หลักสตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 47 การใช้เครอ่ื งพน่ ฝอยละอองละเอยี ดเบ้ืองตน้ 1.เครอ่ื งพน่ ฝอยละอองละเอียด ฟอนแทน พอร์ทาสตาร์-เอน็ ส่วนประกอบ 7. วาล์วเปิด-ปดิ นา้ ยาเคมี 13. เครอ่ื งยนต์ 1. ฝาถังน้ายาเคมี 8. มือบบี เปิด/ปดิ น้ายาเคมี 14. หัวเทียน 2. ถังน้ายาเคมี 9. หัวพน่ สเปรย์ 15. มอื ดงึ สตาร์ท 3. สายน้ายาเคมี 10. คนั เรง่ เครื่อง 16. สวทิ ซ์ปิด/ปดิ เครอ่ื งยนต์ 4. ก๊อกนา้ ยาเคมี 11. ถังน้ามันเชอ้ื เพลิง 5. คอมเพรสเซอร์ (โรตารีป่ ๊ัม) 12. กรองอากาศป๊มั ลม 6. สายส่งลม
หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 48 ข้นั ตอนการติดเครื่อง ULV FONTAN PORTASTAR-N 1. กดสวทิ ช์ไปตาแหน่งเปดิ (ON) 2. กดลกู ยางโชค๊ นา้ มันเชือ้ เพลิง ประมาณ 6-7 ครงั้ 3. โช๊คอากาศขณะเคร่ืองยนต์เยน็ อากาศเย็น โดยการยกโช๊คมาตาแหน่งปิด (CLOSED) 4. ยกคนั เร่งเคร่ืองยนต์ ประมาณ 1/3 5. ดึงเชือกสตาร์ทเครื่องยนต์ 6. เมื่อเคร่ืองยนต์ตดิ ให้กดโช๊คอากาศมาตาแหน่งเปิด (OPEN) การทาความสะอาดไส้กรองเครือ่ งยนต์ เมื่อใช้งานประมาณ 25 ชม. ให้ถอดไส้กรองอากาศมาทาความสะอาด โดยใชล้ ้างด้วยน้ามันเบนซินแล้ว นาไปตากให้แห้ง เมือ่ ไสก้ รองชารุดหรอื หมดอายใุ หเ้ ปล่ยี นใหม่ อย่าใช้งานโดยไมม่ ไี ส้กรอง การทาความสะอาดหวั ควบคมุ การไหลของสารเคมี ในกรณีที่พ่นน้ายาไม่ออกเกิดจากการอุดตันของเศษผง โดยการทาความสะอาดถังน้ายาเคมี และ ส่วนประกอบชุดหัวพ่น ใช้ประแจถอดหัวฉีดออกมาทาการตรวจเช็คการอุดตันโดยการทาความสะอาด หัว ควบคมุ น้ายา โดยการใชล้ มเปา่ (หมายเหตุ หา้ มใชป้ ากเป่า และหา้ มนาลวดหรอื เหลก็ ดนั โดยเด็ดขาด เพราะจะทาให้ขนาดของรูหัวฉดี เสีย) การทาความสะอาดไสก้ รองปั๊มลม ถอดไส้กรองป๊ัมลมออกมาทาความสะอาดทุก 25 ชม. การใช้งานโดยการใช้ลมเป่าจากด้านในออกมา ด้านนอก ถา้ สกปรกมากใหเ้ ปลย่ี นใหม่ อย่าใชง้ านท่ีปม๊ั ไมมีไส้กรองเพราะอาจทาความเสยี หายกับปม๊ั ลมได้ (หมายเหตุ ห้ามใสส่ ารหล่อล่ืนทุกชนดิ ในปั๊มลมโดยเด็ดขาด เพราะจะทาใหป้ ั๊มลมชารดุ ได)้ การแกไ้ ขเมอ่ื เครอื่ งไม่ติด 1. ตรวจเช็คระบบไฟ ถอดหวั เทียนออกมาตรวจดูเขม่า ถา้ มเี ขม่าจบั ให้ทาความสะอาดหัวเทียน ถ้าหัว เทยี นบอดให้เปลีย่ นใหม่ 2. ตรวจเชค็ ระบบน้ามัน ถา้ น้ามันเชือ้ เพลงิ ไม่ขึ้นใหถ้ อดคารบ์ เู รเตอร์ออกมาล้างทาความสะอาด 3. ตรวจเช็คระบบพ่น ใหต้ รวจการอดุ ตันของเศษผงในถงั น้ายาเคมี ถ้าสกปรกมากใหล้ ้างถงั น้ายาเคมี
หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 49 2.เคร่อื งพ่นเคมชี นดิ ฝอยละออง ULV สะพายหลัง TWISTERXL3TM 3950 18 17 16 15 14 13 12 10
หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคุมและกาจัดยุงลาย 50 สว่ นประกอบ 1. โครงอลมู ิเนยี ม 7. สายคาดเอวลา่ งซ้าย 13. เครื่องยนต์ 2. หสู ายสะพายหลงั 8. หสู ายสะพายหลัง 14. สายสง่ ลม 3. ถงั น้ายาเคมี 9. ฐานต้งั 15. สายนา้ ยาเคมี 4. ก๊อกน้ายาเคมี 10. หูสายสะพายหลงั ล่างขวา 16. วาล์วเปิด-ปิดน้ายาเคมี 5. คอมเพรสเซอร์ (โรตารีป่ ๊ัม) 11. ถงั นา้ มนั เชื้อเพลิง 17. หัวพน่ สเปรย์ และหวั ฉีด 6. ประกับปอ้ งกนั ตวั เคร่ือง 12. มือดึงสตาร์ท 18. หูหวิ้ การทางานของเครื่องพ่น ทวิสเตอร์TM เอ็กแอล 3 (TWISTER XL 3) เป็นเคร่ืองยนต์แบบ 2 จังหวะ 40 ซีซี (2.2 แรงม้า) ใช้ นา้ มันเบนซินเปน็ เชอ้ื เพลิง ตัวเครื่องถูกออกแบบให้มีนา้ หนกั เบา และมีโครงด้านหลงั สามารถสะพายได้จึงสะดวก ต่อการใช้งาน เครื่องยนต์สามารถปรับความแรงได้ 3 ระดับ มีใบพัดเพ่ือผลิตพลังงานลมผ่านเข้าสู่กระบอกฉีด และดูดน้ายาจากถังเข้าสู่ท่อพ่น น้ายาจะถูกดูดข้ึนมาจากถังใส่น้ายา ผ่านท่อเข้าสู่วาล์วปิดและกระบอกฉีด กระบอกฉีดจะมีครบี ระบายอากาศ 6 ช่องเพือ่ ให้อากาศถา่ ยเทได้ดีเวลาที่หวั ฉดี ทางาน น้ายาทอ่ี อกมาจะมีขนาด เม็ดนา้ ยา 10-20 ไมครอน และจะถกู พน่ ไปยังเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ อัตราการไหลของนา้ ยา -หวั ฉีดเบอร์ 19 อัตราไหล 2.7 ลติ ร ตอ่ ชว่ั โมง (45 ml/min) -หวั ฉีดเบอร์ 28 อตั ราไหล 6 ลิตร ตอ่ ชัว่ โมง (100 ml/min) -หัวฉีดเบอร์ 36 อตั ราไหล 21.6 ลติ ร ต่อ ชั่วโมง (160 ml/min) -หวั ฉีดเบอร์ 54 อัตราไหล 29.6 ลิตร ตอ่ ช่วั โมง (360 ml/min) -หัวฉีดชนดิ เปดิ อัตราไหล 30 ลิตร ตอ่ ชว่ั โมง (500 ml/min) (หมายเหตุ - หากมวลอากาศและอัตราความเรว็ ลดลงขนาดของเม็ดน้ายาก็จะใหญข่ ึน้ )
หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 51 การตรวจสอบก่อนการฉดี พ่น 1. ตรวจสอบลกั ษณะภายนอกของเคร่ืองวา่ อุปกรณ์ต่างๆ ครบหรอื ไม่ 2. ตรวจสอบปมุ่ ปิด/เปิด ของวาล์ววา่ สามารถหมุนปดิ /เปิด ได้งา่ ย 3. ตรวจสอบว่าเชอื้ เพลิงในเครือ่ งมีเพียงพอหรือไม่ 4. ตรวจสอบช่องทางกรองอากาศของใบพัดว่าสะอาดและไมม่ นี า้ ยาติดอยู่ 5. ตรวจสอบท่อทางเดินของนา้ ยาว่าไมม่ ีอะไรผดิ ปกติ 6. ตรวจสอบว่าไมม่ ชี น้ิ สว่ นหรืออุปกรณใ์ ดถูกถอดออกจากเครอ่ื ง 7. ตรวจสอบปริมาณนา้ ยาในถงั นา้ ยาวา่ เพียงพอ ปดิ ฝาแน่นพอ และมีอากาศถ่ายเทสะดวก 8. ตรวจสอบสายสะพายว่าอยใู่ นตาแหน่งท่ีถูกต้อง 9. ตรวจสอบอุปกรณป์ ้องกันต่างๆ ว่าสามารถทางานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ การเตมิ นา้ มนั เชือ้ เพลิง ใชน้ า้ มันเบนซิน ผสมกบั ออโตลูปในอัตราส่วน 50:1 ให้เขา้ กันดีกอ่ นแล้วจึงเติมลงในถังใส่นา้ มนั เชอ้ื เพลงิ (นา้ มันเบนซิน 50 สว่ น ต่อ ออโตลปู 1 ส่วน) วธิ กี ารสตาร์ทเครื่อง 1. โยกสวิทชห์ ลกั เปดิ -ปดิ เครื่องพ่นไปทต่ี าแหนง่ เปิด (ON) อยู่ทางด้านข้าง 2. ยก choke อากาศขึ้นเลก็ นอ้ ย / ใหอ้ ากาศไหลผ่านเขา้ เครื่องและคนั โยกอากาศยังสามารถปรับระดบั ความแรงของเครื่องพ่นได้ 3. กดลูกยางปมั้ น้ามนั (primer bulb) ประมาณ 4 – 5 ครัง้ ให้ลูกยางป๊ัมน้ามนั ดดู น้ามนั เชื้อเพลิงขน้ึ มา พอประมาณ 4. ปรบั กา้ น Choke อากาศให้อยใู่ นตาแหน่งปิดดา้ นบน
หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจัดยุงลาย 52 5. ดึงสายสตาร์ท เพ่อื สตาร์ทเคร่ืองให้เครอื่ งทางาน 6. เมอื่ เสยี งเครื่องยนต์คล้ายจะติดใหป้ รบั กา้ น Choke อากาศไปท่ีตาแหน่งเปดิ แลว้ ดึงสายสตาร์ทตอ่ 7. เมอ่ื สตาร์ท เครื่องยนตต์ ิดแล้วควรตดิ เคร่อื งเดนิ เรยี บ 2-3 นาทีก่อนทาการฉดี พน่ (หมายเหต:ุ เม่ือสตาร์ท เครื่องยนตไ์ ม่ตดิ ใหท้ าซ้าในข้อ 4-6) คาเตือน สาหรับการสตาร์ท เคร่ืองควรอยู่ในที่กลางแจ้ง อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวกเพ่ือป้องกันสารพิษจากก๊าซ คารบ์ อนมอนนอกไซด์ ข้อควรระวัง เก็บสายท่อพน่ ใหห้ า่ งจากเครื่องเพื่อหลกี เลีย่ งอันตรายทีจ่ ะเกิดกบั ท่อพน่ หา้ มสตาร์ท เคร่ืองโดยไมม่ ี สายคาดปอ้ งกนั และฝาครอบเคร่ือง การดับเคร่อื ง 1. ถ้าวาลว์ นา้ ยา เปิดอย่ใู ห้หมนุ วาล์วไปทต่ี าแหน่งปดิ ก่อน (OFF) 2. ดึงคนั บังคบั ไปทต่ี าแหน่ง Down 3. ย้าย The Engine Kill Switch ไปที่ Stop
หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 53 ความปลอดภัยในการใช้เคร่ือง (เพิ่มเติม) 1. เก็บเส้ือผา้ ผม หรอื เครอื่ งประดับต่างๆ ใหห้ ่างจากชนิ้ สว่ นของเครื่องทกี่ าลงั หมนุ อยู่ 2. น้ายาหลายชนิดมักจะก่อให้เกิดสารพิษจึงต้องมีอุปกรณ์ป้องกัน ดังน้ัน ผู้ใช้ควรอ่านและสังเกตท่ีคา เตอื นตามฉลากนา้ ยากอ่ นการใชเ้ ครื่องทุกคร้งั 3. ควรสวมที่ปดิ หทู ุกครง้ั 4. ไมค่ วรใหผ้ ู้ท่ไี ม่มีประสบการณ์มาใช้เครอื่ ง 5. ไมค่ วรใชเ้ คร่ือง หากร้สู กึ ไม่สบาย เมาหลา้ หรือรับประทานยา การใช้วาลว์ ควบคุมสเปรย์ เปิด-ปดิ นา้ ยาเคมี การเดนิ ทางของน้ายาในท่อพ่นถกู ควบคุมด้วยปุ่มปิด/เปิดวาล์วน้ายา วาล์วถกู ตดิ ต้ังใหอ้ ยใู่ กลก้ บั กระบอกฉีดนา้ ยาและหหู ิว้ เคร่ือง 1. เม่ือเปดิ วาลว์ (ON) น้ายาจะไหลจากถังบรรจุน้ายาไปสทู่ ่อกระบอกฉีด (รปู บน) 2. เมื่อปิดวาล์ว (OFF) น้ายาจะหยุดไหลทันที (รูปลา่ ง) ผู้ใช้สามารถปรับอัตราการไหลของน้ายาได้ตาม ความตอ้ งการโดยเทยี บจากตารางอัตราการไหลของนา้ ยา (หมายเหตุ ควรปิดวาล์วนา้ ยาทต่ี าแหนง่ (OFF) กอ่ นปิดเครอ่ื งรถยนต์ เพื่อป้องกันนา้ ยาค้าง และหยดออกจาก กระบอกฉีด
หลักสตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคมุ และกาจัดยุงลาย 54 อาการเสียทพ่ี บบอ่ ย อาการท่ี 1 : สตาร์ทเครื่องไม่ติด สาเหตุทเ่ี ปน็ ไปได้ ลองตรวจตอบ 1. ดูสวิตช์ เปิด – ปดิ เครอื่ งว่าเปิดแลว้ หรอื ยัง 2. ใบพดั ลมเครื่อง (blower) ไมห่ มุนตาม ทาให้เคร่ืองไม่ติด อาการท่ี 2 : สตาร์ทเคร่อื งตดิ ยาก สาเหตุทเ่ี ปน็ ไปได้ ลองตรวจตอบ 1. ตรวจดูปลัก๊ ตรงสวติ ช์ เปิด – ปดิ ว่าหลวมหรอื ไม่ 2. ตรวจดนู า้ มนั เชือ้ เพลงิ ว่าเติมทงิ้ ไว้นานแลว้ หรือยัง ถ้านานแล้วน้ามนั จะเสื่อม 3. ทาความสะอาดหัวเทยี น อาการที่ 3 : เครือ่ งเดินไมเ่ รียบ สาเหตทุ เี่ ปน็ ไปได้ ลองตรวจตอบ 1. ตรวจดกู รองนา้ มันว่ามีการอดุ ตนั ทาให้นา้ มนั ไหลไมส่ ะดวกหรือไม่ 2. ดกู รองอากาศว่ามฝี ุน่ มาอุดตนั หรอื ไม่ อาการที่ 4 : เครื่องมเี สยี งดัง สาเหตทุ เ่ี ปน็ ไปได้ ลองตรวจตอบ 1. ใหด้ วู า่ ใบพดั ลมเคร่ือง (Blower) มีการชารดุ หรอื ไม่ 2. ดูนอ็ ตยดึ ตวั เครื่องกับเฟรมวา่ แนน่ หรอื ไม่ อาการที่ 5 : เครอ่ื งร้อนจัดหรอื ลกู สูบติด สาเหตทุ ี่เป็นไปได้ ลองตรวจตอบ 1. อาจจะผสมนา้ มันไม่ไดส้ ดั สว่ น 1:50 2. ดรู ะบบระบายความรอ้ นว่าเปน็ ปกตหิ รือไม่ อาการที่ 6 : ใบพัดลมเคร่ือง (Blower) ไม่ทางาน แตเ่ ครื่องตดิ สาเหตุที่เป็นไปได้ ลองตรวจตอบ 1. เชค็ สะพานวา่ ตึงพอหรือไม่ 2. เชค็ วา่ ลกู ปืนใน Blower แตกหรอื ไม่ อาการท่ี 7 : ใบพดั ลมเครื่อง (Blower) ทางานแต่พน่ นา้ ยาไม่ออก สาเหตุทเ่ี ปน็ ไปได้ ลองตรวจตอบ 1. เชค็ สายน้ายาว่ามีการร่วั หรือหลดุ หรอื ไม่ 2. ทาความสะอาดกรองน้ายาเคมี อาจอดุ ตันได้ 3. เช็ควาล์ว ปดิ -เปดิ น้ายาวา่ ทางานปกติหรือไม่
หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 55 ตารางการบารุงรักษาเครอื่ ง Twister XL รายการบารุงรกั ษา ทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน ทกุ วนั ทกุ 25 ช่ัวโมง ทุก 50 ชวั่ โมง ทกุ ปี เคร่อื งยนต์ ** ทาความสะอาดกรองอากาศ ** เช็คท่อไอเสีย เช็คกรองน้ามัน ** เชค็ ระบบครบี ระบายความร้อน ** เชค็ รอบเคร่ือง ทาความสะอาดหัวเทยี น ** ** พัดลมเครอ่ื ง เช็คกรองอากาศ ** เชค็ น็อตยึด ** สายพาน เชค็ มู่เลยส์ ายพาน ** ** เช็คความตงึ ของสายพาน อื่นๆ ใหม่ ระบบฉีดสารเคมี ** ตรวจสอบอปุ กรณ์ป้องกนั ความรอ้ น ** เชค็ หวั พ่น ** เทคนิคการพ่นและขอ้ ควรปฏบิ ตั ิสาหรับผูป้ ฏิบตั ิงาน การพ่นฟุ้งกระจายมีเคร่ืองพ่นให้เลือกใช้งานได้หลายชนิด เช่น เคร่ืองพ่นหมอกควันเล็กสะพายไหล่ เคร่ืองพ่นหมอกควันใหญ่ติดต้ังบนรถยนต์ เคร่ืองพ่นยูแอลวีเล็กสะพายหลัง และเคร่ืองพ่นยูแอลวีใหญ่ติดตั้งบน รถยนต์ แตก่ ารจะเลอื กใช้เครอ่ื งพน่ แบบไหนนั้นมีข้อควรพจิ ารณานอยู่กับ 1. ขนาดของพื้นท่ีท่ีจะพ่น เช่น พ่นเพ่ือป้องกันตัวเอง พ่นในชุมชนเล็กๆ พ่นในเขตเมือง พ่นครอบคลุม ทงั้ เขตเมอื งและพนื้ ท่รี อบๆเขตเมอื งน้ัน 2. เป็นการพ่นในภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน เช่น มีผู้ป่วยไข้เลือดออกเกิดข้ึนจะต้องพ่นภายใน 24 ชม.หลัง ไดร้ ับแจ้งผลยนื ยัน 3. เคร่ืองพน่ ที่มีอยูเ่ ป็นชนดิ อะไร 4. สภาพถนนหนทางใหญ่พอที่รถจะเข้าพ่นได้หรือไม่ 5. ความถี่ของการเขา้ พน่ พน้ื ท่นี น้ั ๆ 6. สภาพภูมิอากาศ 7. ชนิดยุงพาหะ การพิจารณาขนาดพ้ืนท่ีพ่นดูเหมือนจะมีความสาคัญมาก เน่ืองจากถ้าขนาดพื้นที่กว้างใหญ่มากแต่ใช้ เคร่ืองพ่นหมอกควันเล็กไปพ่น ความสาเร็จของงานคงเป็นไปได้ยากและไม่ทันต่อการครอบคลุมพื้นที่พ่น ทาให้ งานสมั ฤทธ์ิผลแต่เพียงนอ้ ยนิดและสญู เสียงบประมาณโดยเปล่าประโยชน์ องค์การอนามัยโลกแนะนาว่าในภาวะ ฉุกเฉินที่ต้องพ่นฟุ้งกระจายควรใช้เคร่ืองพ่นติดตั้งบนรถยนต์พ่น แต่สาหรับประเทศไทยเคร่ืองพ่นขนาดใหญ่ ตดิ ตงั้ บนรถยนต์ทใี่ ช้กันท่วั ไปขณะน้ีมกั เปน็ แบบยแู อลวี เหตผุ ลที่แนะนาเคร่ืองพน่ นี้ คือ
หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 56 1. ประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายมากกวา่ เนื่องจากใช้คนนอ้ ยกว่า และประหยัดค่าน้ามนั ผสมสารกว่าแต่กนิ พนื้ ทีไ่ ด้ มากกวา่ 2. งานเสร็จไวกว่า 3. ไม่จาเป็นต้องพ่นบ่อยคร้ัง เนื่องจากเม็ดละอองจากการพ่น (ยูแอลวี) สามารถล่องลอยในอากาศได้ นาน เมื่อพ่นออกไปแล้วจะล่องลอยต่อเนื่องกนั ออกไปเช่ือมต่อกันจนเปน็ ร่างแหของเม็ดละอองน้ายาผืนเดียวกัน แผ่ปกคลุมพื้นที่เป้าหมาย ไม่ว่ายุงตัวใดๆ จะซ่อนเร้นอย่างไรก็ตาม ยุงก็ต้องบินออกมาพบสัมผัสกับละออง แนน่ อน โดยไมอ่ าจบินหนเี ล็ดลอดออกจากร่างแหนีไ้ ด้ หมายเหตุ : 1. เคร่ืองพ่นหมอกควันสะพายไหล่ เป็นเครื่องพ่นท่ีเหมาะสาหรับการพ่นภายในอาคารบ้านเรือน มากกว่า เนอื่ งจากความเข้มข้นของสารเคมีที่ใชม้ ีความเขม้ ขน้ ต่าไมเ่ พยี งพอที่จะฆา่ ยุงในทันที ดังนั้นเม่ือพ่นเสร็จ แลว้ จะต้องปิดบา้ นอบควันไว้อีก 30 นาทยี ุงจึงจะตาย 2. เหตุผลท่ีประชาชนมักกล่าวว่า “เขามาพ่นหมอกควันไล่ยุงให้” เน่ืองจากเคร่ืองพ่นหมอกควันไม่ เหมาะสาหรบั พ่นนอกบ้าน เพราะว่าไม่สามารถปิดอบให้ยุงสัมผัสสารเคมีได้ รวมถงึ ขณะพ่นสารเคมีไม่ได้เดินพ่น จากใต้ลมสู่เหนือลม แตก่ ลับเดนิ พ่นตามลมแทน อาจเป็นเพราะไม่ไดด้ ทู ศิ ทางลม 3. วิธีแก้ปัญหาหากจาเป็นต้องพ่นหมอกควันนอกบ้านจริงๆ ให้พ่นแต่ละจุดนานเป็นสองเท่าจากที่เคย พน่ ปกติ เพ่ือใหย้ ุงได้รบั สารปริมาณมากขนึ้ และควรตายทันที 4. การพ่นนอกบ้านหรือรอบๆบ้าน ควรพ่นโดยดูทิศทางลม และจุดท่ีเป็นแหล่งเกาะพักของยุง ได้แก่ ตามพุ่มไม้หนาๆ ไม่ควรปล่อยควันตามข้างรั้วบ้านที่มีแต่รั้วเปล่าๆ ซึ่งส่งผลต่อการการประหยัดสารเคมีและ นา้ มนั ผสมสารเคมี ขน้ั ตอนในการปฏิบัติงานพ่นสารเคมกี าจดั ยุง (พ่นฟงุ้ กระจาย) 1. แผนท่ีแสดงท่ตี งั้ ของบ้านและถนนในตัวชุมชนทจี่ ะพน่ 2. ต้องพ่นให้ครอบคลุมบา้ นผู้ป่วยและบ้านอ่นื ในรัศมี 100 เมตรรอบทิศทางจากบา้ นผูป้ ่วย หากภายใน รัศมีท่ีต้องพ่นนี้มีแหล่งเกาะพักที่เหมาะสมของยุงได้ก็ให้พ่นด้วย เช่น พุ่มไม้ที่ใบหนาแน่น กลุ่มกระถางต้นไม้ท่ี พอจะมสี ุมทุมพมุ่ ไมใ้ ห้ยุงเกาะหลบแดดได้ กองไม้ และโรงเก็บของ เปน็ ต้น 3. ต้องประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับรู้ และเตรียมพร้อมในการปกปิดอาหาร ดับไฟในเตา ปิดเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ และนาสตั ว์เลยี้ งออกไป (การเตรียมชมุ ชน) 4. ต้องแจ้งหรือแสดงให้ผู้ใช้รถใช้ถนนทราบวา่ มีการปฏบิ ตั ิงานอยู่ 5. ในขณะปฏิบัติงานต้องดูทิศทางลมเป็นหลัก เพราะมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการพ่นและความ ปลอดภยั ของผพู้ น่ เปน็ อย่างมาก (ทศิ ทางการเดนิ พ่นหรือขบั รถพน่ ตอ้ งมที ิศทางจากใตล้ มมุง่ สู่เหนือลมเสมอ) เทคนคิ การพ่นเคร่ืองพ่นหมอกควนั 1. การพ่นต้องทาต่อเน่ือง โดยพ่นแบบบ้านต่อบ้าน เดินพ่นจากใต้ลมเดินข้ึนสู่ทิศเหนือลม (หากทาตาม น้ีปัญหายุงจะบินหนีการพ่นยุงจะไม่เกิดขึ้น เพราะยุงที่อยู่ในบ้านต้นๆลมจะยังไม่ได้กล่ินสารเคมีกาจัดแมลง ดงั นัน้ ยงุ จะไม่มโี อกาสบนิ หนไี ดเ้ ลย) 2. ลาดับการพ่น ให้พ่นห้องในสุดช้ันบนถอยออกมาจนเสร็จทุกห้อง แล้วพ่นห้องในสุดชั้นล่างถอย ออกมาจนออกประตู 3. ลักษณะการพ่น ให้ปลายท่อพ่นห่างจากฝา 2 เมตร เคร่ืองพ่นลักษณะเอียงลงในแนว 45 องศา เปดิ นา้ ยา พร้อมส่ายเคร่อื งพ่นเปน็ มมุ 180 องศา เดนิ ถอยหลงั ชา้ ๆ จนถึงประตทู างออก 4. หลังจากพน่ หมอกควันภายในบ้านแลว้ ประตู หน้าตา่ ง ควรปดิ อบควันนาน 30 นาทีเพื่อให้ยงุ ท่ีปิดขัง ไวใ้ นบา้ นไดร้ ับสารเคมมี ากทส่ี ุดและตายอย่างแน่นอน
หลักสตู รเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจัดยุงลาย 57 5. การพ่นนอกบ้าน ให้พ่นในทุกท่ีท่ียุงน่าจะกาลังเกาะพักอยู่ (ตรงที่ยุงเกาะพักไม่ได้ ไม่ต้องพ่น)การพ่น ลงในรูฝาท่อระบายน้าเป็นการพ่นยงุ ราคาญ แต่ต้องระมัดระวงั อย่าปักปลายท่อมากเกินไปเนื่องจากอาจเกิดการ ระเบิดได้ (ในท่อน้าทิ้งจะมีก๊าซไข่เน่าเกิดขึ้น ก๊าซนี้สามารถติดไฟได้หากเครื่องพ่นที่เราใช้ปรับเครื่องไม่ดีอาจมี เปลวไฟแลบยื่นออกมาจากปากกระบอกเคร่ืองพน่ โดยที่สายตาของเรามองไม่เห็นในท่ีสวา่ งๆได้ เปลวไฟนี้จะยื่น ลงไปจดุ ให้ก๊าซลุกไหม้ เมื่อก๊าซลุกไหม้จะมีการขยายตวั แต่ด้วยชอ่ งทางที่จะขยายตัวมีจากัดจึงเกิดระเบิดขึ้น ทา ให้ฝาท่อหนักๆซึ่งหนาไม่ต่ากว่า 5 น้ิว สามารถถูกดันลอยข้ึนไปในอากาศแล้วตกใส่ส่ิงต่างๆได้ ซ่ึงอันตรายมาก เวลาพ่นท่อระบายควรเอียงเครื่องพ่นให้ทามุมกับพ้ืนน้อยท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ (ประมาณ 10 องศา) ให้ควันถูกดูด หรอื ค่อยๆไหลเข้าไปเองจะปลอดภยั กวา่ 6. หมอกควันท่ีปลอ่ ยออกมาควรมีความชนื้ ปานกลาง อยา่ ช้ืนมากจะทาให้พน้ื และเฟอรน์ ิเจอรเ์ ปียกแฉะ ได้ เช็คได้โดยโบกมือผ่านปากท่อพน่ เร็วๆท่ีระยะห่าง 2.5-3 เมตร หากมือเปียกช้ืนแสดงว่ามีน้ายาเคมีขนาดใหญ่ ทแ่ี ตกตัวไม่ทนั ปนออกมาเยอะ ละอองพวกนี้เมอื่ หมดแรงสง่ จะตกลงพน้ื อยา่ งรวดเรว็ สามารถแก้ไขโดยปรับอัตรา การไหลของนา้ ยาใหส้ อดคลอ้ งกับความร้อนท่เี ครื่องผลิตได้ เทคนิคการพน่ เคร่อื งพน่ ยแู อลวเี ลก็ สะพายหลัง 1. หากใช้เครือ่ งพน่ แบบน้ี ควรมเี จา้ หน้าทพี่ ่น 4 คนและหวั หนา้ ทมี 1 คน 2. แต่ละคนควรพ่นนาน 15-30 นาทีแล้วเปลี่ยนให้ผู้พ่นที่เป็นคู่กนั พ่นต่อ และเพื่อความปลอดภัยของผู้ พน่ สารเคมี เคร่ืองพ่นชนิดน้ีห้ามพ่นขณะทร่ี ่างกายกาลังเหน็ดเหน่ือยมาก (คนท่ีเหลือและหัวหน้าทมี ต้องคอยให้ ความช่วยเหลือผทู้ ่ีกาลังพ่นหากตอ้ งการความชว่ ยเหลือ) 3. เน่ืองจากสารเคมีทใี่ ช้พ่นยูแอลวีมีความเข้มขน้ ค่อนขา้ งมาก ดังนั้นห้ามพ่นชี้ไปทางคน สัตวเ์ ล้ียงท่ีอยู่ หา่ งออกไปไมถ่ งึ 5 เมตร 4. แต่ละหัวพ่นตอ้ งเปดิ เตม็ กาลงั หัวเบอร์เล็กน้ายาจะน้อยกว่า ฉะนั้นตอ้ งเดนิ พ่นช้าลงเพ่ือให้ไดป้ รมิ าณ สารท่ีได้มาตรฐาน เครือ่ งบางชนิดสามารถพ่นได้นาน 1 ชม. ในการเติมน้ามนั ครงั้ เดยี ว 5. เวลาพ่นห้ามเข้าไปในบ้าน ให้พ่นจากข้างนอกเข้าไปและให้เงยหัวพ่นขึ้นด้วย (อย่ากดหัวพ่นต่าลง เพราะเคร่ืองพ่นยูแอลวีจะผลิตละอองใหญ่กว่าการพ่นหมอกควัน และเครื่องพ่นยูแอลวีมีแรงส่งละอองสูงกว่า เคร่อื งพ่นหมอกควัน ถ้าเรากดหวั พน่ ต่าลงละอองจะถูกกดใหต้ กลงพื้นโดยตรงเลยทันที) 6. ให้ยนื ห่างจากประตู หน้าต่าง 3-5 เมตร แล้วเดินพ่นสารเคมีเข้าไปจากทุกประตูหน้าต่างท่ีเปิดรอบๆ บ้านซ่ึงหลังหนึ่งจะใช้เวลาประมาณ 10-15 วนิ าที จากน้ันพ่นไปตามพุ่มไม้รอบๆบ้านอีกประมาณ 10-15 วินาที เช่นกัน 7. หากไม่สามารถยืนพ่นห่างจากบ้านได้ 3 เมตรเน่ืองจากพ้ืนที่ระหว่างบ้านแคบ ให้พ่นเข้าทางที่ช่อง ประตู หน้าต่างท่ีอยู่ที่พอจะยืนพ่นได้ รวมท้ังพ่นเข้าไปทางช่องแคบๆระหว่างบ้านด้วย โดยให้เงยหัวพ่นข้ึนด้วย ละอองจะไดข้ น้ึ ถงึ ชั้นสองดว้ ย และจากนั้นละอองจะค่อยๆลอยลงตา่ เอง 8. การพ่นยูแอลวี จะทาให้ยุงที่เกาะพักภายในบ้านหรอื ตามพุ่มไม้ บินออกมาเน่ืองจากเกิดความระคาย เคือง ดังนัน้ ยงุ มีโอกาสโดนเมด็ ละอองสารที่ลอยล่องอยู่ในอากาศมากขึ้น การพ่นยูแอลวีอาจมีผลทางฤทธิ์ตกค้าง ได้หลายวนั บนผนังบ้าน และตามพุ่มไม้ท่ีพ่นใส่ หากมียงุ บินมาเกาะพักตรงจุดท่ีมีละอองสารเคมีติดอยู่ก็จะทาให้ ยงุ ตัวนน้ั ตายได้
หลักสตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจัดยุงลาย 58 เทคนิคการพ่นเคร่อื งพน่ ยแู อลวีแบบติดต้ังบนรถยนต์ 1. ให้ประชาชนเปิดประตู หน้าต่างบ้านรอการฉีดพ่นทั้งข้างบน ข้างล่าง (จริงๆแล้วการพ่นแบบน้ีน่าจะ สะดวกท่ีสุดสาหรับผู้พ่น และประชาชน เพราะประชาชนไม่ต้องระวังหรือกลัวคนแปลกหน้าจะเข้าไปพ่นยุงใน บา้ นของตัวเอง และเจา้ หนา้ ท่ีก็จะหมดปัญหาเร่อื งเข้าไปพ่นในบ้านชาวบ้านไม่คอ่ ยได้ ขอเพียงแต่ ประชาชนต้อง ปกปดิ อาหารและภาชนะใสอ่ าหาร ย้ายสัตวเ์ ลย้ี ง ยา้ ยคนทีอ่ ยู่ในบ้านออกมากอ่ น) 2. ความเรว็ รถพน่ ควรอยู่ที่ 6-8 กม./ชม. (สานกั โรคตดิ ต่อนาโดยแมลงแนะนาให้ใชค้ วามเรว็ 8กม./ชม.) 3. ทศิ ทางการเดินรถจากใตล้ ม ส่เู หนือลม (ไม่ว่าถนนที่ว่งิ จะขวางทศิ ทางลม หรืออยูใ่ นแนวขนานกบั ลม ก็ตาม หากไม่ใช่กาลังมุ่งสู่ทางต้นลมห้ามปล่อยน้ายาเด็ดขาด ซ่ึงหากพ่นได้ทิศทางตามน้ี จะทาให้ปลอดภัย สาหรบั ผ้พู น่ เพราะไม่ต้องผ่านเขา้ ไปในกลมุ่ ละอองท่ีเราพ่นออกไปแล้ว) 4. หากเครื่องพ่นยูแอลวีติดรถยนต์มีหัวพ่นมากกว่า 1 หัวให้หันหัวไปทางทิศเดียวกันทุกหัว ปรับให้หัว ทามุมเงย 45º กับพื้นถนน และหันทามุม 45º จากแนวท้ายรถเบนไปทางด้านซ้ายของรถยนต์ เพ่ือพ่นให้มี ประสิทธิภาพท่ีสุด (จะพ่นทางด้านซ้ายและขวาพร้อมกันได้ในกรณีท่ีทิศทางรถว่ิงกาลังสวนกับทิศทางลมพอดี หรอื วิ่งพ่นยุงในสวนยางพาราซง่ึ ลมไม่สามารถเข้ามารบกวนได)้ 5. ในกรณที ีถ่ นนแคบวง่ิ รถได้ทางเดียว และตวั อาคารบ้านเรือนอยตู่ ดิ ถนนมากๆ ให้ปรบั หัวพน่ หันหน้าชี้ ไปทางด้านทา้ ยรถเลย เด๋ียวละอองจะกระจายไปซ้ายขวาเอง 6. ถา้ ถนนเป็นซอยตนั ให้วิง่ รถเข้าไปให้สุดทางก่อน แล้วกลบั รถหันทา้ ยรถไปทางทางตัน เสร็จแล้วให้วง่ิ รถออกจากทางตนั น้ัน พรอ้ มทงั้ ปลอ่ ยละอองออกมา 7. การพ่นยูแอววีต้องเงยหัวพ่นขึน้ ละอองจะไดถ้ งึ ชัน้ สองดว้ ย และจากน้ันละอองจะค่อยๆลอยลงต่าเอง 8. ห้ามมิให้เด็กๆตามเล่นละออง หรือบุคคลใดเดินตามรถที่กาลังพ่นสารชนิดติดตามบ้านต่อบ้านโดย เด็ดขาด
หลักสตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 59 สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมในการพน่ ยแู อลวที ั้ง 2 ขนาด 1. เวลาเช้า (06.00-10.00 น.) และบ่ายแก่ๆท่ีแดดร่มลมตกแล้วเหมาะกับเจ้าหน้าท่ีด้วยเพราะไม่ร้อน และยุงลายกาลงั ออกหากินใน ชว่ งเวลาน้ี 2. อากาศเย็นไม่ร้อน เพราะละอองจะลอยต่าทาให้มโี อกาสถูกยงุ สงู 3. ความเร็วลมควรอยู่ที่ 3-13 กม./ชม. ละอองจะล่องลอยไปอย่างช้าๆทาให้มีโอกาสโดนยุงมากขึ้น แต่ ถ้าลมแรงกวา่ นไี้ มค่ วรพ่น เพราะละอองจะปลิวหายไปอย่างรวดเรว็ ควรหยุดรอก่อน 4. ถ้าฝนทาท่าจะตก หรอื ฝนกาลังตก ให้หยดุ การพ่น ควรหาผ้าใบมาคลุมเคร่อื งพ่นกนั น้าเขา้ เครื่องยนต์ และหัวพน่ ความถี่ของการเขา้ พ่นฟงุ้ กระจายในพนื้ ท่นี ้นั ๆ 1. ปกติการพน่ สามารถพน่ ได้เมือ่ มีการยืนยันจากแพทย์ว่าการพบผปู้ ่วยเป็นไข้เลือดออกในพน้ื ที่ 2. หน่วยงานที่ดูแลพื้นที่นั้นสามารถพ่นได้ทันทีในพ้ืนที่ดังนี้ เช่น บ้านพักพนักงาน สานักงาน โรงงาน หรือโรงเรียน เป็นต้น เม่ือสงสัยว่าอาจมีการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นในพื้นท่ีเหล่าน้ี เนื่องจากถ้ารอจน แน่ใจอาจเกิดการระบาดได้เพราะเป็นแหลง่ รวมคนจากหลายๆแหล่งไวด้ ้วยกัน อาจนาไปแพรท่ ีอ่ น่ื ได้ 3. การพ่นซ้า ควรพ่นซ้าอย่างน้อย 1 คร้ังห่างกัน 6-7 วันหลังจากพ่นคร้ังแรกไปแล้ว แต่ถ้าจะพ่น ทั้งหมด 3 ครั้งก็พ่นให้อยู่ภายใน 7 วันนี้ได้ อาจใช้สูตรว่าพ่นวันเว้น 2 วันก็ได้คือ day1 day4 day7 ก็ได้ครบ 7 วันพอดี วตั ถุประสงคก์ ารพ่นซ้า 1. เพ่ือฆ่ายุงที่เกิดใหม่ (ระยะการเจริญจากลูกน้าจนเป็นยุงประมาณ 7-10 วัน) หรือยุงตัวอื่น ท่ีจะมาก กนิ เลือดผ้ปู ่วยซ่งึ ขณะนอ้ี าจยังมีเชอื้ ไวรสั ไขเ้ ลอื ดออกหลงเหลอื อยู่ในกระแสเลือด 2. เพ่ือฆ่ายุงท่ีได้รับเช้ือไปแล้วในรอบแรก แต่อาจรอดชีวิตจากการพ่นสารเคมี ซึ่งเช้ือระยะฟักตัวอยู่ใน ยุง ใช้เวลาประมาณ 8-10 วัน 3. เพื่อฆ่ายุงเกิดใหม่ท่ีเป็นแบบทรานสโอวาเรียนให้หมดไป (คือได้รับเชื้อจากแม่ยุงตอนวางไข่ เมื่อโต ข้ึนมากส็ ามารถแพรเ่ ช้อื ตอ่ ไดเ้ ลย)
หลักสตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 60 การประเมนิ ผลการพ่น ภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากการพ่นยุงเพ่ือหยุดการระบาดของโรค จานวนยุงที่เคยวางไข่แล้ว ควรลดลง เหลือไม่เกิน 10% ของจานวนยุงกอ่ นการพ่น (ยุงท่ีเคยวางไข่แล้ว คือยุงที่เคยกนิ เลือดแล้วนนั่ เอง ยงุ จะวางไข่ได้ ต้องกินเลือดก่อน ซึ่งยุงที่เคยกินเลือดน่ีเองมีโอกาสเป็นยุงที่มีเช้ือไข้เลือดออกอยู่ภายในตัว ดังน้ันยุงพวกน้ีควร ตายให้หมดจึงจะไม่เหลือยุงที่มีเช้ือไปแพร่โรคต่อไป ก็จะหยุดการระบาดได้) ซ่ึงต้องอาศัยผู้เช่ียวชาญด้านกีฏ วิทยาช่วย (แต่อย่างไรกต็ ามไมจ่ าเป็นต้องทาการประเมินน้ีทุกครั้ง เพียงแต่อาจจะมกี ารสุ่มเป็นบางครง้ั เน่ืองจาก กาลังคนไม่เพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามหากเทคนิคการปฏิบัติงานดีแล้ว ก็จะหยุดการระบาดลงได้ และสามารถ ประเมินได้ว่า การปฏิบัติงานได้ผลดี สามารถดาเนินงานได้ทันต่อเหตุการณ์ และที่สาคัญสามารถดาเนินงานได้ ตามวิธีการท่ถี กู ตอ้ งตามมาตรฐาน) ยุงชนิดอ่นื ที่เรามกั พ่นกนั คือ ยุงราคาญไม่ใชย่ ุงลาย 1. การพ่นท่อระบายน้าตามข้างถนน จะควบคุมได้เฉพาะยุงราคาญเท่าน้ันซึ่งก็ยังไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร เพราะหากจะพ่นยุงราคาญ ควรพ่นในตอนยงุ ออกบินหากนิ เช่นกัน เน่ืองจากในตอนกลางวันยุงราคาญไมไ่ ด้หลบ อยู่ในท่อระบายน้าเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีอีกหลายส่วนท่ีหลบอยู่ตามซอกมุมของตัวบ้าน และตามสุมทุมพุ่มไม้ ตา่ งๆ 2. การพ่นตัวยุงราคาญ นับว่าเป็นการกาจัดที่ปลายเหตุ เพราะว่าหากเรามองดูจานวนลูกน้าที่พบเห็น ตามแหล่งน้าคราต่างๆ จะเห็นว่ามีลูกน้าจานวนมากมายมหาศาลเลยทีเดียว และลูกน้าเหล่านี้เองท่ีจะเจริญข้ึน เป็นตัวยงุ ทดแทนยงุ ทเ่ี ราได้ฆา่ ไป 3. ยุงราคาญมักเป็นยุงที่ประชาชนแจ้งให้หน่วยงานราชการไปพ่นให้เสมอ แต่แท้จริงแลว้ ประชาชนไม่รู้ วา่ ไม่ใชย่ ุงลายแตเ่ ป็นยงุ ราคาญ เมอื่ มองดูแหลง่ เพาะพนั ธุข์ องยงุ ราคาญจะเขา้ ใจได้วา่ หากเราไมจ่ ัดการปัญหาที่ ต้นตอแล้วไม่มีวันที่ปัญหาจะจบลงไปได้ เราต้องกาจัดท่ีแหล่งเพาะพันธ์ุโดยตั้งเป้าหมายไว้ว่า อย่าให้มีลูกน้า จานวนมากอาศัยอยู่อีกอย่าให้แม่ยุงมาวางไข่อีก แหล่งน้าคราสภาพน้าต้องดีขึ้น เป็นต้น ในท่ีสุดยุงราคาญก็จะ ลดปริมาณลงเอง
หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 61 แผนการเรยี นหน่วยที่ 4 เร่อื ง แบ่งกลุ่มฝกึ ทักษะปฏบิ ตั ิ/ทดลองการพ่นเคมี/การบารุงรกั ษาเครื่องพ่น วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสามารถซ่อมบารงุ เคร่อื งพ่นหมอกควนั และULV ได้ 2. เพอื่ ให้ผู้เรยี นสามารถใช้งานเคร่อื งพน่ พน่ หมอกควัน และULV เพ่อื กาจัดยุงลายได้ถกู ต้องตามเทคนิค สาระสาคัญ เทคนคิ การซ่อมบารุงเครอ่ื งพ่น และการใชง้ านเคร่ืองพน่ สารเคมเี พื่อควบคมุ กาจดั ยุงลาย จาเป็นต้องมี การสาธิต และฝกึ ปฏิบัติจรงิ เพอื่ ให้เกิดทักษะ และความชานาญ องคป์ ระกอบเนื้อหา 1.การฝึกปฏิบัตเิ ทคนิคการซอ่ มบารุงเครื่องพ่น และเทคนคิ การใชง้ านเคร่ืองพ่นเพื่อควบคมุ กาจัดยุงลาย ระยะเวลา 2 ชั่วโมง 30 นาที ขน้ั ตอนและวธิ นี าเสนอ แบง่ กลุ่มฝกึ ปฏบิ ตั ิ ข้ันตอนการอบรม กิจกรรมการอบรม สอื่ และอุปกรณ์ประกอบ ขั้นนาเขา้ สูบ่ ทเรียน - วทิ ยากรให้ผเู้ ขา้ อบรมแบง่ กลุม่ เปน็ 4 กลุ่ม เขา้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ (10 นาที) เทคนิคการซ่อมบารุงเคร่อื งพ่น และเทคนิคการใช้งานเครื่อง - เครือ่ งพน่ หมอกควนั พ่นเพื่อควบคุมกาจัดยุงลาย และULV ขัน้ อบรม - เครือ่ งมือซ่อมบารุง (2 ชัว่ โมง 10 นาท)ี - วิทยากรกลมุ่ อธบิ าย และสาธิตวธิ กี ารตรวจสอบ ซ่อมแซม - สารเคมี และวสั ดุ เทคนิคการใชง้ านเครอื่ งพ่น และให้ผู้เข้าอบรมฝกึ ทักษะการ อุปกรณ์ ท่ีใช้ผสมสารเคมี ซอ่ มแซมและเทคนิคการใชง้ านเครื่องพน่ ฐานละ 1 ช่ัวโมง - อุปกรณ์การป้องกันการ 15 นาที สมั ผัสสารเคมี เช่น ถุงมอื ยาง หน้ากากอนามัย ขน้ั สรุป ( 10 นาที) - สรุปผลการฝึกฝนทักษะ ปัญหาและข้อเสนอแนะ
หลักสตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคุมและกาจัดยุงลาย 62 ใบงานท่ี 1 หัวข้อ : การฝึกปฏบิ ตั ิการซ่อมและการบารุงรกั ษาเครอ่ื งพ่นสารเคมี คาชแ้ี จง : หลงั จากท่ีได้บรรยายเกยี่ วกบั เครื่องพ่นเคมใี นภาคทฤษฎีแล้ว ใหด้ าเนนิ การดังน้ี 1.แบ่งกลุม่ 4 กลุ่มๆละ 5 คน โดยฐานจะแบง่ ดังนี้ ฐานที่ 1-2 เครื่องพน่ หมอกควัน ฐานท่ี 3-4 เครอ่ื งพ่นฝอยละออง 2. ฝึกปฏิบัติการแก้ไขขอ้ ขดั ข้องเครื่องพ่นสารเคมีและการซ่อมบารุงรกั ษาเครื่องพน่ สารเคมชี นิดต่างๆ แตล่ ะกลุ่มจะต้องฝกึ ฐานเครอ่ื งพน่ หมอกควนั เวลา 1 ชว่ั โมง และเครื่องพน่ ฝอยละออง 1 ชว่ั โมง ใบงานท่ี 2 หวั ข้อ : การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารพ่นภาคสนาม คาชี้แจง : หลงั จากท่ีไดบ้ รรยายเกี่ยวกบั เครื่องพ่นเคมีในภาคทฤษฎีแล้ว ใหด้ าเนนิ การดังน้ี 1.แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มๆละ 5 คน โดยฐานจะแบ่งดังน้ี ฐานท่ี 1-2 เครอ่ื งพน่ หมอกควนั ฐานที่ 3-4 เคร่อื งพน่ ฝอยละออง 2. ฝึกปฏิบตั กิ ารพน่ สารเคมีในสถานทจ่ี ริง แตล่ ะกลุม่ จะต้องฝกึ ฐานเครื่องพน่ หมอกควนั เวลา 30 นาที และเครื่องพ่นฝอยละออง 30 นาที 3. หลงั จากการพน่ เสร็จสิ้นทุกคนในกล่มุ วิทยาการสรปุ ผลการประเมนิ ผลเบ้ืองตน้ รายบุคคล
หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 63 เอกสารอา้ งอิง 1. 2. สานกั โรคติดตอ่ นาโดยแมลง กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข. 2558. คมู่ ือการใชส้ ารเคมเี ครอื่ ง พน่ สาหรบั ผูป้ ฏิบัตกิ ารเพือ่ ปอ้ งกันและควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก 3. สานกั โรคตดิ ตอ่ อบุ ัตใิ หม่ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข .2555. คมู่ ือการป้องกันควบคุมโรคติดตอ่ อุบัติใหม่ สาหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ปี 2554 โรงพิมพ์สานักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ , กรงุ เทพ 261-267 น. 3. สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข .2559. คู่มือวิชาการโรคติดเชื้อเดงก่ี และโรคไข้เลือดออกเดงกี่ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย, กรงุ เทพ 4. สานักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 5 จังหวัดนครราชสีมา กรมควบคุมโรค .เอกสารประกอบหลักสูตรการอบรม เชิงปฏิบัติการเทคนิคการพ่นสารเคมีเพ่ือควบคุมและกาจัดยุงลาย สาหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัตงิ านควบคุม การระบาดของโรคไขเ้ ลือดออกในชุมชน
หลักสตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 64 ภาคผนวก
หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 65 หลกั สูตรเทคนิคการพน่ สารเคมเี พ่ือควบคุมและกาจัดยุงลาย วทิ ยากร สานักงานป้องกันควบคมุ โรคท่ี 3 จงั หวดั นครสวรรค/์ ศูนยค์ วบคมุ โรคติดตอ่ นาโดยแมลง ผ้เู ขา้ รับการอบรม ทมี พ่นเคมีควบคมุ ยงุ ลายขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ /สาธารณสขุ ระยะเวลาในการอบรม 2 วัน เวลา เนอ้ื หา /กจิ กรรม วนั ที่ 1 08.00 - 08.30 น. ลงทะเบยี น 08.30 – 09.00 น. พิธเี ปิดการอบรม 09.00 - 09.30 น. ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม (Pre test) 09.30 - 10.30 น. บรรยายความร้พู น้ื ฐานโรคติดต่อนาโดยยงุ ลายและหลักการควบคมุ โรค 10.30 - 12.00 น. บรรยายความรู้เรือ่ งสารกาจัดแมลง และการปอ้ งกนั อนั ตรายจากสารเคมีท้ังตนเองและ ชมุ ชน 12.00 - 13.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. บรรยายความรู้ 1. เทคนิคการเตรียมชุมชน และการประสานงานชุมชนก่อนพ่นสารเคมี 2. ขอ้ ควรระวงั ในการพ่นสารเคมีเทคนิคการพ่นสารเคมี 3. เทคนคิ การพ่นและผสมสารเคมี การแกไ้ ขข้อขดั ขอ้ งเคร่ืองพ่นสารเคมี และการซ่อม บารุงรกั ษาเครอื่ งพ่นสารเคมีชนิดต่างๆ 14.30 – 16.30 น. แบง่ กล่มุ ฝกึ ปฏบิ ัติเทคนิคการซ่อมบารุงเครื่องพน่ และเทคนิคการใช้งานเคร่อื งพน่ เพือ่ ควบคมุ กาจัดยุงลาย 4 กลุม่ ๆละ 5 คน เนอื้ หาประกอบด้วย 1. การพน่ สารเคมี 2. การผสมสารเคมี 3. การแก้ไขข้อขัดขอ้ งเคร่ืองพ่นสารเคมีและการซ่อมบารงุ รกั ษาเคร่ืองพ่นสารเคมีชนดิ ต่างๆ * หมายเหตุ เครอ่ื งมาตรฐานของวทิ ยากร
หลักสตู รเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 66 หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พ่ือควบคุมและกาจัดยงุ ลาย วิทยากร สานักงานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 3 จงั หวัดนครสวรรค/์ ศูนย์ควบคมุ โรคติดต่อนาโดยแมลง ผเู้ ขา้ รับการอบรม ทีมพน่ เคมีควบคุมยุงลายขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน /สาธารณสุข ระยะเวลาในการอบรม 2 วัน เวลา เนือ้ หา /กจิ กรรม วนั ท่ี 2 แบ่งกลุ่มฝกึ ปฏิบัติ 4 กลุม่ ๆละ 5 คน เพื่อฝึกการผสมสารเคมแี ละการแกไ้ ขข้อขัดขอ้ ง 09.00 – 11.30 น. เคร่ืองพ่นสารเคมีและการซ่อมบารุงรักษาเครื่องพน่ สารเคมีชนิดตา่ งๆ - การแบง่ ฐานปฏิบัติ กลุม่ ละ 5 คน กลุ่มละ 60 นาที รวม 2 ชวั่ โมง 11.30 – 12.00 น. ฐานที่ 1-2 เคร่ืองพ่นหมอกควัน 13.00 - 15.00 น. ฐานท่ี 3-4 เคร่ืองพน่ ฝอยละออง 15.00 – 15.30 น. เดินทางไปภาคสนามเพ่ือฝึกปฏบิ ัติจริง 15.30 - 16.30 น. - การแบ่งกล่มุ ปฏบิ ตั ิพ่นภาคสนาม 4 กลมุ่ ๆ ละ 5 คน กลมุ่ ละ 30 นาที รวม 1 ชว่ั โมง - ฐานที่ 1-2 ฝกึ พน่ ฝอยละออง - ฐานท่ี 3-4 ฝกึ พน่ หมอกควัน สรุปการประเมินการพน่ เบ้อื งตน้ *หมายเหตุใหผ้ ูเ้ ข้ารว่ มประชุมนาเคร่ืองหน่วยงานมา ทดสอบความร้หู ลังการอบรม (Post test) อภปิ ราย ตอบข้อซักถาม มอบใบประกาศ และปิดการอบรม
หลักสตู รเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 67 แบบทดสอบหลักสูตรเทคนคิ การพน่ สารเคมีสารเคมีและกาจัดยุงลาย คาชแ้ี จง โปรดกาเครื่องหมาย x คาตอบท่ีถกู ต้อง ลงในกระดาษคาตอบ 1. ยุงลาย สามารถนาโรคได้ 3 โรค ไดแ้ กโ่ รคใดบ้าง 1.โรคไข้เลือดออก 2.โรคไขป้ วดข้อยุงลาย 3.โรคติดเชอ้ื ไวรสั ซิกา 4. โรคไข้มาลาเรยี ก. 1, 3, 4 ข. 2, 3, 4 ค. 1, 2, 3 ง. 1, 2, 4 2. โรคไข้เลือดออก เกดิ จากเชอ้ื ชนดิ ใด ก. เช้ือไวรสั ข. เชอื้ แบคทีเรยี ค. เชื้อรา ง. เช้ือริคเกตเซีย 3. ระยะฟักตวั ของเชื้อไขเ้ ลอื ดออก ใน ตวั คน ยาวท่สี ุดกีว่ ัน ก. 3 วนั ข. 5 วัน ค. 10 วนั ง. 14 วัน 4. ข้อใด ถูกต้อง มากทีส่ ุด ก. โรคไขเ้ ลอื ดออกเกิดเฉพาะกลุ่มเด็ก ข. โรคไข้เลอื ดออกเกดิ ได้กับผู้ใหญ่ ค. โรคไข้เลือดออกเกดิ กบั วยั กลางคน ง. โรคไข้เลอื ดออกเกิดได้กับทุกวยั 5. ยงุ พาหะทนี่ าเช้อื ไข้เลอื ดออก ส่วนใหญ่ ออกหากนิ เลอื ดเวลาใด ก. เชา้ ข. เท่ียง ค. กลางคืน ง. ชว่ งเวลากลางวนั 6. การป้องกัน โรคไขเ้ ลือดออก ใน คน ทาได้อย่างไร ก. นอนในมุ้ง ข. ใชย้ าทากนั ยงุ ค. จุดยากันยงุ ง. ถกู ทุกข้อ 7. วธิ ีการ ปอ้ งกันโรคไขเ้ ลอื ดออก ทด่ี ีที่สุดในหมบู่ า้ น คือ ก. พน่ สารเคมีกาจัดยงุ ทุก 1-2 เดือน ข. ทกุ บา้ นกาจดั ลูกนา้ ทุก 7 วนั พร้อมๆ กัน ค. ทกุ หลังคาเรือนติดมุ้งลวดกันยุง ง. กาจดั ลกู น้าเป็นประจาเฉพาะบ้านท่ีมเี ดก็ เทา่ นน้ั ก็พอ 8. ข้อใด ถูกต้อง ทสี่ ุด ก. สารเคมที พี่ น่ ยุงเปน็ วธิ ีการทไี่ ดผ้ ลท่ีสดุ ข. การใสท่ รายกาจัดลกู นา้ อย่างเดยี วกป็ ้องกนั ไข้เลอื ดออกได้ ค. การใช้ปลากินลูกนา้ ดีกวา่ การใส่ทรายกาจัดลูกน้า ง. ไม่มขี ้อถูก 9.ข้อใด คือการปฏบิ ัตใิ นการพน่ สารเคมีกาจัดยงุ ลายท่ี ถูกต้อง ก. ตอ้ งคานึงถึงความแรงของสารเคมี ข. พน่ เวลาไหนก็ไดผ้ ลดเี หมือนกัน ค. พน่ ตามท่อระบายน้าทิ้ง ง. พ่นตามเทคนคิ ของชนดิ เครือ่ งพ่นทใ่ี ชพ้ ่น
หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 68 10.ข้อใดตอ่ ไปนี้ ถูกต้อง มากท่ีสดุ ก. การซื้อสารเคมีพ่นยุงต้องดูทร่ี าคาถูกก่อน ข. การพน่ สารเคมีบ่อยๆ ยงุ อาจด้ือต่อสารเคมีได้ ค. การผสมสารเคมี 2 ชนิดพ่นยุง จะได้ผลดีกว่าผสมชนิดเดียว ง. พน่ หมอกควันแล้ว หมูบ่ ้านนน้ั กจ็ ะปลอดภยั จากโรคไข้เลือดออก 11. สง่ิ ที่ทาใหก้ ารพ่นสารเคมีไดผ้ ลดที ี่สุด คือข้อใด ก. เคร่อื งต้องใหม่ใชง้ านมาไม่นาน ข. พน่ พร้อมกนั หลายๆ เครือ่ งใหค้ รอบคลมุ และแลว้ เสร็จในเวลาอันรวดเร็ว ค. ใช้เครอื่ งพ่นชนดิ หมอกควันหรอื ฝอยละอองก็ไดผ้ ลเทา่ ๆ กัน ง. ใชเ้ ครือ่ งพ่นตดิ รถยนต์ได้ผลดกี วา่ เดนิ พน่ 12. สารเคมี สามารถเขา้ สูท่ างรา่ งกายของคนและสตั ว์ ได้ทางใดบา้ ง ก. ทางปาก (Ingestion) ข. ทางผวิ หนงั (Skin absorption) ค. ทางจมกู (Inhaltion) ง. ถูกทกุ ข้อ 13. ผ้ปู ฏบิ ัติงานควบคุมโรคด้วยสารเคมี จะต้องมีองค์ความรู้ ตามหลกั การพ่นสารเคมี ตามขอ้ ใด ก. ความรู้ดา้ นชวี นิสยั ของแมลงเป้าหมาย เพ่ือให้รวู้ า่ ควรพ่นทไ่ี หน เมื่อไร จึงจะได้ผลดี ข. ชนิดและสตู ร (formulation) ของสารกาจัดแมลงท่ีเหมาะสมกบั เครื่องพน่ ค. เทคนคิ การใชเ้ ครื่องพ่น คือ จะใชเ้ คร่ืองพ่นอะไร และใช้อยา่ งไร ง. ถูกทกุ ข้อ 14. ข้อใด คือชนิดของเครอื่ งพน่ สารเคมี ท่ีใช้ในการควบคุม ยุงลาย ก. เคร่ืองพน่ หมอกควัน ข. เครื่องพน่ ฝอยละเอียด ยูแอลวี ค. เครื่องพ่นชนิดอดั ลม ง. ถกู เฉพาะ ข้อ ก. และ ข. 15. จงเรียงลาดับ ขัน้ ตอนการ ดับเครอื่ งพ่นหมอกควนั ท่ีถกู ตอ้ ง 1. เปิดคลายฝาถังน้ายาเคมี และถังน้ามันเพื่อปล่อยแรงดัน 2. ปิดวาล์วนา้ มัน เพ่ือดับเครื่อง 3. ปดิ วาล์วปล่อยน้ายาเคมี และปลอ่ ยใหเ้ ครือ่ งทางานจนหมอกควนั ออกหมดแลว้ ก. 1, 2, 3 ข. 2, 3, 1 ค. 3, 2, 1 ง. 3, 1, 2 16. การเกดิ ไฟลุกไหม้ปลายท่อเคร่ืองพน่ เกดิ จากสาเหตุใด ก. เคร่ืองพน่ ดบั กะทันหัน ขณะกาลงั ปล่อยนา้ ยาเคมี ข. ปรับหัวฉีดไมไ่ ด้ขนาด ค. สบู บหุ ร่ีขณะพน่ สารเคมี ง. พน่ ใกลผ้ นงั บ้านเกนิ ไป
หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 69 17. เคร่ืองพ่นฝอยละเอยี ด ยูแอลวี ใบพัดลมเครื่อง (Blower) ทางาน แต่พ่นน้ายาไม่ออก ควรตรวจสอบ สว่ นประกอบของเครอื่ ง ส่วนใดบ้าง ก. สายน้ายา ข. กรองน้ายาเคมี ค. วาลว์ ปิด เปดิ น้ายา ง. ถูกทุกขอ้ 18. น้ามนั ชนดิ ใด ท่ีใชเ้ ปน็ ตวั ผสมสารสารเคมี สาหรับการพน่ ควบคุมยุง ก. นา้ มนั เบนซนิ ข. น้ามนั ก๊าด ค. น้ามันดเี ซล ง. น้ามนั พืช 19. สิ่งท่ี ไม่ ควรทาในขณะทาการพน่ สารเคมี คือข้อใด ก. พ่นในบา้ นก่อนนอกบา้ น ข. พ่นรอบๆ บ้านก่อนค่อยพ่นในบา้ น ค. พน่ โดยการยนื อยเู่ หนือลม ง. อาบน้าชาระรา่ งกายทันทีหลงั พน่ สารเคมี 20. เม่อื ทา่ นทาการพน่ สารเคมีได้ครึ่งหมู่บ้าน แตเ่ คร่อื งเสีย ท่านจะแกป้ ญั หาอย่างไร ก. หยดุ พ่นไปกอ่ นวนั รุง่ ขึน้ คอ่ ยพน่ ต่อสว่ นท่เี หลือ ข. รบี ซ่อมแซมแกไ้ ขเคร่อื งภายใน 3 ชวั่ โมงแล้วพน่ ตอ่ ค. ยมื เคร่ืองที่อน่ื มาพน่ ต่อทนั ที หรอื เตรียมเคร่อื งสารอง ง. ขอ้ ข.และ ข้อ ค. ถกู **************************************
หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอ่ื ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 70 แบบประเมินการฝกึ ปฏบิ ตั ิ เทคนคิ การพ่นสารเคมีเพ่ือควบคมุ และกาจดั ยุงลาย หัวข้อประเมนิ การปฏบิ ัติ ถกู ตอ้ ง ไมถ่ ูกต้อง 1.ความร้เู ร่ืองเครือ่ งพน่ การพ่น และการบารงุ รกั ษาเครื่องพ่น 1) สามารถบอกชนดิ ของเครือ่ งพ่นได้ถูกต้อง 2) การตรวจสอบเครื่องพ่นกอ่ นใช้งาน ตรวจถงั น้ามนั เชือ้ เพลิง / ถงั สารเคมี ตรวจระบบไฟ / หวั เทียน 3) วิธีการดับเครื่องเมื่อใช้งานเสร็จ 2.การฝกึ ปฏิบัติการพ่นภาคสนาม 1) การแจ้งชมุ ชนกอ่ นการการพ่น / เตรียมชุมชน 2) การหาทิศทางลมก่อนการพ่น 3) การวางแผนเส้นทางการพน่ 4) อัตราความเร็วในการพ่นสารเคมี 5) การผสมสารเคมี / อัตราการผสม และปรมิ าตรท่ใี ช้ 6) เทคนิคการพ่น ตามประเภทชนิดเคร่อื งพ่น รวมคะแนน
หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมี เพอื ควบคมุ และกําจดั ยงุ ลาย สาํ นกั งานปองกนั ควบคมุ โรคที 3 จงั หวดั นครสวรรค์ 2563
Search