Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคนิคการพ่นสารเคมีเพื่อควบคุมและกำจัดยุงลาย

เทคนิคการพ่นสารเคมีเพื่อควบคุมและกำจัดยุงลาย

Published by phattadon, 2021-03-15 05:16:33

Description: หลักสูตรเทคนิคการพ่นสารเคมีเพื่อควบคุมและกำจัดยุงลาย _paper

Search

Read the Text Version

กรมควบคมุ โรค Department of Disease Control หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมี เพอื ควบคมุ และกําจดั ยงุ ลาย หลกั สูตรเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอื ควบคุมและกาํ จดั ยงุ ลาย ไดผ้ ่านการตรวจ ประเมนิ และรับรองมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์เพือการเฝาระวงั ปองกัน ควบคุมโรค และภัยสขุ ภาพ กรมควบคุมโรคแลว้ ณ วนั ที 6 พฤศจกิ ายน 2563

ช่ือเรอ่ื ง เทคนิคการพ่นสารเคมีเพื่อควบคมุ และกาจัดยุงลาย “ ได้ผ่านการตรวจประเมนิ และรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑเ์ พื่อการเฝา้ ระวัง บรรณาธิการ ป้องกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค เมื่อวนั ท่ี 6 พฤศจิกายน ผู้เขยี น 2563 ” ทป่ี รกึ ษา นางสาววริ ชั ยา คงถาวร นางสาวจริ วรรณ ทวเี ขตกรณ์ นางสาววริ ชั ยา คงถาวร นางสาวจริ วรรณ ทวีเขตกรณ์ ออกแบบ นายสามารถ เฮียงสุข นายอานวุ ัฒ ราณรงค์ ISBN (e-book) นายแพทย์ ดเิ รก ขาแปน้ ผู้อานวยการสานักป้องกันควบคุมโรคท่ี 3 พมิ พ์ จงั หวดั นครสวรรค์ กรมควบคุมโรค จานวนพมิ พ์ นายบญุ เสรมิ อว่ มอ่อง กองโรคติดตอ่ นาโดยแมลง กรมควบคุมโรค พมิ พ์ที่ นายโกเมศ อุนรัตน์ สานักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 3 จงั หวัดนครสวรรค์ จัดพิมพโ์ ดย นายประเทือง ฉ่าน้อย สานักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 3 จังหวัดนครสวรรค์ นางสาววิรัชยา คงถาวร นางสาวสภุ าพร ยงั มงคล ลขิ สิทธิ์ของ 978-616-11-4507-1 2563 0 สานักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ สานกั งานป้องกันควบคมุ โรคที่ 3 จังหวดั นครสวรรค์ 516/66 หมู่ 10 ตาบลนครสวรรคต์ ก อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000 โทร.056-221822 เวบ็ ไซต์ http://odpc3.ddc.moph.go.th/index.php สานกั งานป้องกนั ควบคุมโรคท่ี 3 จงั หวัดนครสวรรค์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง่ ชาติ หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย.-- นครสวรรค์ : สานกั งานป้องกันควบคุมโรคท่ี 3 จงั หวัดนครสวรรค์ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ , 2563 74 หนา้ . 1. ยงุ ลาย -- การปอ้ งกนั และควบคุม. 2. ไข้เลือดออก -- การปอ้ งกันและควบคุม. I. วิรัชยา คงถาวร. II. ชอื่ เรอ่ื ง. 614.4323 ISBN 978-616-11-4507-1 Wiratchaya Kongthaworn, Jirawan Thaweekhatgorn, Samart Heangsukh, Arnuwat Rannarong. Chemical spraying techniques to control and eliminate mosquitoes (Aedes spp.). Nakhon Sawan province. Office of Disease Prevention and Control 3. 2563.

คำนำ “โรคติดต่อนำโดยยุงลำย” เป็นปัญหาทางสาธารณสุขท่ีสาคัญของประเทศไทย โดยมียุงลายบ้าน (Aedes aegypti.) และยุงลายสวน (Aedes Albopictus.) เป็นพาหะนาโรคหลัก จากรายงานการระบาดของ โรคทางสถิติในปัจจุบันยังมีอัตราผู้ป่วยสูงและพบผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ทุกปี การควบคุมและกาจัดยุงลายเป็น ยทุ ธศาสตร์สาคัญของกระทรวงสาธารณสุขทใี่ ชใ้ นการปอ้ งกันและควบคุมโรค ซึ่งทาไดท้ ั้งวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมี ท้ังนี้ในปัจจุบันยังต้องเน้นการใช้วิธีทางเคมีเม่ือเกิดการระบาดของโรค เพ่ือลดอุบัติการณ์การเกิดโรค มาตรการหลักในการควบคุมยุงลายพาหะนาโรคติดต่อนาโดยยุงลาย คือ การใช้ทรายเคลือบสารทีมีฟอสในการ ควบคุมกาจัดลูกน้ายุงลาย และการพ่นสารเคมีแบบหมอกควัน(fogging) หรือพ่นฝอยละเอียด(ULV) โดยมีรัศมี การพ่น 100 เมตรรอบพ้นื ท่กี ารระบาด แต่อย่างไรก็ตามการควบคุมกาจัดยุงลายโดยวิธีทางเคมี จะต้องดาเนินการด้วยความระมัดระวัง เน่ืองจากการใช้สารเคมีในการควบคุมยุงลายมีมากข้ึนท้ังในภาวะระบาดและไม่ระบาด รวมถึงผู้ดาเนินการพ่น สารเคมคี วบคุมโรคมีหลายหน่วยงานทั้งกระทรวงสาธารณสขุ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น และประชาชน ซึ่งอาจ ขาดความรู้ความเขา้ ใจในการเลือกใชส้ ารเคมี การผสมสารเคมี ชนิดของเคร่ืองพ่น เทคนิคการพ่นท่ีถูกต้อง และ การใช้สารเคมีชนิดเดียวตดิ ต่อกันเป็นเวลานานอาจจะส่งผลทาใหย้ ุงสรา้ งความต้านทานต่อสารเคมีขึ้นมาได้ หาก เกิดการสร้างความต้านทานของยุงต่อชนิดสารเคมีในแต่ละพื้นที่ การใช้สารเคมีก็จะประสบปัญหาความยุ่งยาก และไมไ่ ดผ้ ลในการควบคมุ ตามมา หลักสูตรเทคนคิ การพ่นสารเคมี เพอ่ื ควบคุมและกาจดั ยุงลาย จึงเป็นแนวทาง หลกั วิชาการ สาหรับการ ควบคุมพาหะโรคติดต่อนาโดยแมลง ที่มียุงลายเป็นพาหะนาโรค สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัด นครสวรรค์ จึงจัดทาคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการพ่นสารเคมี เพ่ือควบคุมและกาจัดยุงลาย โดยนาองค์ ความรู้ไปปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งหวังผลสูงสุดในการลดการระบาด และ จานวนผปู้ ว่ ยจากยงุ ลาย งานโรคติดตอ่ นาโดยแมลง สานกั งานป้องกันควบคุมโรคท่ี 3 จงั หวัดนครสวรรค์

สำรบัญ หน้ำ คำนำ 4 หน่วยท่ี 1 ความรู้พืน้ ฐานเรื่องโรคไขเ้ ลือดออก โรคติดเช้ือไวรัสซกิ า 18 25 โรคไขป้ วดขอ้ ยุงลาย และยุงลายพาหะนาโรค 61 หนว่ ยที่ 2 ความรู้เรื่องสารเคมีกาจัดแมลงและการป้องกนั อนั ตรายจากสารเคมี 64 ทัง้ ตนเอง และชมุ ชน หน่วยที่ 3 เทคนคิ การเตรยี มชมุ ชน และเทคนิคการพน่ สารเคมี การผสมสารเคมี การแก้ไข ข้อขดั ข้องเคร่อื งพ่นสารเคมี และการซ่อมบารุงรักษาเครื่องพ่นสารเคมชี นดิ ต่างๆ หน่วยที่ 4 แบง่ กลมุ่ ฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั /ิ ทดลองการพ่นเคม/ี การบารงุ รักษาเคร่ืองพน่ ภาคผนวก

หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 1 คาชี้แจงหลกั สูตรอบรม เทคนคิ การพ่นสารเคมีเพ่ือควบคมุ และกาจัดยุงลาย วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร เพื่อให้นักวิชาการสาธารณสุขของสานักงานป้องกันควบคุมโรค นาไปใช้เป็นแนวทางในการจัดอบรม ผู้ปฏิบัติงานด้านควบคุมโรคติดต่อนาโดยยุงลายให้มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติและมีโอกาสแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ที่ดีตอ่ การป้องกนั ควบคมุ โรคติดตอ่ นาโดยยงุ ลาย ขอบเขตเน้อื หาของหลกั สูตร คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการพ่นสารเคมีเพ่ือควบคุมและกาจัดยุงลาย เป็นหลักสูตรการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สาระสาคญั ของคู่มอื เล่มน้ี แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น ประกอบดว้ ย ส่วนที่ 1 คาแนะนาการใช้คู่มือ หลักการสาคัญในการฝึกอบรม การเตรียมการอบรมสาหรับผู้จัดการ อบรม (การติดต่อประสานงาน การเตรียมผู้เข้ารับการอบรม การเตรียมสถานท่ี) และการเตรียมการสาหรับ วทิ ยากร ส่วนที่ 2 หลักสูตรและเน้ือหาการอบรม กล่าวถึง โครงสร้างหลักสูตรประกอบด้วย ลักษณะของ หลักสูตร วัตถุประสงค์ ระยะเวลาการอบรม หัวข้อการอบรม ตารางการอบรมและแผนการสอน รวมทั้ง แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม กิจกรรมสร้างสัมพันธภาพ ใบงาน ใบความรู้แบบวัดและประเมินผล การฝึกอบรม เนื้อหา ความรู้พื้นฐานเรื่อง โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ยุงพาหะ นาโรค สารเคมีควบคมุ ยุงลาย เครื่องพ่นสารเคมีในงานควบคุมโรค เทคนิคการพ่นสารเคมี การป้องกันตนเองให้ ปลอดภัยจากสารเคมี ฝึกปฏิบัติ/ทดลองการพ่นเคมี/การบารุงรักษาเครื่องพ่นในภาคสนาม ฝึกปฏิบัติการพ่น สารเคม(ี ในพ้นื ทจ่ี ริง) สว่ นท่ี 3 ภาคผนวก กล่าวถงึ ตารางการฝึกอบรม และรายละเอยี ดช้นิ ส่วน และอะไหลเ่ ครื่องพน่ สารเคมี แตล่ ะชนดิ ดังน้ัน นักวิชาการสาธารณสุขหรือวิทยากร ควรทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาของหลักสูตร แผนการ สอน ใบงาน ใบความรู้ การวัดและประเมินผล ในคู่มือเล่มนี้ให้เข้าใจก่อนดาเนินการจัดอบรม หากมีข้อบกพร่องหรือ ข้อเสนอแนะประการใด กรุณาบันทึกไว้เพ่ือเป็นข้อมูลที่มีคุณค่าอย่างย่ิงในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมให้มี ประสิทธิภาพย่งิ ข้นึ หลักการสาคัญในการฝกึ อบรม หลักการสาคัญในการจัดฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการพ่นสารเคมีเพ่ือควบคุมและกาจัดยุงลาย ประกอบด้วยหลกั สาคัญ 3 ประการคือ 1. การยอมรับความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียนนับได้ว่า เป็นปัจจัยท่ีสาคัญท่ีสุดที่จะส่งผลให้การ อบรมประสบผลสาเร็จ ท้ังน้ีผู้จัดการอบรมและวิทยากรต้องยอมรับ และเช่ือว่าผู้เรียนมีความสามารถและมี ศักยภาพในการดาเนนิ งานปอ้ งกันควบคุมโรคติดต่อนาโดยยงุ ลายและพ่นสารเคมีได้ 2. วิทยากร/ผู้จัดการอบรมควรทาหน้าท่ีเป็น Facilitator สร้างบรรยากาศในการอบรมให้เกิดการ แลกเปลยี่ นเรียนรอู้ ยา่ งเป็นกันเอง และช่วยเพ่ิมเติมความรู้รวมถงึ ให้ข้อมลู ตา่ งๆที่จาเป็น ไมค่ วรสร้างกฎระเบียบ

หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจัดยุงลาย 2 ท่ีเข้มงวด และวางแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อการแก้ไขปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนในการอบรมให้สามารถดาเนินการได้ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามท่กี าหนดไว้ 3. การถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรควรศึกษาหลักสูตร และเตรียมการสอนให้ พร้อม รักษาเวลาและเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมได้แสดงความคิดเห็น โดยสรุปประเด็นท่ีได้จากความ คิดเหน็ เช่อื มโยงกบั ความถกู ต้องทางวชิ าการได้ชัดเจน คุณสมบัติวิทยากร : มีประสบการณ์ด้านการทางานการควบคุมโรคติดต่อนาโดยแมลง ด้านเคร่ืองพ่นสารเคมี (การบารุงรักษา/ซ่อมเคร่ืองพ่นสารเคมี/เทคนิคการพ่นสารเคมี) ไม่น้อยกว่า 3 ปี และผ่านการอบรมด้านการ ควบคมุ โรคตดิ ต่อนาโดยแมลงจากกองโรคตดิ ตอ่ นาโดยแมลง ไม่น้อยกวา่ 1 คร้ัง ผูเ้ ขา้ รบั การอบรม : ทมี ควบคมุ โรคพ่นสารเคมคี วบคมุ ยงุ ลายขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ /สาธารณสขุ ระยะเวลาในการอบรม : 2 วนั เวลา เนือ้ หา /กจิ กรรม วันที่ 1 8.00 - 8.30 น. ลงทะเบียน 8.30 - 9.00 น. พธิ ีเปดิ การอบรม 9.00 - 9.30 น. ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม (Pre test) 9.30 - 10.30 น. บรรยายความรพู้ ื้นฐานโรคตดิ ตอ่ นาโดยยงุ ลายและหลักการควบคุมโรค 10.30 - 11.30 น. บรรยายความรเู้ รอ่ื งสารกาจัดแมลง 11.30 - 12.00 น. บรรยายเทคนคิ การเตรียมชุมชน และการประสานงานชุมชนกอ่ นพ่นสารเคมี และข้อควรระวงั ในการพน่ สารเคมี 12.00 - 13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. บรรยายระบบเครื่องพ่นสารเคมี การผสมสารเคมี เทคนิคการพ่นสารเคมี การแก้ไขข้อขดั ข้อง และการซอ่ มบารุงรักษาเคร่อื งพน่ สารเคมชี นิดตา่ งๆ 14.30 - 16.30 น. แบง่ กลุ่มฝึกปฏบิ ตั ิการพน่ สารเคมี การผสมสารเคมี การแกไ้ ขข้อขัดข้อง และการซ่อมบารุงรักษาเคร่ืองพ่นสารเคมีชนิดต่างๆ แบ่งกลมุ่ ฝึกปฏิบัติ 4 กลุม่ วนั ที่ 2 9.00 - 12.00 น. แบ่งกลุม่ ฝกึ ปฏบิ ัติการพ่นสารเคมี การผสมสารเคมี การแกไ้ ขข้อขดั ข้อง และการซ่อมบารุงรกั ษาเครื่องพ่นสารเคมชี นิดต่างๆ แบ่งกลมุ่ ฝกึ ปฏิบตั ิ 4 กลุม่ (ตอ่ ) 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวนั 13.00 - 15.00 น. แบง่ กลุ่มฝกึ ปฏิบัติการพ่นเคร่ืองพน่ ทั้ง 2 ชนดิ ภาคสนาม และสรปุ การประเมนิ การพ่นเบื้องตน้ การแบง่ กลุ่มปฏบิ ตั ิ 2 กลมุ่ ๆ กล่มุ ละ 60 นาที 15.00 - 15.30 น. ทดสอบความรูห้ ลงั การอบรม (Post test) 15.30 - 16.30 น. อภิปรายซกั ถาม มอบใบประกาศ และปดิ การอบรม

หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 3 การประเมินผล และวิธีการประเมินการฝึกอบรม : การประเมินผล และวิธีการประเมินการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 สว่ น ดงั นี้ 1. วิธกี ารประเมนิ  การทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม (Pre-test & Post-test) โดยใช้วิธีการทาแบบทดสอบ จานวน 20 ข้อ (หนว่ ยที่ 1 จานวน 7 ข้อ หนว่ ยที่ 2 จานวน 8 ข้อ และหน่วยท่ี 3 จานวน 5 ขอ้ )  การฝึกทักษะปฏิบัติ/ทดลองการพ่นสารเคมี/การบารุงรักษาเครื่องพ่นสารเคมี โดยใช้ใบงาน จานวน 2 ใบงาน ดังน้ี ใบงานท่ี 1 หัวข้อการฝึกปฏิบัติการซ่อม และการบารุงรักษาเครือ่ งพ่นสารเคมี ใบงานที่ 2 การฝึกปฏบิ ตั กิ ารพ่นภาคสนาม 2. การประเมนิ ผล  ผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ได้คะแนนเพิ่มข้ึน ไม่ตา่ กว่า ร้อยละ 80  ผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรม ผ่านการประเมิน ตามแบบประเมนิ ฝึกปฏิบัติ ไม่น้อยกว่า 8 ขอ้ 3. การติดตามประเมนิ ผล ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม หลังการฝึกอบรมหลกั สตู รสาเร็จ โดยการติดตาม ประเมินการควบคุมโรคตดิ ต่อนาโดยแมลง เทคนิคการพ่นสารเคมี หลังการฝึกอบรม ทกุ 1 ปี

หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 4 แผนการเรยี นหน่วยที่ 1 เรื่อง ความรพู้ น้ื ฐานเร่ืองโรคไข้เลอื ดออก โรคตดิ เชื้อไวรัสซกิ า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย และยุงลายพาหะนาโรค วตั ถุประสงค์ 1.เพ่ือให้ผ้เู รียนสามารถอธบิ ายอาการ การตดิ ต่อ การรกั ษา โรคตดิ ต่อนาโดยยงุ ลาย 2.เพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถอธบิ ายวงจรชวี ิต ชวี นสิ ยั แหล่งเพาะพันธ์ุ ของยุงลาย 3.เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถอธิบายวธิ ีการควบคมุ ยงุ ลาย สาระสาคัญ โรคไข้เลือดออก ท่ีพบในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงในเอเชียอาคเนย์เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่จึง เรียกชื่อว่า Dengue Haemorrhagic Fever (DHF) โรคไข้เลือดออกพบได้ในผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุ พบได้ทุกภาค และทกุ จงั หวัดของประเทศไทย โรคติดเชื้อไวรสั ซิกา (Zika virus disease) เกิดจากการติดเชอ้ื ไวรัสซิกา ท่ีพบวา่ มีการแพรก่ ระจายของ โรคติดเชื้อไวรัสซิกาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 – 23 มิถุนายน 2559 โรคติดเช้ือไวรัสซิกามีความสัมพันธ์กับการเกิด ภาวะศีรษะเล็กแต่กาเนิด(Microcephaly) หรอื ความผดิ ปกตขิ องระบบประสาทสว่ นกลาง (Central – Nervous System : CNS) โรคไขป้ วดข้อยุงลายหรอื โรคชคิ ุนกุนยา เป็นโรคที่มีอาการคล้ายโรคไข้เลือดออก แต่ต่างกันที่ไม่มีการ ร่ัวของพลาสมาออกมานอกเส้น ไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมากจนถึงมีการช็อก ยุงลาย พาหะนาโรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย หมายถึง ยุงลายที่สามารถ นาเช้อื ไวรัสเดง็ ก่ีได้ทั้งยงุ ลายสวนและยุงลายบ้าน วงจรชวี ิต ชวี นสิ ยั แหล่งเพาะพนั ธขุ์ องยุงลาย องคป์ ระกอบเน้อื หา 1. โรคไขเ้ ลือดออก โรคตดิ เชื้อไวรัสซกิ า และโรคไขป้ วดข้อยุงลาย 1) สาเหตุและการตดิ ต่อของโรค 2) อาการและอาการแสดงของโรค 3) การวนิ ิจฉยั โรค 4) การดูแลรักษาผปู้ ่วยของโรค 2. หลักการควบคมุ โรค 1) มาตรการการควบคมุ โรคติดต่อนาโดยยงุ ลาย 2) เกณฑ์เป้าหมายการควบคุมโรค 3. ยุงลาย 1) วงจรชวี ิต ชวี นสิ ัย แหล่งเพาะพันธ์ุ ของยุงลาย 2) การจาแนกชนิดของยุงและลกู นา้ ยุงลาย ระยะเวลาการอบรม 1 ชั่วโมง

หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคุมและกาจัดยงุ ลาย 5 ขนั้ ตอนและวธิ ีนาเสนอ บรรยายโดยใช้โปรแกรมนาเสนอ ข้ันตอนการอบรม กจิ กรรมการอบรม สอ่ื และอุปกรณป์ ระกอบ ข้ันนาเข้าส่บู ทเรียน - วทิ ยากรใชค้ าถามนา เร่อื งประสบการณ์โรคติดต่อ - Computer/Notebook (5 นาท)ี นาโดยยงุ ลาย และถามความรู้เรอื่ งยงุ ลาย - LCD ขน้ั อบรม (50 นาที) - วิทยากรบรรยายความรูพ้ นื้ ฐานของโรคไข้เลอื ดออก - Power point โรคตดิ เชอื้ ไวรัสซกิ า โรคไขป้ วดขอ้ ยุงลาย เกี่ยวกบั - เอกสารประกอบการสอน เช้อื โรคท่ที าใหเ้ กดิ โรค อาการแสดง การรักษา การ ติดตอ่ และการป้องกนั โรค - วิทยากรอธิบายลกั ษณะภายนอกของยุงและลกู น้า ยงุ ลาย บอกลกั ษณะทีแ่ ตกต่างระหวา่ งยุงและลกู นา้ ยงุ ทวั่ ๆไป และชวี นสิ ัยของยงุ ลาย ข้ันสรุป (5 นาที) - วิทยากรสรุป โรคตดิ ต่อนาโดยยงุ ลาย และยงุ ลาย เปน็ ปัญหาสาธารณสขุ ท่ีมีผลกระทบโดยตรงตอ่ สขุ ภาพของประชาชนในชุมชน เน้อื หา 1. โรคไขเ้ ลือดออก สาเหตแุ ละการตดิ ต่อ เกิดจากเชื้อไวรสั เดงกจ่ี ึงเรยี กช่ือวา่ Dengue Haemorrhagic Fever (DHF) เชอ้ื สาเหตุ : ไวรสั เดงกี่ เช้ือไวรัสเดงก่ีเป็น RNA virus มี 4 serotypes : DEN-1 DEN-2 DEN-3 และ DEN-4 ถ้ามีการติดเช้ือ ชนิดใดชนิดหนงึ่ แล้วจะมีภูมิคุ้มกันต่อชนิดนั้นไปตลอดชวี ิต (permanent immunity) แต่จะมีภูมิคุ้มกันต่อไวรัส เดงกี่ชนดิ อนื่ ๆ อีก 3 ชนิดได้ในชว่ งสัน้ ๆ ประมาณ 6 เดือน - 1 ปี หลังจากน้ี จะมกี ารติดเชื้อไวรสั เดงก่ีชนดิ อืน่ ๆ ที่ตา่ งจากคร้งั แรกได้ เปน็ การตดิ เชอ้ื ซ้า (secondary dengue infection) ซงึ่ เป็นปจั จัยสาคัญในการทาให้เกิด โรคไขเ้ ลอื ดออกเดงกี่ การติดต่อ : มียงุ ลายเปน็ พาหะนาโรค โรคไข้เลือดออกติดต่อกันได้โดยมียุงลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นพาหะนาโรคที่สาคัญ นอกจากน้ัน ยังมยี งุ ลายสวน (Aedes albopictus) ซง่ึ สามารถเป็นพาหะได้ด้วย โดยยุงตวั เมียซ่ึงกดั เวลากลางวันและดดู เลือด คนเป็นอาหาร จะดูดเลือดผู้ป่วยซ่ึงในระยะไข้สูงจะเป็นระยะท่ีมีไวรัสอยู่ในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเข้าสู่ กระเพาะยุง เข้าไปอยู่ในเซลล์ผนังกระเพาะเพ่ิมจานวนมากขึ้นแล้วออกมาจากเซลล์ผนังกระเพาะ เดินทางเข้าสู่ ต่อมน้าลายพรอ้ มท่ีจะเข้าสู่คนท่ีถูกดดู เลือดในคร้ังต่อไป ซ่ึงระยะฟักตัวในยุงน้ีประมาณ 8-12 วัน เม่ือยุงตัวน้ีไป กัดคนอ่ืนอีก ก็จะปล่อยเช้ือไวรัสไปยังผู้ที่ถูกกัดได้ เม่ือเช้ือเข้าสู่ร่างกายคนและผ่านระยะฟักตัวนานประมาณ 5-8 วนั (สน้ั ท่สี ดุ 3 วัน นานทสี่ ุด 15 วนั ) กจ็ ะทาใหเ้ กิดอาการของโรคได้

หลักสตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 6 ภาพการแพร่เชอื้ ไวรัสเดงก่ี การติดเช้ือและปัจจัยเส่ียง การติดเช้ือไวรัสเดงก่ีส่วนมากจะไม่มีอาการ (ร้อยละ 80-90) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็กเม่ือติดเชื้อ คร้ังแรกมักจะไม่มีอาการ หรือมีอาการไม่รุนแรง องค์การอนามัยโลกได้จาแนกกลุ่มอาการโรคท่ีเกิดจากการติด เชือ้ ไวรัสเดงก่ไี ว้ ดงั นี้ ภาพการจาแนกการติดเชอื้ ไวรัสเดงกี่ ลักษณะทางคลนิ ิกของการติดเช้อื ไวรัสเดงกี่ แบ่งออกเปน็ 3 รูปแบบตามความรนุ แรงของโรค มีดงั นี้ 1. Undifferentiated fever(UF) หรือกลุ่มอาการไวรัส มักพบในทารกหรือในเด็กเล็ก ซึ่งจะปรากฏ เพยี งอาการไข้และบางคร้งั มีผื่นนนู ขอบหนาแบบ maculopapular rash

หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอ่ื ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 7 ภาพท่ี 1 ผื่นนูนขอบหนา maculopapular rash ภาพท่ี 2 ผ่ืนจดุ เลือดออก (petechial) 2. ไข้เดงก่ี (DF) มักเกิดกับเด็กโตหรือผู้ใหญ่ อาจมีอาการไม่รุนแรง คือ มีเพียงอาการไข้ร่วมกับปวด ศีรษะ เมื่อยตัว หรือเกิดอาการแบบ classical DF คือ มีไข้สูงกะทันหัน ปวดศีรษะ ปวดรอบกระบอกตา ปวดกลา้ มเนอ้ื ปวดกระดกู และมีผ่ืน บางรายอาจมจี ดุ เลือดออกที่ผิวหนงั มีผลการทดสอบทรู น์ ิเกตเ์ ปน็ บวก ผปู้ ่วย ส่วนใหญ่มักมีเม็ดเลือดขาวต่า รวมทั้งบางรายก็อาจมีเกล็ดเลือดต่าได้ ในผู้ใหญ่เมื่อหายจากโรคแล้วจะมีอาการ ออ่ นเพลยี อย่นู าน 3. ไข้เลือดออกเดงกี่ (DHF) มีอาการคล้าย DF ในระยะมีไข้ แต่จะมีอาการเฉพาะของโรค คือ มีเกล็ด เลือดต่าและมีการรั่วของพลาสมา ซึ่งถ้าพลาสมาร่ัวออกไปมากผู้ป่วยจะมีภาวะช็อกเกิดข้ึนท่ี เรียกว่า dengue shock syndrome (DSS) การรั่วของพลาสมาสามารถตรวจพบได้จากการท่ีมีระดับฮีมาโตคริตสูงข้ึน มีน้าใน เยือ่ ห้มุ ช่องปอดและชอ่ งท้อง อาการและอาการแสดง อาการทางคลินิกของโรคไข้เลอื ดออก หลังจากไดร้ ับเช้ือจากยุงประมาณ 5-8 วัน (ระยะฟักตวั ) ผู้ปว่ ยจะเรมิ่ มอี าการของโรค ซึ่งมคี วามรนุ แรง แตกตา่ งกนั ได้ ตง้ั แต่มีอาการคล้ายไขเ้ ดงกี่ (dengue fever หรอื DF) ไปจนถึงมอี าการรุนแรงมากจนถึงชอ็ กและ ถงึ เสียชวี ิตได้ โรคไขเ้ ลือดออกมีอาการสาคัญทีเ่ ป็นรูปแบบคอ่ นขา้ งเฉพาะ 4 ประการ เรยี งตามลาดับการเกิดก่อนหลงั ดงั นี้ 1. ไข้สูงลอย 2-7 วนั 2. มีอาการเลือดออก ส่วนใหญจ่ ะพบทผ่ี ิวหนัง 3. มีตับโต กดเจบ็ 4. มภี าวะการไหลเวียนล้มเหลว/ภาวะชอ็ ก อาการไข้ ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทุกรายจะมีไข้สูงเกิดข้ึนอย่างเฉียบพลัน ส่วนใหญ่ไข้จะสูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส ไข้อาจสงู ถึง 40-41 องศาเซลเซียส ซ่ึงบางรายอาจมีชักเกิดขึ้นโดยเฉพาะในเด็กท่ีเคยมีประวัติชัก มาก่อน หรือในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน ผู้ป่วยมักจะมีหน้าแดง (flushed face) และตรวจดูคอก็อาจพบมี injected pharynx ได้ แต่ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะไม่มีอาการน้ามูกไหลหรืออาการไอ ซึ่งช่วยในการวินิจฉัยแยกโรค จากโรคหัดในระยะแรกและโรคระบบทางเดินหายใจได้ เด็กโตอาจบ่นปวดศรี ษะ ปวดรอบกระบอกตา ในระยะไข้นี้ อาการทางระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย คือ เบื่ออาหาร อาเจียน บางรายอาจมีอาการ ปวดทอ้ งร่วมด้วย ซ่ึงในระยะแรกจะปวดทั่วๆไปและอาจปวดท่ีชายโครงขวาในระยะที่มตี บั โต

หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 8 ส่วนใหญ่ไข้จะสูงลอยอยู่ 2-7 วัน ประมาณรอ้ ยละ 15 อาจมีไข้สูงนานเกิน 7 วัน และบางรายไข้จะเป็น แบบ biphasic ได้ อาจพบมผี ่ืนแบบ erythema หรือ maculopapular ซง่ึ มลี กั ษณะคล้ายผ่นื rubella ได้ อาการเลือดออก ที่พบบ่อยท่ีสุดคือที่ผิวหนัง โดยจะตรวจพบว่าเส้นเลือดเปราะ แตกง่าย โดยการทา tourniquet test ให้ผลบวกได้ต้ังแต่ 2-3 วันแรกของโรค ร่วมกับมีจุดเลือดออกเล็กๆกระจายอยู่ตามแขน ขา ลาตัว รักแร้ อาจมีเลือดกาเดาหรือเลือดออกตามไรฟัน ในรายที่รุนแรงอาจมีอาเจียนและถ่ายอุจจาระเปน็ เลือด ซงึ่ มักจะเป็นสีดา (melena) อาการเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนใหญ่จะพบรว่ มกับภาวะช็อกในรายทีม่ ีภาวะ ชอ็ กอย่นู าน ตบั โต ส่วนใหญ่จะคลาพบตับโตได้ประมาณวันท่ี 3-4 นับแต่เร่ิมปว่ ย ตับจะน่มุ และกดเจบ็ ภาวะช็อก ประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่วยไข้เลือดออกจะมีอาการรุนแรง มีภาวะการไหลเวียนล้มเหลว เกิดขึ้น เนื่องจากมกี ารรว่ั ของพลาสมาออกไปยงั ช่องปอด/ชอ่ งท้องมาก เกิด hypovolemic shock ซึ่งส่วนใหญ่ จะเกิดขึน้ พร้อมๆกับท่ีมีไขล้ ดลงอยา่ งรวดเรว็ เวลาที่เกิดชอ็ กจงึ ข้ึนอยกู่ ับระยะเวลาที่มีไข้ อาจเกิดไดต้ ง้ั แต่วันที่ 3 ของโรค (ถ้ามีไข้ 2 วัน) หรือเกิดวันที่ 8 ของโรค (ถ้ามีไข้ 7 วัน) ผู้ป่วยจะมีอาการเลวลง เริ่มมีอาการ กระสับกระส่าย มือเท้าเย็น ชีพจรเบา เร็ว ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลงโดยมีความดันชีพจร แคบเท่ากับหรือ น้อยกว่า 20 มม.ปรอท (ปกติ 30-40 มม.ปรอท) ผู้ป่วยท่ีมีภาวะช็อกส่วนใหญ่จะมีความรู้สติ พูดรเู้ ร่ือง อาจบ่น กระหายน้า บางรายอาจมีอาการปวดท้องเกิดข้ึนอย่างกะทันหันก่อนเข้าสู่ภาวะช็อก ซึ่งบางคร้ังอาจทาให้ วินิจฉัยโรคผิดเป็นภาวะทางศัลยกรรม ภาวะช็อกท่ีเกิดข้ึนนี้จะมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ถ้าไม่ได้รับการ รักษาผู้ป่วยจะมีอาการเลวลง รอบปากเขียว ผิวสีม่วงๆ ตัวเย็นชืด จับชีพจรและวัดความดันไม่ได้ ความรู้สติ เปล่ียนไป และจะเสียชีวิตภายใน 12 - 24 ช่ัวโมงหลังเร่ิมมีภาวะช็อก หากว่าผู้ป่วยได้รับการรักษาช็อกอย่าง ทันท่วงทีและถูกต้องก่อนท่ีจะเข้าสู่ระยะ profound shock ส่วนใหญ่ก็จะฟ้ืนตัวได้อย่างรวดเร็ว ในรายท่ีไม่ รนุ แรง เม่ือไข้ลดลงผู้ป่วยอาจจะมีมือเท้าเย็นเล็กน้อยร่วมกับมีการเปล่ียนแปลงของชีพจรและความดันเลือด ซ่ึง เปน็ ผลจากการเปลี่ยนแปลงในระบบการไหลเวียนของเลอื ด เน่ืองจากการรว่ั ของพลาสมาออกไปแตไ่ มม่ ากจนทา ใหเ้ กิดภาวะช็อก ผู้ปว่ ยเหลา่ น้เี มือ่ ให้การรักษาในชว่ งระยะส้นั ๆกจ็ ะดขี ้นึ อย่างรวดเร็ว การดูแลรกั ษาผปู้ ว่ ย ขณะนี้ยังไมม่ ียาต้านไวรสั ทมี่ ีฤทธ์เิ ฉพาะสาหรับเชื้อไข้เลือดออก การรกั ษาโรคนเี้ ป็นการรักษาตามอาการ และประคับประคอง ซึ่งไดผ้ ลดถี า้ ให้การวินิจฉัยโรคได้ตง้ั แต่ระยะแรก แพทยผ์ รู้ ักษาจะต้องเข้าใจธรรมชาติของโรค และให้การดแู ลผู้ปว่ ยอยา่ งใกล้ชดิ จะต้องมี nursing care ที่ดีตลอดระยะเวลาวกิ ฤตประมาณ 24-48 ชวั่ โมงท่มี ีการ รั่วของพลาสมา 2. โรคติดเชื้อไวรัสซกิ า สาเหตแุ ละการตดิ ต่อ เกิดจากเชอื้ ไวรัสซิกา (Zika Virus - ZIKVX) เช้อื สาเหตุ : ไวรัสซกิ า เช้ือไวรัสซิกา เป็น Single – stranded positive RNA virus ไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิดอาร์เอ็นเอ สายเดย่ี ว อยูใ่ นตระกลู ฟลาวิไวรัส (flavivirus) ทม่ี ีลักษณะคล้ายคลงึ กบั ไวรสั ไข้เหลอื ง ไวรัสเดงกี่ ไวรสั เวสต์ไนล์ และไวรสั ไข้สมองอับเสบเจอี การติดต่อ : โรคติดเช้อื ไวรัสซิกามียงุ ลายเป็นพาหะนาโรค เชื้อไวรัสมีระยะฟักตัวในคน 4-7 วัน (ส้ันสุด 3 วัน ยาวสุด 12 วัน ) และในยุง 10 วัน และมีรายงานว่าสามารถติดต่อผ่านทางเพศสัมพันธ์ ติดต่อจากมารดา สูท่ ารกในครรภ์ และสารคัดหลัง่ ตา่ งๆของผูป้ ว่ ย เช่น น้าลาย ปัสสาวะ นา้ คร่า รก นา้ นม และน้าอสุจิ

หลักสตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 9 การตดิ เชื้อและปจั จยั เส่ยี ง การติดเชื้อไวรัสซิกา ส่วนมากจะไม่มีอาการ (ร้อยละ 80) และพบว่าการเกิดโรคติดเช้ือไวรัสซิกามี ความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กาเนิด(Microcephaly) และ/หรือความผิดปกติของระบบประสาท (Central Nervous System : CNS) โดยมีกลุ่มประชากรทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั 4 กล่มุ ดังนี้ 1. หญงิ ต้งั ครรภ์ 2. ผ้ปู ว่ ยทัว่ ไป 3. ทารกท่มี ีความผิดปกติศรี ษะเล็ก 4. กล่มุ อาการกลิ แลง-บาร์เร(Guillain-syndrome) และผูป้ ว่ ยโรคทางระบบประสาทอักเสบอนื่ ๆ หลังจากการติดเชอื้ อาการและอาการแสดง อาการทางคลินิกของโรคติดเชอ้ื ไวรัสซกิ า หลังจากได้รับเช้อื จากยุงประมาณ 4-7 วัน (ระยะฟักตวั ) ผตู้ ิดเช้ือไวรัสซิกาส่วนใหญ่ (รอ้ ยละ 80) จะไม่ แสดงอาการปว่ ย ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการไม่รนุ แรง โดยจะมีอาการคล้ายคลึงกับผู้ปว่ ยไขเ้ ลือดออก กล่าวคือ มีไข้ ปวดศีรษะ มีผ่ืนแดงแบบ Maculopapular ที่บริเวณลาตัว แขนขา เย่ือบุตาอับเสบ (แต่ไม่มีข้ีตา) ตาแดง ปวด ข้อ อ่อนเพลีย อาจจะมีอาการต่อมน้าเหลืองโต และอุจจาระร่วง ส่วนน้อยจะมีอาจมีอาการเส้นประสาทอักเสบ (Guillain-Barre – GSB) หรือความผดิ ปกติทางระบบประสาทอน่ื ๆ การดูแลรกั ษาผูป้ ่วย ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรง ให้การดูแลรักษาตามอาการ และ Supportive treatment ห้ามใช้ Aspirin และ NSAID เป็นยาแก้ปวดหรือลดไข้ การดูแลรักษาหญิงต้ังครรภ์ท่ีสงสัย/ยืนยันการติดเช้ือไวรัสซิกา ให้ดแู ลรกั ษาตามอาการและให้คาปรึกษาแนะนา (Counselling) ทางจิตใจ สาหรับการดแู ลรกั ษาตามอาการ มีดงั น้ี 1.อาการไข้ ให้เช็ดตัว หรืออาบน้าอุ่นด้วยฝักบัว หากไม่ดีขึ้น ให้ Acetaminophen (325 mg/เม็ด) ทกุ 4-6 ชว่ั โมง แต่ไม่เกนิ 4,000 ma/วัน หลีกเล่ยี งการใช้ Aspirin(ASA) และ NSAIDs 2. อาการขาดน้า ให้ดมื่ น้า หรอื นา้ ผลไม้ 3. อาการปวด ให้ยาแกป้ วด Acetaminophen ดังกลา่ วขา้ งต้น 4. อ่อนแรง ให้พกั ผอ่ น 5. ผื่น Maculopapular ให้ทา Calamine lotion 6 . ต า แ ด งแ บ บ ไม่ มี ข้ี ต า (Non-purulent conjunctivitis) ห รื อ Conjunctivitis hyperemia ให้ Loratadine 5 mg ทกุ 12 ช่ัวโมง หรอื 10 mg ทกุ 24 ชั่วโมง เพอ่ื ลดอาการคัน ตาแดง นา้ ตาไหล 3. โรคไข้ปวดข้อยุงลาย สาเหตุและการตดิ ตอ่ เกิดจากเชื้อชิคนุ กนุ ยา ส่วนไวรสั กล่มุ อ่นื เปน็ เพยี งโรคที่อาจจะมีอาการใกล้เคียง ได้ ในบางพืน้ ท่ี วิธีการตดิ ต่อ 1) ตดิ ตอ่ โดยยงุ เป็นการตดิ ต่อหลกั 2) ตดิ เชอ้ื จากแมส่ ู่ลกู 3) ติดเชือ้ ผ่านทางเลือด การติดต่อ : พาหะนาโรค คอื ยุงลาย ในประเทศไทยพาหะหลกั คอื ยุงลายบ้าน (aedes aegypti) และ ยงุ ลายสวน (aedes albopictus) เม่ือยุงลายตวั เมียกดั และดูดเลือดผ้ปู ว่ ยที่อยใู่ นระยะไขส้ ูง ซ่ึงเป็นระยะทีผ่ ู้ปว่ ย

หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจัดยุงลาย 10 มีเชื้อไวรัสอยู่ในกระแสเลือดเป็นปริมาณมากหรือ viremia เชื้อไวรัสน้ีจะเข้าสู่กระเพาะของยุงและมีการแบ่งตัว เพิ่มจานวนมากขึ้น จากนั้นเชื้อจะเข้าสู่ต่อมน้าลาย เม่ือยุงที่มีเช้ือไวรัสชิคุนกุนยาไปกัดคน จะปล่อยเชื้อเข้าสู่คน (ระยะฟกั ตัวในยุง 7 - 10 วัน) และทาให้คนเกิดอาการของโรคได้ หลังถูกยุงลายท่ีมีเชื้อกัด เชื้อไวรัสมรี ะยะฟักตัว ประมาณ 2 - 4 วัน ระยะติดต่อ จะเป็นระยะไข้สูงประมาณ 4 วันแรกของโรค ซ่ึงเป็นระยะที่มีเช้ือไวรัสอยู่ใน กระแสเลือดเป็นปรมิ าณมาก (viremia) สาหรับการติดเช้ือในทารกแรกเกิด ส่วนใหญ่ติดเช้ือในช่วงระหว่างคลอด (perinatal period) ทารกมัก มีอาการ 3 - 7 วนั หลงั คลอด อาการทพ่ี บได้ คือ ไข้ ผื่น ปลายมือปลายเท้าบวม รวมถงึ อาการทางระบบประสาท อาการและอาการแสดง อาการทางคลนิ ิกของโรคไข้ปวดข้อยุงลาย 1) ไข้ มักมีไข้สูงลอย อุณหภูมิกายสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส พบได้รอ้ ยละ 58 - 84 เป็นอยู่ประมาณ 3 - 5 วนั หรอื อาจนานเป็นสัปดาห์ บางรายอาจมไี ข้ลงและกลับมาใหม่ได้ 2) ปวดข้อหรือข้ออักเสบหลายข้อ (polyarthralgia/ polyarthritis) พบประมาณร้อยละ 49 – 83 ส่วนใหญ่จะพบอาการปวดข้อเป็นหลัก มีส่วนน้อยท่ีมีข้ออักเสบ มักเริ่มจากข้อเล็กท่ีบริเวณรยางค์ส่วนปลายก่อน เช่น ข้อนิ้ว ข้อมือ ข้อเท้า หรือข้อที่มีพยาธสิ ภาพอยู่ก่อน มกั ปวดหลายข้อและเป็นท้ังสองข้าง จากนั้นอาการปวดข้อ อาจลามไปที่ข้อที่ใหญ่ข้ึน เช่น ข้อเข่า ข้อศอก ข้อสะโพก ข้อไหล่ และอาจพบอาการปวดข้อกระดูกที่หน้าอกหรือ กระดูกสันหลังได้ อาการปวดข้อ สามารถพบได้หลายข้อและเปล่ียนตาแหน่งได้(migratory polyarthritis) บางราย อาจมีอาการปวดขอ้ มากจนเดินไม่ได้ ระยะเวลาที่ปวดข้ออาจนานเป็นสปั ดาห์ถึงเดือน อาการปวดขอ้ สามารถเกดิ ขึ้น ซ้าได้อีกใน 2 - 3 สัปดาห์ต่อมา (relapse) บางรายพบอาการปวดข้อเรื้อรังได้นานถึง 3-5 ปีรวมท้ังมีอาการชาได้ อาการปวดข้อในเดก็ จะไม่รุนแรงเม่ือเทียบกบั ในผู้ใหญ่ สว่ นใหญม่ แี คอ่ าการปวดข้อ ไม่ค่อยพบข้ออักเสบ 3) ผื่น พบประมาณร้อยละ 38 - 41 มักมีผื่นแดง (maculopapular rash) ขึ้นตามลาตัวและแขนขา บาง ราย อาจพบบรเิ วณมือเท้า รวมถึงใบหน้า นอกจากน้ี ยังอาจพบแผลท่ีปาก (stomatitis) หรือกระพุ้งแก้มและเพดาน ปาก (oral ulcer) โดยผื่นนนู แดงมักเกิดข้ึน ภายใน 2 - 3 วัน หลังจากมไี ข้ผื่นจะเป็นอยู่นานประมาณ 2 - 5 วัน บาง รายผ่ืนนี้ จะลอกเป็นขุย และหายได้เองภายใน 7 - 10 วัน อาจมีอาการคัน บางรายอาจมีสีผิวเข้มบริเวณผ่ืนผิวหนัง ท่ีเป็น (hyperpigmentation) ได้ในเด็กอาจมีตุ่มพอง (bullous rash) ขนาด 2 - 3 มิลลิเมตร ถึง 2 - 3 เซนติเมตร ตามรยางค์โดยจะพบที่ขามากกว่าที่แขน และพอหายแล้วจะลอกเป็นแผ่น นอกจากนี้อาจพบจุดเลือดออก (petechiae) บรเิ วณผวิ หนัง ผู้ติดเช้ือบางรายอาจมีอาการไม่จาเพาะทาให้ไม่ได้รบั การวินิจฉยั โรคไขป้ วดข้อยุงลายหรือได้รับการวินิจฉัย เป็นไข้เดงกีแทน ส่วนใหญ่ในเด็กจะมีอาการไม่รุนแรงเท่าผู้ใหญ่ แต่ในผู้สูงอายุผู้ป่วยที่มีโรคเร้ือรัง และทารกท่ีติด เช้ือจากมารดาระหว่างคลอดอาการอาจรนุ แรงถงึ เสียชีวิตได้ การดแู ลรกั ษาผปู้ ่วย : ไมม่ กี ารรักษาเฉพาะ 4. ยุงลายพาหะนาโรค ยุงลายเป็นแมลงจาพวกหน่ึง ในประเทศไทยมียุงลายมากกว่า 100 ชนิด แต่ที่เป็นพาหะนาโรค ไข้เลือดออกมีอยู่ 2 ชนิด คือ ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) และยุงลายสวน (Aedes albopictus) ในวงจรชีวิต ของยงุ ลายประกอบดว้ ยระยะตา่ งๆ 4 ระยะ ได้แก่ ระยะไข่ ระยะตัวออ่ น(ลูกนา้ ) ระยะดกั แด้หรอื ตัวกลางวยั (ตัว โม่ง) และระยะตวั เตม็ วัย (ตวั ยุง) ท้ัง 4 ระยะมคี วามแตกตา่ งกนั ทัง้ รูปรา่ งลักษณะและการดารงชีวิต

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจัดยุงลาย 11 ระยะไข่ ไขย่ ุงลายมีลกั ษณะกลมรี เป็นฟองเดี่ยว ขนาดประมาณ 1 มม. ออกมาใหม่ๆ มีสีขาว สว่ นใหญ่ ติดอยู่ที่ข้างภาชนะเหนอื ระดบั น้าเล็กน้อย สว่ นน้อยประมาณร้อยละ 10-20 ทีล่ อยอยผู่ ิวบนนา้ ไข่จะเปล่ียนเป็น สีดาภายในเวลา 12-24 ชั่วโมง ตามแต่สภาพอากาศ ไข่ท่ีออกมาใหม่ยังไม่เจริญเต็มท่ี ใช้เวลาประมาณ 1-2 วัน จึงพร้อมที่จะฟักออกเป็นลูกน้ายุง ไข่ยุงลายสามารถมีชีวิตอยู่ในสภาพแห้งได้เป็นปี และจะฟักออกมาอย่าง รวดเร็วภายในเวลาไม่ก่ีนาทีเมื่อมีน้าท่วมไข่ แต่อัตราการฟักของไข่ลดลงตามระยะเวลาท่ีนานข้ึน ยุงลายตัวหนึ่ง วางไข่ประมาณ 50-150 ฟอง/ครั้ง ขึ้นอยู่กบั ความสมบูรณ์ของตัวแม่พันธ์ุและปริมาณเลือดทไ่ี ด้รับ แม่ยุงลายจะ ไมว่ างไข่ พรอ้ มกนั ทง้ั หมด แตจ่ ะวางไขค่ รง้ั ละ 10-100 ฟอง ตลอดชวี ติ วางไข่ไดส้ ูงสดุ 7 ครั้ง สว่ นใหญ่ 2-4 ครงั้ ระยะลูกน้า ลูกน้ายุงลายท้ังสองชนิดมีลักษณะเรียวยาว มีส่วนหัวท่ีเล็กกว่าส่วนอกมาก ส่วนท้องยาว เรียวประกอบด้วยปล้อง 10 ปล้อง และส่วนปลายของปล้องจะมีท่อสาหรับช่วยหายใจ (siphon) ในระยะของ ลูกน้า จะใช้เวลาประมาณ 6-8 วัน อาจมากหรือน้อยกว่านี้ข้ึนอยู่กับอุณหภูมิ อาหารและความหนาแน่นของ ลูกน้าภายในภาชนะน้ันๆ ลูกน้ายุงลายจะใช้ท่อหายใจ ทีมี่ลักษณะเรียวยาว เกาะทามุมกับผิวน้า โดยที่ลาตัวต้ัง เกือบตรงกับ ผิวน้ายุงลาย เคล่ือนไหวอย่างว่องไว ลักษณะการว่ายน้าคล้ายกับการเล้ือยของงู ไม่ชอบแสงสว่าง อาหารของลูกน้า จะเป็นอินทรีย์สารและอาหารอ่ืนๆ ที่มีอยู่ในภาชนะน้ันๆ เช่น ตะไคร่เศษอาหารท่ีหล่นลงไป แบคทีเรีย และพวกสตั ว์เซลลเ์ ดียว หรอื สัตว์ทมี่ ีขนาดเล็กๆท่อี าศัยอยใู่ นนา้ ระยะดักแด้ หลักจากการลอกคราบของลูกน้าครั้งที่ 4 จะเข้าสู่ระยะดักแด้ หรือที่เรียกว่า “ตัวโม่ง” มี ลักษณะท่ีคล้ายกับเลขหน่ึงไทย ดักแด้มักเกาะนิ่งกับผิวน้าเพ่ือรับเอาออกซิเจนจากอากาศ โดยใช้ท่อหายใจและ ส่วนหลังของท้องปล้องแรก เกาะผิวน้าโดยท่ีส่วนอกไม่แตะกับผิวน้า ในระยะการเจริญเติบโตนี้จะไม่กินอาหาร และเคลอ่ื นไหวนอ้ ย แตเ่ มอ่ื ถกู รบกวนจะดาด่งิ ลงใตผ้ วิ น้า ระยะตัวเต็มวัย(ตวั ยุง) ยุงลายเปน็ สัตวท์ ่ีมีโครงสร้างท่ีเป็นผนังแขง็ ปกคลุมอยู่ภายนอก (exoskeleton) ผนังเซลล์ด้านนอกสุดท่ีมีลักษณะแข็ง เรียกว่า cuticle ซึ่งเป็นสัตว์ท่ีทาให้แมลงคงรูปร่างอยู่ได้ ลักษณะ โครงสร้างภายนอกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน มองเห็นชัดเ0จน คือ ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ตัวเต็มวัยมีขนาด ลาตวั ขนาดยาวประมาณ 4-6 มิลลิเมตร มีเกล็ดสดี าสลับขาวตามลาตัวรวมทั้งสว่ นหัวและส่วนอกด้วย มีขา 3 คู่ (6 ขา) อยู่ท่ีส่วนอก ขามีสีดาสลับขาว ขามีสีดาสลับขาวเป็นปล้องๆ ที่ขาหลังบริเวณปลายปล้องสุดท้ายมีสีขาว ตลอด มีปีกที่เห็นได้ชัดเจน 1 คู่ อยู่บริเวณส่วนอก ลักษณะของปีกบางใส มีเกล็ดเล็กๆ บนเส้นปีก ลกั ษณะของ เกล็ดแคบและยาว บนขอบหลังของปีกมีเกล็ดเล็กๆ เป็นชายครุย นอกจากนี้ยังมีอวัยวะที่ทาหน้าที่เก่ียวกับการ ทรงตัว (เรียกว่า halters) 1 คู่ อยู่ใกล้กับปีก มีปากยาว ลักษณะปากเป็นแบบแทงดูดเส้นหนวดประกอบด้วย ปล้องส้ันๆ14-15 ปล้อง ที่รอยต่อระหว่างปล้องมีขนขึ้นอยู่โดยรอบ ซ่ึงลักษณะของขนท่ีหนวดยุงลายสามารถใช้ จาแนกเพศของยุงได้ยุงเพศผู้เส้นขนเหล่าน้ีค่อนข้างยาว (ใช้รับคลื่นเสียงท่ีเกิดจากการขยับปีกของยุงตัวเมีย) มองดูคล้ายพู่ขนนกส่วนในยุงเพศเมียเส้นขนที่รอยต่อระหว่างปล้องจะสั้นกว่าและมีจานวนน้อยกว่า เรียกว่า หนวดแบบเส้นด้ายแม้ว่าตัวเต็มวัยของยุงลายท้ังสองชนิด มีขนาดและสีท่ีไม่แตกต่างกันมากนัก แต่ยุงลายแต่ละ ชนิดจะมีลักษณะเดน่ ๆ ที่แตกตา่ งกันที่สามารถจาแนกชนดิ ด้วยลักษณะภายนอกได้ดว้ ยตาเปล่าคือตัวเต็มวัยของ ยุงลายบ้าน มีปล้องท้องและขาสีขาวสลับดา ท่ีตรงส่วนอกด้านหลังจะมีเกล็ดขนสีขาวเรียงกัน คล้ายกับรูปเคียว 2 อัน ซ่ึงต่างจากยุงลายสวนมีลักษณะท่ีเด่นชัด คือ มองเห็นสีดาสลับแถบสีขาว ได้เห็นชัดเจนกว่ายุงลายบ้าน โดยเฉพาะบริเวณด้านขา้ งของลาตัวและส่วนขา จะมีแถบดาสลับขาวชัดเจน บนสนั อกด้านหลังจะสงั เกตเห็นแท่ง ขีดตรงขนาดใหญส่ ขี าวชัดเจน ชวี นสิ ยั ของยุงลาย ยุงลายชนิดที่มีความใกล้ชิดกบั คนทีส่ าคัญ คอื ยุงลายบา้ น และยงุ ลายสวน แต่ยุงลายบ้านมีความใกล้ชิด กับคนมากกว่ายุงลายสวน นอกจากนี้ชีวนิสัยหรือพฤติกรรมของยุง ยังเป็นปัจจัยสาคัญในการระบาดของโรค อย่างเช่น พฤติกรรมการออกหากินและการกินเลือดของยุง โดยเฉพาะยุงท่ีมีเชื้อจะเป็นสาเหตุสาคัญท่ีทาให้เกิด การแพร่ระบาดของโรค และหากช่วงเวลาการออกหากินมีความสัมพันธ์ หรือสอดคล้องกับช่วงเวลาในการ

หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 12 ทากิจกรรมของคนก็จะมีโอกาสที่ทาให้เกิดการสัมผัสระหว่างคนกับยุง (man-mosquito contact) มากข้ึน ซ่ึงโอกาสที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโรคก็จะมากเช่นกัน โดยทั่วไปยุงลายออกหากินในเวลากลางวัน แต่ถ้าใน ช่วงเวลากลางวัน ยุงลายไม่ได้กินเลือดหรือกินเลือดไม่อ่ิม ยุงลายก็อาจออกหากินเลือดในเวลาพลบค่าหรือ กลางคืนด้วย หากในห้องน้ันหรือบรเิ วณน้ันมีแสงสวา่ งเพียงพอ ช่วงเวลาที่พบยุงลายไดม้ ากที่สุดมี 2 ช่วงในเวลา เช้าและในเวลาบ่ายถึงเย็น บางรายงานระบุว่าช่วงเวลาท่ียุงลายออกหากินมากที่สุด คือ 09.00-11.00 น. และ 13.00-14.30 น.แตบ่ างรายงานก็ระบุแตกตา่ งกนั ออกไป เช่น 06.00-07.00 น. และ 17.00-18.00 น. ท้ังน้ขี ึน้ กับ ว่าทาการศึกษาในฤดูกาลใด ยุงลายไม่ชอบแสงแดดและลมแรง ดังนั้นจึงออกหากินไม่ไกลจากแหล่งเพาะพันธุ์ โดยทั่วไปมักบินไปครั้งละ ไม่เกิน 50 เมตร นอกจากนี้ จะพบว่ามยี ุงลายชกุ ชุมมากในฤดูฝน ช่วงหลงั ฝนตกชุก เพราะอุณหภูมิและความชื้นเหมาะแก่การแพร่พันธ์ุ ส่วนในฤดูอ่ืนๆ จะพบว่าความชุกชุมของยุงลายลดลง เล็กน้อยแหล่งเกาะพักของยุงลายบ้าน จะอยู่ภายในบ้าน จากการศึกษาแหล่งเกาะพักของยุงลายในบ้านเรือน พบว่ายุงเพศเมียร้อยละ 90 ชอบเกาะพักตามสิ่งห้อยแขวนต่างๆ ในบ้าน มีเพียงร้อยละ 10 เท่าน้ันที่พบเกาะพัก อยู่ตามข้างฝาบ้าน จากการศึกษาแหล่งเกาะพักของยุงลายภายในบ้านเรือนท่ีจังหวัดระยอง พบว่า ยุงลายเกาะ พกั ตามเส้ือผา้ ห้อยแขวนรอ้ ยละ 66.5 เกาะตามมงุ้ และเชือกมุ้งรอ้ ยละ 15.7 สิ่งหอ้ ยแขวนอนื่ ๆร้อยละ 15.3 และ พบเพียงรอ้ ยละ 2.5 เทา่ นั้นที่เกาะพักตามข้างฝา ส่วนยุงลายสวนจะเกาะพักนอกบ้านเป็นสว่ นใหญ่ ส่วนใหญ่พบ บริเวณรอบๆบ้าน ตามพุ่มไม้เตี้ย ต้นหญ้า ที่ซ่ึงไม่มีแสงแดด และมีความชื้น จากการศึกษาในประเทศมาเลเซีย พบว่ายุงลายสวนมีแหล่งเกาะพักส่วนใหญ่อยู่นอกบ้าน ซ่ึงบริเวณนั้นเป็นท่ีที่สะอาด และมักเกาะพักในบริเวณ สวนยาง ส่วนในประเทศจีน พบว่า ยุงชนิดน้ีจะเกาะพักตามมุ้งในครัว ห้องวาดภาพ ตามคอกหมู และหญ้าหรือ วชั พชื ท่อี ยตู่ ามท้องทงุ่ สาหรบั ยงุ ลายสวนในประเทศอเมรกิ า ชอบเกาะพกั ตามตน้ ไม้ชายป่า แหลง่ เพาะพนั ธข์ุ องยุงลาย ยุงลายจะวางไข่ตามภาชนะขังน้าท่ีมีน้าน่ิงและใส น้าฝนมักเป็นน้าที่ยุงลายชอบวางไข่มากที่สุด ดังน้ัน แหล่งเพาะพันธ์ุของยุงลายจะเป็นภาชนะที่สามารถขังน้าได้ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นภาชนะน้าขังที่มนุษย์สร้างขึ้น และภาชนะธรรมชาติ และแม้ว่าจะเป็นภาชนะท่ีมีน้าขังเพียงเล็กน้อยก็ตาม ยุงลายก็สามารถวางไข่ได้ ซ่ึงน้าที่ ยงุ ลายชอบและเหมาะสาหรับการวางไข่ คือบริเวณน้าที่ใส น่ิง และไม่เน่าเสีย ยงุ ลายจะวางไข่ตดิ แนน่ กับพื้นผิว ของภาชนะบริเวณที่อยู่ในระดบั เหนือน้าเล็กน้อย โดยเฉพาะพ้ืนผวิ ภาชนะที่มลี ักษณะขรุขระไข่ของยุงลายจะติด แนน่ และสามารถทนทานอยไู่ ด้นาน เมอ่ื มนี า้ ทว่ มถงึ กจ็ ะสามารถฟักเปน็ ตัวอ่อนได้ในเวลาอันรวดเร็ว แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายบ้าน ส่วนใหญ่พบภายในบ้าน และบริเวณรอบๆใกล้บ้าน จากการสารวจ แหล่งเพาะพันธ์ุของยุงลายชนิดน้ีพบว่าร้อยละ 64.52 เป็นภาชนะเก็บขังน้าท่ีอยู่ภายในบ้านและร้อยละ 35.53 เป็นภาชนะเก็บขังน้าที่อยู่นอกบ้าน นอกจากโอ่งน้าแล้วยังมีภาชนะอ่ืนๆ ถังซีเมนต์ใส่น้า บ่อคอนกรีตในห้องน้า จานรองกันมด ตุ่มน้ากินน้าใช้ ที่รองน้าทิ้งใต้/หลังตู้เย็น ท่ีรองน้าท้ิงในเคร่ืองทาน้าเย็น แจกัน โถน้าเล้ียงไม้ ประดบั กระปอ๋ ง รางน้าฝน จานรองกระถางตน้ ไม้ เป็นต้น แหล่งเพาะพันธ์ของยุงลายสวน จะพบในบริเวณนอกบ้านที่ไกลออกไปจากตัวบ้าน ซึ่งบริเวณที่พบจะมี ความสัมพันธ์กับบริเวณที่มีต้นไม้มีร่มเงา ไม่มีแสงแดดส่อง และมีความชื้น อย่างเช่น บริเวณที่เป็นสวน ยุงลาย สวนสามารถวางไข่ได้ดีในบริเวณที่มีน้าขังเพียงเล็กน้อย โดยเฉพาะน้าขังท่ีมีเศษใบไม้ปะปน เช่น กระถางปลูก ต้นไม้ที่มีน้าขัง ถ้วยรองน้ายางในสวนยาง รอยแตกตามซอกหิน โพรงต้นไม้ รูตามต้นไม้เช่น รูของสัตว์กัดแทะ พวกกระรอก รอยแตกของเปลือกไม้ ต้นไผ่ที่ถูกตัด กาบดอกมะพร้าว ลูกมะพร้าวท่ีถูกสัตว์กัดเป็นรู กะลามะพร้าว ใบมะพร้าว ใบตาล ใบปาล์ม กาบดอกหมาก ใบไมร้ ่วงบินพ้ืนดิน ดอกไม้ พืชท่มี ีกาบใบขนาดใหญ่ เช่น พลับพลึง ปาล์ม ปักษาสวรรค์ จานรองกระถาง แจกันดอกไม้ เช่น แจกันใส่ดอกไม้ตามศาลพระภูมิหรือตาม สสุ าน พืน้ คอนกรตี ตามนอกบ้านทมี่ ีน้าทว่ มขัง รางนา้ เปน็ ตน้

หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 13 การแพรก่ ระจายของยุงลายในประเทศไทย ยุงลายบ้านเป็นยุงท่ีมีแหล่งกาเนิดเดิมอยู่ในทวีปแอฟริกา ต่อมายุงน้ีได้แพร่ไปยังประเทศต่างๆ ระหว่าง เสน้ รุ้ง ท่ี 40 °C เหนือและใต้โดยติดไปกบั พาหนะที่ใช้ในการคมนาคมโดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางเรือ สาหรับประเทศ ไทยไม่มีใครทราบแน่นอนว่ายุงลายได้เข้ามาแพร่พันธ์ุต้ังแต่เม่ือใด แต่มีรายงานปรากฏในวารสารวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับการพบยุงลายในประเทศไทยเป็นคร้ังแรกเมื่อปีพ.ศ. 2450 โดย F.V. Theobald เข้าใจว่าในระยะต้นๆ ยุงลายจะแพรพ่ ันธุ์อยู่เฉพาะเมืองใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2508 จากรายงานของ J.E. Scanlon ระบวุ ่ายงุ ลายมไิ ด้ จากัดอยู่เฉพาะในเมืองใหญ่ๆ แต่พบอยทู่ ่ัวไปทุกเมืองรวมทั้งในชนบทตามภาคต่างๆ ของประเทศไทย จะยกเว้น กแ็ ตเ่ ฉพาะชนบทท่ีแยกตัวออกจากเสน้ ทางคมนาคม การปอ้ งกันกาจัดลูกนา้ ยงุ ลาย 1. การควบคมุ วิธที างกายภาพ เป็นการควบคมุ กาจัดยุงพาหะนาโรคแบบง่ายๆเน้นการจัดการ ส่งิ แวดลอ้ มเปน็ สาคัญ มวี ิธีการต่างๆ ดังนี้ 1.1 การจัดการทางด้านสภาวะแวดล้อมเพ่ือการควบคุมยุงพาหะ แบ่งความสาคัญการเป็นแหล่ง เพาะพันธ์ุและความจาเป็นใช้ประโยชน์ของภาชนะน้าขังในชีวิตประจาวัน แยกได้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุในภาชนะ หลกั แหลง่ เพาะพันธุใ์ นภาชนะรอง และแหลง่ เพาะพันธใุ์ นภาชนะทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ ก. แหล่งเพาะพันธ์ุในภาชนะหลัก ได้แก่ ภาชนะเก็บกักน้ากินน้าใช้ประจาวัน เช่น ถังน้าพลาสติก โอง่ นา้ ถงั น้ามัน ภาชนะซเี มนต์กอ่ ในหอ้ งน้า เป็นต้น 1) ใช้ขันตักลูกน้าและตัวโม่งท่ีชอบข้ึนมาหายใจบนผิวน้าเป็นกลุ่มๆ ตามมุมใดมุมหนึ่งท้ิงไป โดยเอียง ปากขันและกดผิวน้าลงไปตามแนวผนงั ภาชนะ นา้ จะไหลทะลกั ดูดเอาลูกนา้ ยุงลายเข้ามาในขัน ยงุ เข้ามาในขนั ได้ อยา่ งสะดวก 2) ใช้กระชอน ตักลูกน้าและตัวโม่งท้ิงเพื่อลดจานวนลูกน้ายุงลายในโอ่งน้าบ่อซีเมนต์เก็บน้าในห้องน้า หอ้ งสว้ ม ฯลฯ ใหล้ ดนอ้ ยลงมากท่สี ดุ และอย่างรวดเรว็ 3) ใชก้ าลกั นา้ และระบบนา้ วน ดูดถ่ายลกู นา้ และตัวโมง่ ออกจากภาชนะไดห้ มดภายใน 5-10 นาที 4) การใช้ขันดักลูกน้า ลอยไว้ในโอ่งน้าหรือบ่อซีเมนต์เก็บน้าที่ปิดฝาไม่ได้ เมื่อลูกน้าที่ลงไปหากินท่ีก้น โอ่งหรือกน้ บ่อซีเมนต์ลอยตัวข้ึนมาเพื่อหายใจท่ีผิวน้าลูกน้าจะลอยตัวขึ้นมาบริเวณใตข้ ันน้าซ่งึ เป็น เงามืดเข้าไป ในปากกรวย และออกมาอยู่ในขันน้า เมื่อเราใชห้ อ้ งน้าและพบว่ามลี กู น้าอยใู่ นขันก็ใชน้ า้ ในขนั นัน้ ราดสว้ มไป 5) การปิดปากภาชนะเก็บน้าด้วยผ้าตาข่ายไนล่อน ฝาอะลูมิเนียมหรือวัสดุอื่นใดท่ีสามารถปิดปาก ภาชนะเก็บนา้ น้นั ไดอ้ ยา่ งมิดชดิ จนยุงลายไม่สามารถเลด็ ลอดเข้าไปวางไขไ่ ด้ 6) คว่าภาชนะทไี่ มใ่ ช้ประโยชน์แล้ว และใชว้ ัสดแุ ผน่ เรียบปดิ แอง่ ปอ้ งกนั น้าขัง ข. แหล่งเพาะพันธ์ุในภาชนะรอง ได้แก่ ภาชนะขังน้าขนาดเล็กที่ใช้ประโยชน์อื่นๆ นอกเหนือจากการ ใช้อปุ โภค บริโภคเช่น แจกนั วัสดุเลี้ยงพลูด่าง ไม้ประดบั ถว้ ยรองขาตกู้ บั ข้าว จานรองกระถางตน้ ไม้ เปน็ ตน้ 1) ใช้กระดาษทิชชูหรือเศษผ้า อุดช่องว่างระหว่างก้านไม้ท่ีปากแจกัน เพื่อป้องกันยุงลงไปไข่ และกาจัด ยุงท่เี กดิ มาใหม่ไม่ให้ออกมาได้ 2) การหมั่นเปลี่ยนน้าทุก 7 วัน วิธีนี้เหมาะสาหรับภาชนะเล็กๆที่เก็บน้าไม่มาก เช่น แจกันดอกไม้สดที่ หง้ิ บูชาพระ แจกนั ท่ีศาลพระภูมหิ รอื แจกันประดบั ตามโต๊ะ รวมทัง้ ภาชนะและขวดประเภทต่างๆ ที่ใชเ้ ลี้ยงต้นพลู ดา่ งพลฉู ลุ ออมทอง ไผก่ วนอมิ ฯลฯ 3) การใส่ทรายธรรมดาในจานรองกระถางต้นไม้ให้ลึกประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของความลึกของจานรอง กระถางต้นไม้น้ันเพื่อให้ทรายดูดซึมน้าส่วนเกินจากการรดน้าต้นไม้ไว้ซึ่งเป็นวิธีท่ีเหมาะสาหรับก ระถางต้นไม้ที่ ใหญแ่ ละหนักสว่ นต้นไมก้ ระถางเลก็ อาจใชว้ ิธีเทนา้ ที่ขงั อยใู่ นจานรองกระถางตน้ ไม้ทิ้งไปทุก 7 วนั

หลักสตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมีเพอ่ื ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 14 4) ใช้ผงซักฟอก ใส่ในถ้วยรองน้าขาตกู้ ับข้าว หรือ จานรองกระถางต้นไม้ปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ต่อความจุ นา้ 2 ลิตร 5) ใช้เกลอื แกง ใสใ่ นถว้ ยรองน้าขาตกู้ บั ข้าว 6) ใช้ขี้ผ้ึง จาระบี น้ามันเครอ่ื ง น้ามันเหลือใช้ทารอบขาตู้กับข้าวทั้ง 4 ขา เพ่ือป้องกันมดไต่ข้ึนมา แทน การใชน้ า้ หล่อขาตู้ 7) การเติมน้าเดือดจัดเทใส่ในถ้วยรองน้าขาตู้กับข้าวทุก 7 วัน วิธีนี้ใช้ได้กับถ้วยรองขาตู้กับข้าวกันมด ซึง่ ถ้าหากในชว่ ง 7 วันทผ่ี า่ นมามีลกู น้าเกดิ ขน้ึ ลูกน้าก็จะถูกนา้ เดือดตายไป ค. แหลง่ เพาะพันธใ์ุ นภาชนะเศษวัสดุทีไ่ ม่ใช้แล้ว ไดแ้ ก่ เศษภาชนะวสั ดุต่างๆ ที่ไม่ใช้ประโยชน์และทิ้ง กระจายอยู่ท่ัวไปรอบๆบ้าน เช่น ขวด ไหแตก กะลา กระป๋อง เป็นต้น ควรเก็บท้ิง ถมดินทราย ไม่ให้น้าขัง ใส่ผงซกั ฟอก ลงในวสั ดขุ งั นา้ ทเี่ คล่อื นยา้ ยยาก หรอื ดดั แปลงใช้ประโยชน์ 1.2 การปรับปรุงเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม เป็นการควบคุมพาหะตั้งแต่ต้นและได้ผลอย่างถาวร วธิ ีการท่ีใช้ไดผ้ ล ได้แก่ การกาจัดขยะมูลฝอย การระบายน้าเพ่ือลดแหล่งเพาะพันธย์ุ ุง การกาจดั แหล่งเพาะพันธ์ุ โดยการกลบถม การปรับและควบคุมความเร็วของกระแสน้าก็เป็นการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม เพื่อการ ควบคุมพาหะเชน่ เดยี วกัน 1.3 การทาสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม เป็นวิธีการควบคุมยุงพาหะโดยทาสภาพแวดล้อมให้ไม่ เหมาะสมที่จะเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุหวังผลในการควบคุมระยะสั้นวิธีการท่ีได้มีการนามาทดลองใช้ ได้แก่ การจดั การเปลย่ี นแปลงระดับและความเรว็ ของกระแสนา้ การถากถางวัชพืชต่างๆ ริมลาธาร หรอื การปรับสภาพ กรด ด่างของน้าให้มีความไม่เหมาะสมต่อการท่ียุงลายจะมาวางไข่ เช่น การใช้เกลือแกง น้าส้มสายชู ผงซักฟอก ปนู แดง น้าส้ม ใส่ในจานรองขาตกู้ ับข้าว เปน็ ต้น โดยควรใส่อย่างสม่าเสมอ และต้องใส่ให้ครอบคลุมทุกจานรอง ขาตกู้ บั ข้าว เพ่อื ปอ้ งกันยุงลายวางไข่ หมั่นตรวจสอบลูกนา้ ทกุ สัปดาห์ 1.4 การลดการสัมผัสระหว่างคน ยุงพาหะ และเชื้อโรค เป็นวิธีการพ้ืนฐานง่ายๆ ท่ีมีการนามาใช้ ได้แก่ การป้องกันตนเองจากยุงพาหะกัด โดยการใส่เสื้อผา้ มดิ ชิด ทาสารป้องกนั ยุง การใช้ยาจุดกันยุง ป้องกันได้ โดยใช้สารระเหยออกฤทธิ์ขับไล่ยุง สารออกฤทธิ์บางชนิดสามารถทาให้เกิดอาการแพ้ได้ ในการเลือกซื้อควร ตรวจดูสารออกฤทธิอ์ ยา่ งละเอียด ควรเลอื กสารทีม่ ีอันตรายน้อย เชน่ สารในกลุม่ ไพรีทรอยด์สังเคราะห์ หรอื สาร สมุนไพรเพราะค่อนข้างปลอดภัยต่อมนุษย์ การสร้างเครื่องป้องกันยุงเข้าไปกัด ได้แก่ สร้างบ้านที่มีฝาผนังรอบ บา้ นมดิ ชดิ การใช้มุ้งลวด ติดตามประตหู น้าต่าง 2. การควบคุมยุงพาหะโดยชีววิธี การควบคุมโดยวิธีนี้เป็นวิธีการท่ีจะสามารถแก้ปัญหาเก่ียวกับยุง พาหะต้านสารเคมแี ละสามารถดาเนินการได้โดยไม่สง่ ผลต่อสภาพแวดลอ้ ม โดยเฉพาะเกี่ยวกับการมีสว่ นร่วมของ ชุมชน โดยนาส่ิงมีชีวิตไปปล่อยให้มีการควบคุมกันเอง ซึ่งเป็นเรื่องท่ีสามารถดาเนินการได้มีการศึกษาเพ่ือ คัดเลือกส่ิงมีชีวิตที่จะนามาควบคุมพาหะนาโรคมานาน พบว่าส่ิงมีชีวิตท่ีมีแนวโน้มเป็นอย่างมากที่จะสามารถ นามาใช้ในการควบคุมพาหะได้เนื่องจากได้ผ่านการทดสอบเก่ียวกับความปลอดภัย ตลอดจนอันตรายต่อ สภาพแวดลอ้ มแล้ว สิง่ มชี วี ติ เหลา่ น้ี ได้แก่ 2.1 ปลากินลูกน้า การใช้ปลาสาหรับควบคุมลูกน้า เป็นเร่ืองที่น่าสนใจย่ิง และสามารถดาเนินการได้ โดยอาศัยความร่วมมือจากชุมชน เป็นการกาจัดลูกน้ายุงลายที่ง่ายอีกวิธีหนึ่ง เนื่องจากอยู่ในภาชนะ เป็นเป้าน่ิง ปลากนิ ลูกนา้ ท่ใี ช้ เชน่ ปลาหางนกยูง ปลาแกมบเู ซีย ปลาสอด ปลากัด และปลากินลกู น้าชนิดอ่นื ทส่ี ามารถหาได้ ในทอ้ งถน่ิ 2.2 แบคทีเรีย แบคทีเรียมีผลต่อประสิทธิภาพการทางานของเซลล์สร้างน้าย่อย เป็นเหตุให้การย่อย อาหารผิดปกติ ลูกน้าอาจตายได้เพราะสูญเสียธาตุอาหาร แบคทีเรียสามารถสร้างเอนไซม์ทาลายนิวเคลียสของ เซลล์น้าย่อย ทาให้เซลล์แตกและมีรูรั่ว ดังนั้นเม่ือเซลล์รอบท่ออาหารของลูกน้ายุงถูกทาลาย แบคทีเรียจึงมี โอกาสที่จะซึมผ่านเข้าไปในช่องว่างของลาตัวทวีจานวนในระบบเลือด (Bacteremia) หรือทาให้เลือดเป็นพิษ

หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจัดยุงลาย 15 (Septicemia) ในขณะเดียวกัน การซึมผ่านของของเหลวในระบบทางเดินอาหารและระบบเลือดทาให้สภาวะ ความเป็นกรดเป็นด่างภายในทางเดินอาหารและระบบเลือดเสียสมดุล และเน่ืองจากเลือดของแมลงมีคุณสมบัติ เป็น buffer ต่ามากดังนั้นหากระดับความเป็นกรดเป็นด่างในเลือดเปล่ียนแปลงเพียงเล็กน้อยก็สามารถเป็นเหตุ ให้เกิดอาการอัมพาตได้เม่ือเป็นโรคมากๆเนื้อเย่ือและอวัยวะต่างๆ ถูกทาลาย เกิดการสูญเสียน้าจากเซลล์และ อาจรุนแรงจนทาให้ลูกน้าตายได้ในท่ีสุด แบคทีเรียท่ีนิยมนามาพัฒนาทาเป็นผลิตภัณฑ์กาจัดลูกน้ายุงลาย คือ แบคทเี รีย B.t.i. (Bacillus thuringiensisvar. israelensisserotype H-14) 2.3 รา(Fungi) ได้มกี ารศึกษาราหลายชนิด เช่น Culicinomyceselavosporus Coelomomyces Lagenidiumgiganteum และ Tolypocladiumcylindrosporm การศึกษาเกย่ี วกบั เรื่องนี้คาดว่าจะมี ความสมั พนั ธเ์ กี่ยวกบั การควบคุมลกู นา้ ยุงในบางสภาพท้องท่ีได้ 2.4 ไส้เดือนฝอย (Nematode) ไส้เดือนฝอย (mermithid nematodes) เป็นตัวเบียนของลูกน้าโดย ตัวอ่อนของไส้เดือนฝอยจะเข้าไปอาศัยอยู่ภายในบริเวณส่วนอกของลูกน้า เมื่อเจริญเติบโตได้ระยะหนึ่งแล้วก็จะ ไชออกมาทาให้ลูกน้าตายการศึกษาเกี่ยวกับไส้เดือนฝอยส่วนใหญ่มุ่งศึกษาเพื่อนาไปใช้ควบคุมยุงและร้ินดา Simulium sp. มีไส้เดือนฝอยอยู่ 3 ชนิดท่ี กาลังได้รับ การสนใจ ศึกษ าเป็น พิเศษ คือ R. iyengari Romanomermisculicivorax และ Octomyomermismuspratti พบว่า R. culicivorax มีความสามารถใน การกาจัดยุงไดห้ ลายชนิด สามารถดารงชวี ติ ไดใ้ นหลายสภาวะและเล้ยี งขยายพันธุไ์ ดไ้ มย่ าก 2.5 โปรโตซัว (Protozoa) สัตว์เซลล์เดียวหลายชนิดได้รับการศึกษาเพื่อนามาเป็นตัวควบคุมพาหะ เช่น Nosemaalgerae แต่พบว่าโปรโตซัวชนิดนม้ี ีความสามารถในการขยายพนั ธต์ุ ่าในสภาพแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และยัง พบว่าตอ้ งใช้ปรมิ าณของสปอร์สงู ในการควบคมุ ยุงซึ่งไดผ้ ลไม่คุ้มค่า 2.6 เช้ือไวรัส (Viruses) มีการศึกษาในด้านนี้จานวนไม่นอ้ ย เช้ือไวรัสที่พบว่าเป็นตัวการควบคุมพาหะ ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มท่ีมีพิษต่อแมลงได้แก่พวก Nuclear polyhedrosis viruses Cytoplasmic polyhedrosis viruses และพวก Iridoviruses อย่างไรก็ตามการศึกษาในด้านนี้จาเป็นต้องมีความระมัดระวังและต้องใช้ความ ละเอยี ดในการศกึ ษามาก เพราะอาจจะมีผลกระทบต่อมนุษย์สัตวแ์ ละส่ิงแวดล้อมได้ 2.7 ตัวห้าชนิดอ่ืน ตัวห้าเป็นศัตรูตามธรรมชาติที่สามารถควบคุมลูกน้ายุงได้ เช่น แมลงเหน่ียง แมลง ตบั เตา่ ไรน้าจืด ตัวออ่ นแมลงปอ มวนแมลงดาสวน ตัวออ่ นแมลงปอ มวนวนยักษ์ มวนแมลงป่อง ลูกนา้ ยงุ ยกั ษ์ 2.8 การควบคุมโดยวิธีทางพันธุกรรม (Genetic control) การควบคุมโดยวิธีทางพันธุกรรม เช่น การทาให้โครโมโซมของยุงพาหะเปลี่ยนแปลงไป ไม่สามารถนาเชื้อได้หรือทาให้ยุงไม่สามารถสืบพันธ์ุหรือเพ่ิม ปรมิ าณได้ วธิ ีการนี้ไม่ทาให้ยุงตาย แต่ยุงจะถูกควบคุมเช่น ยุงตัวผู้ถกู ทาใหเ้ ป็นหมันโดยการผา่ นกัมมันตรังสีหรือ โดยใช้สารเคมี ซึ่งจะทาให้น้าเชื้อในยุงตัวผู้กลายพันธ์ุการใช้สารเคมีทาให้ยุงเป็นหมันมีความยุ่งยากน้อยกว่าการ ใช้กัมมันตภาพรังสี แต่สารเคมีมักมีพิษต่อสัตว์เลือดอุ่นทาให้เกิดปัญหาต่อส่ิงแวดล้อมและธรรมชาติเสียสมดุล ปัจจุบันมีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านได้ศึกษาพบว่าส่ิงมีชีวิตบางชนิด เช่น Wolbachia pipientis ซึ่งเป็น แบคทเี รยี ทาให้ยงุ เปน็ หมนั ไดใ้ นธรรมชาติ 3. การใช้สารเคมีกาจดั ลูกนา้ ยงุ ลาย 3.1 ทรายกาจัดลูกน้า ทรายท่ีเคลือบด้วยสารเคมี ที่มีช่ือสามัญว่า ทีมีฟอส (Temephos) ซ่ึงเป็น สารเคมีสังเคราะห์ในกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟต (Organophosphates) มีฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบสาคัญ คุณสมบัติที่ดีของ “ทีมีฟอส” คือเป็นพิษสูงต่อตัวอ่อนของยุง ร้ินฝอยทรายแมลงหว่ีขน ริ้นดา และเหา แม้ว่า “ทีมีฟอส” จะมีพิษน้อยต่อคนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆ แต่ “ทีมีฟอส” มีความเป็นพิษสูงต่อนกหลายชนิด เช่น ไก่ฟ้า นกกระทา นกเขา และเป็ด (พาลาภ, 2537) แตห่ ากใช้ในปริมาณท่ีแนะนาพิษจะไม่รุนแรงต่อสัตว์ปีก เหล่านี้ นอกจากน้ีพษิ ต่อปลาค่อนข้างต่ามากยกเว้นปลาเทรา้ (Rainbow trout) จะมีความไวต่อสารสูงมาก และ ยังมีรายงานว่าปลาตระกูลปลาไนก็มีความไวต่อสารเคมีนี้เช่นกัน ดังนั้นควรระวังสัตว์เหล่าน้ีด้วยเวลาใช้ทราย กาจัดลกู นา้

หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 16 3.2 การใช้เกลือแกง น้าส้มสายชู ทั้ง 2 อย่างเป็นของคู่บ้าน/คู่ครัว ที่สามารถนามาใช้ในการควบคุม และกาจดั ลกู นา้ ยุงลายได้โดยเฉพาะท่ถี ้วยหลอ่ ขาตู้กบั ข้าว 1) ควรใชน้ า้ สม้ สายชูไมน่ ้อยกวา่ 1 ช้อนชาครง่ึ ตอ่ หนึง่ ถ้วยรองขาตู้ 2) ใส่เกลือ 2 ช้อนชาในถ้วยรองขาตู้กับข้าวขนาดความจุ 250 มิลลิลิตร พบว่าควบคุมลูกน้าได้นาน มากกวา่ 7 วนั 3.3 การใช้สารซกั ลา้ ง (ผงซกั ฟอกหรือน้ายาซกั ลา้ งท่ัวไป) การกาจัดตัวโม่งและลูกน้ายงุ ลายในภาชนะ/ วัสดุขังน้าขนาดเล็ก เช่น จานรองกระถางต้นไม้ ยางรถยนต์ จานรองขาตู้กับข้าว และวัสดุเหลือใช้ที่ขังน้าฝน รอบๆ บ้าน เปน็ ต้น โดยใช้ผงซักฟอกโรยลงในแหลง่ เพาะพันธุ์ตา่ งๆ โดยตรงในอัตราส่วน ผงซักฟอก 1 ช้อนโต๊ะ ตอ่ ปริมาณความจุของน้าในแหล่งเพาะพันธุ์ปริมาณ 2 ลิตร จะเหน็ ว่าผงซักฟอกจะแพร่กระจายปกคลุมท่ัวผิวน้า เม่ือลูกน้าและตัวโมง่ ของยุงลาย ซึ่งจาเป็นต้องขึ้นมาหายใจ จะดูดซับเอาสารเขา้ สู่ระบบหายใจทาให้ระคายเคือง ต่อระบบ และค่อยๆ ตายในท่สี ดุ 3.4 การใช้สารยับยั้งการเจริญเติบโต (Insect Growth Regulator หรือ IGR) มีให้เลือกใช้ 2 ประเภท คอื 1) สารเคมีสังเคราะห์เลียนแบบ juvenile hormone เป็นสารท่ียบั ย้ังการเจรญิ เติบโตเปลี่ยนจากระยะ ลูกน้าเป็นระยะดักแด้ ลูกน้าจะตายก่อนที่จะเปล่ียนรูปร่างเป็นดักแด้ได้ หรือหากสามารถเปล่ียนรูปร่างเป็นระยะ ดักแด้ได้ ส่วนใหญ่ก็จะตายคาระยะดักแด้ ในบางครั้งหากดักแด้ยังมีชีวิตรอดและเจริญไปจนถึงระยะลอกคราบ เป็นยุงตัวเต็มวัยได้ ยุงท่ีเกิดขนึ้ กม็ ักไม่แข็งแรงมักสังเกตเห็นตายคาคราบดักแด้เสมอ สารน้ีท่ีพบมีจาหน่าย ได้แก่ pyriproxyfen เปน็ ตน้ 2) สารเคมีสังเคราะห์เลียนแบบ Ecdysoid hormone ยับย้ังการแข็งตัวของไคติน (ไคติน คือ เปลือก แข็งที่ห่อหุ้มลาตัวแมลง) หลงั จากลูกน้าลอกคราบเปลี่ยนระยะและสลดั คราบเกา่ ออกแล้ว ดงั น้ันลาตวั ของลูกน้า จะอ่อนน่ิมไม่มีเปลือกแข็งเกิดข้ึน ทาให้การว่ายน้าและกระบวนการต่างๆ ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ ทาให้ลูกน้าตาย ในที่สุด สารนี้จะออกฤทธิ์ได้กับลูกน้าทุกระยะเน่ืองจากระยะลูกน้ามี 4 ระยะ สารน้ีที่พบมีจาหน่าย ได้แก่ Diflubenzuron เปน็ ตน้ 4. การใช้สารเคมีควบคุมตัวเต็มวัย 4.1 การพ่นหมอกควัน เป็นการทาให้เกิดอากาศรอ้ นโดยเผาไหม้น้ามันเบนซิน แล้วอากาศร้อนจะทาให้ สารเคมีกาจัดแมลงที่ละลายอยู่ในน้ามันดีเซลแตกตัวออกเป็นควัน โดยควันจะลอยไปสู่พื้นที่เป้าหมายและฆ่ายุง โดยยุงได้รับสารเคมีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ข้อดี ฆ่ายุงได้อย่างรวดเร็ว โดยมุง่ หวังที่จะฆ่ายุงที่มีเช้ือโรคมาสู่ คน ในสภาพที่ปิดละอองสารเคมีลอยอยู่ได้นานและแพร่กระจายไดท้ ุกส่วนของห้อง ได้ผลทางจิตวิทยา ข้อจากัด ในสภาพท่ีเปิดมีกระแสลม หมอกควันอาจลอยขึ้นบนอากาศอย่างรวดเร็วการพ่นได้ผลน้อย ราคาเคร่ืองพ่นสูง ขณะพ่นมีควันมากเป็นข้อจากัดด้านการจราจร หากเครือ่ งพ่นไม่มีคุณภาพหรือพ่นไม่ถูกต้องอาจเกิดคราบน้ามัน สกปรก 4.2 การพ่นฝอยละเอียด (ยูแอลวี) เป็นการทาให้เกิดแรงอัดอากาศสูง ทาให้สารเคมีกาจัดแมลงท่ี ละลายอยู่ในตัวทาละลายท่ีเหมาะสมแตกตัวเป็นละอองเล็ก ๆ ลอยไปสู่พ้ืนท่ีเป้าหมายและฆ่ายุง โดยยุงได้รับ สารเคมีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ข้อดี ฆ่ายุงได้อย่างรวดเร็ว โดยมุ่งหวังท่ีจะฆ่ายุงที่มีเช้ือโรคมาสู่คน ใช้ สารเคมีต่อพ้ืนที่น้อย ลดปัญหาการเปรอะเป้ือน ข้อจากัด ยุงท่ีหากินหรือเกาะพัก ขณะที่ทาการพ่น จึงมีความ เหมาะสมต่อการควบคุมยุงท่ีมีแหล่งเกาะพักในบ้านหรือรอบบ้าน เช่น ยุงลาย ราคาเครอื่ งพ่นสูง การไม่มีหมอก ควนั ผู้ทาการพ่นต้องปอ้ งกนั ตัวเองอยา่ งดีประชาชนบางกล่มุ ยังชอบให้มหี มอกควนั 4.3 การใช้สเปรย์กาจัดแมลงกระป๋องอัดแกส๊ เป็นผลิตภัณฑ์ใช้กาจัดยุงแมลงสาบ และแมลงบินขนาด เลก็ อ่ืนๆ ในบ้านเรือน ในโรงงานอุตสาหกรรม หรืออาคารสถานทต่ี ่างๆ มรี ูปแบบเปน็ กระป๋องเหล็กอดั ก๊าซพร้อม ฉดี ประกอบด้วยสารเคมีกาจดั แมลง 1- 4 ชนิด ตัวทาละลาย และสารขบั ดัน บรรจุในกระป๋องโลหะทรงกระบอก

หลักสตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 17 มปี ุ่มกดใหส้ ารออกมาเป็นละอองฝอยในรูปของสเปรย์ สามารถป้องกันสารเคมีเปรอะเปื้อนมือขณะฉีด รูปแบบนี้ สะดวกในการใชส้ ามารถใชไ้ ดท้ ันที เก็บรกั ษางา่ ย แต่ควรระมัดระวังถ้ากระปอ๋ งมีรอยรั่วหรอื ถูกเผาจะระเบิดเป็น เศษโลหะชิ้นเล็กๆ ได้สารออกฤทธิห์ ลกั เปน็ กลมุ่ ไพรที รอยด์ มพี ิษต่อแมลงสงู แตม่ พี ษิ ต่อสัตวเ์ ลี้ยงลูกดว้ ยนมต่า

หลักสตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจัดยุงลาย 18 แผนการเรยี นหนว่ ยท่ี 2 เรอื่ ง ความรเู้ ร่ืองสารเคมีกาจัดแมลงและการปอ้ งกันอันตรายจากสารเคมีท้งั ตนเอง และชมุ ชน วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายวิธีการเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสมกับแมลงที่จะควบคุมและมี ประสิทธิภาพสงู ในการควบคมุ แมลง 2. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถอธิบายวิธกี ารป้องกนั อนั ตรายจากสารเคมีในการปฏิบัตงิ านควบคุมโรค สาระสาคัญ 1. สารเคมีที่ใชใ้ นการกาจดั แมลง 2. การป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากสารเคมี หมายถึง การป้องกันอันตรายท่ีเกิดจากการสัมผัสสารเคมี โดยตรง ในระหว่างการเตรียมการพ่นเคมี ขณะที่กาลังพ่นเคมี และหลังจากพ่นเคมีเสร็จ การเก็บรักษาสารเคมี และกาจดั ขยะจากการใชส้ ารเคมี องค์ประกอบเนอ้ื หา 1. สารเคมีท่ีใช้ในการกาจดั แมลง 2. การปอ้ งกนั อันตรายจากสารเคมที ง้ั ตนเองและชุมชน 3. คาแนะนาความปลอดภัยสาหรบั เจ้าหน้าท่ีพน่ เคมี 4. อปุ กรณท์ ีจ่ าเป็นในการปอ้ งกันการสมั ผัสสารเคมี 5. มาตรการท่คี วรทราบ เกย่ี วกบั การใชส้ ารเคมเี พื่อลดอนั ตรายจากสารเคมีท่ใี ชก้ าจัดแมลง 6. การปอ้ งกันอนั ตรายจากสารเคมี 7. การปฐมพยาบาล ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที ข้ันตอนและวิธนี าเสนอ บรรยายโดยใชโ้ ปรแกรมนาเสนอ ขั้นตอนการอบรม กจิ กรรมการอบรม สอื่ และอุปกรณ์ประกอบ ข้ันนาเข้าส่บู ทเรียน - วทิ ยากรใชค้ าถามนา ให้ผเู้ รยี นพูดถงึ - Computer/Notebook - LCD (10 นาที) ประสบการณ์การควบคมุ ยุงลายตวั เต็มวัย - Power point - เอกสารประกอบการสอน ขั้นอบรม - วิทยากรอธิบายประเภท การป้องกนั กาจดั (1 ช่วั โมง ) ลูกน้ายุงลาย และยุงลาย ด้วยวธิ ีการทางกายภาพ ชวี วิธี และการใช้สารเคมี อธิบายการปอ้ งกัน ตนเอง การปฏบิ ัตติ นของเจา้ หน้าทพ่ี ่นเคมี ขั้นสรุป ( 20 นาท)ี - สรุปสารเคมกี าจดั แมลง การป้องกันตนเองจาก สารเคมี ตอบข้อซักถามและแลกเปลย่ี นขอ้ คดิ เหน็

หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 19 เน้ือหา ความรเู้ รือ่ งสารกาจัดแมลง สารกาจัดแมลง หมายถึง สารเคมที ี่สามารถฆ่า หรือไล่แมลงให้หนีไป สารเคมีชนิดนีม้ ีการใช้ 2 ทาง คือ ใช้ในทางการเกษตร และใช้ในทางสาธารณสุขเพ่อื ควบคุมแมลงศัตรูในบ้านเรือน ไมใ่ ห้นาโรคมาสู่มนุษย์และสัตว์ ในการใช้สารเคมีดังกล่าวอย่างถูกตอ้ ง มีประสิทธิภาพและปลอดภัย ผู้ใช้จะต้องทราบข้อมูลต่างๆ เก่ียวกับสารท่ี ใชก้ ารแบง่ กลมุ่ สารกาจดั แมลง ตามองค์ประกอบทางเคมเี ป็น 2 กล่มุ ใหญ่ๆ 1. สารประกอบอนนิ ทรีย์ (Inorganic compounds) 2. สารประกอบอนิ ทรยี ์ (Organic compounds) สารประกอบอนินทรยี ์ (Inorganic compounds) สารประกอบอนินทรีย์เป็นสารท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ไม่มีองค์ประกอบของคาร์บอน (C) อยู่ใน โครงสร้างมีคุณสมบัติค่อนข้างคงทน มีการตกค้างยาวนาน ส่วนใหญ่ละลายน้าได้ แต่สารกลุ่มนี้มักมีพิษสูงและ เป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์ เช่น สารหนู (arsenic) กามะถัน ปรอท เป็นต้น ปัจจุบันสารกลุ่มน้ีถูกแทนท่ีด้วย สารประกอบอินทรีย์ไปแล้วเนื่องจากมีความปลอดภัยและฤทธ์ิตกค้างไม่ยาวนานเกินไป ตัวอย่างสารประกอบ กลุม่ นี้ ไดแ้ ก่ copper sulfate sodium arsenite, boric acid sodium fluoride เป็นต้น สารประกอบอินทรีย์ (Organic compounds) สารประกอบอินทรีย์เป็นสารที่มนุษย์สังเคราะห์ หรือสกัดข้ึนมาจากพืชมีธาตุองค์ประกอบที่สาคัญ คือ คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) เป็นหลักและมีธาตุอ่ืนๆ มาประกอบร่วมด้วย เช่น คลอรีน (Cl) ออกซิเจน (O) ฟอสฟอรัส (P) และไนโตรเจน (N) ซ่ึงธาตุเหล่านี้เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบของเน้ือเยื่อหรือสารเคมีต่างๆ ใน สิ่งมีชีวิต สามารถย่อยสลายได้ง่ายกว่าสารประกอบอนินทรีย์ สามารถแบ่งสารประกอบอินทรีย์เป็นกลุ่มย่อย ต่างๆ ไดแ้ ก่ 1. สารสกดั จากพืช (Botanical insecticide) หรืออาจเรียกว่าสารกาจัดแมลงจากธรรมชาติ (natural insecticides) หมายถงึ สารเคมีท่ีไดจ้ ากพืช แต่เป็นสารที่มีฤทธิเ์ ปน็ สารกาจดั แมลง ได้แก่ 1.1 สารสกัดจากสะเดา (Azadirachta indica) มีคุณสมบัติในการฆ่า ไล่ ยับยั้งการกิน และยับย้ังการ เจริญเติบโตของแมลง 1.2 สารนิโคติน (nicotine) เป็นสาร alkaloids ท่ีสกัดได้จากใบยาสูบ มีกลไกการออกฤทธ์ิโดยโมเลกุล คลา้ ยกบั สารส่ือกระแสประสาท (neurotransmitter) อะซิตลิ โคลิน (acetylcholine) มีตาแหน่งการออกฤทธ์ิใน ระบบประสาทสว่ นกลางของแมลงทาให้กลา้ มเนอ้ื ส่นั ชักกระตกุ และตายในที่สุด 1.3 สารไพริทริน (pyrethrin) เป็นสารที่สกัดได้จากดอกไพริทริน (Pyrethrim) มีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Chrysanthemum cinerariafolium สารไพริทรินมีคุณสมบัติในการออกฤทธ์ิแบบสัมผัสต่อแมลง ทาให้แมลง สลบและตายอย่างรวดเร็ว สารน้ีคอ่ นข้างปลอดภัยตอ่ มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ จึงมกี ารใช้ในการควบคมุ แมลงในบ้านเรือน ไพรทิ รนิ ออกฤทธ์ิต่อการส่งผา่ นกระแสประสาทในแอกซอนไม่ยอมหยดุ ทาใหแ้ มลงเปน็ อมั พาตและตายในทส่ี ุด 1.4 สารโรทีโนน (rotenone) เป็นสารสกัดจากรากของพืชตระกูล Derris spp. เช่น โลต่ น้ิ มีพิษต่อปลา สงู สารโรตีโนนสลายตวั ไดง้ า่ ยเม่อื โดนแสงและอากาศ มีกลไกการเข้าทาลายแบบกินและสมั ผสั ไม่ดูดซึม สามารถใช้ควบคุมแมลงหลายชนดิ เช่น เพลย้ี ออ่ น เพลีย้ ไฟ ด้วงปกี แขง็ หนอนผีเส้อื เป็นตน้

หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 20 2. สารประกอบออรก์ าโนคลอรีน (Organochlorine compounds) สารกลุ่มน้ีเป็นสารอินทรีย์สังเคราะห์เป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน (H) คาร์บอน (C) และ คลอรีน(Cl) สารเคมีกลุ่มนี้มีการสลายตัวช้าและพบว่ามีการสะสมอยู่ตามดิน น้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในร่างกาย ของมนุษย์และสัตว์เลี้ยง สารเคมีท่ีรู้จักกันดีและใช้กันมาก ได้แก่ ดีดีที (DDT) ดีลดริน (dieldrin) ออลดริน (aldrin) ท็อกซาฟีน (toxaphene) คลอเดน (chlordane) ลินเดน (lindane) และแกมม่า เอชซีเอช (gamma HCH) เป็นต้น มีกลไกการออกฤทธิ์โดยไปมีผลต่อการส่งกระแสประสาทในเส้นประสาท axon โดยทาลายความ สมดุล ของโซเดียมและโปแตสเซียมอิออนในเส้นประสาทดังกล่าวทั้งในแมลงและสัตว์เลือดอุ่น หลายชนิดถูก ถอนทะเบียน ไม่สามารถผลิต นาเข้า ส่งออกและครอบครองได้ 3. สารกาจัดแมลงกล่มุ ออรก์ าในฟอสเฟต (Organophosphorus compounds : OPs) หลังจากท่ีพบว่า Organochlorine มีการสะสมและมพี ิษตกค้างในสิ่งแวดล้อมเปน็ เวลานาน ทาให้เกิด มลภาวะแก่ดินและน้า การใช้สารเคมีกาจัดแมลงจึงได้เปลี่ยนไปใช้พวกสารประกอบท่ีมีฟอสฟอรัสเป็นตัวหลัก มากขึ้นและในขณะนี้เป็นยุคที่มีการใช้สารเคมีกลุ่มน้ีมากท้ังในด้านการเกษตรและในวงการสาธารณสุข แต่การ เป็นพิษเกิดข้ึนได้เร็วกว่า Organochlorine และสลายตัวก็เร็วกว่า สารเคมีในกลุ่มนี้ที่ใช้กันมาก ได้แก่ มาลาไธ ออน (malathion) เฟนนิโตรไธออน (fenitrothion) พิริมิฟอสเมธิล (pirimiphos methyl) และไดคลอวอส (dichlorvos หรือ DDVP) เป็นต้น กลไกการออกฤทธิ์ของสารกลุ่ม OPs คือ ไปยับยั้งการทางานของเอนไซม์ acetylcholinesterase เม่ื อ เอ น ไซ ม์ ถู ก จั บ ด้ ว ย โม เล กุ ล ส าร OPs เอ น ไซ ม์ นั้ น อ ยู่ ใน รูป ท่ี เรีย ก ว่ า phosphorylated enzyme อย่างไรก็ตามการจับดังกล่าว ถูกปลดปล่อยออกมาได้ ผลการยับย้ังเอนไซม์ชนิดนี้ ทาให้มีการสะสมของสาร acetylcholine (ACh) บริเวณรอยต่อ ระหว่างเซลล์ประสาท (neuron/neuron junction) หรือท่ีเรียกว่าบริเวณ synapse หรือระหว่างเซลล์ประสาทกับกล้ามเนื้อ (neuron/muscle junction) สง่ ผลให้กล้ามเนอ้ื สัน่ และชกั กระตุกรนุ แรงทาให้แมลงอัมพาต และตายในทสี่ ุด 4. สารกาจัดแมลงกลุ่มคารบ์ าเมท (Carbamate compounds) เป็นสารประกอบอีกกลุ่มหนึ่งที่ถูกนามาใช้ในการกาจัดแมลง อาการเป็นพิษเกิดข้ึนได้เร็วและสลายตัว เร็วสารเคมีกลุ่มนี้เป็นเอสเทอร์ของกรด cabamic acid ท่ีรู้จักกันมาก คือ โพรพ็อกเซอร์ (propoxur) เบนไดโอ คารบ์ (bendiocarb) เปน็ ต้น สารกลมุ่ น้ีมีการออกฤทธใิ์ นการควบคมุ แมลงเหมือนสารกล่มุ organophosphates โดยท่ัวไปมีการตกค้างส้ันกว่ากลุ่ม organophosphates สามารถออกฤทธ์ิในการควบคุมแมลงได้กว้างขวาง (broad–spectrum) 5. กล่มุ Pyrethroids เป็นสารเคมีกลุ่มที่สังเคราะห์ข้ึนโดยมีความสัมพันธ์ตามโครงสร้างของ pyrethrins ซึ่งสกัดได้จากดอก ไพรีทรัมเป็นสารเคมีท่ีมีความเป็นพิษต่อแมลงสูง แต่มีความเป็นพิษต่อสัตว์เลือดอุ่นต่า อย่างไรก็ตาม สารเคมี กลุ่มนี้มีราคาแพงมากเมื่อเทียบกับสารเคมีกลุ่มอื่นๆ ที่เป็นท่ีรู้จักและใช้กันมากในขณะนี้ ได้แก่ เดลตาเมทริน (deltamethrin) เพอร์เมทริน (permethrin) เรสเมทริน (resmethrin) และไบโอเรสเมทริน (bioresmethrin) เปน็ ต้น นอกจากสารเคมีทั้ง 5 กลุ่มท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ยังมีสารเคมีกลุ่มอ่ืน ๆ ท่ีใช้ในการกาจัดตัวอ่อน ของแมลงไดแ้ ก่ ก. สารยับย้ังการเจรญิ เติบโต (Insect development inhibitor) เป็นพวก juvenoids หรอื juvenile hormones ได้แก่ methoprene pyriproxyfen และ diflubenzuron สารพวกนี้จะออกฤทธิ์ทาให้ตัวอ่อนของ แมลงตายหรือมีการเจรญิ เตบิ โตทผ่ี ดิ ไปจากปกติ ข. Microbial insecticides ความจริงแล้วสารกาจัดแมลงในกลุ่มนี้ไม่ใช่สารเคมี แต่เป็นสารพิษของจุล ชีพ (เช่น แบคทีเรีย) ที่สามารถก่อให้เกดิ อันตรายแกต่ ัวอ่อนของแมลง โดยเฉพาะลูกน้ายุง ขณะน้ีกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ร่วมกับทบวงมหาวิทยาลัยกาลังดาเนินการศึกษาค้นคว้าทดลอง

หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 21 สารพิษจากแบคทีเรีย ซ่ึงตัวแบคทีเรียที่สาคัญที่ควรรู้จักไว้ก็คือ Bacillus thuringiensis และ Bacillus sphaericus หลักในการพิจารณาเลอื กใช้สารเคมีกาจัดแมลง 1. มีประสิทธิภาพในการกาจัดแมลงเป้าหมายสงู แตม่ พี ษิ ต่าต่อส่ิงมชี วี ติ อ่นื 2. มคี วามเป็นพษิ ตอ่ คนและสัตว์เล้ยี งต่า 3. มผี ลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อมตา่ คือ ต้องสลายตัวเร็วและมกี ารสะสมในดนิ และน้าน้อย 4. มผี ลกระทบตา่ ต่อแมลงท่ีมปี ระโยชน์ (เช่น ผ้งึ ) และตอ่ ส่งิ มีชวี ติ อนื่ ๆ (เช่น นก กุ้ง และปลา) 5. ราคาไม่แพงและหาซ้อื ได้สะดวก 6. ไม่ทาให้เกิดรอยเป้ือนหรือเป็นคราบสกปรกตดิ กบั ฝาผนงั และเครื่องเรอื น 7. สามารถใช้ได้กับเครื่องพน่ ทม่ี ีอยู่และไมท่ าใหเ้ คร่ืองพ่นผุกร่อนสึกหรอง่าย 8. ตามปกตผิ ทู้ ใี่ ช้สารเคมีกาจดั แมลงเป็นประจา โอกาสท่ีจะเป็นพษิ ทางการสัมผสั มกั เปน็ ไปได้มากกว่า พิษทางการกลนื กินเขา้ ไป และทางการหายใจเข้าไป ดงั นัน้ ควรเลือกใช้สารทม่ี ีพษิ ต่าเมอื่ ได้รบั ทางผวิ หนงั 9. ตอ้ งเลือกใชช้ นดิ ท่ีขึน้ ทะเบียน อย. จงึ จะใช้พ่นยงุ ไดอ้ ย่างปลอดภัย สารเคมกี าจดั แมลงมี 2 ประเภท 1. ใช้ในทางการเกษตร เหมาะกับการใช้ในเทอื กสวน ไร่นา ซ่ึงหา่ งไกลจากทอ่ี ยอู่ าศัยออกไป ใช้สารเคมี และตัวทาละลายท่ีมีคุณภาพอีกระดับหนึ่งซึ่งจะมีราคาต่ากว่าแต่จะมีความเป็นพิษสูงกว่า ห้ามซ้ือมาพ่นยุงโดย เดด็ ขาด 2. ใช้ในทางสาธารณสุข คือ ใช้ในอาคารบา้ นเรอื นนนั่ เอง ดังนั้นตอ้ งมีความปลอดภัยสูงเพราะแหล่งทใ่ี ช้ สารอยู่ใกล้ชิดกับมนุษย์มาก สารที่ใช้นี้จะมีคุณภาพที่ดีกว่า ตัวทาละลายจะมีความปลอดภัยกับคนและสัตว์ มากกวา่ หมายเหตุ ต้องสังเกตที่ฉลาก ว่าสารเคมีชนิดท่ีใช้ขึ้นทะเบียนกับทางสานักงานอาหารและยาและมี เคร่อื งหมาย อย. และคาวา่ วอส. ......./…… วอส. คือ วตั ถุอันตรายท่ีใชใ้ นทางสาธารณสุข การป้องกนั อันตรายจากสารเคมีทัง้ ตนเองและชุมชน สารกาจัดแมลงสามารถทาให้เกิดพิษกับมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เพราะสารจะออกฤทธ์ิต่อแมลง โดยการเข้าไปโจมตีแมลงเป้าหมายท่ีเซลต่างๆภายในร่างกาย หรือเอนไซม์เป้าหมาย ในปริมาณที่มากพอท่จี ะฆ่า แมลงได้ ดังนั้นสารเคมีเหล่าน้ีย่อมมีคุณสมบัติในด้าน การแทรกซึม การคงตัว การกระจายตัว การ สลายตัว ในส่งิ มชี ีวิตแนน่ อน คนและสัตวย์ อ่ มได้รับผลกระทบนดี้ ้วย ซ่ึงลักษณะตา่ งๆนี้จะมีผลมากน้อยข้ึนอยกู่ ับ ชนิดและรูปแบบของสาร พษิ ทเี่ กดิ จากสารกาจัดแมลง มี 2 แบบ 1. เป็นพิษแบบเฉียบพลัน (acute toxic) อาการพิษจะแสดงออกมาอย่างรวดเร็ว เกิดจากการได้รับ สารกาจัดแมลงเข้าไปในร่างกายเพียงคร้ังเดียวอย่างกะทันหัน หรือได้รับหลายครั้งในเวลาส้ันๆ แต่ได้รับเป็น ปริมาณมากๆ อาจกอ่ ให้เกดิ อนั ตรายแบบน้ีมกั รนุ แรงและอาจทาให้เสยี ชีวติ ได้ 2. เป็นพิษแบบเร้ือรัง (chronic toxic) ต้องใช้ระยะเวลายาวนานกว่าจะแสดงอาการออกมา เกิดจาก การได้รับสารกาจัดแมลงเข้าไปในร่างกายในปริมาณน้อยๆ แต่ได้รับหลายครั้งติดต่อกันเป็นเวลานาน ทาให้ ร่างกายจะสะสมสารพษิ นั้นไว้เรื่อยๆพอถึงระดับหน่งึ จึงทาให้เกิดอาการใหเ้ หน็ ทาใหส้ ุขภาพไมแ่ ข็งแรง และอาจ เป็นสาเหตุหน่ึงทท่ี าให้เกดิ อมั พาตหรอื โรคมะเร็งได้

หลักสตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 22 การเกิดพิษของสารกาจัดแมลง การเกิดพิษของสารกาจัดแมลง ต้องเข้าใจความหมายของคาว่า ความเป็นพิษ (toxicity) และอันตราย (hazard) ดังนี้ ความเป็นพิษ (toxicity) หมายถึง คุณสมบัติท่ีมีประจาตัวของสารชนิดน้ันๆท่ีสามารถทาให้เกิดความ เสียหายหรือการทาลายสิง่ มชี วี ติ ชนิดต่างๆได้ อันตราย (hazard) หมายถงึ ความเสย่ี งทีจ่ ะเกิดพษิ ข้นึ กับตนเองและผู้อน่ื จากการใชส้ ารพิษน้ันๆ ดังนั้น สารท่ีมีพิษมากท่ีสุดอาจมีอันตรายต่าที่สุดก็เป็นไปได้ หรือสารท่ีมีพิษน้อยกว่าแต่กลับมีอันตรายมากกว่าก็ได้ ขึ้นอยู่กับวิธีการใช้ที่ถูกวิธีและความระมัดระวังของผู้ใช้ นอกจากนี้อันตรายยังขึ้นอยู่กับปริมาณที่สัมผัสสาร มากนอ้ ย (contaminate) และระยะเวลาที่สัมผสั สารมากน้อย (time) ด้วย ซ่งึ สามารถเขียนเป็นสมการได้ ดังนี้ อนั ตราย (hazard) = ความเป็นพิษ (toxicity) x ปริมาณที่สัมผสั สาร (contaminate) x ระยะเวลาท่ีสมั ผัส หากตัวแปรตัวใดตัวหน่ึงเป็นศูนย์ อันตรายจะมีค่าเป็นศูนย์ด้วย เช่น หากสัมผัสสารในปริมาณน้อยค่า อนั ตรายจะมีค่าลดอันตรายจะมคี ่าลดลงตาม หรือหากเวลาในการสัมผัสสารสัน้ คา่ อันตรายจะมคี ่าลดอันตรายจะ มีค่าลดลงตามเช่นกัน หรือหากปริมาณที่สัมผัสก็น้อยเวลาในการสัมผัสก็สั้นเมื่อใช้สมการคานวณออกมา ค่า ความเป็นอันตรายกจ็ ะย่ิงนอ้ ยไปดว้ ย ดังน้ันหากต้องการให้อันตรายลดลงเราก็ต้องใช้วิธี ลดความเป็นพิษ ลดปริมาณที่สัมผัสสาร ลด ระยะเวลาท่สี ัมผัสสาร ซึ่งสามารถทาได้โดย 1. เลือกใช้สารกาจัดแมลงที่ปลอดภัย มพี ษิ ต่อสัตวเ์ ลี้ยงลกู ดว้ ยนมตา่ (ช่วยลดความเปน็ พิษ) 2. เลือกสารทมี่ ีความเป็นพิษทางผวิ หนังต่า (ช่วยลดความเปน็ พษิ ) 3. เลือกใช้ความเข้มข้นต่าท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ (ผสมสารให้ถูกต้องตามที่องค์การอนามัยโลกแนะนาห้าม ผสมเข้มขน้ เกินกว่าที่กาหนด) (ช่วยลดความเป็นพิษ) 4. ผูใ้ ช้สารกาจัดแมลงสวมชดุ ป้องกนั หรือเสือ้ ผา้ ป้องกันทเ่ี หมาะสม (ช่วยลดปริมาณการสมั ผัสสาร) 5. หลีกเล่ียงการสัมผัสสารกาจัดแมลง เช่น อยู่เหนือลม การใช้ถุงมือเวลาปฏิบัติงาน (ช่วยลดปริมาณ การสมั ผสั สาร) 6. เรียนรู้เทคนิคในการใช้เครื่องพ่นและเทคนิคการพน่ เพื่อการปฏิบตั ิงานอย่างถูกต้อง (ชว่ ยลดปริมาณ การสัมผัสสาร) 7. อยา่ ปฏิบัตงิ านเกินเวลาที่กาหนดไว้ (ชว่ ยลดระยะเวลาที่ต้องสัมผสั สาร) 8. ล้างทาความสะอาดผิวหนังทส่ี ัมผสั กบั สารกาจดั แมลง (ช่วยลดระยะเวลาท่ตี ้องสมั ผัสสาร) 9. ซัก/ล้าง เสื้อผ้าและเครื่องป้องกันบ่อยๆ (ช่วยลดระยะเวลาท่ีต้องสัมผัสสาร)(การไม่ซักทาความ สะอาดชุดป้องกันสารเคมี หรือชุดที่ใส่พ่นสารเคมี เป็นการเพ่ิมทั้งปริมาณสารกาจัดแมลงที่ต้องสัมผัสและเป็น การเพิม่ เวลาในการสมั ผสั กับสารกาจัดแมลงนานข้นึ ทาให้เพมิ่ ความเสี่ยงที่เกดิ จะอันตรายมากขึ้น) ในการพ่นยุงแม้วา่ สารไพรที รอยด์ เปน็ สารท่ีคอ่ นข้างปลอดภัย แต่อาจกอ่ ให้เกิดอันตรายไดห้ ากผสมสาร เข้มข้นเกินกว่ามาตรฐานกาหนด โดยผู้ไม่มีความรู้ เคร่ืองพ่นไม่ได้มาตรฐาน และไม่มีอุปกรณ์ป้องกันสารกาจัด แมลงบางชนิดมีระบบการเตือนภัยในตัวเองเพ่ือให้ผู้ใช้และประชาชนรับรู้ เช่น กลิ่นเหม็นการระคายเคือง เป็น ตน้ กลุ่มคาร์บาเมต (carbamate) ก็มีการเตือนภัยในตัวเช่นกันคือ ผู้ท่ีสัมผัสสารกลุ่มน้ีมากเกินไปจะมี อาการปว่ ยและไม่สามารถทางานได้ ต้องหยุดทางานและหยดุ สัมผัสสาร หากไดห้ ยุดสัมผัสสารแลว้ ผู้ป่วยจะหาย จากอาการเอง

หลักสตู รเทคนิคการพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจัดยงุ ลาย 23 การไดร้ บั สารพษิ เขา้ สู่รา่ งกาย 1. ทางปาก ผู้พ่นมักได้รับสารพิษทางปากผ่านการปนเปื้อนเวลารับประทานอาหารหรือสูบบุหร่ี เน่ืองจากไม่ล้างมือให้สะอาดก่อน และบางคร้ังอาจได้รับสารพิษเนื่องจากการทาความสะอาดท่อนาสารเคมีหรือ หวั ฉีดโดยการใช้ปากเป่า 2. ทางการหายใจ สารออกฤทธ์ิในรูปก๊าซหรือไอน้า จะถูกดูดซึมเข้าสรู่ ่างกายไดอ้ ย่างรวดเร็ว เน่ืองจาก มีอนภุ าคขนาดเลก็ ๆ ก็เช่นกัน ขนาด 1-5 μm สามารถสะสมภายในปอดได้ 3. ทางผิวหนัง ความสามารถในการละลายของสารออกฤทธิ์ของสารกาจัดแมลงเป็นตัวบ่งบอก ความสามารถในการดูดซึมเข้าสผู่ ิวหนังไดด้ ีมากน้อยอยา่ งไร สารกาจัดแมลงทีล่ ะลายในน้าหรือไขมันไดน้ ้อยจะไม่ สามารถแทรกซึมผ่านผิวหนัง ดังน้ันในทางกลับกันสารที่ละลายได้ดีในน้าหรือไขมันได้ดีจะซึมผ่านผิวหนังได้ดี การดูดซึมผ่านผิวหนังในส่วนต่างๆของร่างกายจะให้ผลแตกต่างกัน สารกาจัดแมลงท่ีตกค้างบนผิวหนังโดยที่เรา มองไมเ่ ห็น สามารถแทรกซึมเข้าส่ผู วิ หนังไดแ้ ละสามารถทาให้เกดิ พิษได้ถา้ ไม่ล้างออกขณะทใี่ ช้หรอื หลงั จากเสร็จ งานชดุ ปอ้ งกนั สารเคมี การปอ้ งกนั สารเคมไี ม่ให้สมั ผสั กบั ร่างกาย 1. ชุดใส่ป้องกันสารเคมี (ชุดพ่นสารเคมี) ทาด้วยผ้าฝ้ายแขนยาว มีกระดุมติดที่ข้อมือและคอ ชุดท่ีดี ควรปกคลุมผิวหนังได้ประมาณ 85 % ถ้าเน้ือผ้าหนาจะป้องกันไดด้ ีกว่า แต่อาจทาให้ร้อน หากไม่มีชุดพ่นสารให้ ใช้เสื้อแขนยาวผ้าหนาๆ และกางเกงขายาวแทนได้ โดยใส่คลุมเส้ือตัวในอีกที (เวลาผสมสารเคมีก็ต้องใส่ชุด ป้องกนั ให้ครบดว้ ย เน่อื งจากต้องทางานกบั สารเคมที ม่ี คี วามเข้มข้นสูง) 2. ถงุ มือยาง มีความจาเป็นมากเวลาท่ตี ้องสมั ผัสหรือผสมสารเคมีเข้มขน้ (ถุงมือต้องสามารถกันสารเคมี ซึมเขา้ ไปถึงผวิ หนัง มือจะต้องสะอาดไม่มีสารเคมีเปรอะเปอ้ื นก่อนสวมถุงมือ และถุงมือต้องไม่มรี อยฉกี ขาด) 3. รองเท้าบู๊ตยางหรือพลาสติก ในกรณีที่ต้องทางานกับสารเคมีที่มีความเข้มข้นสูง ชุดกันเป้ือนควรให้ คลมุ รองเท้าบูต๊ ดว้ ย เมอื่ เสรจ็ งานควรลา้ งท้ังนอกและในตากให้แหง้ 4. แว่นตาปอ้ งกันสารเคมี ชว่ ยป้องกนั ดวงตาเวลาผสมสารเคมี และป้องกันละอองสารเคมีเวลาพน่ 5. หน้ากากกันละอองสารเคมี ควรเป็นแบบกระดาษที่ใช้แล้วทิ้งได้ เบอร์ที่ใช้ป้องกันละอองสารเคมี เล็กๆได้คือเบอร์ N95 แต่ถ้าไม่มีหาไม่ได้ใช้หน้ากากผ้าแทนก็ได้ (หน้ากากกระดาษท่ีใช้ทางการแพทย์ปกติใช้ ป้องกันของเหลวจากร่างกาย เชน่ นา้ มูก นา้ ลาย สว่ นละอองสามารถปอ้ งกนั ได้แตล่ ะอองทม่ี ีขนาดใหญ่ๆ) 6. หมวกปีกกว้าง ใช้ป้องกันเวลาพ่นภายในอาคารเพื่อป้องกันละอองสารเคมีตกใส่หนังศีรษะ หมวก ควรเปน็ วัสดทุ ่ปี อ้ งกันละอองความช้นื ได้ สามารถล้างได้ง่าย และมีนา้ หนักเบา คาแนะนาความปลอดภยั สาหรบั เจ้าหนา้ ท่ีพน่ เคมี สุขวทิ ยาส่วนบคุ คล 1. ผู้พ่นต้องสวมชุดป้องกัน หรือเสื้อแขนยาว กางเกงขายาวคลุมตัวให้มิดชิด (ไม่ควรสวมชุดเป้ือน สารเคมีท่ียังไมไ่ ด้ซัก) และใสห่ มวกปีกกวา้ ง รองบู๊ตหรอื เท้าหุม้ ขอ้ หนา้ กาก และแวน่ ตาป้องกนั สารเคมี 2. หา้ มรบั ประทานอาหาร หรือสูบบหุ ร่ี โดยไม่ล้างมือ เพื่อล้างสารเคมีทปี่ นเปอ้ื นใหส้ ะอาด เสยี ก่อน 3. หากชุดพ่นสารโดนสารเคมีทเ่ี ป็นกรด หรอื เปรอะเปอื้ น ให้รีบเปลยี่ นชุดใหมท่ นั ที 4. หากผวิ หนงั ถกู สารเคมเี ป้ือน ใหร้ ีบลา้ งออกโดยทันทีดว้ ยสบู่หลายๆครง้ั จนสะอาด 5. เมอ่ื เสรจ็ จากงานพน่ แล้วควรรบี เปล่ยี นชุดพน่ สารเคมอี อก 6. ควรอาบนา้ ชาระร่างกายด้วยสบูใ่ หเ้ ร็วทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะทาได้ 7. ห้ามนอนหลับ ขณะทส่ี วมชดุ ทเ่ี พิ่งพน่ สารเคมีมา 8. เมอ่ื เสรจ็ งานแลว้ ควรซกั ชุดพน่ ใหส้ ะอาดเสมอ

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 24 มาตรการทีค่ วรทราบ เก่ียวกับการใชส้ ารเคมเี พอ่ื ลดอันตรายจากสารเคมีท่ีใชก้ าจดั แมลง 1. เก็บสารเคมีไว้ในท่ีมิดชิดให้ห่างจากเด็กและสัตว์เลี้ยงควรเก็บไว้ในตู้หรือในห้องท่ีสามารถใส่ กญุ แจได้ และควรจะเก็บไวใ้ นถงุ หรือในภาชนะเดมิ ไมค่ วรจะแบง่ ใส่ถุงหรอื ใส่ในภาชนะอนื่ 2. เกบ็ สารเคมีให้ห่างจากอาหารทัง้ ของคนและสัตว์เลี้ยง 3. ใช้สารเคมีเมื่อมีความจาเป็นจริง ๆ เทา่ นน้ั 4. ก่อนการใช้สารเคมี ต้องอ่านวิธีใช้ในฉลากที่ติดมากับภาชนะบรรจุสารเคมีให้เข้าใจดีเสียก่อน รวมทง้ั วธิ ีการปอ้ งกนั และแกพ้ ษิ 5. อยา่ ใชส้ ารเคมีมากเกินกวา่ ท่ไี ดแ้ นะนาไวใ้ นฉลาก 6. ปิดปากและจมูกให้มิดชิด ระวงั อยา่ หายใจเอาฝุน่ ละอองของสารเคมเี ขา้ ไปในขณะทาการผสมหรอื พ่น 7. ระวังอย่าใหส้ ารเคมีกระเดน็ ถกู ตัวหรอื เขา้ ตา 8. ห้ามรับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ในขณะทาการฉีดหรือพ่นหรือผสมสารเคมี ควรล้างมือ ล้างหน้า และเปลย่ี นเสื้อผา้ ทันทหี ลังส้นิ สุดการพ่น 9. ทาลายสารเคมที ่ไี ม่มฉี ลากหรอื ฉลากเลอะเลือนไมช่ ัดเจน หา้ มเดาเป็นอันขาด 10. ระวงั อย่าให้สารเคมปี ลิวลงไปในบ่อนา้ เป็นอันขาด 11. ควรสวมหน้ากากขณะปฏบิ ัตงิ าน 12. ทาลายภาชนะทีใ่ ช้บรรจุสารเคมดี ้วยวธิ ีฝงั หรอื เผาเสยี เมือ่ ใชส้ ารเคมนี ั้นๆ หมดแลว้ การปอ้ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี 1. ผู้ท่ีทางานเก่ียวข้องกับสารเคมีควรมีความระมัดระวังในการปฏิบัติงานให้มาก โดยเฉพาะเมื่อ สัมผัสหรอื ทาการฉีดพ่นสารเคมี 2. ขณะปฏิบัติงานควรป้องกันตนเอง เช่น สวมเส้ือผ้าหนาๆ สวมใส่หน้ากากปิดปากและจมูกให้ มิดชดิ 3. โรงงานที่ผลิตและบรรจสุ ารเคมตี ้องมีระบบระบายอากาศทดี่ ี 4. มีการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องกับสารเคมี โดยตรวจดูระดับฟอสฟอรัสในเลือด อย่างสม่าเสมอ ควรตรวจจานวนของคลอรีนเอสเตอเรสในพลาสมาหรือในเลือดของผู้ปฏิบัติงานหรือเกษตรกร ทท่ี างานพ่นสารเคมกี ลุ่มออรก์ าฟอสเฟต รวมทัง้ ตรวจเลอื ดของผ้ทู ีท่ างานเกีย่ วขอ้ ง การปฐมพยาบาล - นาผูป้ ระสบอันตรายไปยงั ท่ีท่มี ีอากาศบริสทุ ธิ์ - แจง้ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องหรือโทรเรียกรถพยาบาล - ใชเ้ คร่อื งช่วยหายใจ หากผปู้ ่วยหยุดหายใจ - อยา่ ใชว้ ิธผี ายปอดดว้ ยวิธีเป่าปาก หากผปู้ ่วยกินหรอื หายใจเอาสารเคมีเข้าไป ใช้เครอื่ งช่วยหายใจ แบบหน้ากากชนิดทอ่ เปา่ ปากแบบทางเดยี ว (one-way valve) หรืออุปกรณ์ช่วยหายใจที่เหมาะสมอน่ื ๆ - ใช้ออกซเิ จนถา้ หายใจลาบาก - ถอดเสื้อผา้ และรองเทา้ ที่ปนเปอ้ื นออก - ถา้ สัมผัสกับสารเคมี ใหล้ า้ งสารที่สมั ผัสผวิ หนงั หรอื ตาออกทันที โดยวธิ ีใหน้ ้าไหลผ่านอยา่ งน้อย 20 นาที - หากรับสัมผัสทางผิวหนงั เล็กนอ้ ย ให้หลีกเลีย่ งการแพรก่ ระจายของสารสผู่ วิ หนังท่ไี ม่ปนเปอื้ น - ทาร่างกายของผปู้ ่วยใหอ้ บอนุ่ และนาผปู้ ว่ ยไปอยใู่ นท่ีเงียบๆไม่มีอะไรรบกวน - อาการของผู้ปว่ ยต่อสารเคมี (จากการหายใจ กนิ สมั ผัส) อาจแสดงออกภายหลัง - ผู้ปฐมพยาบาลต้องมีความรูเ้ ก่ยี วกบั สารเคมี และรวู้ ิธีปอ้ งกนั ตนเองจากพษิ ของสารเคมี

หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจัดยุงลาย 25 แผนการเรยี นหน่วยท่ี 3 เรือ่ ง เทคนคิ การเตรียมชมุ ชน และเทคนคิ การพ่นสารเคมี การผสมสารเคมี การแกไ้ ข ขอ้ ขัดข้องเครอ่ื งพ่นสารเคมี และการซอ่ มบารุงรักษาเครื่องพ่นสารเคมชี นดิ ตา่ งๆ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถอธิบายเทคนิคการเตรยี มชมุ ชน และการประสานงานชมุ ชนกอ่ นพน่ สารเคมไี ด้ 2. เพ่อื ให้ผูเ้ รยี นสามารถอธิบายเทคนคิ การเตรียมสารเคมีกาจดั ยงุ ลายได้ 3. เพ่อื ให้ผ้เู รียนสามารถอธบิ ายหลกั การทางานของเคร่ืองพ่นสารเคมีกาจดั ยุงลายได้ 4. เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถอธิบายเทคนิคการใช้งาน และการแก้ไขข้อขัดข้องของเคร่ืองพ่นสารเคมีกาจัด ยงุ ลายแต่ละประเภทได้ สาระสาคญั การเตรียมชุมชน เป็นการประสานงานเพ่ือให้การพ่นสารเคมีกาจัดยุงลายมีประสิทธภิ าพมากที่สุด และ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนในชุมชน และเจ้าหน้าที่พ่นสารเคมีจาเป็นต้องมี ความรู้ และทักษะในการผสมสารเคมี เทคนิคการใช้งานเครื่องพ่นสารเคมีแต่ละประเภท รวมทั้งการแก้ไข ขอ้ ขดั ข้องของเคร่อื งพน่ ขณะปฏบิ ตั ิการพ่นสารเคมใี นชุมชน องคป์ ระกอบเนอื้ หา 1. การเตรียมชมุ ชนก่อนการพ่นเคมี 2. ข้อควรจา ควรระวงั และพึงปฏิบตั ใิ นการพ่นจรงิ 3. การเตรียมสารเคมสี าหรบั พ่นหมอกควนั และพน่ ฝอยละเอียด 4. การแกไ้ ขข้อขัดขอ้ งเครื่องพน่ สารเคมี และการซ่อมบารุงรกั ษาเครอ่ื งพน่ สารเคมชี นดิ ต่างๆ หมายเหตุ เน้ือหาอาจกล่าวถึงประเภท/ชนิด รวมท้ังช่ือทางการค้าของเคร่ืองพ่น ซ่ึงจะมุ่งเนน้ เรื่องการ เตรียมเคร่อื ง การใช้อย่างถูกวิธี และข้อควรระวัง แต่ไม่มเี จตนารมณ์ในทางการค้า และไม่ไดเ้ ป็นข้อมลู ที่ใชใ้ นการ จดั ซ้อื จดั จา้ งแต่ประการใด ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง 30 นาที ขน้ั ตอนและวธิ นี าเสนอ บรรยายโดยใชโ้ ปรแกรมนาเสนอ ขั้นตอนการอบรม กิจกรรมการอบรม ส่ือและอุปกรณ์ประกอบ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรียน - วทิ ยากรใชค้ าถามนา ให้ผู้เรียนบอกประสบการณ์การ - Computer/Notebook (10 นาท)ี เตรียมชมุ ชน และปญั หาที่เคยพบขณะพ่นเคมี - LCD ขั้นอบรม - วิทยากรอธิบายเน้อื หาตามหวั ข้อ - Power point (1 ชว่ั โมง) 1. การเตรียมชมุ ชนกอ่ นการพ่นเคมี - เอกสารประกอบการสอน 2. ข้อควรจา ควรระวงั และพึงปฏิบัติในการพน่ จริง 3. การเตรียมสารเคมสี าหรับเครอ่ื งพน่ แตล่ ะชนดิ 4. การแกไ้ ขข้อขัดข้องเครื่องพ่นสารเคมี และการ ซอ่ มบารุงรักษาเคร่อื งพ่นสารเคมชี นิดตา่ งๆ ขั้นสรปุ (20 นาท)ี - สรปุ และตอบซกั ถาม

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 26 เนอ้ื หา การเตรียมชมุ ชน 1. ก่อนการพน่ เคมี (ก่อนวันพ่นอยา่ งน้อย 1 วัน) 1.1 ประสานงานกับชุมชน โดยเข้าพบผ้นู าชุมชน ช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการจะเข้าพน่ สารเคมี 1.2 ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ กับประชาชนในชุมชนถึงความสาคัญของโรค การป้องกันและควบคุม โรคเหตุผลของการพ่นสารเคมี และผลกระทบจากการพ่นสารเคมตี ่อคน สัตว์เลี้ยง และส่ิงแวดล้อม 1.3 แจง้ แผนการปฏิบตั งิ านและกาหนดนดั หมายกบั ประชาชน 1.4 แนะนาให้ดับไฟในเตา ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า และนาสมาชิกในบ้าน/สัตว์เลี้ยงออกไปอยู่นอกบ้านใน เวลาเจ้าหน้าท่มี าพน่ สารเคมี 1.5 แนะนาให้ปิดหน้าต่างบา้ น สาหรับการพ่นแบบหมอกควัน และแบบยูแอลวี ดว้ ยเครื่องสะพายไหล่/ หลัง(จากขอ้ มูลการทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีกาจดั ยุงพาหะนาโรคติดตอ่ นาโดยยุงลาย พบว่า การพ่นสารเคมี ภายในบ้านๆ ท่ีปิดหน้าต่าง และประตู เพื่อปิดอบ ได้ดี ทาให้ยุงทดสอบมีอัตราการตายสูงกว่าบ้านที่ไม่สามารถ ปิดอบได้ด)ี 1.6 สอบถามข้อมลู คนเจบ็ ป่วย บา้ นท่เี ลี้ยงสัตว์ บา้ นที่ทาฟาร์มปลา กงุ้ ปู และแมลง ขอ้ มูลเพ่มิ เติมที่ต้องแจง้ ประชาชนสาหรบั การพน่ ยูแอลวี 1) เวลาในการปฏิบัติงานสาหรับพ่นยูแอลวี คือ 06.30 – 10.00 น. และบ่ายแก่ๆ ที่แดดร่มลมตก แล้ว ซงึ่ เปน็ ชว่ งทย่ี งุ ลายออกหากนิ 2) ควรปดิ อาหารใหม้ ิดชดิ คลุมต้ปู ลาและกรงนก อย่าใหโ้ ดนละอองยแู อลวี 3) ให้ยืนรออยขู่ า้ งนอกบา้ นใหห้ า่ งจากประตู หนา้ ต่าง จนกว่าจะพน่ เสร็จ 4) ให้ผู้ปกครองเตือนบุตรหลานไมใ่ หต้ ามเล่นละอองท่ีพน่ ออกมา ขอ้ ควรจา ควรระวัง และพงึ ปฏบิ ัตใิ นการพน่ จริง 1) หากประชาชนไม่ยินยอมให้พ่น ห้ามฝ่าฝืนโดยเด็ดขาด (ควรแนะนาให้ระวังโรคติดต่อนาโดย ยุงลาย โดยวธิ ีอ่ืนที่เหมาะสมให้เขาไปดาเนนิ การเอง เช่น การใชย้ าทากันยงุ กดั การใช้ยาจุดกันยงุ แบบขด การใช้ สเปรยก์ ระปอ๋ ง และการกาจดั แหล่งเพาะพันธ์ุลกู นา้ เปน็ ตน้ ) 2) หา้ มพน่ เขา้ ไปในบ้านโดยไม่ได้รับอนญุ าตจากเจ้าของบ้านเสยี กอ่ น เพราะอาจมปี ัญหา มีคนนอน หลับอยู่ในบ้าน หรือคนที่ไม่ได้ออกมาเพราะการแจ้งข่าวสารไม่ดีพอ โดยเฉพาะคนป่วยที่อาศัยอยู่ในบ้านน้ัน (ผู้ป่วยเปน็ อัมพฤกษ์ อัมพาต และผูท้ ี่ช่วยตวั เองไมไ่ ด้) 3) สารไพริทรอยด์ มีความเป็นพิษสูงต่อปลา และสัตว์น้าประเภทมีข้อปล้อง เช่น กุ้ง ปู และแมลง ในน้าต่างๆ อย่างมาก ลักษณะการออกพิษต่อสิ่งมีชีวิตเหล่าน้ีจะเป็นไปอย่างร้ายแรงและรวดเร็วมาก (ต้องคอย หลีกเลีย่ ง อยา่ พน่ ใกล้ๆ ตอ้ งคานึงถงึ ทศิ ทางลมจะพดั ละอองไปตกในแหล่งน้าไดห้ รือไม่) 4) นอกจากนั้นยังมีอาชีพเสี่ยงท่ีเราไม่ควรพ่นสารเคมีใกล้ๆ คือ อาชีพเลี้ยงแมลง เช่น เล้ียงจิ้งหรีด เล้ยี งไหม หรอื แมลงเศรษฐกจิ อื่นๆ (ควรแนะนาวิธีอ่นื ใหเ้ ขาไปดาเนินการเอง) 5) ห้ามพ่นในร้านอาหารต่างๆที่มักมีอยู่ตามข้างทาง และมักมีลูกค้านั่งอยู่ ยกเว้นจะได้รับการร้อง ขอหรอื อนญุ าต (ควรแนะนาวิธอี นื่ ใหเ้ ขาไปดาเนนิ การเอง)

หลักสตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 27 6) การพ่นในบ้านท่ีมีคนหรือสัตว์อาศัยอยู่ แม้ว่าคนและสัตว์จะปกติดี แต่ก็สามารถทาให้เกิด อันตรายได้ เน่ืองจากหมอกควันจานวนมากจะไปไล่ก๊าซออกซิเจนออกไป อาจทาให้ผู้คนที่ไม่ออกมาขาดก๊าซ ออกซเิ จนได้ 7) การพ่นยูแอลวีใช้ความเข้มข้นสูงกว่าการพ่นหมอกควันหลายเท่า ยิ่งต้องระมัดระวังมาก ห้าม ไม่ให้บุคคลที่ไม่ผ่านการอบรมการใช้เคร่ืองพ่นปฏิบัติงานเด็ดขาด เนื่องจากจะเกิดความเสียหายมากกว่าเดิม อยา่ งมหาศาล 8) การพ่นท้ังหมอกควันและยูแอลวี ละอองมีโอกาสตกลงพ้ืนได้เสมอเพียงจะเร็วหรือช้าเท่าน้ัน และหากเคร่ืองพ่นสกึ หรอ หรือไม่ได้มาตรฐานจะยิง่ ตกเร็ว ดังน้ันโปรดระมัดระวังสถานที่ตอ้ งหา้ มทก่ี ลา่ วมาแลว้ 2. ระหวา่ งการพ่นเคมี (วนั ที่มาพ่น) 2.1 ประชาชนควรปดิ อาหาร และภาชนะใสอ่ าหารใหม้ ิดชดิ 2.2 ดับไฟในเตาถ่านหรือเตาแก็ส ปิดเคร่ืองใช้ไฟฟ้า (สารเคมีที่พ่นเป็นสารประเภทน้ามัน สามารถลุก ตดิ ไฟได)้ 2.3 เกบ็ เส้ือผ้า ข้าวของท่ีไมต่ อ้ งการใหถ้ ูกสารเคมีให้มิดชิด 2.4 เจ้าของบ้านนาเด็ก คนชรา คนป่วย และสัตว์เล้ียง มาพักนอกบ้าน ประมาณ 30 นาที (สาหรับ อาหารและน้าสัตว์เลี้ยงให้ปกปิดให้มิดชิดเช่นกัน และหลังจากพ่นแล้วหากไม่แน่ใจว่าอาจปนเปื้อนหรือไม่ ก็ให้ เททงิ้ ลา้ งภาชนะให้สะอาดแลว้ ใส่อาหารและนา้ ใหมแ่ ทน) 2.5 ก่อนพ่น ให้ตรวจดูประตู หน้าต่าง อีกครั้งว่าปิดเตรียมไว้หรือไม่สาหรับการพ่นหมอกควัน และยู แอลวี (จากข้อมูลการทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีกาจัดยุงพาหะนาโรคติดต่อนาโดยยุงลาย พบว่า การพ่น สารเคมีภายในบ้านๆ ที่ปิดหน้าต่าง และประตู เพื่อปิดอบ ได้ดี ทาให้ยุงทดสอบมีอัตราการตายสูงกว่าบ้านที่ไม่ สามารถปดิ อบได้ด)ี 3. หลงั การพ่นเคมี 3.1 แนะนาใหป้ ิดอบสารเคมีภายในบา้ นประมาณ 30 นาที 3.2 หลังปิดอบสารเคมี ให้เปดิ ประตูหน้าต่างรอจนหมอกควนั หมดจึงเข้าไปอาศัยในบ้านได้ (สาหรบั การ พน่ ยูแอลวีหลังพ่นไปแลว้ ประมาณ 30 นาทีสามารถเข้าไปอาศัยในบา้ นไดเ้ ลย) 3.3 แนะนาวธิ กี ารทาความสะอาดคราบสารเคมที ต่ี กคา้ งตามพนื้ 3.4 กลา่ วขอบคุณประชาชน

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 28 เทคนิคการพ่นสารเคมี การผสมสารเคมี การแกไ้ ขขอ้ ขดั ข้อง เคร่อื งพ่นสารเคมี และการซ่อมบารุงรกั ษาเครือ่ งพ่นสารเคมชี นิดตา่ งๆ การเตรยี มสารเคมีสาหรบั พ่น การผสมสารเคมตี อ้ งผสมในถงั ตา่ งหาก คนให้เขา้ เปน็ เนือ้ เดียวกันอย่างน้อย 15 นาที 1. เตรียมสารเคมใี หพ้ อเหมาะกบั การใชง้ านแต่ละคร้งั 1.1 ต้องทราบขอ้ มูลจานวนบ้านทจี่ ะทาการพน่ 1.2 ต้องทราบอัตราการใช้สารออกฤทธ์ิ (active ingredient : a.i.) ท่ีถูกต้องตามหลักสากล (WHO) สารกาจัดแมลงท่ีองคก์ ารอนามัยโลกแนะนาให้ใช้เพ่อื การพน่ หมอกควันและฝอยละเอียด

หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 29 ตารางอตั ราการใชส้ ารเคมีในการพ่นหมอกควันเล็กสะพายไหล่ OP คอื กลุม่ ออรแ์ กโนฟอสเฟต (Organophosphates, Organophosphorus) PY คอื กลุ่มไพรที รอยด์ (Pyrethroids) ตารางอตั ราการใช้สารเคมใี นการพ่นยแู อลวเี ลก็ สะพายหลังและยูแอลวีใหญต่ ิดตั้งบนรถยนต์

หลักสตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 30 ตัวอยา่ งสารเคมีกาจดั ยุงพาหะ ท่ีมีใชจ้ ริงในพ้ืนท่ี เขตสุขภาพท่ี 3 ชอ่ื ทางการค้า สารออกฤทธ์ิ อัตราผสม 1.ไซเพอรก์ าร์ด 10 อซี ี สารออกฤทธิ์หลัก : cypermethrin 10% w/v ไซเพอรก์ าร์ด10อซี ี จานวน 10 ซซี ี EC ผสมกบั น้ามนั ดเี ซล 1 ลติ ร 2.บ๊อบแค็ท สารออกฤทธห์ิ ลกั : Deltamethrin 0.5% w/v บ๊อบแค็ท จานวน 1 มลิ ลลิ ติ ร สารเสริมฤทธ์ิ : Piperonyl Butoxcide 10% ผสมกับ น้ามันดีเซล 200 ลติ ร w/v และ S-bioallethrin 0.75% w/v 3.เดลต้า 100 (DELTA 100) สารออกฤทธิห์ ลกั : Deltamethrin 1% w/v เดลตา้ 100 จานวน 1 ลิตร ผสมกบั น้ามันดีเซล 79 ลิตร 4.เดลต้าไซด์ สารออกฤทธิ์หลกั : Deltamethrin 0.5% w/v เดลตา้ 100 จานวน 1 ลติ ร สารเสริมฤทธ์ิ : Piperonyl Butoxcide 10% ผสมกบั น้ามนั ดเี ซล 79 ลิตร w/v และ S-bioallethrin 0.75% w/v 5.ดไี ซด์ สารออกฤทธห์ิ ลกั : Deltamethrin 0.5% w/v พ่นแบบหมอกควนั สารเสริมฤทธ์ิ : Piperonyl Butoxcide 10% เดลตา้ 100 จานวน 100 ซซี ี w/v และ S-bioallethrin 0.75% w/v ผสมกบั นา้ มนั ดเี ซล 7 ลติ ร พน่ แบบฝอยละเอียด (ULV) เดลตา้ 100 จานวน 100 ซซี ี ผสมกับ น้ามนั ดีเซล 1 ลิตร 6.ดฟี เปอร์ (Deepper) สารออกฤทธห์ิ ลกั : Deltamethrin 1% w/v พน่ แบบหมอกควนั เดลต้า 100 จานวน 1 ลิตร ผสมกบั นา้ มันดีเซล 79 ลิตร พ่นแบบฝอยละเอยี ด (ULV) เดลตา้ 100 จานวน 1 ลติ ร ผสมกบั น้ามันดเี ซล 14 ลิตร 7.เอส-ไบโอต้า S-BIOTA สารออกฤทธิ์หลกั : Deltamethrin 0.5% w/v พ่นแบบหมอกควนั สารเสรมิ ฤทธิ์ : Piperonyl Butoxcide 10% เดลตา้ 100 จานวน 1 ลิตร w/v และ S-bioallethrin 0.75% w/v ผสมกับ น้ามันดเี ซล 79 ลติ ร พ่นแบบฝอยละเอียด (ULV) เดลต้า 100 จานวน 1 ลติ ร ผสมกับ น้ามันดเี ซล 14 ลติ ร หมายเหตุ ข้อมลู จากการทดสอบประสทิ ธภิ าพสารเคมกี าจัดยงุ พาหะนาโรคตดิ ต่อนาโดยยงุ ลาย ปี 2563

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 31 ตัวอยา่ ง การคานวณปริมาณสารเคมีพน่ หมอกควนั ทจี่ ะใช้ให้พอเหมาะกบั พ้ืนที่ (จะได้ไม่เหลือมาก) บา้ นชั้นเดยี ว 1 หลัง ใช้สารเคมปี ระมาณ 100 CC. บ้าน 2 ชน้ั 1 หลงั ใชส้ ารเคมีประมาณ 200 CC. จากการประมาณจานวนบ้านทีต่ อ้ งพน่ แลว้ พบวา่ ต้องเตรียมสารเดลตามิทรินประมาณ 5 ลติ รในการพ่น บ้านคนกล่มุ เล็กๆนี้จะต้องผสมอย่างไร การคานวณ การกาจดั ภาชนะบรรจแุ ละขยะปนเปอ้ื นสารกาจัดแมลง การจัดการกับภาชนะบรรจุสารเคมีท่ีใช้หมดแล้วนับเป็นปัญหาอีกอย่างหนึ่งที่หน่วยงานผู้ปฏิบัติต้อง คานึงถึงและต้องรับผิดชอบโดยตรง เน่ืองจากการใช้สารเคมีไปเรื่อยๆในท่ีสุดต้องยอ้ นมาดูวา่ ขวดบรรจุสารเคมีที่ หมดแล้วจะนาไปทง้ิ ท่ีไหนดแี ละควรทาอย่างไรกันแน่ ข้อแนะนาเพอื่ ผูใ้ ชส้ ารเคมีจะได้ดาเนนิ การโดยถูกวิธี 1. ก่อนทาการกาจดั ภาชนะเหลา่ น้ีควรไม่มีสารเหลอื คา้ งอยูภ่ ายในเลย หมายความว่าควรใช้ใหห้ มดทกุ หยดก่อน 2. ทาการล้างภาชนะท่ีใชส้ ารหมดแล้วด้วยน้าอย่างน้อย 3 ครั้ง (อย่าลืมวา่ ต้องใส่อปุ กรณป์ อ้ งกันตัว เช่น ถงุ มอื ยาง หนา้ กาก และแวน่ ตากนั สารกระเดน็ ใส่ดว้ ย) 3. การล้างควรทาในภาชนะที่ใช้ลา้ งเฉพาะสารเคมี 4. เมื่อล้างดีแล้ว ควรนาไปเก็บไว้ในสถานท่ีที่แยกไว้ต่างหากให้ห่างไกลจากบุคคลอื่นท่ีไม่เกี่ยวข้องและ ควรมีส่ิงปกปดิ โดยเรียงไว้ใหเ้ ปน็ ระเบียบรอการนาไปกาจัดต่อไป 5. การกาจัด ภาชนะท่ีเป็นโลหะควรไล่ลมท่ีบรรจุข้างในให้ออกหมดก่อน แล้วเจาะรูแล้วทาให้แบน ภาชนะท่ีเป็นแก้ว ควรล้างให้สะอาด แล้วบดให้เป็นช้ินเล็กๆก่อนแล้วนาไปฝังในบริเวณที่แยกไกลออกไปในหลุม ท่ีลึกอย่างน้อย 45 เซนติเมตร ห่างจากชุมชนและแหล่งน้าอย่างน้อย 100 เมตรและเป็นท่ีๆน้าท่วมไม่ถึง เสร็จ แล้วกลบหลุมและทามูลดนิ สูงจากระดับพื้นดินเดิมอยา่ งนอ้ ย 50 เซนติเมตร (ควรใส่ปูนขาวลงไปในก้นหลุมก่อน เพอ่ื ช่วยทาลายพิษของสารทีอ่ าจมตี กค้างอยู่ให้เปลีย่ นสภาพไปเป็นสารทมี่ ีพิษลดลง การใส่ปูนขาวต้องใส่ใหห้ นา 20 เซนติเมตร และคอยใสส่ ลบั กบั ช้ันของภาชนะนนั้ ไปเรือ่ ยๆ และชั้นบนสดุ ให้เปน็ ปนู ขาวอีกแลว้ จงึ กลบดิน) 6. หลุมท่ีฝังภาชนะบรรจสุ ารเคมีควรเปน็ หลมุ ขนาดใหญ่ และตอ้ งแน่ใจวา่ เดก็ หรือบคุ คลที่ไมเ่ กี่ยวข้อง ต้องไมส่ ามารถเขา้ ไปยุ่งเกย่ี วได้ ดังนนั้ ควรมรี วั้ รอบขอบชดิ ล้อมไวก้ ว้างๆอีกที

หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 32 7. ไมค่ วรใชว้ ิธีเผา เนือ่ งจากไอระเหยจากสารพิษอาจทาอันตรายสง่ิ มีชวี ิตในบริเวณนัน้ ได้ แตใ่ นกรณีถา้ เป็นภาชนะทที่ าดว้ ยกระดาษ (ซอง) และพลาสตกิ อาจใชก้ ารเผาได้แต่ต้องลา้ งจนมน่ั ใจว่าสะอาดจรงิ ๆ ไม่มีสาร ตกคา้ งทีจ่ ะระเบิดหรือทาใหเ้ กิดควันพิษซ่ึงจะมีอนั ตรายสงู ข้ึนอีกหากโดนเผาหลงเหลืออยู่แลว้ (อยา่ งไรกต็ ามใหด้ ู ฉลากด้วยวา่ เขาหา้ มเผาหรือไม่) และควรเผาโดยใชเ้ ตาเผาขยะจะปลอดภยั กว่า 8. นา้ ทง้ิ ทีเ่ กดิ จากการล้างภาชนะบรรจุสารเคมีดงั กล่าว ควรทิง้ ในหลมุ หรอื บ่อพเิ ศษท่ขี ุดไวท้ งิ้ สารพิษ โดยเฉพาะเชน่ กนั โดยมีระยะห่างจากชมุ ชนและแหลง่ น้าเชน่ เดยี วกันกับข้อ 5 และไม่ควรใชห้ ลุมเดียวกันกบั หลมุ ฝังภาชนะ บอ่ พิเศษนี้ควรลกึ 50-80 เซนติเมตร หลังจากเทน้าท้ิงลงไปแล้วควรเติมนา้ สะอาดเพ่ิมลงไปทันที ท่นี ้าทงิ้ ซึมหายไปเพื่อให้สารท่ีล้างทงิ้ ลงไปเจือจางมากขนึ้ 9. ภาชนะที่ใช้ลา้ งส่ิงปนเปื้อนเหล่านี้ ตอ้ งทาเครื่องหมายให้ร้อู ย่างชัดเจนป้องกันคนอ่ืนเอาไปใช้ต่อไป 10. สาหรบั สารที่เสอื่ มคุณภาพแลว้ เนื่องจากการเก็บไว้มากเกนิ ไป นานเกนิ ไป ควรขอส่งคนื โรงงาน หรอื ผผู้ ลิต จะปลอดภัยกวา่ เนอื่ งจากทางโรงงานจะมคี วามร้มู ากกว่าในการกาจัดอย่างไรใหป้ ลอดภยั เพราะถงึ จะเสอ่ื มคุณภาพไปบ้างแต่ความเปน็ พิษยังคงมีเหลืออีกมาก หากเราดาเนนิ การเองน่าจะเปน็ ปญั หาต่อ ส่ิงแวดล้อมเป็นอยา่ งมาก 11. ดังนัน้ เวลาใช้สารควรคานวณกอ่ นว่าจะใช้เท่าไรก็ควรผสมสารเทา่ นน้ั เพอ่ื ให้เหลือสารนอ้ ยทส่ี ุดใน แตล่ ะครง้ั เพื่อจะได้ไม่มสี ารที่ต้องท้งิ มากนัก และในแตล่ ะขวดควรใช้ให้หมดจนหยดสุดท้ายอย่าให้เหลอื คาขวด แมแ้ ต่น้อย ความรูเ้ รอ่ื งเครอื่ งพ่นสารเคมี และการใชง้ าน การใช้สารเคมีควบคุมกาจัดยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรียน้ัน กองโรคติดต่อนาโดยแมลง กรมควบคุมโรค ได้เลือกใช้การพ่นเคมีแบบชนิดมีฤทธิ์ตกค้าง (Residual spray) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการพ่นจึงเป็นเคร่ืองพ่นชนิด อัดลม (Hand compression sprayer) ส่วนการใช้สารเคมีควบคุมยุงพาหะนาโรคไข้เลือดออกใช้หลักการพ่น แบบ Space spray แบ่งออกเป็น 2 วิธีหลักๆ คือ การพ่นหมอกควัน (Fogging) และการพ่นเคมีฝอยละออง (ULV) เป็นมาตรการหลักในการควบคุมแมลงพาหะนาโรค การพ่นสารเคมีกาจัดแมลงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างย่ิงใน การตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค ถ้าหากผู้ใช้หรอื ผู้ปฏบิ ัติงานมคี วามรูค้ วามเข้าใจในการใชเ้ คร่อื งพ่นสารเคมีท่ี ถูกต้องแล้ว การปฏบิ ตั ิงานควบคมุ โรคติดต่อนาโดยแมลงจะมีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้ึน การพ่นฟงุ้ กระจาย SPACE SPRAY ยุงลายมีความแตกต่างจากยุงก้นปล่องดังน้ันการพ่นสารเคมีเพ่ือควบคุมย่อมต้องใช้วิธีแตกต่างกัน การ จะใช้วธิ ีพ่นแบบใดควบคุมยุงต้องอาศยั อุปนสิ ัยของยงุ เป็นหลัก การพน่ ควบคุมยุงนนั้ เรามวี ิธพี ่น 2 แบบ 1) พ่นแบบมีฤทธ์ิตกค้าง (Insecticide residual spray) ใช้สาหรับยุงก้นปล่องเราจะพ่นสารเคมีให้มี ฤทธิ์ตกค้างท้ิงไว้บนพื้นผิวผนังอาคารบ้านเรือน เน่ืองจากยุงก้นปล่องเป็นยุงท่ีชอบเกาะพักบนฝาผนังท้ังก่อนกัด กนิ เลือดเหยอ่ื และหลงั จากกินเลอื ดเสร็จแลว้ ยงุ จะได้รบั สารเคมีเข้าสรู่ า่ งกายทางปลายขาของยงุ ท่ีเกาะบนผนงั ที่ พน่ สารเคมที มี่ ฤี ทธิ์ตกคา้ งทิง้ ไว้ 2) พ่นแบบฟุ้งกระจาย (Space spray) ใช้พ่นยุงชนิดอ่ืนโดยเฉพาะยุงลายและยุงราคาญ เน่ืองจากยุง พวกนี้ไม่ชอบเกาะบนผนังบ้าน แต่ชอบเกาะตามสิ่งต่างๆที่เราไม่สามารถพ่นสารเคมีลงไปได้ เช่น ตามเสื้อผ้าใต้ เคร่อื งเฟอรน์ ิเจอร์ต่างๆ เป็นต้น ดังนั้นการพ่นแบบน้ีจึงเป็นการพ่นให้ถูกตัวยุงโดยตรง ซง่ึ การพ่นแบบน้ีจะให้ถูก ตวั ยงุ จานวนมากๆกต็ ้องพน่ ในเวลาทย่ี ุงกาลงั ออกมาปรากฏตวั ซง่ึ คอื ตอนทย่ี งุ กาลงั บนิ หากนิ วัตถปุ ระสงค์ของการพ่นฟุง้ กระจาย คือ การพ่นสารเคมีเพ่อื ลดความหนาแนน่ ของยุงอยา่ งรวดเร็ว เพ่ือ ลดการสมั ผัสระหวา่ งยงุ พาหะกับคน โดยพ่นใหส้ ารเคมีกลายเป็นกลมุ่ มา่ นหมอกทีเ่ ตม็ ไปด้วยละอองที่มีขนาดเล็ก มาก ขนาดไม่เกิน 50 µm ซ่ึงละอองขนาดนี้สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้นานๆ เพื่อฆ่าพวกแมลงบินซ่ึง

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 33 หมายถึงยุง เม่ือยุงบินมาสมั ผัสละอองท่ีลอ่ งลอยในอากาศเหล่าน้จี นได้รับสารออกฤทธใ์ิ นปรมิ าณเพียงพอก็จะทา ใหต้ ายแต่หากแมลงบินนั้นเกาะพักอยจู่ ะไมค่ ่อยได้สัมผัสกับละอองเนอ่ื งจากยุงมักเกาะพักในที่หลบซ่อนท่ีละออง ลอยเข้าไปไม่ถึง ดังนั้นการพ่นแบบฟุ้งกระจายจาเป็นต้องพ่นให้ตรงกับช่วงเวลาท่ียุงชนิดท่ีจะออกบินหากิน เพื่อให้การพ่นมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ากับงบประมาณที่ต้องสูญเสียไป ผู้พ่นฟุ้งกระจายจึงจาเป็นต้องอาศัยองค์ ความรเู้ หลา่ นี้ คือ 1. ความรดู้ า้ นชีวนสิ ยั ของแมลงเปา้ หมาย เพ่อื ใหร้ ู้ว่าควรจะพ่นที่ไหน เมือ่ ไร จึงจะได้ผลดี 2. ชนิดและสูตร (formulation) ของสารกาจดั แมลงทเ่ี หมาะสมกบั เครื่องพ่น 3. เทคนิคการใชเ้ คร่อื งพ่น คอื จะใชเ้ ครือ่ งพ่นอะไร และใชอ้ ย่างไร 4. มีความรู้ด้านการประเมินและเฝ้าระวังแมลงเป้าหมาย และปัญหาโรคติดต่อที่นาโดยแมลงเป้าหมาย องค์การอนามัยโลกแนะนาให้ใช้เทคนิคการพ่นแบบฝอยละเอียด ขนาดเม็ดน้ายาที่พ่นควรมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ระหวา่ ง 5-27 µm (µm อ่านว่า ไมครอน หรือ ไมโครเมตร มีขนาดเท่ากับเศษหนึ่งส่วนลา้ นของหนึ่งเมตร) จึงจะ มีประสทิ ธิภาพสูงสุดในการกาจัดแมลงบนิ เพราะขนาดเม็ดน้ายาน้จี ะลอยฟุ้งคลุมพื้นที่ได้นาน และไปได้ไกลตาม กระแสลมธรรมชาติ ส่วนเม็ดน้ายาที่มขี นาดเล็กหรือใหญ่กว่าน้จี ะไม่มีผลตอ่ แมลงบินในพื้นท่ี เพราะเม็ดน้ายาจะ ลอยหายไปหรือตกลงดินเร็วเกนิ ไปหากพ่นในท่ีโล่งหรือด้านในอาคารเม็ดน้ายาท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ 50 µm จะตก ลงดินภายในเวลาส้ัน ๆเมอ่ื หมดแรงสง่ จากเครอื่ งพ่นนั้น ๆ จงึ ไม่มีผลต่อแมลงบนิ เลย ฉะนั้นในการควบคมุ ยุงลาย ดว้ ยสารเคมีจงึ ควรใช้เคร่ืองพน่ สารเคมที ีอ่ าจเรียก aerosol generator จึงจะไดผ้ ลดีท่สี ุด คาว่า aerosol แปลว่า ละอองที่ลอยได้ เป็นละอองท่ีเกิดจากการแตกตัวของของเหลวเกิดละอองที่มี ขนาดเล็กมากๆจนสามารถล่องลอยดุจดังเป็นอากาศ ดังน้ันเคร่ืองพ่นที่ผลิตละอองแบบ aerosol ได้จึงถูก เรียกว่า เครอ่ื งพ่นแอโรซอล (aerosol generator หรือ fog generator) และด้วยละอองแบบ aerosol มีความ เล็กละเอียดมาก จึงถูกเรียกอีกช่ือหนึ่งว่า เครื่องพ่นฝอยละเอียด น่ันเองเคร่ืองพ่นฝอยละเอียดมี 2 ชนิด คือ เครอื่ งพ่นหมอกควัน และเครื่องพ่นยูแอลวี ทั้งสองชนิดพ่นละอองท่ีเป็นฝอยละเอียดทั้งคู่ ขนาดละอองอยู่ในช่วง ขนาดเดียวกันคือ 1 - 50 µm (แต่ถ้าการพ่นละอองที่ใช้ขนาดละอองใหญ่กว่านี้คือ มีขนาดละอองเม็ดน้ายาใหญ่ 50 - 100 µm จะเรียกว่า การพ่นแบบฝอยละออง (mist droplet) ซึ่งละอองจะลอยในอากาศไม่ได้เพราะเม็ด ละอองมีขนาดใหญ่และหนัก พอหมดแรงส่งจากเคร่ืองพ่น ละอองจะค่อยๆตกลงพื้นทันที ซึ่งละอองแบบนี้ใช้พ่น ยุงไม่ได้เพราะยุงมักไม่ลงมาเดินท่ีพื้น หากเคร่ืองพ่นหมอกควันหรือยูแอลวีที่ใช้อยู่ไม่ได้รับการดูแลตรวจเช็ค ขนาดละอองบา้ ง อาจผลติ ละอองที่มีขนาดใหญ่แบบนี้ไดผ้ ลทตี่ ามมาคือ พน่ แลว้ ฆา่ ยุงไม่ตายเพราะละอองตกพ้ืน กอ่ นทจี่ ะโดนตัวยุง ทาให้สน้ิ เปลืองงบประมาณโดยเปลา่ ประโยชน์) เคร่ืองพ่น aerosol generator หรือ fog generator อาจเรียกชื่อตามเทคนิคการพ่นที่ใชก้ าลังงานหรือ ชนิดของพลงั งานพ่นสารเคมอี อกเปน็ 2 แบบ คอื 1. Cold fog generator หรือ เครื่องพ่นยูแอลวี เป็นเคร่ืองพ่นที่ใช้พลังงานลมหรือแรงเหว่ียง สลัด น้ายาให้แตกตัวออกเป็นเม็ดเล็ก ๆ ขนาดท่ีเล็กกว่า 50 µm และสารเคมีท่ีใช้พ่นเป็นแบบความเข้มข้นสูง เพราะ ใช้ตัวทาละลายน้อย ใช้พ่นปริมาณน้อย แต่สามารถคลุมพ้ืนท่ีได้มากกว่าการพ่นหมอกควัน การพ่นแบบน้ีอาจมี ช่ือเรียกเฉพาะว่า ยูแอลวีเทคนิค (ULV Technique) จริงๆแล้วเทคนิคการพ่นแบบนี้พัฒนามาจากการพ่นทาง การเกษตร หมายถึง การพ่นแบบใช้น้าน้อย หรือพ่นแบบความเข้มข้นสูงน่ันเอง ดังนั้นแต่ละละอองจะมีความ เข้มข้นสงู วา่ กันว่า หนง่ึ ละอองเท่ากบั หนงึ่ ชีวิตยุงเลยทีเดียว 2. Thermal fog generator หรือเครื่องพ่นหมอกควัน เป็นเครื่องพ่นที่ใช้ความร้อน ช่วยในการแตก ตัวของน้ายาออกเป็นละอองเม็ดเล็ก ๆอุณหภูมิที่ใช้สูงมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับชนิดของสารตัวทาละลายท่ีมีจุด เดอื ด หรือจุดกลายเป็นไอ (Boiling Point or Evaporating Point) ปกตินยิ มใช้น้ามันดีเซลเป็นตัวทาละลาย ซึ่ง จดุ เดือดนา้ มันดเี ซลอยู่ในชว่ งอุณหภูมิระหวา่ ง 150-360 องศาเซลเซยี ส ถ้าจดุ เดอื ดสูงกว่าน้จี ะมผี ลในการทาลาย

หลกั สตู รเทคนิคการพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจดั ยุงลาย 34 คุณภาพของสารเคมี ซึ่งมกั จะมคี วามเขม้ ข้นต่าเคร่ืองพ่นแต่ละชนิดมีคุณลักษณะและวธิ ีการใช้งานต่างกันไปผู้ใช้ ควรคานงึ ถึงความต้องการใช้งานเป็นสาคญั เครื่องพน่ ทีม่ มี าตรฐานสงู ย่อมมรี าคาสงู ตามไปดว้ ย เคร่ืองพ่นมาตรฐานตามลกั ษณะการใช้งานที่สาคญั นน้ั ควรมลี กั ษณะดังนี้ 1. เคร่ืองพ่นฝอยละเอียด ยแู อลวี (ULV cold fog generator) เคร่ืองพ่นชนิดน้ีมักนิยมเรียกติดปากว่า “เคร่ืองพ่นฝอยละออง” แต่ในความเป็นจริงขนาดเม็ดน้ายาท่ี เคร่ืองพ่นผลิตออกมาน้ันต้องถือว่ามีขนาดเล็กมาก เป็นฝอยละเอียดเช่นเดียวกับการพ่นหมอกควัน แต่ฝอย ละเอียดของเครื่องพ่นยูแอลวีจะมีขนาดใหญ่กว่า แต่เส้นผ่าศูนย์กลางของละอองจะไม่เกิน 50 µm ขนาดเม็ด น้ายาท่ีเครื่องผลิตได้ ควรมีขนาดใหญ่สุดไม่เกิน 60 µm ขนาดเม็ดน้ายาท่ีดีที่สุดควรเป็น 5 - 27 µm เพราะฉะนั้นค่าเฉล่ียที่องค์การอนามัยโลกใช้บอกคุณภาพเครื่องพ่นว่าผลิตเม็ดน้ายาที่มีคุณภาพสูงสุด คือ ค่า VMD (Volume Median Diameter) เทา่ กับ 27 µm หรืออาจบอกว่าจานวนเม็ดน้ายาไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 มี ขนาดเล็กกว่า 27 µm ซ่ึงอาจหมายถึง กว่าร้อยละ 99 ของละอองน้ายาท้ังหมดมีขนาดเป็นฝอยละเอียด (คือมี ขนาดไม่เกิน 50 µm) ซึ่งละอองเล็กขนาดน้ีจะลอยฟุ้งในบรรยากาศได้นานและใช้ประโยชน์ของละอองน้ายา เกือบทกุ เม็ดในการกาจดั ยงุ บินได้

หลักสตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 35 จากภาพแสดงให้เห็นว่าเม็ดละอองท่ี 15 เป็นเม็ดละอองท่ีแบ่งปริมาตรของน้ายาออกเป็นอย่างละครึ่ง ดังนั้นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเม็ดละอองเม็ดน้ีคือค่า VMD น่ันเอง หากขนาดของมันมีขนาดเล็กมากย่อม แสดงให้เห็นว่า เม็ดละอองทางด้านขวาของมันก็จะเล็กตามไปด้วยแทนที่จะมีเพียง 2 เม็ดก็จะกลายเป็นมีเม็ด น้ายาทม่ี ีขนาดเลก็ ลงแต่ปรมิ าณมากข้ึนแทน เม็ดน้ายาฝ่ังขวาหากเป็นเม็ดใหญ่เกินไปมันจะลอยไม่ได้ แต่ถ้ามันมี ขนาดเล็กลงมนั จะลอยได้ และมีจานวนละอองมากขนึ้ ดว้ ย การจาแนกชนิดละออง จากภาพแสดงให้เห็นวา่ ละอองที่มีขนาด 15 µm สามารถล่องลอยไปในอากาศได้นานท่ีสุด ส่วนละออง ที่เล็กกว่า 5 µm จะเบามากและจะถูกลมพัดปลิวขึ้นเบื้องบนได้ง่ายเมื่อหมดแรงส่งของเคร่ืองพ่น ส่วนละอองท่ี ใหญ่กวา่ 50 µm จะหนักและจะตกลงสู่พน้ื เม่อื หมดแรงส่งของเครื่องพ่น

หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอ่ื ควบคุมและกาจดั ยงุ ลาย 36 2. เคร่อื งพ่นหมอกควัน Thermal fog generator เคร่ืองพ่นหมอกควันใช้ความร้อนช่วยในการแตกตัวของสารเคมีรูปของเหลวเป็น ละอองเล็กขนาด 0.1 - 60 µm ขนาดเฉล่ียของเม็ดน้ายา (VMD) ขึ้นอยู่กับปริมาณความร้อนและปริมาณสารเคมีที่หยดออกมา ถา้ ความร้อนสูงและปริมาณสารเคมีทหี่ ยดออกมาน้อย ขนาดละอองเม็ดน้ายาทีผ่ ลิตจะเล็กกว่า ละอองท่ีเกิดจาก ปริมาณสารเคมีที่หยดมากกว่า (ในขนาดความร้อนเดียวกัน) ปัญหาสาคัญของเครื่องพ่นหมอกควันแบบใช้ความ ร้อน คือการสลายตัวของสารเคมี เน่ืองจากความร้อนซ่ึงอาจเนื่องมาจากคุณสมบัติของสารเคมีเองหรืออาจ เน่ืองมาจากเครื่องพ่นเคมีท่ีให้ความร้อนสูงเกินไปโดยปกติเคร่ืองพ่นหมอกควันที่มีคุณภาพดีควรสามารถควบคุม อุณหภูมิ ณ จุดท่ีหยดน้ายาสัมผัสความร้อนและแตกตัวให้บริเวณนี้มีอุณหภูมิระดับท่ีไม่ทาลายคุณภาพของ สารเคมี แต่จะมากน้อยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและคุณสมบัติของสารเคมีน้ัน และสารเคมีท่ีแนะนาให้ใช้ในเคร่ืองพ่น หมอกควัน จะมีความเข้มข้นต่ามาก ๆ จึงย่อมมีโอกาสลดคุณภาพการพ่นสารเคมีลงได้มาก ฉะน้ันการใช้เครื่อง พน่ หมอกควันท่ีมีคุณภาพต่าก็ลดประสิทธิภาพการพ่นหมอกควันลงตาม ซึ่งปกติเม็ดละอองย่อมมีขนาดเล็กกว่า 50 µm แน่นอนเพราะใช้ความร้อนทาให้น้ายาเคมีแตกตัวเป็นไอ แต่อย่างไรก็ดีเราพบว่าในเครื่องที่ทางาน ผิดปกติน้ายาจะแตกตัวไม่สมบูรณ์จึงทาให้เกิดเม็ดละอองใหญ่เกิน 50 µm ได้ถึงขนาดทาให้พื้นเปียกเป็นมันได้ เลยหลังจากพน่ เสร็จ ถ้าเปน็ เช่นนี้ถือว่าเคร่ืองบกพรอ่ งและจะทาใหพ้ ่นยงุ ไมต่ าย หลกั การทางานของเครอื่ งพ่นหมอกควนั เล็กสะพายไหล่ 1. การทางานของเคร่ืองพ่นเป็นระบบพัลส์เจ็ท (Pulse Jet) หมายถึง การจุดระเบิดท่ีเกิดข้ึนเป็นลูกโซ่ ทอด ๆ อย่างอัตโนมัติ โดยการจุดระเบิดคร้ังแรกจะทาให้เกิดสภาพเป็นสุญญากาศสามารถดูดไอน้ามันเบนซิน และอากาศจากภายนอกใหเ้ ขา้ มาแทนทแ่ี ละจุดระเบดิ คร้งั ท่ีสอง และครั้งตอ่ ๆไปเป็นลูกโซ่อัตโนมตั ิ 2. ทางานโดยการผสมน้ามันเชื้อเพลิงจดุ ระเบิดในห้องเผาไหม้ (Combustion Chamber) 3. มวลอากาศร้อน ~ 600-1000 °C จะถูกระบายมาตามท่อความร้อน (Thermal Pipe) 4. มวลอากาศร้อนจะทาให้สว่ นผสมของน้ายาเคมีที่บริเวณหวั หยดน้ายาแตกตวั เป็นไอ 5. เม่ือไอสารเคมีออกจากปลายท่อมากระทบอากาศเยน็ ภายนอก จะกลายเป็นละอองหมอกควันขนาด 10-30 ไมครอนหรือมากกว่า ตามปกติเม็ดละอองของการพ่นหมอกควันจะมีขนาดเล็กกว่า 20 µmซ่ึงจริงๆแล้ว ขนาดละอองจะเล็กหรือใหญก่ ว่ามาตรฐานนขี้ นึ้ อยูก่ บั อตั ราการไหลของนา้ ยาด้วย ขอ้ ดขี องการพน่ โดยเครือ่ งพ่นหมอกควนั 1. มองเห็นการปฏิบัติงานได้ง่าย ทาให้มีผลทางจิตวิทยาที่ดีแก่ประชาชน และประชาชนสามารถหลบ หลกี ได้งา่ ย 2. สามารถตรวจสอบความครอบคลมุ ในการพน่ ได้งา่ ย 3. ใช้ความเข้มขน้ ของนา้ ยาต่า ทาให้มคี วามปลอดภัยแกผ่ ูพ้ ่น ขอ้ เสียของการพน่ โดยเคร่ืองพ่นหมอกควนั 1. คา่ ใช้จา่ ยในการพน่ สงู เน่อื งจากใชต้ ัวทาละลายในปริมาณมาก (นา้ มันดีเซล) 2. กลิ่นเหม็น และอาจทาให้เลอะเทอะ เปรอะเปื้อนพ้ืนผิว เน่ืองจากใช้น้ามันดีเซลในปริมาณมากทาให้ เจ้าของบ้านอาจไม่ยอมใหพ้ ่นเข้าไปในบา้ น 3. กลุ่มควนั หนาแนน่ มาก อาจทาให้เกิดอุบัตเิ หตุทางการจราจรได้งา่ ย 4. อาจเสยี่ งต่อการลุกไหมไ้ ด้งา่ ย เนอ่ื งจากเครื่องพ่นใช้อุณหภูมสิ ูงในการผลติ ละออง และตัวทาละลายก็ สามารถติดไฟได้

หลักสตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 37 1. หลกั การใช้งานทว่ั ไปของเครอ่ื งพ่นหมอกควัน การสตารท์ เครือ่ ง 1. ก่อนสตาร์ทเคร่ืองตรวจสอบความเรยี บร้อยของเคร่อื งวา่ มอี ุปกรณ์ครบถ้วน 2. เติมน้ามันเบนซิน 91 (หรือแก๊สโซฮอลล์95) และน้ายาเคมีเสียก่อน โดยใช้กรวยกรอง (ควรแยกกัน คนละกรวยกรอง) ให้มีชอ่ งวา่ งอากาศ 1-2 ซม.จากขอบบนของถงั ปิดฝาถงั ท้ังคใู่ หส้ นิทเปดิ น้ามัน 3. ตรวจดรู ะบบไฟโดยกดสวทิ ซ์ไฟแล้วฟังเสยี ง หรือถอดหวั เทยี นมาทดสอบเชค็ กับตัวถังเคร่อื งพ่นส่วนท่ี เป็นโลหะ (ground) ว่ามีไฟสปาร์คหรือไม่ (ต้องระวังอย่าให้ส่วนต่างๆของร่างกายสัมผัสกับส่วนท่ีเป็นโลหะของ เคร่อื งพ่น) 4. ปิดวาล์วควบคมุ การไหลของนา้ ยาเคมี และวาลว์ นา้ มนั 5. กรณีเคร่ืองท่ีต้องมีแรงดันในถังน้ามัน ทาการสูบลมสูบอัดลม 3-5 คร้งั (กรณีเครื่องที่มสี วทิ ช์ไฟหลาย ทาง ใหป้ รับมาอย่ใู นตาแหนง่ ใชง้ าน) 6. เปดิ วาลว์ นา้ มันตามที่กาหนด 7. สูบอัดลมต่อไปเรื่อยๆ (อย่ากระแทก) พร้อมทั้งกดปุ่มควบคุมกระแสไฟ (ถ้ามี) เคร่ืองจะติดเองเมื่อไอ นา้ มนั เคลอ่ื นขึ้นมาผสมกบั อากาศในอัตราสว่ นท่ีพอดใี นคารบ์ ูเรเตอร์ 8. เมื่อเคร่ืองยนต์ทางาน ทาการอุ่นเคร่ือง ประมาณ 1-2 นาที เพ่ือให้เคร่ืองเดินเรียบและเป็นการปรับ อณุ หภูมใิ นทอ่ พน่ ใหค้ งที่ 9. การปล่อยนา้ ยาเคมี ทาโดยยกดันปล่อยนา้ ยา หรอื เปิดวาลว์ นา้ ยา แล้วแตช่ นดิ เครื่อง การปล่อยน้ายา การพ่นยุงลายต้องพ่นในบ้านจากห้องในก่อน เปิดน้ายาเดินถอยหลังออกมา ถ้าเคร่ืองดับขณะกาลังพ่น ตอ้ งรบี ปิดวาล์วนา้ ยาเคมี แล้วรีบนาเคร่ืองออกมายังท่ีโล่งโดยด่วนเพราะไฟจะลุกที่ปลายท่อและให้รบี แก้ไขตาม วิธีการดับเคร่ือง แต่ถ้าน้ายาไม่ออกหรือไม่มีควันให้ดับเคร่ืองแล้วตรวจดูท่อส่งน้ายาอาจอุดตัน ทาโดยถอดท่อ น้ายาตรงบรเิ วณหัวฉดี (nozzle) แลว้ ตรวจดูวา่ มีอะไรอดุ ตันหัวฉีดหรอื ไม่ หากมีเศษผงติดให้ใชล้ มเปา่ ออก (ห้าม ใช้ปากเปา่ ) การดบั เครอ่ื ง 1. ปิดวาล์วปล่อยนา้ ยาเคมี และปลอ่ ยให้เครือ่ งทางานจนหมอกควนั ออกหมดแลว้ 2. ปิดวาล์วนา้ มนั เคร่ืองก็จะดับ 3. เปดิ คลายฝาถงั นา้ ยาเคมี และถังน้ามนั เพื่อปลอ่ ยแรงดัน กรณี เครื่องดบั ขณะนา้ ยาเคมียังไหลอยู่ น้ายาเคมจี ะลุกเป็นไฟจะเกิดไฟลุกไหม้ การแก้ไข : ปดิ วาล์วนา้ ยาเคมี คลายฝาถงั น้ายาเคมเี พ่ือไล่ความดันในถังนา้ ยาออกแล้วจงึ ปิดคนื ดงั เดิม แล้วให้สูบสตารท์ เครอื่ งใหม่ต่อไปเลย (ไมต่ ้องเปิดวาล์วน้ายาแล้ว) เมือ่ เครื่องติดความร้อนในท่อจะมาเผานา้ ยาท่ี หยดเกนิ ออกมาจนไฟลุกให้ถูกเผากลายเป็นหมอกควนั ออกไป พอไฟดับและเคร่ืองเปน็ ปกติดแี ลว้ จึงค่อยปิดวาลว์ นา้ มันใหเ้ ครื่องดับ การพกั เครือ่ ง : หากเสรจ็ งานแล้วควรพักใหเ้ ครื่องเย็นดีก่อนสกั 30 นาทจี ึงค่อยขนใสร่ ถกลับ การดูแลแก้ไขหวั เทียน ให้ใช้กระดาษทรายละเอยี ดเช็ดเขม่าดาทีเ่ ป้ือนบรเิ วณเข้ียวหัวเทียนออกให้สะอาด และเชด็ ใหส้ ะอาด และควรต้ังค่าความห่างของเขี้ยว ประมาณ 0.06 น้ิว หรอื 1.5 มลิ ลิเมตร หา้ มต้งั น้อยกว่าน้หี รอื ขนั จนแนน่ เกนิ ไป

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 38 การดแู ลรกั ษาแบตเตอร์รี่ 1. ใสแ่ บตเตอรร์ ใี่ ห้ถูกข้ัวไฟฟ้า 2. ห้ามใชแ้ บตเตอรร์ ่ีใหม่และเก่าสลบั กัน 3. ห้ามใช้แบตเตอร์รช่ี นดิ อัลคาไลนร์ ว่ มกับแบตเตอรร์ ่ีชนิดอื่นๆ 4. หากไม่ได้ใชเ้ คร่ืองพน่ นานๆควรถอดแบตเตอร์รี่ออก เพ่ือปอ้ งกันการรั่วเสยี ไปและป้องกนั การแตก ของถ่านทาใหเ้ กดิ สนิมกนิ ขวั้ ไฟ การดูแลรักษาระบบสบู ลม 1. กระบอกสบู ลม และทอ่ ป้ัมลมควรใสน่ ้ามนั หล่อล่ืนเสมอ ป้องกันการแหง้ และตดิ ขัดของลกู ยาง ภายในกระบอกสบู ไม่ให้ฉีกขาด 2. ทาความสะอาดไส้กรองอากาศโดยการใชล้ มเป่า 3. ระมัดระวังในการใชง้ านไม่ให้เกดิ การกระแทกทก่ี ระบอกสูบ อาจแตกหักเสียหายได้ การดูแลรกั ษาคารบ์ ูเรเตอร์ 1. ห้ามทาการปรับเปลี่ยน หรือถอดคาร์บูเรเตอร์เอง โดยเด็ดขาด 2. หากเกิดปญั หาเคร่อื งยนต์ไมต่ ดิ เนอื่ งจากคารบ์ ูเรเตอร์ให้ติดตอ่ กับชา่ งผชู้ านาญของบริษทั การดแู ลรกั ษาระบบนา้ มัน 1. จะต้องใช้น้ามนั ทีใ่ หม่ และสะอาดเสมอ 2. ไมค่ วรคา้ งน้ามนั ไวใ้ นตัวถังนาน เนอื่ งจากคุณภาพนา้ มันอาจลดลงแล้วจะส่งผลต่อการติดเครื่องยนต์ 3. ไมค่ วรปรบั แตง่ หรือถอดคาร์บูเรเตอร์ หรอื สว่ นประกอบอ่ืนๆ โดยไมจ่ าเป็น การดแู ลรักษาระบบน้ายาเคมี ถงั นา้ ยาเคมี 1. ในการผสมสารเคมี ต้องผสมให้ถูกตอ้ งกบั อัตราส่วนทก่ี าหนดไวบ้ นฉลากสารเคมี 2. การผสมสารเคมีตอ้ งผสมให้พอดกี ับที่ต้องการใช้ และควรใชน้ ้ายาเคมใี หห้ มดทุกครั้ง ไมค่ วรเหลือค้าง ไว้ในถัง 3. ในการทาความสะอาดกรองน้ายาเคมี (filter) ควรทาความสะอาดทั้งสองแห่งโดยการล้างด้วยสบู่ หรือน้าสะอาด และทิ้งใหแ้ หง้ ก่อนนาไปเก็บเขา้ ท่ีเดิม 4. ในการทางานทุกครั้งจะต้องมีกรองน้ายาเคมี (filter) เสมอ หากไม่มีอาจทาให้เคร่ืองยนต์เกิดการ เสียหายได้ 5. ปรับปุ่มควบคุมอัตราการไหลของน้ายา (Metering valve) ให้เหมาะสมก่อนการใช้งานพ่น จะได้ไม่ สน้ิ เปลอื ง การทาความสะอาดหลังการใช้งาน การทาความสะอาดทอ่ พ่น 1. ใช้แปรงที่ให้มากับเคร่ือง (แปรงยาว) ทาความสะอาดท่อพ่น โดยค่อยๆใส่แปรงหมุนตามเข็มนาฬิกา เข้าไปในทอ่ พ่นจนสดุ 2. จากนั้นค่อยๆ หมุนแปรงไปในทางเดียวกันตลอด ไม่ควรกดแปรงแรง และลึกจนเกินไป ทาจนเสร็จ แล้วใหด้ ึงแปรงออกมา การดแู ลรกั ษาระบบไฟ 1. ตรวจสอบแหล่งทใ่ี หพ้ ลงั งาน จากถ่านแบตเตอร่ี หรอื จากรถยนต์ 2. ตรวจสอบหวั เทียน เข้ยี วหวั เทียน โอรงิ แบตเตอร่ี หม้อแปลงไฟ 3. ดูแลขว้ั แบตเตอรี่ สายไฟ สวทิ ซ์ ให้สะอาดอยเู่ สมอ 4. เม่ือไม่ใชเ้ ครื่องเป็นเวลานานให้ถอดถา่ นแบตเตอร่ีออก เพ่อื ประหยดั ไฟ 5. ควรกดสวิทซ์เพียงเบาๆ ในการสตารท์ เครื่อง

หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมเี พอ่ื ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 39 การใช้เครื่องพ่นหมอกควันเบอื้ งต้น 1.เคร่อื งพ่นหมอกควัน SWING FOG SN 50 การเตรียมความพร้อมและการเตรียมเครื่องพน่ เคมีหมอกควันสวงิ ฟอ็ ก กอ่ นการใชง้ าน 1. เติมน้ามันเบนซินใส่ถงั จนเกือบเต็ม ให้มชี ่องว่างในถงั น้ามันเช้ือเพลงิ 1-11/2 เซนติเมตร ไม่ควรเติม เตม็ จะทาใหเ้ ครื่องตดิ ยาก 2. การเติมน้ายาสารเคมีใส่ถังจนเกือบเต็ม (การเติมน้ายาเคมีและน้ามันเช้ือเพลิง ทุกครั้งต้องผ่าน กรวยกรอง) 3. ตรวจเช็คระบบไฟถอดหัวเทียนทาความสะอาด เสียบปล๊ักเข้ากับหัวเทียนด้านท่ีเป็นข้ัวบวกเอาหัว เทียนมาไว้ด้านนอกแตะส่วนท่ีเป็นโลหะแล้วสตารท์ เครื่องถ้าหัวเทียนยังสามารถใช้งานได้ดี จะเห็นประกายไฟที่ ออกมาจากหัวเทียน สังเกตประกายไฟจากหัวเทียนสีแดงหรือสีม่วง ถ้าประกายไฟสีแดงควรเปลี่ยนแบตเตอรี่ ปรับความห่างของเข้ียวหัวเทียนประมาณ 0.2 มิลลิเมตรหรือเทียบกับเงินเหรียญบาทเล็กจะเท่ากับความหนา ของเหรยี ญพอดี และถ้าไมม่ ีประกายไฟให้เปลยี่ นหัวเทียนใหม่ แล้วยงั ไมด่ ขี ึ้นใหส้ ่งผู้ชานาญการซอ่ ม วธิ กี ารตดิ เครือ่ งพ่นหมอกควัน Swing fog 1. ตรวจดูถังนา้ มัน ฝาถงั น้ามันต้องปิดแน่น 2. ดูวาลว์ นา้ มันใหอ้ ย่ใู นตาแหน่งปิด 3. ตรวจดฝู าถงั นายาเคมี ปดิ ให้เรียบร้อย 4. สบู ลมเบาๆ โดยใช้คนั ชักทีด่ ้านหนา้ เคร่อื งพ่น สกั ครู่ (4-5คร้ัง) เปิดวาลว์ น้ามันเบนซนิ ใหส้ ดุ 5. สูบลมเบาๆตอ่ เน่ืองจนเครื่องตดิ 6. เม่ือเครอื่ งติดแล้ว ปล่อยใหเ้ คร่ืองทิ้งไว้ 1-2 นาที เพื่อให้เครื่องพรอ้ มทางาน จงึ นาไปปฏิบตั งิ านพ่นได้ และพ่นต่อเน่อื ง 40 นาที ต้องพกั 10 นาที วธิ แี ก้ปญั หาเคร่อื งไม่ตดิ ตรวจเช็คระบบไฟ ดูการทางานของหัวเทียน ถ้าไม่มีประกายไฟ ให้ถอดหัวเทียนทาความสะอาด เสียบ ปล๊ักเข้ากับหัวเทียนท่ีเป็นขั้วบวก นาหัวเทียนมาแตะกับโครงด้านนอก แล้วสตาร์ทเครื่อง ถา้ หัวเทียนใช้งานได้ดี จะเห็นประกายไฟออกมาจากหัวเทยี น ถ้าไม่มีประกายไฟให้เปล่ียนหัวเทียนใหม่ และเปลี่ยนแบตเตอร่ี (ถา่ น) ตรวจสอบระบบน้ามัน ควรตรวจดูว่าน้ามันข้ึนหรือไม่ โดยเปิดฝาแอร์อินเทควาล์ว (air intake valve) ซ่ึงมีลักษณะกลมๆอยู่ด้านท้ายเคร่ือง แล้วเปิดก๊อกนามันเบนซินให้อยู่ในตาแหน่งเปิดสุด แล้วสูบกระแทกแรงๆ 5-6 คร้ัง สังเกตดูว่าในรูท่ีเปิดฝาแอร์อินเทควาล์ว มีน้ามันออกมาหรือไม่ ถ้ามีแสดงว่าน้ามันข้ึน ถ้าไม่มีแสดงว่า

หลักสตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 40 นา้ มันไมข่ ้ึน และควรตรวจดูแผน่ ไดอะแฟรมทีเ่ ปน็ สขี าวอย่ใู นฝาแอร์อินเทควาลว์ ว่ามีคราบสกปรกหรือไม่ ถ้ามีให้ ทาความสะอาดโดยเชด็ หรือลา้ งแล้วเช็ดให้แหง้ การลา้ งถังนา้ มนั เบนซนิ ถ่ายน้ามันเบนซินท่ีมอี ยใู่ นถังออก แลว้ ล้างถังนา้ มันเบนซนิ ให้สะอาด เติมน้ามัน เบนซนิ ใหมแ่ ล้วลองตรวจดูใหม่วา่ นา้ มันข้ึนหรอื ไม่ ถา้ ยงั ไม่ขน้ึ ใหส้ ง่ ผู้ชานาญตรวจซอ่ ม เครอ่ื งติดแตน่ า้ ยาเคมไี มไ่ หล ควรปฏบิ ัติดังน้ี 1. ตรวจหัวควบคุมอัตราการไหลของน้ายา (หัวทองเหลืองท่ีมีเบอร์ 0.8 1.0 และ1.2) ว่ามีการอุดตัน หรอื ไม่ ถา้ อดุ ตันใหใ้ ชเ้ ข็มเยบ็ ผ้าเบอร์เลก็ สดุ แยงเศษผงออก 2. ตรวจหัวควบคุมอัตราการไหลของน้ายาเคมี ถ้าพบว่าไม่อุดตัน ให้ลองเปิดก๊อกน้ายา (ขณะเครื่องติด อยู่) โดยไม่ต้องใส่หัวควบคุมอัตราการไหลของน้ายา ถ้าน้ายาไหลให้ตรวจต่อไปตามข้อ 3 แต่ถ้าน้ายาไม่ไหลให้ ตรวจดูฝาถังน้ายาเคมีว่าปิดสนิทหรือไม่ ถ้าถังน้ายาเคมีปิดสนิทแล้ว น้ายาเคมีไม่ออกควรส่งผู้ชานาญ งานตรวจ ซ่อมต่อไป 3. หลังจากปฏิบัติมาถึงข้อ 2 แลว้ น้ายาเคมีไหลออก กใ็ ส่หัวควบคุมอัตราการไหลของนา้ ยาเคมีเข้าทีเ่ ดิม แล้วเปิดน้ายาเคมี ถ้าน้ายาเคมียังไม่ออก ให้ตรวจหัวหยดน้ายาเคมีว่าอุดตันหรือไม่ ถ้าอุดตันให้ทาความสะอาด หวั หยดน้ายาเคมี 4. ถ้าปฏิบัติดังกล่าวแล้วน้ายาเคมียังไม่ออก ให้ถอดสายน้ายาเคมีออกดูโดยใช้น้าฉีดไล่สายน้ายาเคมีดู ว่าอุดตันหรือไม่ ถ้าตันให้นาสายน้ายาเคมีเผาไฟท้ังเส้นแล้วค่อยๆ เคาะด้วยของแข็ง อย่าเคาะแรงจนสายน้ายา เคมีพับแบน หลังจากปฏิบตั ิแลว้ ทุกขอ้ น้ายาเคมกี ย็ งั ไหลไม่ออก ใหน้ าเคร่ืองพ่นสง่ ให้ผชู้ านาญการซอ่ มทันที วธิ ดี ับเครือ่ งพน่ เคมีหมอกควนั สวงิ ฟ็อก 1. ปิดกอ๊ กนา้ ยา รอจนกวา่ ควันปลายทอ่ จะหมดไป 2. ปิดก๊อกนา้ มนั เบนซนิ 3. ปล่อยความดนั ในถงั น้ายาเคมีออกโดยการคลายเกลยี วฝาถังน้ายา 4. ปลอ่ ยความดันในถังน้ามันเบนซนิ โดยการคลายฝาถังนา้ มัน การบารงุ รกั ษาเครื่องพ่นเคมีหมอกควนั สวงิ ฟอ็ ก เพ่ือให้เครื่องพ่นเคมีพร้อมที่จะใช้งานได้อยู่เสมอใช้ได้ทนทานและใช้ได้นาน ควรทาการบารุงรักษา เคร่ืองพน่ ก่อนท่ีจะนาไปเกบ็ ดงั นี้ 1. ทาความสะอาดถังน้ายา 1.1 ปลอ่ ยตะกอนภายในถงั นา้ ยาออกให้หมด 1.2 เติมน้ามันดีเซล ¼ ลิตร ลงในถังน้ายาเคมี เขย่าเพื่อล้างถังแล้วติดเครื่องพ่น เพ่ือกาจัด นา้ ยาในท่อกอ๊ กน้ายา ทีก่ รองนา้ ยา และหัวฉดี 1.3 การกาจดั นา้ ยาเคมหี รอื คราบนา้ ยาทีเ่ ครอื บอยู่ อาจใช้ acetone (ไวไฟ) ได้ 2. ทาความสะอาดเครอื่ งภายนอก โดยใชผ้ งซกั ฟอกผสมกับนา้ ลา้ งใหส้ ะอาด 3. ถอดลน้ิ ควบคมุ อากาศออกมาทาความสะอาด 4. ทาความสะอาดปลายทอ่ สว่ นใน อยา่ ใหม้ เี ขม่าติดอยู่ 5. ตรวจสอบและทาความสะอาดเครอื่ งกรองนา้ ยา (ถา้ มี) 6. ลา้ งถงั น้ามันเบนซินโดยวธิ ีเขย่าและเอาส่งิ แปลกปลอมออก แล้วใสน่ า้ มันเบนซนิ ไว้อยา่ งเดมิ 7. ขนั สกรแู ละขนั นอ็ ตใหแ้ นน่ หมายเหตุ – ถ้าสบู ไมก่ ินลม ให้ใช้นา้ มันเคร่ืองทาใหท้ ว่ั ยาง หา้ มใช้จารบี เพราะอาจไปอดุ ท่อลมได้

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมีเพอ่ื ควบคุมและกาจัดยุงลาย 41 2.เคร่อื งพน่ หมอกควัน IGEBA TF35 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นการใช้งาน 1. เติมน้ามันเบนซนิ ให้มีช่องว่าง 1-2 ซม. 2. เติมนา้ ยาเคมีให้มชี ่องว่าง 1-2 ซม. 3. ตรวจระบบไฟ ถ้าไฟอ่อนให้เปลย่ี นก้อนถ่าน การตดิ เครอ่ื ง 1. ปดิ ฝาถังนา้ มันเบนซนิ และฝาถังน้ายา 2. ดงึ ปมุ่ น้ามันเชือ้ เพลงิ ขนึ้ 3. กดปมุ่ กระแสไฟ พร้อมสูบลม 3-5 คร้ัง 4. เครอ่ื งตดิ แล้ว อนุ่ เครอื่ งประมาณ 1-2 นาที 5. เปดิ การไหลสารเคมีในการปฏิบัติงาน ถ้าเครอื่ งไม่ติด 1. ตรวจดรู ะบบไฟ 2. ตรวจดูน้ามนั ทร่ี ูเปดิ ฝา Air intake Vale 3. ตรวจดแู ผน่ Diapham ว่ามีคราบสกปรกหรอื ไม่ 4. ถา้ น้ามันไมข่ ้นึ ใหถ้ ่ายนา้ มันเก่าออก และล้างถังใหส้ ะอาด ถ้าไมข่ ้ึนอีกให้ส่งผเู้ ชยี่ วชาญตรวจสอบ เครื่องติดแต่นา้ ยาเคมไี ม่ออก 1. ตรวจดูหวั ควบคมุ การไหลของน้ายาว่ามกี ารอดุ ตนั หรือไม่ 2. ถา้ อุดตนั ใช้เข็มเยบ็ ผ้าเบอรเ์ ลก็ ท่ีสดุ แยงเศษผงออก 3. ถา้ ไมอ่ ดุ ตนั และน้ายาเคมีไม่ออก ควรสง่ เครอ่ื งใหผ้ ู้เชีย่ วชาญตรวจสอบ ถ้ามเี ปลวไฟออกมากจนเลยปลายท่อ 1. ปรับอัตราการไหลทีน่ มหนขู องนา้ มนั เชอื้ เพลงิ วิธดี ับเครื่อง 1. ปิดการไหลของนา้ ยา 2. กดป่มุ ควบคุมนา้ มนั ลง 3. สบู ลมเข้าเครื่องประมาณ 2-3 คร้งั 4. คลายฝาถงั นา้ มนั และฝาถังน้ายาเคมีเพือ่ ลดแรงดนั ในถงั

หลักสตู รเทคนิคการพ่นสารเคมเี พอื่ ควบคมุ และกาจัดยงุ ลาย 42 3.เครื่องพ่นหมอกควนั SUPER HAWK การเตรียมความพร้อม 1. เตมิ นา้ มันเบนซิน และนา้ ยาเคมี ให้มีช่องว่าง 1-2 ซม. 2. ตรวจระบบไฟ ใช้ก้อนถ่านไฟ 8 ก้อนๆละ 1.5 โวลท์ การติดเครื่อง 1. ปดิ ฝาถงั นา้ มัน ฝาถงั นา้ ยาเคมี 2. ปรับลกั ษณะการใชแ้ บตเตอรี่ จากสวิทซ์ 3 ทาง 3. เปิดปุ่มน้ามัน ไปที่ตาแหน่ง ON 4. กดลกู ยาง Priming bulb เบาๆ 1-2 ครั้ง 5. กดปุ่มควบคุมกระแสไฟคา้ งไว้ แลว้ สูบลม 3-5 คร้ัง 6. เคร่ืองติดแลว้ อุ่นเคร่อื ง 1-2 นาที จงึ นาไปปฏิบตั งิ าน เครือ่ งไมต่ ดิ 1. ตรวจสอบดรู ะบบไฟ ถา้ ไฟออ่ นใหเ้ ปล่ยี นก้อนถา่ น 2. ตรวจน้ามนั เบนซนิ ว่าขึ้นหรือไม่ สังเกตจากน้ามนั เบนซิน จะมาขังในกระเปาะหรือไม่ ถ้าไม่ข้ึนใหถ้ อด กรองน้ามนั ดวู ่าอุดตนั หรือไม่ 3. ถ้าปฏิบัตแิ ลว้ นา้ มนั ยังไม่ขึ้น ใหส้ ง่ ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบต่อไป น้ามนั ทว่ มใน Priming bulb 1. ปิดการไหลของนา้ ยา 2. เปิดปุ่มควบคุม 3. กดปุ่มกระแสไฟ สบู ลมประมาณ 20 ครัง้ เครือ่ งตดิ แต่นา้ ยาเคมีไมอ่ อก 1. ตรวจสอบหัวควบคมุ การไหลของนา้ ยาว่าอดุ ตนั หรอื ไม่ 2. ถา้ ปฏิบตั ิแล้ว น้ายายงั ไม่ออกใหส้ ่งผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบต่อไป วธิ ีดบั เครอ่ื ง 1. ปดิ การไหลของนา้ ยาเคมี โดยบิดคานไปตามเขม็ นาฬิกาจนสดุ 2. ปิดปุม่ ควบคุม เคร่ืองจะดับเอง

หลักสตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจดั ยงุ ลาย 43 4.เคร่อื งพน่ หมอกควัน PULSFOG K-10 SP การเตรยี มความพร้อม 1. เติมน้ามันเบนซิน และน้ายาเคมี ใหม้ ีช่องวา่ ง 1-2 ซม. นา้ มัน 2 ลติ รใช้ได้ 1.20 ชม. 2. เติมนา้ ยาเคมีใหม้ ชี ่องว่าง 1-2 ซม. 3. ตรวจระบบไฟ โดยการกดลูกยางแช่ไว้ ถา้ ไฟออ่ นใหเ้ ปล่ียนแบตเตอร่ใี หม่ การติดเคร่อื ง 1. ดึงคนั โยก เปดิ -ปดิ สารเคมีใหอ้ ย่ใู นตาแหนง่ Off 2. หมุนปุ่มปรับน้ามันไปท่ตี าแหนง่ Start 3. กดลกู ยางช้า ๆ จนเครอื่ งติด แลว้ อุ่นเครื่องประมาณ 1-2 นาที จึงเริม่ ปฏิบัติงาน เคร่ืองไมต่ ดิ 1. ตรวจสอบดูคาร์บเู รเตอร์ ว่ามนี ้ามันว่ิงขึ้นหรือไม่ 2. การปั๊มลูกยางบ่อยทาให้น้ามนั ทว่ ม วิธแี ก้คือ ปิดป่มุ น้ามัน คลายฝาถงั นา้ มนั วธิ ดี ับเครือ่ ง 1. ปิดกอ๊ กน้ายาเคมี โดยดึงคันโยกขน้ึ 2. คลายฝาถงั น้ายาเคมี และฝาถงั น้ามนั เบนซิน 3. ปิดป่มุ น้ามนั เบนซนิ *ข้อควรจา* 1. ดบั เคร่ืองต้องปดิ นา้ ยาเคมีก่อน ถ้าเคร่อื งดบั กอ่ นปิดวาล์วน้ายาเคมีจะทาใหเ้ กดิ ไฟลุกที่ปลายท่อ อย่า ตกใจ รบี ปดิ ท่อน้ายาเคมี หมุนปุม่ นา้ มนั ไว้ตาแหนง่ เดมิ แลว้ กดลูกยางจนเคร่ืองตดิ ไฟก็จะดับ 2. ถอดปล๊กั หวั เทยี นออกเม่ือเลกิ การใชง้ าน 3. อย่าลืมเปิดฝาถังน้ามัน และถังน้ายาเคมีเพื่อลดแรงอัดภายในซ่ึงจะทาให้ประเก็นฝาถังสึกหรอ และ หากเคร่อื งยงั ร้อนอยแู่ มแ้ ตด่ ับเครื่องแล้วก็อาจติดเองไดห้ ากไอน้ามนั รว่ั เขา้ ไปในบริเวณจุดระเบิดซ่ึงยงั รอ้ นจัด

หลกั สตู รเทคนคิ การพน่ สารเคมีเพอื่ ควบคุมและกาจัดยุงลาย 44 การปอ้ งกนั อุบัตเิ หตุ 1. ศึกษาชนดิ และอตั ราการใช้สารเคมที ่เี หมาะสมต่อการใชง้ านตามคาแนะนาของผ้ผู ลติ สารเคมี 2. การใชง้ านเครอื่ งพ่นน้ีควรใชห้ นา้ กากป้องกนั การสูดดมสารเคมี เพื่อความปลอดภัยหากอย่ปู ฏิบตั ิงาน ในพ้ืนท่ี 3. การพ่นหมอกควันในอาคารปิด เช่น โรงเพาะเล้ียงพืช ควรใช้หน้ากาก ซึ่งมีระบบกรอง (Gas Filter type A Gas filter class 2 และ particle filter ไม่ต่ากว่า P 1111) และอาจต้องใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจถ้า จาเปน็ 4. ในการพ่นหมอกควันท่ีเป็นสารอันตรายต่อผิวหนัง ผู้พ่นควรสวมชุดป้องกัน (ลาตัว มือ และศีรษะ) หากอยู่ในบริเวณปฏิบัติงาน 5. ปิดอาคารให้มิดชิด หากสารเคมีที่พ่นมีพิษสูงและอันตราย จะเข้าไปในพ้ืนที่เพ่ือปฏิบัติงาน ได้ก็ ต่อเม่อื ละอองสารเคมีหมดแล้ว โดยมีการปอ้ งกนั ตามขอ้ 2 และ 3 6. เพื่อความปลอดภัยต้องม่ันใจว่า พื้นท่ีพ่นสารเคมอี ันตรายปลอดสารเคมีแล้ว โดยให้อากาศระบายได้ อย่างท่วั ถึง 7. ในการปฏิบัตงิ านพ่นหมอกควัน อาจปอ้ งกันอันตรายจากเสียง โดยการสวมอุปกรณ์ปอ้ งกนั เสยี ง 8. ผปู้ ฏิบัติงานควรไดร้ ับการแนะนาการใช้งานเครือ่ งพน่ อย่างถกู ต้องก่อนลงมือปฏบิ ัตงิ าน 9. เครื่องพน่ หมอกควัน Swing fog ต้องใสป่ ลายท่อพ่นและอุปกรณ์ป้องกัน เมื่อจะใช้ปฏิบตั งิ าน 10. ควรหลกี เล่ยี งการพ่นหมอกควันในอาคารดว้ ยสารเคมีทไ่ี วไฟ 11. การซ่อมแซมแก้ไขเคร่ืองพ่นหมอกควันควรทาเมื่อเครื่องยนต์หยุดทางานและทิ้งไว้ให้นานพอจน เครอื่ งเย็น 12. เมอ่ื แก้ไขเครื่องพน่ หมอกควันให้ปฏิบตั งิ านได้แลว้ ใหต้ รวจสอบอปุ กรณป์ อ้ งกันท่ีติดต้ังมาให้อยูใ่ น สภาพใชง้ านได้ดังเดิม 13. เครื่องพ่นควรไดร้ บั การตรวจสภาพและปรับการใช้งานเป็นระยะจากชา่ งผ้ชู านาญ 14. เม่ือจะติดเคร่ืองพ่นเพ่ือใช้งานต้องแน่ใจว่าไม่มีบุคคลหรือสัตว์อยู่ด้านหน้าท่อพ่นของเครื่องพ่นการ ดูแลเคร่ืองพ่นหมอกควันก่อนเก็บหลังจากเสร็จจากการพ่นสารเคมีและต้องเก็บเครื่องไว้นานๆโดยไม่ได้ใช้ ต้อง ทาการล้างถังน้ายาและถังน้ามันเบนซิน นอกจากน้ันต้องทาความสะอาดหัวฉีด (nozzle) และส่วนอื่นๆ ดังนี้ (ต้องใส่ถงุ มือขณะปฏบิ ตั ดิ ว้ ย) การล้างถงั นา้ ยา 1. ถอดสายหัวฉดี ออกแลว้ วางปลายใสใ่ นถังโลหะสะอาด 2. เปิดวาล์วนา้ ยาที่เหลือออก (ถา้ ถอดหวั ฉีดออกด้วยน้ายาจะไหลเรว็ ขนึ้ ) 3. ถอดหัวฉีดออกมาล้างด้วยน้ามันเบนซินหรือน้ามันก๊าด (บางคร้ังอาจต้องแช่ทิ้งไว้ทั้งคืน) เป่าส่ิงที่อุด ตนั ออกดว้ ยสูบลมหรอื เคร่ืองปมั๊ ลม (หา้ มเอาปากเปา่ ) 4. ถอดท่ีกรองนา้ ยาออกล้างในนา้ มนั เบนซนิ หรือนา้ มันก๊าดด้วย 5. ใส่น้ามันโซลาร์ใหม่ 1/4 ลิตรในถังน้ายาเขย่าล้างถัง เสร็จแล้วเทออกใส่ในหลุมสาหรับทิ้งน้าเสียที่ ปนเป้ือนสารกาจดั แมลงท่ีขุดไว้ใชท้ ้งิ สารเคมโี ดยเฉพาะ 6. เสร็จแลว้ ประกอบหัวฉดี กลับคนื 7. เตมิ น้ามนั โซลารใ์ หม่ 1/2 ลติ รเข้าไปในถงั น้ายาเพอ่ื หลอ่ เล้ียงและป้องกนั สนิม การล้างถังนา้ มนั เบนซิน 1. เขยา่ เครอ่ื ง เปิดฝาเอาน้ามันเก่า และส่งิ แปลกปลอมออก 2. เติมนา้ มันเบนซนิ ใหม่ 1/2 ลิตรเข้าไปในถังน้ามันเพื่อหลอ่ เลย้ี ง และป้องกันสนิม

หลกั สตู รเทคนคิ การพ่นสารเคมีเพอื่ ควบคมุ และกาจัดยุงลาย 45 การทาความสะอาดอื่นๆ 1. ล้างทาความสะอาดเครอื่ งพน่ ภายนอกโดยใชผ้ งซกั ฟอกและนา้ ให้สะอาดแล้วเชด็ ให้แห้ง 2. ถอดแผ่นไดอะแฟรมออกมาทาความสะอาดแล้วเชด็ ให้แหง้ 3. ทาความสะอาดปลายท่อส่วนในโดยใช้แปรงสาหรบั สาความสะอาดทอ่ พ่น อย่าใหม้ เี ขมา่ เกาะ 4. ถา้ สูบไม่กนิ ลมให้ตรวจดูยางสบู ด้านใน วา่ ฉกี ขาดหรือไม่ ใหใ้ ช้นา้ มันเคร่ืองทาเล็กน้อยแลว้ ใสเ่ ข้า ดงั เดิม (ห้ามใชจ้ ารบี เพราะอาจจะอุดทอ่ ลม) การดูแลในแตล่ ะวัน ต้องถ่ายน้ายาท่ีเหลือออกจากถังพ่นทุกวัน โดยใส่ในขวดหรือแกลลอนแยกต่างหาก ถ้าน้ายายังใหม่อยู่ สามารถนามาใช้ใหม่ในวันรุ่งขึ้น แต่ต้องเขย่าให้สารเคมีกับน้ามันโซลาร์เข้ากัน อย่างดีแล้วจึงใช้ต่อแต่ควรใช้ให้ หมดอยา่ นานา้ ยาที่ผสมใหมม่ าผสมปนกับของเกา่ หัวเทียน หัวเทยี นควรทาความสะอาดทุกสปั ดาห์ 2.หลักการทางานของเครื่องพ่นยแู อลวีเลก็ สะพายหลัง 1. ระบบผลิตละอองจะแตกต่างจากเคร่ืองพ่นหมอกควันคือ เครือ่ งพ่นยูแอลวีเล็กสะพายหลังจะใช้พลัง ลมเป็นตวั ตีให้น้ายาแตกตวั เปน็ ละอองเล็กๆ โดยลมจะเปา่ ผา่ นหัวฉดี นา้ ยา 2. แหล่งพลงั งานทส่ี ร้างลมจะใชเ้ คร่อื งยนต์เบนซินเล็ก 2 จังหวะ 3. คุณภาพการผลิตละอองขึ้นอยู่กับกาลังเครื่องยนต์ ชนิดตัวสร้างลมเป็นใบพัด หรือโรตาร่ี (rotary) อตั ราการไหลของนา้ ยา ขนาดของหัวฉีด (nozzle) ความหนืดข้นของสารที่ใช้ (Viscosity) สภาพแวดลอ้ มบริเวณ ทฉี่ ีดพ่น (อุณหภูมิ ความเร็วกระแสลม ทิศทางลม ความชื้น) 4. นา้ ยาทใ่ี ช้จะมีความเข้มข้นมากกว่าพน่ หมอกควันประมาณ 5-8 เทา่ จงึ สามารถฆ่ายุงได้ดี 5. เน่ืองจากเป็นเคร่ืองพ่นที่มีเคร่ืองยนต์เป็นแรงขับอย่างจริง ดังน้ันระยะการพ่นสามารถพ่นได้ไกลกว่า เครื่องพ่นหมอกควันและสามารถรักษาทิศทางของละอองได้ดีกว่า ระยะพ่นในอาคารไกลประมาณ 8 เมตร นอกอาคารไกลประมาณ 14 เมตร ขอ้ ดีของการพ่นโดยเคร่อื งพน่ ยแู อลวเี ลก็ สะพายหลัง 1. ประหยัดตวั ทาละลายกว่า (นา้ มนั ดเี ซล) 2. สามารถใช้นา้ ผสมแทนนา้ มนั ดีเซลได้ เพราะไมไ่ ดใ้ ชค้ วามร้อนในการแตกตัวน้ายา 3. ใชป้ รมิ าณนา้ ยาน้อยมากในการพ่นทาให้ไม่เลอะเทอะเปรอะเป้ือน 4. เป็นละอองไม่ใชค่ วนั ไมท่ าให้บดบังทศั นยี ภาพของ ผใู้ ช้รถใชถ้ นน จงึ ปลอดภัยตอ่ ระบบการจราจร ขอ้ เสียของการพ่นโดยเครือ่ งพ่นยูแอลวเี ลก็ สะพายหลัง 1. กลมุ่ ละอองไมไ่ ดห้ นาแนน่ มากเหมือนการพน่ หมอกควนั ทาให้ประชาชนคิดว่ายังไม่ไดป้ ฏบิ ัติงาน 2. ผู้ใช้งานต้องมีความชานาญมากในการใช้เคร่ืองพ่น เข้าใจระบบการทางานของเคร่ืองยนต์เป็นอย่างดี ซง่ึ ตอ้ งคอยเติมน้ามนั เครือ่ ง (เบอร์ 40 หรือตามท่คี ่มู อื แนะนา) ผสมเวลาเติมนา้ มันเชื้อเพลิงเสมอ 3. สารเคมีทใี่ ชม้ ีความเขม้ ขน้ สูง ดงั นน้ั ผพู้ น่ ตอ้ งมีความระมดั ระวังเป็นพเิ ศษ ระบบการทางานของเครอื่ งพ่นยูแอลวีเลก็ สะพายหลัง ระบบเครือ่ งยนต์ 1. เคร่อื งยนต์ 2 จงั หวะ 2. น้ามนั เช้ือเพลิงผสม (น้ามันเบนซนิ + นา้ มนั เครือ่ ง) ระบบติดเครือ่ งยนต์ สายสตาร์ท หัวเทยี น จานจ่าย คาร์บูเรเตอร์ ไส้กรองอากาศ ถังน้ามนั และท่อไอเสยี

หลกั สตู รเทคนิคการพน่ สารเคมีเพอ่ื ควบคมุ และกาจดั ยุงลาย 46 ระบบส่งนา้ ยาเคมี ถงั บรรจนุ ้ายาเคมี ตะแกรงกรอง สายส่งสารละลายเคมี วาลว์ ควบคุมการไหล และหวั ฉีด (nozzle) ระบบสง่ ลมเพ่ือผลติ ละออง พดั ลม หรอื โรตารี่ (rotary) สายแบ่งแรงดนั เขา้ ถงั สารละลายเคมี ท่อลม วัสดปุ รับแตง่ ละอองปลายทอ่ ลม (ใบพัด จาน จานหมนุ ฟันเฟือง กรวย อุโมงค์ลม) อุปกรณ์กระชับหลัง เบาะ สายรดั การใชแ้ ละบารงุ รกั ษาเครอื่ งพน่ ยูแอลวเี ลก็ สะพายหลัง 1. ตรวจสอบระบบหัวเทยี น 2. ตรวจท่อเดินน้ายา และหวั ฉดี ทุกครงั้ ก่อนปฏิบตั ิงาน 3. ใช้กรวยกรองในการน้ายา และนา้ มันทุกคร้ัง 4. อยา่ ลืมผสมนา้ มันเคร่ืองในน้ามนั เชอ้ื เพลงิ ทุกครั้ง 5. หากไม่ได้ใชน้ านๆให้ถ่ายน้ายา และนา้ มนั ออกจากเครอ่ื งแล้วลา้ งใหส้ ะอาด 7. เกบ็ ในที่แห้ง ไมช่ ้นื การสตารท์ เคร่อื ง 1. ปรบั คนั เร่งท่ีระดับปานกลาง 2. ป๊มั น้ามนั พอสมควร ประมาณ 1-2 ครัง้ 3. ดงึ สายสตารท์ 4. วอรม์ เคร่อื งและค่อยๆ ผ่อนคนั เร่งลงมาระดบั ทีใ่ ห้เครอื่ งเดนิ เรียบปกติ 5. กอ่ นพน่ ปรบั คนั เรง่ ให้อย่ตู าแหนง่ สูงสดุ หรือตามทร่ี ะบุในคูม่ ือ การดับเครอ่ื ง 1. ปิดวาล์วสารเคมีก่อนเสมอ 2. ลดคนั เร่งตา่ สดุ 3. ปิดวาลว์ นา้ มนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook