ ยวิธีการตา่ งๆ ท่เี หมาะสมกบั สถานการณ์ คือ บรรยาย อธิบาย ประชมุ อบรม สาธติ เปน็ ตน้ 5) รายงานผลการนิเทศแก่ผู้บริหารสถานศึกษาทุกครั้งท่ีปฏิบัติการนิเทศ ซึ่งควรรายงานทันที และการรายงานควรประกอบด้วย 3 ส่วน คอื 1) สภาพที่พบ 2) ข้อนเิ ทศ และ 3) ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 5.1) สภาพที่พบ เป็นข้อมูลพ้ืนฐานท่ีเป็นจริงของบ้านหนังสือชุมชนตามประเด็น การนเิ ทศ 5.2) ขอ้ นเิ ทศ เป็นคาแนะนา ขอ้ เสนอแนะทผี่ ูน้ เิ ทศใหก้ ับผปู้ ฏิบัตงิ านหรอื คณะทางาน 5.3) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา เป็นสิ่งที่ผู้นิเทศไม่สามารถให้คาแนะนา ช่วยเหลือ แก่ผู้ปฏิบัติงานหรือคณะทางานได้ อาจเน่ืองจากเกินอานาจของผู้นิเทศ จึงนามาเสนอให้กับผู้บริหารสถานศึกษา พิจารณาให้ข้อเสนอแนะ เพ่ือชว่ ยเหลือต่อไป บ้านหนังสือชุมชนบ้านหนองบัวดีหมี อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 13 13

ตอนที่ 3 บทบาทและภารกิจของหน่วยงานในการดาเนินงานบา้ นหนงั สือชมุ ชน สานักงาน กศน. และหน่วยงานในสังกัดในระดับจังหวัด ได้แก่ สานักงาน กศน. จังหวัด กศน. อาเภอ ห้องสมุดประชาชน และ กศน. ตาบล ต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุนช่วยเหลือให้บ้านหนังสือชุมชน สามารถดาเนินงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมท้งั เจา้ ของสถานที่ตัง้ บ้านหนังสือชุมชนหรืออาสาสมัคร ภายใต้บทบาท และภารกจิ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. สานกั งาน กศน. 1.1 กาหนดยทุ ธศาสตร์การดาเนินงาน 1.2 ส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงาน เช่น การจัดทาแนวทางการดาเนินงาน การจัดหาสื่อ การจัดทาเวบ็ ไซต์ การจดั ทาเอกสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เปน็ ต้น 1.3 ประกาศเกียรตคิ ุณ ยกย่อง ชมเชย มอบรางวัล 1.4 ติดตาม ประเมินผล รายงานผล 2. สานกั งาน กศน. จงั หวดั 2.1 ชแี้ จงนโยบาย แนวทาง และแผนการดาเนนิ งาน 2.2 ประชาสัมพนั ธ์ ประสานเครือขา่ ยรว่ มสนับสนนุ ส่งเสรมิ การดาเนนิ งาน 2.3 จัดอบรม ประชุมสมั มนา จดั เวทแี ลกเปล่ียนเรียนรู้ ศึกษาดูงานบ้านหนังสือชุมชนที่เป็น Best Practice ให้แกค่ รู กศน. บรรณารกั ษ์ เครือขา่ ย อาสาสมัคร และฑูตการอา่ น 2.4 นิเทศติดตามประเมินผล 2.5 ประกาศเกียรตคิ ณุ ยกย่อง ชมเชย มอบรางวลั 2.6 สรุป รายงานผล เผยแพรข่ ้อมูล 3. กศน. อาเภอ 3.1 ประชุมชแี้ จงสรา้ งความเขา้ ใจให้กบั บคุ ลากรที่เก่ียวข้อง 3.2 จัดทาฐานขอ้ มลู บา้ นหนังสือชุมชน ได้แก่ ทาเนยี บ สถติ ิ เป็นรายตาบล รายอาเภอ เพ่ือ สะดวกในการจัดทาสารสนเทศ ตลอดจนเอกสารแบบฟอร์มท่ีเก่ียวขอ้ ง 3.3 จัดทาแผนงาน / โครงการประจาปี เพ่อื กาหนดเป้าหมายในการดาเนนิ งานท่ชี ดั เจน 3.4 ประชาสมั พนั ธ์ ประสานภาคีเครอื ขา่ ยร่วมสนับสนุนส่งเสริมการดาเนินงาน 3.5 ประสาน และจัดหาทรัพยากรต่าง ๆ ในการดาเนินงาน (บุคคล/ส่ือ/วัสดุอุปกรณ์/ งบประมาณ) 3.6 จดั อบรม ประชมุ สัมมนา จดั เวทแี ลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ศึกษาดูงานบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ทีเ่ ป็น Best Practice ใหแ้ กค่ รู กศน. บรรณารักษ์ เครือขา่ ย อาสาสมคั ร และฑูตการอา่ น 3.7 นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล 3.8 ประกาศเกียรตคิ ุณ ยกยอ่ ง ชมเชย มอบรางวลั 3.9 สรุป รายงานผลเผยแพร่ข้อมูล 14 14

4. หอ้ งสมดุ ประชาชน 4.1 ประสานงาน จัดทาแผนการดาเนนิ งาน และประชาสัมพันธ์ 4.2 ให้คาแนะนา และร่วมจดั กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ 4.3 สนบั สนนุ วสั ดอุ ุปกรณ์ สอ่ื หนังสือ 4.4 หมนุ เวียนสอ่ื ให้ กศน. ตาบล 4.5 นิเทศ ติดตาม ประเมินผล 4.6 สรุป รายงานผล เผยแพรข่ ้อมูล 5. กศน. ตาบล 5.1 สารวจขอ้ มูล และความต้องการของชมุ ชน จัดทาฐานข้อมลู บา้ นหนงั สือชมุ ชน ไดแ้ ก่ ทาเนยี บสถติ ิระดับตาบล เพื่อสะดวกในการจดั ทาสารสนเทศตลอดจนเอกสาร แบบฟอร์มท่ีเกย่ี วข้อง 5.2 จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการระดับตาบลเพื่อกาหนดเปา้ หมายในการดาเนนิ งานท่ชี ดั เจน 5.3 ประชาสัมพนั ธ์ สรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกับการดาเนินงานบา้ นหนงั สอื ชมุ ชนให้กับคน ในชุมชน 5.4 ร่วมกับชมุ ชนในการคดั เลือกสถานทจ่ี ดั ต้งั บ้านหนังสอื ชุมชน โดยการทาประชาคม 5.5 ร่วมดาเนนิ งานกบั ผู้มีจติ อาสาและชมุ ชนในการดาเนนิ งาน และจัดกจิ กรรมสร้างเสริม การอ่านและการเรียนรู้ 5.6 หมนุ เวยี นส่ือให้บ้านหนังสือชุมชน 5.7 นิเทศ ควรนิเทศอย่างน้อยไตรมาสละ 1 คร้ัง /แห่ง และรายงานผลให้ผู้บริหาร สถานศกึ ษาทราบ รวมท้งั ใหข้ ้อเสนอแนะในการพฒั นาบ้านหนงั สือชุมชนให้มีความเข้มแข็งและย่ังยืนต่อไป 5.8 รายงานขอ้ มูลสถิติในระบบฐานข้อมลู เพอื่ การบริหารจัดการ (ระบบ DMIS) 6. เจา้ ของสถานท่ีตง้ั บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน หรอื อาสาสมคั ร 6.1 แสดงความประสงค์ อนุญาตใหใ้ ชบ้ ้านเป็นสถานที่จดั ตงั้ บ้านหนังสือชุมชน 6.2 ให้บริการการอ่าน ดาเนนิ งาน สง่ เสรมิ สนับสนุนและพัฒนาบา้ นหนังสือชมุ ชน 6.3 ประชาสัมพนั ธเ์ ผยแพร่ข้อมูล 6.4 ประสานและรว่ มมือกับเครอื ขา่ ย เพ่ือรับการสนับสนุนการดาเนินงาน พฒั นาและ ปรบั ปรุงบ้านหนงั สอื ชมุ ชน บ้านหนังสือชุมชนบ้านตีนธาตุ บ้านหนังสือชุมชนบ้านโพธ์ชิ ัย บ้านหนังสือชุมชนบ้านพลีใต้ อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ อ.เวียงชยั จ. เชยี งราย อ.นาทวี จ.สงขลา 15 15

ภาคผนวก 16

แบบขอเขา้ ร่วมการดาเนนิ งานบา้ นหนังสอื ชุมชน เขียนที่.................................................................... วันท่.ี .............เดอื น.................................พ.ศ. ........................ เรยี น ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ........................................... ขา้ พเจ้า (นาย/นาง/นางสาว).......................................นามสกลุ ............................................... เกิดวนั ท.่ี ..............เดือน.......................................พ.ศ................ อาย.ุ .............ปี อยู่บ้านเลขที่…......................... หมู่ที่............... ตาบล.....................................อาเภอ.......................................จังหวดั .......................................... รหสั ไปรษณยี .์ ...........................โทรศพั ท์...............................................อาชีพ...................................................... วุฒกิ ารศกึ ษา.................................................. เจ้าของ/ผูด้ ูแล บ้านหนงั สือชมุ ชน................................................ ตั้งอยู่ท.่ี ............................................... บ้าน/ชมุ ชน....................................หมู่ท่ี.........ตาบล................................ อาเภอ............................จงั หวดั ............................ รหสั ไปรษณยี ์..................... เบอรโ์ ทรศพั ท์............................ ข้าพเจ้ามีความประสงค์ขอเข้าร่วมการดาเนนิ งานบ้านหนงั สือชุมชน 1. เผยแพรค่ วามรูใ้ ห้กบั บุคคลท่ัวไป 2. สนบั สนุนใหป้ ระชาชนอา่ นหนังสือ 3. เป็นศูนยก์ ลางการอ่าน การเรยี นรู้ และศึกษาคน้ คว้าข้อมลู ของประชาชน 4. เสรมิ สรา้ งรักการอ่าน นาความรู้จากการอ่านไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ขา้ พเจา้ มคี วามยินดีท่จี ะให้บริการการอา่ น สถานท่ีในการจัดการสง่ เสริมการอ่านแกผ่ ้สู นใจทกุ คน ลงชอื่ ........................................................... (..........................................................) เจา้ ของ/ผู้ดแู ลบ้านหนังสอื ชุมชน 17 17

ตัวอยา่ งแบบรับบรจิ าคหนังสือ ช่อื -สกลุ /หน่วยงาน/บริษัท/สานักพมิ พ์________________________________________________ ทีอ่ ยู่ _________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ โทร.__________________________e-mail __________________________________________ ที่ ชอ่ื หนังสือ จานวน หมายเหตุ (เลม่ /ฉบับ) ลงชอ่ื ..........................................................................ผู้บรจิ าค () วันท่ี........... เดอื น ..................................... พ.ศ. .................... ** หนงั สือทน่ี ามาบริจาค ขอให้เป็นหนงั สอื ทม่ี สี ภาพดี หากเป็นหนังสอื พิมพ์ขอเป็นฉบบั ปัจจุบนั หรือลว่ งเวลาไมเ่ กิน 2 วัน และขอสงวนสิทธ์ิในการพิจารณาโดยสามารถดาเนนิ การในลกั ษณะต่างๆ ได้ตามความเหมาะสมโดยไม่ตอ้ งแจ้งให้ทราบลว่ งหน้า ** 18 18

ตัวอย่างแบบสารวจความต้องการสอ่ื บ้านหนังสอื ชุมชน.............................หมทู่ ี.่ ........ตาบล.....................อาเภอ......................จงั หวดั ............................ คาชี้แจง กรุณาทาเคร่ืองหมาย  ลงใน O ท่ีตรงตามความเป็นจรงิ ตอนท่ี 1 สถานภาพของผตู้ อบ 1. เพศ O ชาย O หญิง 2. อายุ ...................ปี 3. ระดบั การศึกษา O ประถมศกึ ษา O มัธยมศึกษาตอนตน้ O มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย O ปริญญาตรี O สูงกว่าปรญิ ญาตรี ตอนที่ 2 กรุณาทาเครื่องหมาย ลงในช่องระดับความต้องการ ที่ รายการ ระดับความต้องการ มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ดุ 1 หนังสอื พมิ พ์ 2 นิตยสาร/วารสาร 3 นทิ าน/การ์ตูน 4 นวนยิ าย 5 สารคดี 6 ศาสนา 7 สุขภาพ 8 กฎหมาย 9 ประวัติศาสตร์ 10 อาชพี (อาหาร เกษตร ประมง ศลิ ปะ หัตถกรรม ฯลฯ) ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ช่ือสื่อ หนงั สือ............................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ..................................................................................................................................................... ............................... ขอขอบคุณทีใ่ ห้ความรว่ มมือ 19 19

ตวั อย่างแบบสารวจความพงึ พอใจต่อการให้บริการของบ้านหนงั สือชมุ ชน บ้านหนังสอื ชุมชน...…………..…………หมู่ท.่ี .....ตาบล……………...………อาเภอ………................ จังหวดั ………………… คาชีแ้ จง แบบสารวจนี้มีวตั ถุประสงค์เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจต่อการให้บริการของบ้านหนงั สอื ชุมชนเพื่อนา ผลสารวจไปพฒั นาและปรับปรุงการดาเนินงานและการใหบ้ ริการที่มีคณุ ภาพ จึงขอความอนุเคราะห์ท่านตอบ แบบสารวจ โดยใส่เคร่ืองหมาย  ลงใน O ตามความเป็นจรงิ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป O มัธยมศึกษาตอนตน้ O มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1. เพศ O ชาย O หญงิ O สูงกวา่ ปริญญาตรี 2. อายุ ..................... ปี 3. ระดับการศึกษา O ประถมศกึ ษา O ปรญิ ญาตรี ตอนท่ี 2 ทา่ นมคี วามพงึ พอใจต่อการให้บริการของบ้านหนังสอื ชมุ ชนอย่างไรบ้าง โปรดทาเครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งท่ตี รงกับความคิดเห็นของทา่ นมากทีส่ ดุ โดย 0 = ไม่พอใจ 1 = พอใจนอ้ ย 2 = พอใจปานกลาง 3 = พอใจมาก รายการสารวจ ระดบั ความพึงพอใจ 0123 1. ความพึงพอใจตอ่ กระบวนการ/ข้ันตอนการใช้บรกิ าร 1.1ขนั้ ตอนการใหบ้ ริการไม่ย่งุ ยากซับซ้อน 1.2 ความสะดวกรวดเร็วของการใหบ้ รกิ าร 1.3 ใหบ้ ริการดว้ ยความถูกตอ้ ง ครบถว้ น 1.4 ความชัดเจนในการอธิบาย ช้แี จง 1.5 ความเสมอภาคของการใหบ้ รกิ าร 2. ความพึงพอใจตอ่ ผู้ให้บริการบา้ นหนังสือชุมชน 2.1 ผ้ใู หบ้ ริการมีความสภุ าพ ยิ้มแยม้ แจ่มใส 2.2 ผูใ้ หบ้ รกิ ารเตม็ ใจและมคี วามพร้อมในการใหบ้ ริการ 2.3 ผู้ให้บริการมีความรู้ความสามารถในการให้บริการ เชน่ สามารถ ตอบคาถาม ช้ีแจงข้อสงสัย ให้คาแนะนา ช่วยแกป้ ัญหาได้อยา่ งถูกต้อง 2.4 ผ้ใู ห้บรกิ ารใหบ้ ริการอย่างเทา่ เทยี มกัน 3 ความพึงพอใจต่อสิ่งอานวยความสะดวก 3.1 มชี ่องทางเลือกใช้บรกิ ารได้หลายรปู แบบ 3.2 มคี วามสะดวกในการใชบ้ ริการ 3.3 ความสะอาดของสถานที่ หรอื ความพร้อมของสง่ิ อานวยความสะดวก 20 20

รายการสารวจ ระดับความพึงพอใจ 0123 4 ความพึงพอใจต่อคณุ ภาพ 4.1 ได้รับบริการทต่ี รงตามความต้องการ 4.2 ได้รับบริการทถ่ี ูกต้อง ครบถ้วน ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ....................................................................................................................................................................... ....... ขอขอบคุณท่ีตอบแบบสารวจ 21 21

ตัวอยา่ งเคร่ืองมือนเิ ทศบา้ นหนงั สือชุมชน ปีงบประมาณ 2559 คาชีแ้ จง ผู้นิเทศรวบรวมข้อมลู พ้ืนฐานบ้านหนังสือชมุ ชนด้วยการสังเกต สมั ภาษณ์ หรือวธิ ีอ่นื เพ่อื ใหม้ ขี อ้ มลู พ้ืนฐาน ทเี่ ป็นจริง สาหรบั การใหข้ ้อนิเทศในการปฏิบัตกิ ารนิเทศ ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่พี บ ข้อนิเทศ 1. ทม่ี าของบ้านหนงั สือชมุ ชน (มีแรงบนั ดาลใจมาจากอะไร หรือใคร อย่างไร เร่มิ ดาเนินการต้งั แตเ่ มอ่ื ไร อยา่ งไร มใี คร ร่วมดาเนินการบ้าง และทาอย่างไรบา้ ง มปี ัญหาอปุ สรรคอะไร แกไ้ ขอย่างไร และผลการแก้ไขเป็นอยา่ งไร) 2. ลกั ษณะกายภาพ (สถานท่ที ตี่ ง้ั สะดวกในการมาใชบ้ รกิ าร หรือไม่ มีบรรยากาศทเ่ี อื้อตอ่ การอ่านและเรียนรมู้ ากน้อย เพียงใด อยา่ งไร) 3. การบริหารจัดการ (ดาเนนิ การเอง หรือบริหาร โดยคณะทางาน) - กรณีดาเนนิ การเอง ดาเนนิ การอย่างไร มปี ญั หาอปุ สรรค อะไร และแกไ้ ขอย่างไร ผลการแก้ไขเป็นอย่างไร - กรณีบริหารโดยคณะทางาน ทาไมจงึ มคี ณะทางาน ประกอบไปด้วยใครบ้าง จานวนกค่ี น มตี าแหน่งอะไรบา้ ง แตล่ ะตาแหนง่ มีบทบาทหนา้ ทีอ่ ะไร มวี าระการเปน็ คณะทางาน หรือไม่ ถ้ามกี ่ปี ี มีการประชุมหารอื กนั มากนอ้ ยเพยี งใด มีปญั หา อปุ สรรคอะไร และแก้ไขอย่างไร ผลการแก้ไขเปน็ อยา่ งไร การบริหารจัดการในปัจจบุ ันน้ันมคี วามม่นั คงหรือไม่ ต้องการ ปรับเปล่ียนอะไรเพ่ิมเตมิ ) 4. สอื่ (มสี ่อื อะไรบา้ ง ไดม้ าอย่างไร ใครมีสว่ นร่วม เพยี งพอ หรอื ไม่ ตอ้ งการสอื่ อะไรเพ่มิ เติม อ่นื ๆ) 5. การบรกิ าร (มีใหบ้ รกิ ารอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ให้บริการ ให้บรกิ ารวัน/เวลาใดบา้ ง) 6. กจิ กรรมสร้างเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ (มีกิจกรรม อะไรบ้าง ใครจัด บอ่ ยเพียงใด มผี ้มู ารว่ มกจิ กรรมจานวนกีค่ น และใครเขา้ รว่ มกิจกรรม ในแตล่ ะครัง้ ผลการจดั กิจกรรม เป็นอย่างไร) 22 22

ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ลงชอ่ื ผู้นิเทศ ......................................................... วนั ที่ ....... เดือน ............................ พ.ศ ............. 23 23

ตวั อย่างแบบรายงานผลการนิเทศ บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ........................................................... โทร. ........................................................... ท่ี ศธ ................................................................ วนั ที่ ............................................................ เรอ่ื ง รายงานผลการนเิ ทศบ้านหนังสือชมุ ชน เรียน ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอ ................................ ตามท่ี กศน. อาเภอ ................... มอบหมายให้นาย/นาง/นางสาว................................................. ตาแหนง่ .............................พร้อมดว้ ย..............................................นิเทศบ้านหนังสอื ชมุ ชนบ้าน............................ หมู่ท.่ี ........... ระหวา่ งวันท่.ี ..... เดือน...................พ.ศ......... บัดน้ี ได้ปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศเสรจ็ ส้ินแลว้ ขอรายงานผล การนิเทศ ดังน้ี 1. สภาพทพ่ี บ 1.1.......................................................................................................................... ............... 1.2................................................................................................................ ......................... 1.3.......................................................................................................................... ............... 2. ข้อนเิ ทศ 2.1.......................................................................................................................... ................. 2.2.............................................................................................................. ............................. 2.3.......................................................................................................................... ................. 3. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา 3.1........................................................................................................................................... 3.2.......................................................................................................................... ................. 3.3........................................................................................................................................... จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และพิจารณา 1. ............................................................................................................................................. 2. ............................................................................................................................. ................ ลงช่ือ ............................................ () 24 24

ตัวอย่างโครงการ 1. ช่ือโครงการ โครงการปันกันอา่ นสู่บา้ นหนังสือชมุ ชน 2. สอดคล้องกับ ตามเป้าประสงค์ ข้อที่ 7 ชุมชนและทุกภาคส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัดส่งเสริมและ สนบั สนนุ การดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยทุ ธศาสตร์ ที่ 3 ข้อท่ี 3.1 มุ่งเนน้ การส่งเสริมการอ่านใหเ้ กดิ ชมุ ชนรักการอ่าน “สร้างการอ่าน เสริมการเรียนรู้” 3. หลกั การและเหตผุ ล หนังสือมีส่วนช่วยสร้างความสาเร็จในการดารงชีวิตของบุคคล เสริมสร้างความรู้ความคิดแก่ผู้อ่าน ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานในพิธีเปิดปีหนังสือระหว่างชาติ และงานแสดงการพิมพ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2521 ว่า “หนังสือเป็นเสมือนคลังท่ีรวบรวมเรื่องราวความรู้ ความคดิ วิทยาการทุกดา้ นทุกอย่างซ่ึงมนษุ ยไ์ ดเ้ รียนรู้ ได้คิดอ่านและพากเพียรพยายามบันทึกรักษาไว้ด้วยลายลักษณ์ อักษร หนังสือแพร่ไปท่ีใดความรู้ความคิดก็แพร่ไปท่ีน่ัน หนังสือจึงเป็นส่ิงท่ีมีค่า และมีประโยชน์ท่ีจะประมาณมิได้ ในแง่ท่ีเป็นบ่อเกิดแห่งการเรียนรู้ของมนุษย์ หนังสือเป็นส่ิงสาคัญสาหรับการพัฒนาท้ังกาย ความคิด การประกอบ อาชีพ ทั้งการศึกษาค้นคว้า และในท่ีสุด \"การสร้างวัฒนธรรมการอ่านหนังสือจะสร้างความเปล่ียนแปลง” ในความเป็นจริง มีหนังสือดี ๆ ผลิตขึ้นมาเป็นจานวนมากที่อยู่ในมือของผู้อ่านที่มีโอกาสเท่านั้น หากสามารถมีวิธีการทาให้หนังสือดี ๆ เหล่านี้ไปถึงผู้ขาดโอกาสในการเข้าถึงหนังสือดี ก็จะทาให้เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น การแบ่งปันหนังสือดีมีคุณภาพ จะนาไปสกู่ ารสร้างวฒั นธรรมการอ่านอยา่ งกว้างขวาง และย่ังยืน การบริจาคหนังสือเป็นอีกหน่ึงกระบวนการที่จะทาให้คนในชุมชนได้อ่านหนังสือดีมีคุณภาพมากข้ึน และช่วยยกระดับการอ่าน การเรียนรู้ ความคิด สติปัญญา พัฒนาการด้านอ่ืน ๆ อีกท้ังยังเป็นการสานสัมพันธ์ของคน ในครอบครัวในการปลูกฝังรักการอ่านให้เกิดข้ึนในทุกบ้าน และพัฒนารักการอ่านของประชาชน จึงได้จัด “โครงการ ปนั กันอา่ นสบู่ ้านหนังสอื ชุมชน” เพอ่ื กระตุ้นและเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านและการแสวงหาความรู้ ซึ่งเป็นการพัฒนา คณุ ภาพชีวิตใหแ้ ก่ประชาชนในชมุ ชนใหม้ นี สิ ัยรักการอา่ นเพิ่มข้นึ และสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ แหล่งเรียนรู้และส่งเสริม การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อกระตุน้ และเสรมิ สรา้ งนิสัยรักการอ่านให้กับประชาชนในชุมชนไดม้ ีโอกาสพฒั นา ทักษะการอา่ น 4.2 เพื่อขอรับบริจาคหนงั สือมอบให้กบั บ้านหนังสือชุมชน 5. กลมุ่ เป้าหมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ - กศน. อาเภอ ไดร้ บั บรจิ าคหนงั สอื เข้ารว่ มโครงการปันกนั อา่ นสบู่ ้านหนังสือชมุ ชน ไม่นอ้ ยกว่า 5,000 เลม่ 5.2 เชงิ คุณภาพ - บ้านหนังสือชุมชนได้หนังสือท่ีเหมาะสมและเพียงพอกับกลุ่มเป้าหมายในการกระตุ้นและ เสรมิ สร้างนสิ ยั รักการอา่ น การแสวงหาความรู้ และสร้างโอกาสในการเขา้ หนังสอื ดีเสริมสรา้ งการเรียนร้ตู ลอดชีวิต 25 25

6. วธิ ีดาเนินการ ท่ี กิจกรรม งบประมาณ ระยะเวลา ผรู้ ับผดิ ชอบ - ม.ิ ย. 2559 ครู กศน.ตาบล,บรรณารักษ์ 1 วางแผนและกาหนดกจิ กรรม - ม.ิ ย. 2559 - มิ.ย. 2559 ครู กศน.ตาบล,บรรณารักษ์ 2. เขยี นและเสนอโครงการ - ก.ค. - ธ.ค. 2559 คณะทางาน ครู และบุคลากร กศน. , 3. แตง่ ต้ังคณะทางาน บรรณารกั ษ์ 4. การดาเนนิ กจิ กรรมปันกันอา่ นสู่ - ธ.ค. 2559 บ้านหนังสอื ชุมชน 4.1 ประชาสมั พนั ธข์ อรบั บรจิ าคหนังสอื - เว็บไซต์ห้องสมดุ ประชาชน/กศน.อาเภอ/ กศน.ตาบล - สถานีวิทยชุ มุ ชน - หอกระจายขา่ วชมุ ชน - แผน่ พบั /ใบปลวิ 4.2 นากล่องรับบริจาคหนงั สือไปต้ังตามจุด เคลอ่ื นท่ีต่าง ๆ ในพนื้ ท่ี เพ่ือจัดกจิ กรรมขอรับ บริจาคหนงั สือ 4.3 คัดแยกหนงั สอื บรจิ าคตามหมวดหมู่ 4.4 การกระจายหนังสอื บริจาคสู่ บา้ นหนังสอื ชุมชน 5. สรุปผล 7. ระยะเวลาดาเนนิ การ มถิ นุ ายน - ธนั วาคม 2559 8. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ - กศน. อาเภอ - กศน. ตาบล - บ้านหนงั สอื ชมุ ชน - หอ้ งสมดุ ประชาชน 9. งบประมาณ - 26 26

10. ตวั ช้ีวดั ความสาเรจ็ ของโครงการ 10.1 ด้านปริมาณ - กศน. อาเภอ / กศน. ตาบล / บ้านหนงั สอื ชมุ ชน ได้รับบรจิ าคหนงั สอื เข้ารว่ ม โครงการปนั กนั อา่ นสู่บา้ นหนังสอื ชมุ ชน จานวน 5,000 เล่ม 10.2 ดา้ นคณุ ภาพ - บ้านหนงั สือชุมชน ได้หนงั สอื ดีมปี ระโยชน์ 11. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ กศน. อาเภอ / กศน. ตาบล / บ้านหนงั สอื ชมุ ชน ไดร้ บั หนงั สือที่หลากหลาย กระจายโอกาส การเข้าถงึ หนงั สือดที ีม่ คี ุณภาพ ตามความต้องการอา่ นของคนในชุมชนแตล่ ะกลมุ่ วัย 27 27

ตัวอย่างโครงการ 1. ชอ่ื โครงการ โครงการหมุนเวียนหนังสือสู่บา้ นหนังสือชมุ ชน 2. สอดคล้องกับ ตามเป้าประสงค์ ข้อที่ 7 ชุมชนและทุกภาคส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัด ส่งเสริมและ สนับสนุนการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ขอ้ ที่ 3.1 ม่งุ เน้นการส่งเสรมิ การอ่านให้เกิดชุมชนรกั การอ่าน “ สรา้ งการอา่ น เสริมการเรียนรู้” 3. หลักการและเหตุผล การอ่าน ถือเป็นหัวใจสาคัญของการเรียนรู้ ประชากรท่ีมีนิสัยรักการอ่านย่อมง่ายต่อการพัฒนา ประเทศ การเสริมสร้างให้ประชาชนในชุมชนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เกิดความรู้และความเพลิดเพลิน มีความกระตือรือร้นในการศึกษาค้นคว้า มีนิสัยรักการอ่านและเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีคุณภาพ การดาเนินงานบ้านหนังสือชุมชน ในแต่ละแห่งจะมีส่ือท่ีได้มา จากการจัดหาทไ่ี ม่เหมือนกัน บางแหง่ อาจจะเปน็ สอื่ ท่เี หมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บางแห่งอาจเป็นสื่อยังไม่ เหมาะสม และมีจานวนไม่เพียงพอ จึงควรมีการหมุนเวียนหนังสือจากแหล่งท่ีมีความพร้อมมากกว่า เช่น ห้องสมุด ประชาชน กศน. ตาบล และแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ การนาหนังสือในห้องสมุดประชาชนออกหมุนเวียนไปให้บริการแก่ ผู้ใช้บริการการอ่านในบ้านหนังสือชุมชน เป็นอีกวิธีการในการสนับสนุนส่ือ หนังสือดีมีประโยชน์ เพ่ิมปริมาณจานวน หนงั สอื ให้มีความหลากหลายในบ้านหนังสือชุมชนให้ผู้ใช้บริการการอ่านได้มีโอกาสเข้าถึงหนังสือ และส่ือการอ่านที่ดี มปี ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั ด้านต่าง ๆ เพม่ิ มากขนึ้ กระตุ้นใหเ้ กิดการส่งเสริมการอ่านการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง มีนิสัย รกั การอา่ น โดยใชท้ รพั ยากรหนงั สอื และส่อื ซึง่ มีอยู่ในห้องสมุดประชาชนให้คมุ้ คา่ และเกดิ ประโยชน์สูงสดุ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพอื่ นาหนงั สือทีก่ ล่มุ เปา้ หมายจากบา้ นหนงั สือชุมชนเลือกสรรในห้องสมดุ ประชาชน ไดห้ มุนเวียนให้บริการ 4.2 เพอ่ื ใหผ้ ู้อา่ นมโี อกาสเขา้ ถงึ หนงั สือและสื่อการอ่านทด่ี ีมปี ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั ดา้ นต่าง ๆ ทไี่ ม่มใี นบ้านหนงั สอื ชุมชนอย่างทัว่ ถงึ 5. กล่มุ เป้าหมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ - หอ้ งสมุดประชาชน และ กศน. ตาบล ได้หมุนเวยี นส่อื หนังสือทป่ี ระชาชนในชมุ ชนต้องการอ่าน ในบา้ นหนังสอื ชุมชนครอบคลมุ ทกุ แห่งในชมุ ชนอยา่ งสม่าเสมอ จดุ ละอย่างน้อย 20 เลม่ /ครัง้ 5.2 เชงิ คณุ ภาพ - ผู้ใช้บริการการอ่านในบ้านหนังสือชุมชน มีโอกาสเข้าถึงหนังสือและส่ือการอ่านที่ดีอย่าง ทั่วถึง เสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน การแสวงหาความรู้ และสร้างโอกาสในการเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้และเสริมสร้าง การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 28 28

6. วธิ ดี าเนนิ การ งบประมาณ ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ - มิ.ย. 59 คร/ู บคุ ลากรทุกคน ที่ กิจกรรม - มิ.ย. 59 บรรณารกั ษ์ 1 วางแผนและกาหนดกิจกรรม - ม.ิ ย. 59 คร/ู บคุ ลากรทุกคน 2 เขยี นและเสนอโครงการ - ม.ิ ย. - ธ.ค. 59 3 แต่งตั้งคณะทางาน ครูและบุคลากร กศน. , 4 การดาเนนิ กจิ กรรมหมนุ เวยี นหนงั สือ บรรณารกั ษ์ สู่บ้านหนังสอื ชมุ ชน ม.ิ ย. - ธ.ค. 59 บรรณารักษ์ 4.1 การสารวจความต้องการอา่ นหนังสอื 4.2 นาหนังสือหมนุ เวยี นไปตามจดุ บ้านหนงั สอื ชมุ ชนในพื้นท่ี 5 นเิ ทศ และสรุปผล 7. ระยะเวลาดาเนินการ มิถนุ ายน – ธนั วาคม 2559 8. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ - บรรณารักษ์ - ครู กศน. ตาบล 9. งบประมาณ - 10. ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จของโครงการ 10.1 ด้านปรมิ าณ - กศน.อาเภอ / กศน.ตาบล / บา้ นหนงั สือชมุ ชน ได้รบั บรจิ าคหนงั สอื เข้ารว่ ม โครงการปันกันอา่ นสู่บา้ นหนังสอื ชุมชน 10.2 ดา้ นคุณภาพ - บ้านหนังสือชุมชน มีจานวนหนังสือที่ดีมีประโยชน์ หลากหลายไว้ให้บริการการอ่าน เสริมสรา้ งนิสยั รกั การอ่าน การแสวงหาความรู้ และสร้างโอกาสในการเข้าถึงหนังสือดี ๆ ต่อการค้นคว้า เรียนรู้เพ่ือพัฒนา คุณภาพชวี ติ ไดค้ รอบคลมุ 11. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 11.1 บา้ นหนังสือชุมชน ไดร้ ับส่อื หนังสือที่หลากหลาย กระจายโอกาสการเข้าถงึ สื่อ หนังสือดี ที่มคี ณุ ภาพตามความต้องการอา่ นของคนในชมุ ชนแตล่ ะกลุ่มวยั 11.2 ประชาชนมีนิสยั รกั การอา่ นและเห็นความสาคญั ของการอ่าน การเรยี นรู้ทัง้ ในและ นอกหอ้ งสมุด 11.3 ประชาชนนาความรู้ทไี่ ดจ้ ากการอ่านไปบรู ณาการกับชีวิต 29 29

คณะผจู้ ดั ทา ท่ีปรกึ ษา จาจด เลขาธกิ าร กศน. สากระจาย รองเลขาธิการ กศน. นายสุรพงษ์ เชยกล่ิน ผอู้ านวยการ สถาบันสง่ เสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้ นางสาวอัจฉรา เลิศสุริยะกุล ขา้ ราชการบานาญ สานักงาน กศน. วา่ ที่ ร.อ.อาศสิ นายกลุ ธร คณะทางาน นางโกศล หลักเมือง รองผู้อานวยการ สานกั งาน กศน. จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ผู้อานวยการ กศน. อาเภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแก่น นางวิจิตราวลนิ พรปัญญาภัทร ศกึ ษานเิ ทศ หน่วยศกึ ษานิเทศก์ ครู ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษา รงั สิต นางสาวจรรยา สิงห์ทอง บรรณารักษ์ ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั เพชรบรุ ี บรรณารักษ์ ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั นครปฐม นางสาวสิชล เชยสมบตั ิ บรรณารักษ์ หอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลมิ พระเกียรติฯ จังหวัดขอนแกน่ ครู กศน. อาเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี นางสาวอารรี ักษ์ พ่วงพานทอง ครู กศน.ตาบล กศน. อาเภอปทมุ รัตต์ จงั หวดั ร้อยเอ็ด ครู กศน.ตาบล กศน. อาเภอเมืองขอนแกน่ จังหวัดขอนแก่น นางพรเพ็ญ ขยนั ดี ครู กศน.ตาบล กศน. อาเภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแก่น ครู กศน.ตาบล กศน. อาเภอเมืองพษิ ณุโลก จงั หวัดพิษณโุ ลก นางสาวอามรรตั น์ ศรีสร้อย ขา้ ราชการบานาญ โรงเรียนวดั จันทรต์ ะวันตก จังหวดั พษิ ณโุ ลก กานนั ตาบลวังชัย อาเภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแก่น นายสวสั ด์ิ บุญพร้อม ครู สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ ครู สถาบนั สง่ เสรมิ และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ นางอภิชญา ดีผาย ครู สถาบันส่งเสรมิ และพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้ ครู สถาบันส่งเสรมิ และพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ นางบานเย็น ชรากาหมดุ นักวิชาการศึกษา สถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้ นักวชิ าการศึกษา สถาบันส่งเสรมิ และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ นางเบญจมาส วงษค์ าจนั ทร์ นักวชิ าการศกึ ษา สถาบนั ส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ นางณฐั รัตน์ ตาแว่น นางสุปราณี กลั ปนารถ นายคมกฤช บุษราคมั นางวชั รภี รณ์ โกสนิ เจรญิ ชัย นางเยาวนี ตระกลู ดิษฐ์ นางนลิ รัตน์ มาเจรญิ นางสาวปิยาภา ยดิ ชัง นางสาวสุรสิ า สีหเดชากลุ นางสาวอาภา สขุ มี นางสาวจิราพร ฮะสนู บรรณาธิการ ผ้อู านวยการ สถาบนั ส่งเสรมิ และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ ครู สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้ วา่ ท่ี ร.อ.อาศิส เชยกล่ิน ข้าราชการบานาญ สถาบนั สง่ เสริมและพัฒนานวตั กรรมการเรียนรู้ นางสาวนริสา ณ นคร นางสาวสพุ ัตรา โทวราภา ออกแบบรปู เลม่ / ปก นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ สถาบันสง่ เสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้ นายจกั รินทร์ ภญิ โญย่ิง 30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook