Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางE-paymentอสม

แนวทางE-paymentอสม

Published by phattadon, 2021-03-15 05:14:59

Description: แนวทางE-paymentอสม

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาเนนิ งานการจา่ ยเงนิ คา่ ปว่ ยการ อสม. ผ่านระบบ e-Payment กองสนบั สนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ

คำนำ เพือ่ ใหก้ ารดาเนนิ งาน แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานระบบการชาระเงินแบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์แห่งชาติ ( National e-Payment Master Plan) ดว้ ยความเรยี บรอ้ ย และประสบความ สาเรจ็ ตาม วตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้ กรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ โดยกองสนบั สนนุ สุขภาพภาคประชาชน จงึ ได้ดาเนนิ การ จัดทาแนวทางการจา่ ยเงนิ ค่าป่วยการ อสม. ผา่ นระบบ e-Payment ข้ึน เพอื่ ให้หนว่ ยงานและเจ้าหนา้ ท่ีผทู้ เ่ี กีย่ วใช้ เปน็ แนวทางในการดาเงินงานการ จา่ ยเงิน ค่าป่วยการ อสม. ผ่านระบบ e-Payment ตามแนวทางบรู ณาการ ฐานขอ้ มลู สวัสดกิ ารสงั คมของหน่วยงานภาครัฐผ่านทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ด้วยวิธกี ารโอนเงินเข้าบัญชีเงนิ ฝากธนาคาร ขอขอบคณุ ผูแ้ ทนจากหน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง ได้แก่ กรมบญั ชกี ลาง กรมส่งเสรมิ การปกครอง ท้องถน่ิ หน่วยงานในสังกดั กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพภาคประชาชนระดับจังหวัด และ ผเู้ กย่ี วข้องทุกท่าน ทไ่ี ดร้ ว่ มกนั ปรับปรงุ แกไ้ ขกฎระเบยี บท่เี กีย่ วข้องและพฒั นาระบบ ใหข้ ้อมลู ใหส้ มบรู ณ์ ขอ้ คิดเห็น และข้อเสนอแนะตา่ งๆ อันเป็นประโยชน์ยง่ิ ต่อการพัฒนาระบบและการจัดทา “แนวทางการดาเนนิ งานการจา่ ยเงิน ค่าปว่ ยการ อสม. ผา่ นระบบe-Payment” มา ณ โอกาสน้ี กองสนบั สนุนสขุ ภาพภาคประชาชน กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ

สำรบัญ หนา้ คำนำ 1 สำรบญั 2 2 ความเป็นมา 3 วัตถปุ ระสงค์ 3 หลกั เกณฑก์ ารไดส้ ทิ ธริ ับเงนิ คา่ ป่วยการ ของ อสม. 4 สทิ ธแิ ละเงือ่ นไขของ อสม. ที่ไดร้ ับเงนิ ค่าป่วยการ 5 การดาเนินงานของ อสม. เพ่ือรับเงนิ ค่าปว่ ยการในระบบ e-Payment 6 ธนาคารทีร่ องรบั การจ่ายเงนิ คา่ ป่วยการผ่านระบบ e-Payment 9 การดาเนินการ อสม. เพ่ือรบั เงินคา่ ปว่ ยการในระบบ e-Payment 10 บทบาทหน่วยงานที่เก่ียวข้อง 11 ประเดน็ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขการจา่ ยเงนิ คา่ ป่วยการ อสม.ผ่านระบบ e-Payment 12 การติดตามและประเมินผล การใหค้ าปรกึ ษา ช่องทางในการติดตอ่ สือ่ สาร ภำคผนวก 1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง สิทธไิ ด้รับเงินค่าป่วยการในการปฏิบัตหิ น้าท่ีของอาสาสมคั ร สาธารณสขุ ประจาหมูบ่ า้ น พ.ศ.2560 ระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ด้วยการยกเลิกระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ด้วยการเบิก จ่ายเงินคา่ ปว่ ยการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น (อสม.) พ.ศ.2552 พ.ศ.2560 หนังสอื กระทรวงการคลัง ที่ กค 0402.2/11578 ลงวนั ท่ี 24 กรกฎาคม 2561 เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏิบัตใิ นการจ่ายเงินคา่ ป่วยการอสาสาสมัครสาธารณสุขประจาหม่บู า้ น ตาม โครงการบูรณาการฐานข้อมลู สวัสดิการสังคม ระยะแรก หนงั สือกรมบญั ชกี ลาง ที่ กค 0411.7/030562 ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2561 เรือ่ ง การ จ่ายเงินคา่ ป่วยการอสาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น ผ่านระบบบูรณาการฐานขอ้ มลู สวสั ดกิ าร สงั คม ภำคผนวก 2 - แบบฟอร์มตา่ งๆ

๑ ความเปน็ มา โครงการ e-Payment ภาครฐั ประกอบด้วย 2 สว่ น คอื ( 1) โครงการบูรณาการฐานขอ้ มูล สวสั ดกิ ารสังคม และ (2) โครงการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ 1) โครงการบรู ณาการฐานข้อมลู สวสั ดิการสงั คมสืบเน่อื งจากดารินายกรฐั มนตรีท่ีตอ้ งการพัฒนา ระบบฐานข้อมลู กลางที่ทาให้รฐั สามารถจา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารและเงินช่วยเหลอื ใหแ้ ก่ผมู้ ีรายได้น้อยหรอื ผูท้ ี่รฐั ต้องการ ใหค้ วามช่วยเหลือโดยตรง ถูกกลุ่มเปูาหมายไม่ซา้ ซอ้ น และเกิดประโยชนส์ งู สุด เชน่ สวัสดิการสาหรับเดก็ แรกเกิด ครอบครวั การศกึ ษา การสาธารณสขุ ผ้พู กิ าร ผดู้ อ้ ยโอกาส ผูส้ ูงอายุ รวมถงึ เงนิ ค่าปวุ ยการ อสม. เพื่อให้สามารถ บริหารจดั การและประเมนิ ผลประสทิ ธิภาพของเงินชว่ ยเหลอื ต่าง ๆ ไดด้ ยี ง่ิ ขึ้น โดยประชาชนสามารถใช้บตั ร อิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื บตั รประชาชนเปน็ สื่อในการรบั เงนิ ชว่ ยเหลอื และสามารถนาไปใช้จา่ ยผา่ นร้านคา้ ตา่ ง ๆ หรือนาไปใช้กบั บริการต่าง ๆ ของรัฐ อาทเิ ช่น ระบบขนส่งสาธารณะ และระบบรักษาพยาบาล เปน็ ตน้ โดยแนวทางบรู ณาการฐานขอ้ มลู สวสั ดกิ ารสังคม เร่ิมต้ังแตห่ น่วยงานเจ้าของข้อมูลมหี น้าทีป่ รับปรุงข้อมลู ผมู้ ีสิทธิ ให้ถกู ต้องเปน็ ปจั จบุ ัน และสง่ ข้อมลู ให้กรมการปกครองตรวจสอบตัวตนและการมชี ีวิตของผ้มู สี ิทธิ แล้วส่งข้อมลู ต่อ ใหก้ รมบัญชีกลางเปน็ ผูโ้ อนเงินเข้าบญั ชีเงินฝากธนาคาร ของผู้มสี ิทธแิ นวทางดังกลา่ วได้ผา่ นความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการขบั เคลื่อนตามแผนยทุ ธศาสตร์ National e-Payment ซงึ่ มรี องนายกรัฐมนตรี (นายสมคิด จาตศุ รีพทิ ักษ)์ เป็นประธานแล้ว การดาเนินงานตามแนวทางขา้ งตน้ เปน็ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ หรือเรียกว่า “การบูรณาการการจา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารสงั คมและเงินชว่ ยเหลือผู้มีรายไดน้ ้อย” ซ่ึงเปน็ การดาเนินงานในระยะที่ 1 และจะแล้วเสร็จภายในปี 2560 เมือ่ สามารถจา่ ยเงินสวสั ดิการสงั คมทุกประเภทตามแนวทางขา้ งต้นแลว้ จะทาให้ มีฐานขอ้ มลู การจา่ ยเงินสวัสดิการสังคม และสามารถตรวจสอบได้ว่าผู้มสี ทิ ธแิ ต่ละรายไดร้ บั สวัสดิการสังคมประเภท ใดบ้างมคี วามซา้ ซอ้ นหรือไม่ รวมท้งั สามารถบริหารงบประมาณการจา่ ยเงนิ สวัสดิการสังคมไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพยงิ่ ขนึ้ โดยได้นาร่อง ( Quick Win) การจา่ ยเงนิ อดุ หนุนเพ่อื การเลย้ี งดูเดก็ แรกเกิดดว้ ยวธิ ีการโอนเงินเข้า บัญชีเงนิ ฝากธนาคาร ตามแนวทางการบรู ณาการการจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารสงั คม รอบแรกวันที่ 9 กนั ยายน 2559 จานวน 55,307 ราย และรอบท่สี องภายในวนั ที่ 30 กนั ยายน 2559 ประมาณ 45,000 ราย สาหรบั การดาเนินงานการจา่ ยเงนิ คา่ ปุวยการผา่ นระบบ e-Payment ได้มีแจง้ หนังสอื ถงึ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด สานักงานสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพเขต ประธาน อสม.จังหวดั ใหด้ าเนินการ เรือ่ งการ บันทกึ ข้อมูลบญั ชีเงินฝากธนาคารของ อสม. เพื่อเตรียมความพร้อมและรองรบั การจา่ ยเงนิ ค่าปวุ ยการฯ ผา่ นระบบ e-Payment ระหวา่ งวนั ท่ี 10 เมษายน –31 พฤษภาคม 2560 เพอ่ื ให้รฐั มฐี านขอ้ มลู รองรบั การจัดสวัสดิการ ในอนาคตต่อไป 2) โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการรบั จ่ายเงินภาครัฐทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นการส่งเสริมการรบั จา่ ยเงนิ ของหนว่ ยงานภาครัฐผา่ นทางอิเล็กทรอนกิ สด์ ว้ ยการโอนเงนิ และการใชบ้ ัตรอิเลก็ ทรอนิกส์ แทนการใชเ้ งิน สดและเช็ค ซึ่งกรมบญั ชกี ลางได้กาหนดหลกั เกณฑ์และแนวทางปฏิบัติใหท้ กุ ราชการถอื ปฏบิ ตั ติ งั้ แต1ว่ นั ตทุลี่ าคม2559 เป็นตน้ ไป รวมทง้ั เพ่ิมชอ่ งทางการให้บรกิ ารรบั ชาระเงนิ คา่ บรกิ ารจากประชาชนใหก้ บั สว่ นราชการผ่านระบบ อเิ ล็กทรอนิกสซ์ ึ่งจะเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การด้านการเงินของหนว่ ยงานภาครฐั ให้มคี วามถูกต้อง รวดเรว็

๒ วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหผ้ ูป้ ฏิบตั งิ านสขุ ภาพภาคประชาชนทุกระดบั รวมถงึ ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บ้าน ใชเ้ ปน็ แนวปฏบิ ัติในการบริหารจัดการการจ่ายคา่ ปุวยการ อสม. ผา่ นระบบ e-Payment 1. บูรณาการการดาเนินงานระหวา่ งกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงมหาดไทย และ กระทรวงการคลัง เพื่อเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารงบประมาณและเพิ่มประสิทธิผลกบั งานสุขภาพภาคประชาชน 2. อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมบู่ า้ น (อสม.) ทีม่ สี ิทธิได้รบั คา่ ปวุ ยการฯ ได้รับเงินตรงเวลา ครบถ้วนสม่าเสมอ และตรวจสอบได้ 3. ลดระยะเวลาและข้นั ตอนในการดาเนนิ งาน และสามารถเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ ในการดาเนินงาน ของ อสม. และเจ้าหนา้ ท่ี 4. มีการบรู ณาการเช่ือมโยงฐานขอ้ มูลภาครฐั ระหวา่ งกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย ทาให้ฐานขอ้ มูลมีความถกู ตอ้ งแมน่ ยา 5. สอดคลอ้ งกบั นโยบายรฐั บาลท่ีจะเพิ่มประสิทธิภาพในการจา่ ยเงนิ ภาครัฐทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ทาให้ภาครัฐบริหารจัดการเงนิ งบประมาณได้อย่างถูกต้อง รวดเรว็ ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยแลว้ สามารถสง่ เงินถงึ ผรู้ ับได้ โดยตรง และทาใหก้ ระบวนการรบั ส่งเงินของภาครฐั มีความโปร่งใส ตรวจสอบไดท้ ุกขั้นตอน ลดโอกาสการทจุ รติ หลกั เกณฑ์การได้สทิ ธิรับเงินคา่ ปว่ ยการ ของ อสม. 1. ต้องเปน็ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมบู่ ้านตามระเบยี บกระทรวงสาธารณสุขวา่ ด้วย อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหม่บู า้ น พ.ศ. 2554 ผู้ทม่ี สี ทิ ธิรบั เงนิ ค่าปวุ ยการ จะต้องเป็น อสม. ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมู่บ้าน ปพี .ศ. 2554 ซง่ึ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2554 เป็นตน้ มา ผทู้ ี่จะเป็นอาสาสมคั ร สาธารณสขุ ประจาหมบู่ ้านได้ จะตอ้ งเปน็ บคุ คลที่ได้รบั การคดั เลือกจากหมู่บา้ นหรอื ชุมชนและผา่ นการฝกึ อบรม ตามหลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐานอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านทคี่ ณะกรรมการกลางกาหนดดังนี้ ตามระเบยี บข้อ 20 ให้สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดร่วมกบั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และ องคก์ รอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น สนับสนนุ การจัดการให้ผูไ้ ด้รับการคดั เลือกเข้ารบั การฝึกอบรมตาม หลกั สูตรฝึกอบรมมาตรฐานอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน ทคี่ ณะกรรมการกลางกาหนด ณ สถาบัน ฝึกอบรมและพฒั นาอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ น 2. ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง สทิ ธิไดร้ บั เงนิ คา่ ปวุ ยการในการปฏบิ ัติหนา้ ทข่ี อง อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน พ.ศ. 2560 อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ ้านทม่ี ีสิทธิไดร้ ับเงนิ ค่าปวุ ย การต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ตอ้ งมเี วลาปฏบิ ัตงิ านแนน่ อน อย่างน้อย 1 ครั้งต่อสปั ดาห์ หรอื 4 ครั้งตอ่ เดือนโดยให้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นกบั เจ้าหนา้ ทรี่ ่วมกนั จัดทาแผนปฏิบตั งิ านรายเดอื นของอาสาสมคั ร สาธารณสขุ ประจาหม่บู า้ น 2) มีการปฏิบตั งิ านจรงิ (ในละแวกบา้ นท่ี อสม. ดูแล เปน็ หลัก ส่วนกจิ กรรมทด่ี าเนนิ การใน พื้นทีอ่ ื่น ให้เป็นไปตามแผนทกี่ าหนดรว่ มกัน) และมีการสง่ รายงานแบบ อสม. 1 โดยประธาน อสม. ระดับ

๓ หมู่บา้ นหรือชมุ ชน และเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ ในพน้ื ทีร่ ับผิดชอบ เซ็นรับรองรายงาน และส่งให้กับเจา้ หนา้ ท่ี สาธารณสุข ภายในวันที่ 25 ของเดอื น 3) ต้องเข้ารว่ มประชุม หรอื อบรมฟ้ืนฟูความรู้ รว่ มกับเจา้ หน้าท่สี าธารณสุข ทกุ เดือน ๆ ละ 1 ครง้ั ในเร่อื งทเ่ี ปน็ ความจาเป็นตามสภาพปญั หาของชมุ ชน หรอื ตามชว่ งปฏทิ นิ การรณรงคข์ องกระทรวง สาธารณสุขจากเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ และให้เจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขสรุปรายงานการประชมุ ไว้ทุกครง้ั สิทธแิ ละเงื่อนไขของ อสม.ท่ีไดร้ บั เงนิ ค่าปว่ ยการ 1. อตั ราค่าปวุ ยการสาหรบั อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น ให้เบกิ จา่ ยเปน็ รายเดือนใน อัตรา 600 บาทต่อคน หรอื ตามอัตราทค่ี ณะรัฐมนตรกี าหนด 2. ในกรณีทีอ่ าสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ ้านซง่ึ มสี ิทธิไดร้ ับเงินคา่ ปุวยการเสยี ชวี ิตระหวา่ ง การรับเงนิ ค่าปุวยการ ให้ยตุ กิ ารจ่ายเงินดังกล่าว พรอ้ มทั้งใหส้ านกั งานสาธารณสุขจังหวดั ดาเนินการปรับปรงุ ฐานขอ้ มูล 3. ในกรณที ีอ่ าสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นได้ปฏบิ ัติงานตามหลกั เกณฑ์และสง่ รายงาน ประจาเดือน ไปแล้วนั้น ได้เสียชีวติ ก่อนรบั เงินคา่ ปวุ ยการ ทายาท หรือผรู้ ับมรดกมีสิทธไิ ด้รบั เงินค่าปุวยการของ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นที่เสียชีวิตน้ัน 4. เมอ่ื อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหม่บู า้ น ซึ่งได้ปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์แล้ว ใหบ้ นั ทึกขอ้ มลู กิจกรรมทุกครั้ง เช่น วัน เดือน ปี กลุ่มเปาู หมาย และกจิ กรรมท่ีดาเนินการ ไวใ้ นสมดุ บันทึก เกบ็ ไวก้ ับตนเอง เพื่อเปน็ หลกั ฐานเมื่อมีตรวจสอบ เชน่ - บนั ทกึ ข้อมลู กจิ กรรมการส่งเสริมสขุ ภาพ - บนั ทกึ ข้อมลู กิจกรรมการเฝาู ระวัง ปูองกนั และควบคมุ โรค - บันทึกข้อมูลกจิ กรรมการฟืน้ ฟสู ขุ ภาพ - บนั ทกึ ข้อมลู กจิ กรรมการคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค - บนั ทึกข้อมูลกิจกรรมการจดั การสขุ ภาพชุมชนและการมสี ่วนรว่ มในแผนสุขภาพตาบล -บนั ทึกกจิ กรรมอืน่ ๆ ตามสภาพปญั หาสขุ ภาพของชุมชน 5. ให้อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานตามแบบ อสม. 1 ตามทกี่ ระทรวงสาธารณสุขกาหนด รวมทัง้ ลงลายมือชื่อ อสม. กากับไว้ด้วย และสง่ ใหป้ ระธานชมรมอาสาสมคั ร สาธารณสขุ ระดับหมบู่ า้ นหรอื ชุมชน ภายในวันที่ 25 ของเดอื น

๔ ธนาคารทรี่ องรับการจา่ ยเงินคา่ ปว่ ยการผ่านระบบ e-Payment ตารางแสดงรหัสธนาคาร และชือ่ ธนาคารในระบบ e-Payment รหสั ธนาคาร ชอื่ ธนาคาร ความยาวของเลขบัญชี 002 ธนาคารกรงุ เทพ จากดั (มหาชน) 10 004 ธนาคารกสิกรไทย จากดั (มหาชน) 10 006 ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) 10 011 ธนาคารทหารไทย จากัด (มหาชน) 10 014 ธนาคารไทยพาณชิ ย์ จากัด (มหาชน) 10 020 ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ (ไทย) จากดั (มหาชน) 10 022 ธนาคารซไี อเอม็ บี ไทย จากดั (มหาชน) 10 024 ธนาคารยูโอบี จากดั (มหาชน) 10 025 ธนาคารกรุงศรอี ยธุ ยา จากดั (มหาชน) 10 030 ธนาคารออมสนิ 033 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 12 หรือ 15 034 ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 12 035 ธนาคารเพอื่ การสง่ ออกและนาเขา้ แหง่ ประเทศไทย 12 065 ธนาคารธนชาตจากัด (มหาชน) 10 066 ธนาคารอิสลามแหง่ ประเทศไทย 10 067 ธนาคารทิสโก้จากดั (มหาชน) 10 069 ธนาคารเกียรตนิ าคินจากดั (มหาชน) 14 070 ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จากัด (มหาชน) 10 071 ธนาคารไทยเครดิตเพอื่ รายย่อยจากดั (มหาชน) 10 073 ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์จากดั (มหาชน) 10 098 ธนาคารพัฒนาวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มแห่งประเทศไทย 10 10 กรณอี าสาสมคั รสาธารณสุขประจาหม่บู า้ นทีร่ บั เงนิ คา่ ปุวยการผ่านระบบ e-Paymentไดผ้ ูกบญั ชี ธนาคารกับการบรกิ ารพร้อมเพย์ จะได้รบั เงินคา่ ปุวยการกอ่ นผทู้ ่ไี ม่ได้ผกู บริการพร้อมเพย์ 1 วนั

๕ การดาเนนิ การ อสม. เพื่อรบั เงินคา่ ป่วยการในระบบ e-Payment การจา่ ยเงนิ คา่ ปุวยการของ อสม. ผา่ นระบบ e-Payment จะเรม่ิ ดาเนินการครั้งแรกในเดือน สิงหาคม 2561 โดย 1. อสม.รว่ มกบั เจ้าหน้าทีจ่ ดั ทาแผนปฏิบัติงานรายเดอื น 2. ดาเนินการตามแผนอย่างน้อย 4 วันต่อเดอื น หรือ 1 วนั ตอ่ สัปดาห์ และบันทึกข้อมูลกจิ กรรม เก็บไวเ้ ป็นหลกั ฐาน 3. จัดทารายงาน อสม. 1 ส่งประธาน อสม. ในหมู่บา้ น / ชมุ ชน ภายในวนั ที่ 25 ของทกุ เดือน 4. เข้าประชมุ / อบรมเพ่ิมพูนความร้จู ากเจา้ หนา้ ที่สาธารณสุข อย่างน้อย 1 คร้งั ต่อเดือน 5. หาก อสม. รายได้มีเหตุจาเป็นไม่สามารถเข้าประชมุ /อบรมเพ่มิ พูนความรู้ ได้ในเดือนนัน้ ๆ ให้ แจง้ เหตุผลความจาเป็นใหเ้ จ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบ และติดตามศกึ ษา อ่านรายงานการประชุมในครงั้ ทตี่ นเอง ไม่ไดเ้ ข้าประชุม 6. อสม.รับเงนิ ค่าปุวยการ จากกรมบัญชีกลาง ภายในวันท่ี 20 ของเดือนถดั ไป ขัน้ ตอนการเบิกจา่ ยค่าปว่ ยการผ่านระบบ e – Payment อสม. ปฏิบตั ิงานตามหลักเกณฑแ์ ละสง่ - เจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ ประชมุ และให้ความรู้ รายงานประจาเดือน - ประธาน อสม. ระดับหม่บู ้าน/ชมุ ชน ตรวจสอบ ภายในวันที่ 25 และรบั รอง - เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ ในพ้ืนท่ี ตรวจสอบและ อสม. ได้รับเงนิ จากกรมบญั ชกี ลางเข้า รับรองผลการปฏิบัตงิ านของ อสม. บัญชเี งินฝากทีเ่ ปิดไวก้ บั ธนาคาร - เจา้ หนา้ ทีบ่ นั ทกึ การส่งรายงาน อสม.1 ใน ฐานขอ้ มลู รฐั วิสาหกิจหรอื ธนาคารพาณิชยอ์ ่ืนๆ ภายในวนั ที่ 5 - สสอ. ยนื ยนั สิทธิ ไดร้ บั คา่ ปวุ ยการ กรมบญั ชีกลางดาเนนิ การ กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ - สสจ. ยนื ยันสทิ ธิ ตรวจสอบ และโอนเงินให้ อสม. ยืนยนั สทิ ธิไดร้ ับคา่ ปวุ ยการ ส่ง ไดร้ ับคา่ ปุวยการ ภายในวนั ท่ี 20 กรมบัญชกี ลาง ภายในวันที่ 8 (ผา่ นระบบฐานข้อมูล) ภายในวันที่ 10

๖ บทบาทหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง หน่วยงาน บทบาทหน้าท่ี กมบัญชกี ลาง 1. พฒั นาและดแู ลระบบการจ่ายเงนิ ค่าปวุ ยการ 2. สง่ ขอ้ มลู อสม. ใหก้ รมการปกครอง ตรวจสอบขอ้ มลู 3. ประมวลผล ขอ้ มูลรายชอื่ อสม. ทมี่ สี ิทธิรบั เงนิ คา่ ปวุ ยการ ทไ่ี ดร้ ับ จาก กรม สบส. และกรมการปกครอง 4. โอนเงนิ ให้ผมู้ ีสทิ ธผิ ่านบญั ชเี งินฝากธนาคาร ในวันท่ี 20 ของทกุ เดือน หากตรงกับวนั หยดุ ราชการใหเ้ ล่อื นเข้าในวันทาการ 5. ใหค้ าปรึกษา แนะนาระบบการจ่ายเงนิ คา่ ปวุ ยการใหก้ บั กรม สบส. 6. ตดิ ตาม และประเมินผลการเบกิ จ่ายงบประมาณค่าปุวยการ อสม. ระดบั ประเทศ กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิ่น 1. ประสานงานกบั กรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ เพ่อื จดั ทาคาขอ งบประมาณประจาปี 2. จัดสรรงบประมาณตามเปูาหมายให้กับ อบจ. 3. ติดตามการเบกิ จา่ ยงบประมาณร่วมกับกรมบัญชกี ลาง กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ (สบส.) 1. กาหนดเปูาหมาย อสม . ทม่ี สี ทิ ธิรบั ค่าปวุ ยการทงั้ ประเทศ ในแต่ละ ปีงบประมาณ โดยประสานงานกบั กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ เพื่อ จัดทาคาของบประมาณประจาปี 2. ดแู ล กากบั ตดิ ตาม ความพร้อมระบบการจา่ ยเงินในพื้นที่ ใหเ้ ปน็ ไปตาม ปฏทิ นิ ท่กี รมบัญชกี ลางกาหนด 3.ยืนยนั การสง่ รายชื่อ อสม . ทม่ี ีสทิ ธริ ับเงินค่าปวุ ยการ ในเวบ็ ไซต์ https://govwelfare.cgd.go.th/welfareให้กบั กรมบัญชีกลาง ตามปฏทิ นิ ที่ กาหนดของกรมบญั ชีกลาง (ไมเ่ กนิ วนั ท่ี ๑๐ ของทกุ เดือน ) 4. ให้คาปรึกษาการใชง้ านระบบให้ สสจ. 5. ตรวจสอบระบบการรายงานการจา่ ยเงนิ คา่ ปุวยการ อสม. 6. นเิ ทศ ตดิ ตาม รายงานและประเมินผลระดับประเทศ สถาบนั พฒั นานวตั กรรมดา้ นระบบ 1. ฝกึ อบรมเจา้ หนา้ ที่ ระดับเขต จังหวดั ในการใชง้ านระบบ e- บริการสขุ ภาพ (พนส.) Payment 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จดั การนวัตกรรม 3. ตดิ ตาม ประเมนิ ศักยภาพของเจา้ หน้าท่ี สานกั งานสนับสนนุ บริการสขุ ภาพเขต 1. ตดิ ตามการปรับปรุงฐานขอ้ มลู ทะเบียนประวัติ อสม. ของจังหวดั ใน (สบส. เขต) ความรับผดิ ชอบ 2. นิเทศ ติดตาม ใหค้ าปรึกษา แนะนาการใชร้ ะบบ E-payment แก่ สสจ. 3. ประเมินผล ระดับเขต

๗ หนว่ ยงาน บทบาทหน้าที่ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั 1. จัดทาคาส่ังมอบหมาย อสม. ผู้มสี ทิ ธิรับเงนิ ค่าปวุ ยการ ในพื้นท่ี (สสจ.) 2. ดแู ล กากบั ตดิ ตาม ความพรอ้ มระบบการจา่ ยเงิน ในพน้ื ท่ี ใหเ้ ป็นไป ตามปฏิทินท่กี รมบัญชีกลางกาหนด 3.ยืนยันการสง่ รายชื่อ อสม . ทีม่ สี ิทธริ บั เงินค่าปวุ ยการ ในเวบ็ ไซต์ https://govwelfare.cgd.go.th/welfareใหก้ บั สบส . ตามปฏทิ นิ ท่ี กาหนดของกรมบัญชกี ลาง (ไม่เกินวนั ที่ 8 ของทกุ เดือน) 4. ใหค้ าปรกึ ษาการใช้งานระบบให้ สสอ. 5. นิเทศ ติดตาม รายงานและประเมินผลระดับจังหวัด องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั 1. ประสานการจดั สรรงบประมาณรว่ มกับกรมบญั ชกี ลาง (อบจ.) 2. ดาเนินการตามหลักเกณฑ์ วธิ กี ารท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด 3. ติดตามรายงานการเบกิ จา่ ยงบประมาณร่วมกับกรมบญั ชกี ลาง รว่ มสรปุ บทเรยี นรว่ มกับหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง สานกั งานสาธารณสุขอาเภอ (สสอ.) 1. เตรียมความพร้อมระบบการจา่ ยเงนิ ค่าปวุ ยการ อสม. ในพนื้ ท่ี 2. ดแู ล กากับ ตดิ ตาม ความพรอ้ มระบบการจา่ ยเงนิ ในพ้นื ท่ี ให้เป็นไปตาม ปฏทิ ินที่กรมบญั ชีกลางกาหนด 3. ยนื ยนั การส่งรายชอ่ื อสม . ทีม่ ีสทิ ธริ ับเงินคา่ ปวุ ยการ ในเวบ็ ไซต์ https://govwelfare.cgd.go.th/welfareใหก้ บั สสจ . ตามปฏทิ ินที่กาหนด ของกรมบญั ชีกลาง (ไมเ่ กนิ วันท่ี 6 ของทุกเดือน) 4. ให้คาปรึกษาการใช้งานระบบให้ รพ.สต./สถานบรกิ ารสาธารณสขุ อืน่ 5. นเิ ทศ ตดิ ตาม รายงานและประเมินผลระดบั อาเภอ โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.)โรงพยาบาล 1. ร่วมกบั อสม.จดั ทาแผนปฏบิ ัติงานของ อสม.เชงิ รุก รายเดอื น ทวั่ ไป (รพท.)โรงพยาบาลชมุ ชน 2. รวบรวมและตรวจสอบรายงาน อสม .1 รว่ มกับประธาน อสม . ระดบั (รพช.) หมู่บ้าน และเก็บ อสม.1 ไว้เปน็ หลกั ฐาน 3. อบรม/ประชมุ อสม. อยา่ งน้อยเดอื นละ 1 ครัง้ มรี ายงานการประชมุ ทกุ คร้งั 4.ยืนยันการส่งรายชื่อ อสม . ทมี่ ีสทิ ธิรบั เงินคา่ ปวุ ยการ ในเวบ็ ไซต์ https://govwelfare.cgd.go.th/welfareใหก้ ับ สสจ . ตามปฏทิ นิ ที่กาหนด ของกรมบัญชกี ลาง (ไม่เกนิ วันที่ 5 ของทุกเดือน) 5. ตดิ ตามให้คาแนะนา การดาเนินงาน อสม. เชงิ รกุ ในพน้ื ท่ี โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล 1. ร่วมกับ อสม.จดั ทาแผนปฏิบัติงานของ อสม.เชงิ รุก รายเดือน (รพสต.) 2. รวบรวมและตรวจสอบรายงาน อสม .1 รว่ มกับประธาน อสม . ระดบั หมบู่ ้าน และเก็บ อสม.1 ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน 3. อบรม/ประชุม อสม. อย่างนอ้ ยเดอื นละ 1 คร้ัง มรี ายงานการประชมุ ทกุ คร้ัง 4.ยนื ยนั การสง่ รายช่ือ อสม . ทม่ี ีสทิ ธริ ับเงินคา่ ปวุ ยการ ในเวบ็ ไซต์ https://govwelfare.cgd.go.th/welfareให้กับ สสอ . ตามปฏทิ ินท่ี กาหนดของกรมบัญชกี ลาง (ไม่เกนิ วันที่ 5 ของทกุ เดอื น) 5. ติดตามให้คาแนะนา การดาเนินงาน อสม. เชงิ รกุ ในพ้ืนท่ี

๘ หน่วยงาน บทบาทหน้าที่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจา ระดับตา่ งๆ หมบู่ า้ น (ชมรม อสม.) 1.ชแ้ี จงทาความเข้าใจนโยบายการจา่ ยเงินคา่ ปุวยการ อสม. ผ่านระบบ e- Payment ให้ อสม. ในพนื้ ที่รับทราบ 2. ประสานแนวทางการดาเนนิ งานให้ อสม. ทราบ รวมทง้ั รวบรวมขอ้ มูล ปญั หาอปุ สรรค การดาเนนิ งานในพ้ืนท่ี แจ้งหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง 3. ให้ความร่วมมือกับเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุขในการดาเนินงานการจ่ายค่า ปวุ ยการ อสม. ผ่านระบบ e-Payment ระดับหมู่บา้ น / ชมุ ชน 1. ตดิ ตามดูแลให้ อสม. ในหมบู่ า้ น/ชมุ ชน ดาเนินการตามแผนปฏิบตั ิงาน ประจาเดอื น 2. ส่อื สาร แจ้ง รวบรวม รายงาน อสม.1 ให้ครบถว้ น 3. ตรวจสอบความถูกต้อง และลงชือ่ รับรอง รายงาน อสม.1 4. สง่ มอบรายงาน อสม.1 ให้เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขในพ้ืนที่ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจา 1. รว่ มกบั เจา้ หน้าท่ีจัดทาแผนปฏบิ ัตงิ านอสม.เชงิ รกุ รายเดือน หม่บู ้าน(อสม.) 2.ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีในละแวกบา้ นทไ่ี ด้รบั ผดิ ชอบ อย่างน้อย 4 คร้งั ต่อเดอื น บนั ทกึ ข้อมลู กจิ กรรมเกบ็ ไว้เป็นหลกั ฐาน 3.สง่ รายงานผลงานประจาเดอื น วันที่ 25 ของทกุ เดอื น หากตรงกับ วันหยุดราชการใหเ้ ลอื่ นเขา้ ในวันทาการ 4. เข้าประชุม และหรอื อบรมเพมิ่ พูนความรู้ 1 ครง้ั ต่อเดือนหาก อสม. ราย ใดมีเหตผุ ลความจาเป็นไม่สามารถเข้าประชุมได้ ใหแ้ จ้งเจ้าหน้าทท่ี ราบ และติดตามศกึ ษา อา่ น รายงานการประชุม ด้วย 5. ประธาน อสม .ระดับหมบู่ ้าน /ชุมชน รว่ มกับเจา้ หนา้ ทส่ี ธ . ตรวจสอบ และรบั รองรายงาน อสม .1 ควบคุมกากับกาหนดของกรมบัญชีกลาง (ไม่ เกนิ วันที่ 8 ของทกุ เดือน) 4. ใหค้ าปรกึ ษาการใชง้ านระบบให้ สสอ. 5. นเิ ทศ ตดิ ตาม รายงานและประเมนิ ผลระดบั จังหวัด

๙ ประเดน็ ปัญหาและแนวทางการแกไ้ ขการจา่ ยเงินค่าป่วยการ อสม.ผา่ นระบบ e-Payment 1. กรณี อสม. ไม่สามารถรบั เงนิ ผา่ นระบบ e-Payment ได้ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมบู่ า้ น (อสม.) รายใด มีเหตุจาเปน็ ไมอ่ าจเปิดบญั ชธี นาคารเพ่อื รบั เงินคา่ ปวุ ยการได้ ให้ทาคาชีแ้ จงต่อนายแพทย์สาธารณสุขจังหวดั เปน็ รายบคุ คล และให้สานกั งานสาธารณสุจังหวดั รวบรวมข้อมูล และเหตุผลความจาเปน็ สง่ ให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพพิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในการเบิก จา่ ยเงนิ สดเป็นรายบคุ คลต่อไป เง่อื นไข ผมู้ ีอานาจลงนามในบญั ชมี ี 2 คน ดังน้ี 1 ) หัวหน้าหนว่ ยราชการสาธารณสขุ ในพนื้ ที่ เชน่ ผู้อานวยการโรงพยาบาลหวั หนา้ สถานีอนามยั ผอู้ านวยการศูนยบ์ ริการสาธารณสุข ผูอ้ านวยการกองสาธารณสุข และส่งิ แวดลอ้ ม/หวั หน้ากลมุ่ /ฝุาย และหรอื 2 ) เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุขซ่งึ ได้รับมอบหมายจากหวั หนา้ หนว่ ยราชการสาธารณสุขในพื้นท่ี 2. กรณี อสม. ผไู้ ม่มสี ถานะทางทะเบยี น อสม. ผไู้ มม่ ีสถานะทางทะเบยี น หรอื ผ้มู บี ัตรประจาตวั ประชาชนเลขศนู ย์นาหน้า และผา่ นการ พิจารณาใหไ้ ด้รบั เงนิ คา่ ปุวยการใหส้ านกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สง่ รายชอ่ื อสม. นั้น ถงึ กรมสนับสนนุ บรกิ าร สุขภาพภาคประชาชนเพอื่ พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบในการเบิกจา่ ยเงนิ สดเปน็ รายบุคคลต่อไป 3. กรณปี ญั หาท่ไี มส่ ามารถนาเข้าฐานข้อมูลในเวบ็ ไซต์ กรมบัญชีกลาง 1) ปญั หารหัสประชาชน มี 3 ขอ้ คือ - รหัสประชาชนถกู จาหนา่ ยจากปกครองมหี ลายสาเหตุ เชน่ สาบสญู ไมม่ ีการตดิ ต่อนาน หรอื อน่ื ๆ พ้นื ท่ีต้องตรวจสอบว่า อสม. รายนี้ยังคงทางาน อสม. หรือไม่ ถ้ายงั ทางานอยแู่ ละมสี ทิ ธิรบั เงิน ให้แจ้ง กรมบญั ชีกลางเพือ่ ยืนยันใหจ้ ่ายในระบบ - เลขประจาตวั ประชาชนไมถ่ ูกตอ้ ง เป็นรายที่เลขไมค่ รบ 13 หลัก - ไมพ่ บในฐานข้อมลู ของทะเบยี นราษฎร์ เปน็ รายท่ีเลขครบ 13 หลกั ส่งไปตรวจกรมการปกครอง 2) ชอ่ื หรอื นามสกุลไมต่ รงกบั ทะเบยี นราษฎร์ - พน้ื ท่ีต้องตรวจสอบจากบตั รประชาชน หากพบวา่ มกี ารเปลี่ยนช่ือ นามสกลุ แตย่ ังไม่ได้แกไ้ ขใน ฐานขอ้ มลู thaiphc.net ให้แกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ ง - ถา้ อสม. คนใด ถกู ระบวุ ่า อยู่ทะเบยี นบา้ นกลาง หมายถึง ไมม่ ที ่อี ยู่ในทะเบยี นบา้ นใดๆ จงึ ต้อง ไปอยูใ่ นทะเบยี นกลางของรฐั ซึ่งจะทาให้ อสม. ไม่สามารถทาธุรกรรมใดๆได้เลย ให้พ้ืนทแ่ี จ้ง อสม. หาทะเบยี น บา้ นอยูเ่ ปน็ หลักแหลง่ ไม่เช่นน้นั จะไม่สามารถเปิดบญั ชีธนาคารได้ 3) วนั เกิดไมต่ รงกบั ทะเบยี นราษฎร์ - หากขอ้ มูลในบัตรประชาชน หรือ ในทะเบยี นราษฎร์ ไม่ไดร้ ะบุ วัน และใหเ้ พม่ิ ข้อมูลในเวป thaiphc.net ระบุ วนั ที่ เป็น 01 และ เดอื น เป็น 01 (มกราคม) กรณที ีร่ ะบุเดือน ไม่ระบุวนั ท่ี ใหบ้ นั ทึกเปน็ วันท่ี 1 เช่นกนั (กรณีทีเ่ คยระบุ เปน็ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม ตามการบนั ทกึ ประชากรกลางปี ก็ไมต่ อ้ งแกไ้ ข) เพ่อื ใหข้ ้อมลู ครบตามแบบฟอร์ม

๑๐ 4) ไม่ระบุหน่วยงานสถานบริการ หรือ หน่วยงานสาธารณสขุ อ่ืน ท่ีดแู ลรบั ผิดชอบ ใหร้ ะบุวา่ อส ม. ตอ้ งมรี หัสสถานบริการดูแล เพราะสถานบริการจะเปน็ ผบู้ นั ทกึ อนุมัติให้ อสม. คนนน้ั ได้รับสทิ ธิเบิกจา่ ยเงินคา่ ปุวยการในระบบ e-Payment 5) รหัสธนาคาร/เลขบัญชีธนาคารไมถ่ ูกตอ้ ง - รหสั ธนาคารไม่ถูกต้อง - เลขบัญชีไมถ่ ูกตอ้ ง ไมค่ รบตามความยาวของเลขบญั ชี ตัวอยา่ ง ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร ต้องมีเลขบัญชี 12 ตวั แต่พบปัญหาวา่ เลขบัญชีเดิม จะมเี พียง 10 ตวั เนอ่ื งจากมกี ารปรับ รปู แบบเลขบญั ชีใหม่ตอ้ งเป็น 12 ตวั ส่วนใหญพ่ บว่า ต้องเติมเลข 01 เพม่ิ เติมในเลขบัญชเี กา่ แตท่ ้ังนี้ขอให้ อสม. ไปปรับสมุดบัญชี เพ่ือจะได้เลขบญั ชที ่ถี ูกตอ้ ง การติดตามและประเมินผล 1. กรมบญั ชกี ลางจะประสานงานไปยังคลังจงั หวัดเพ่ือดาเนนิ การดาประเมินผลการ ดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เชิงรกุ 2. สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ จะดาเนินการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ลของโครงการ 3. สานกั งานตรวจเงินจงั หวดั จะตดิ ตามตรวจสอบการเบกิ จา่ ยเงนิ งบประมาณ 4. กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ ติดตามประเมนิ โครงการร่วมกับกรมบญั ชกี ลาง

๑๑ การใหค้ าปรึกษา การติดตอ่ ประสานงานสอบถาม ขอคาปรกึ ษา เรือ่ งการได้รับเงินค่าปุวยของ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมบู่ ้าน ในระบบ e-Payment ให้ติดตอ่ ประสานงานเปน็ ลาดบั ชน้ั กรม บญั ชีกลาง กรม สบส. (กอง สนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ ภาคประชาชน) สถาบนั พัฒนานวัตกรรมด้าน ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (พนส.) สานกั งานสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพเขต สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล / โรงพยาบาลชมุ ชน / โรงพยาบาในประเทศไทย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมบู่ ้าน

ช่องทางในการติดตอ่ สอื่ สาร ๑๒ ลาดบั กระทรวงสาธารณสขุ ที่อยู่ โทรศัพท์ 88/44 หมู่ 4 ซอยสาธารณสขุ 8 02-193-7000 กองสนับสนนุ สขุ ภาพภาคประชาชน ถนนติวานนท์ ตาบลตลาดขวญั ตอ่ 18740 อาเภอเมืองนนทบรุ ี จังหวัดนนทบรุ ี หรือ ต่อ 18712 1 กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ 11000 กระทรวงสาธารณสขุ ลาดับ สถาบนั พฒั นานวตั กรรมด้าน ที่อยู่ โทรศัพท์ ระบบบริการสขุ ภาพ 1 ภาคเหนือ 516/41ถ.พหลโยธิน ต.นครสวรรค์ 056-222375 ตก อ.เมอื ง จ.นครสวรรค์ 60000 2 ภาคกลาง 100 ม.1 ถ.พระยาสจั จา ต.เสม็ด 038-467249 อ.เมือง จ.ชลบรุ ี 20000 3 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 89 ม.4 ถ.อนามยั ต.ในเมือง 043-224605 อ.เมือง จ.ขอนแกน่ 40000 4 ภาคใต้ 13 ม.1 ถ.พัฒนาการคูขวาง ต. ๐๗๕-๔๔๖๓๕๔ ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครศรธี รรมราช 80000 5 ชายแดนภาคใต้ 12 ถ.สโิ รรส ต.สะเตง อ.เมือง 073-361145 จ.ยะลา 95000 ลาดบั สานักงานสนบั สนุนบริการสขุ ภาพเขต ทอ่ี ยู่ โทรศพั ท์ 1 สบส.เขต 1 191/1 หมู่ 4 ตาบลดอนแกว้ 053112220 อาเภอแม่ริม จังหวัดเชยี งใหม่ 053896200 50180 Fax.053896199 2 สบส.เขต 2 516/41 หมู่ที่ 10 ต.สวรรค์ตก 056222373 อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000 056222381 Fax.056222384 3 สบส.เขต 3 516/41 ม.10 ต.สวรรคต์ ก 0 5622 1289 อ.เมือง จ.นครสวรรค์60000 Fax. 0 5622 1984 4 สบส.เขต 4 88/33 ซ.สาธารณสขุ 8 0 2149 5680 กระทรวงสาธารณสุขถ.ตวิ านนท์ Fax. 0 2149 5657 อ.เมือง จ.นนทบุรี11000 5 เขต 5 407 ถ.ยตุ ิธรรม ต.หนา้ เมือง 0 3233 7258 อ.เมอื ง จ.ราชบุรี 70000 Fax. 0 3232 1863

๑๓ ลาดับ สานักงานสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพเขต ทีอ่ ยู่ โทรศัพท์ 6 เขต 6 76 ม.5 ถ.พระยาสจั จา 0 3839 7233 ต.เสมด็ อ.เมอื ง จ.ชลบุรี Fax. 0 3846 7251 20130 7 เขต 7 303/2 ถ.มติ รภาพ ต.ศลิ า 0 3839 7233 อ.เมือง จ.ขอนแก่น40000 Fax. 0 3846 7251 8 เขต 8 89 ม.4 ถ.อนามัย ต.ในเมอื ง 0 4322 4605 อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 Fax. 0 4322 1679 9 เขต 9 ถ.สายนครราชสีมา-โชคชยั กม.7 0 4421 2179 อ.เมือง จ.นครราชสีมา30000 Fax. 0 4421 2692 10 เขต 10 ถ.พรหมเทพ ต.ในเมืองอ.เมืองจ. 0 4524 4995 อุบลราชธานี34000 0 4525 5259 Fax. 0 4525 5259 11 เขต 11 26/10 ม.3 ต.วัดประดู่อ.เมอื ง 0 7720 0149 จ.สรุ าษฎร์ธานี 84000 Fax. 0 7720 0150 12 เขต 12 171 ถ.สงขลา-จะนะ 0 7433 6087 ต.เขารปู ช้าง อ.เมอื ง จ.สงขลา Fax. 0 7433 6088 90000

ภาคผนวก 1

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๒ ง หน้า ๑๖ ๒๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๑ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง สทิ ธิได้รับเงินค่าปว่ ยการในการปฏิบัติหนา้ ที่ของอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาํ หมบู่ ้าน พ.ศ. 2560 ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันท่ี 13 มกราคม พ.ศ. 2552 เห็นชอบตามยุทธศาสตร์และ แผนงานเสริมสร้างรายได้พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงด้านสังคม โครงการส่งเสริมอาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) เชิงรุก เพ่ือส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) ให้ปฏิบัติการเชิงรุก ในการปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพในท้องถ่ินและชุมชน การดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ การดูแลผู้ป่วยและเฝ้าระวังโรคในชุมชน เพ่ือเป็นการสร้างขวัญและกําลังใจของ อสม. ทั่วประเทศและตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554 เห็นชอบให้กระทรวงมหาดไทย ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เร่ือง เงินค่าใช้จ่ายสนับสนุน การดําเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ประกอบกับคณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันท่ี 22 ธันวาคม 2558 เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานระบบการชําระเงิน แบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) ซึ่งมีโครงการบูรณาการฐานข้อมูล สวัสดิการสังคมอยู่ในแผนงานโครงการ e - Payment ภาครัฐ โดยมีวัตถุประสงค์เป็นการส่งเสริม ให้มีฐานข้อมูลกลางเก่ียวกับสวัสดิการของภาครัฐ เพื่อให้ภาครัฐสามารถจ่ายเงนิ ช่วยเหลือและสวัสดิการ ให้แก่ประชาชนได้โดยตรงลดการซํ้าซ้อน และลดการทุจริต และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 เห็นชอบให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐดําเนินการตามแนวทาง การบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ รวมทั้งปรับปรุงระเบียบ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ให้ ร อ งรั บ ก า ร ดํ า เนิ น ก า ร เชื่ อ ม โย งแ ล ะ แ ล ก เป ล่ี ย น ข้ อ มู ล ใน ก า ร บู ร ณ า ก า ร ฐ า น ข้ อ มู ล ป ร ะ ช า ช น และการบริการภาครัฐ อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๖ และข้อ ๓๐ แห่งระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๔ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศกระทรวง สาธารณสุขไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง สิทธิได้รับเงินค่าป่วยการ ในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ขี องอาสาสมคั รสาธารณสุขประจําหมบู่ ้าน พ.ศ. 2560” ข้อ ๒ ประกาศนใ้ี หใ้ ชบ้ งั คับตั้งแต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป ขอ้ 3 ในประกาศน้ี “ค่าป่วยการ” หมายความว่า เงินท่ีทางราชการจ่ายให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน เพ่ือสนบั สนุนการปฏิบตั ิหน้าที่ของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจําหม่บู ้านตามท่ีกําหนดไว้ในข้อ 6

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๒ ง หนา้ ๑๗ ๒๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๑ ราชกิจจานุเบกษา “เจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข” หมายความวา่ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนกั งานกระทรวงสาธารณสุข หรือลูกจ้างสังกัดกระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร เทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบล หรือองค์การบริหารส่วนท้องถ่ินอ่ืน ซ่ึงได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยราชการสาธารณสุขในพ้ืนท่ี ให้ทําหน้าท่ีส่งเสริมพัฒนา ดูแลกํากับ การปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ในพ้นื ท่ีทร่ี ับผิดชอบ ขอ้ 4 หลักเกณฑ์การปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ทแี่ นบท้ายประกาศน้ี ข้อ 5 ให้กระทรวงสาธารณสุข กําหนดจํานวนอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ทั้งประเทศ ในแต่ละปงี บประมาณ เพื่อปฏิบัติหนา้ ทแี่ ละมสี ิทธิไดร้ บั รับเงนิ คา่ ปว่ ยการตามประกาศน้ี ขอ้ 6 อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านซ่ึงจะมีสิทธิได้รับค่าป่วยการตามประกาศน้ี จะต้องเป็นผู้ปฏิบตั งิ านตามหลักเกณฑ์ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ต้องมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานแน่นอนอย่างน้อยหนึ่งวันต่อสัปดาห์หรืออย่างน้อย สี่วันตอ่ เดอื น ในกจิ กรรมทไ่ี ด้รบั มอบหมายให้เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ (๒) มีการปฏิบัติงานจริง และมีการรายงานผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์ที่แนบท้าย ประกาศน้ี โดยมีประธานอาสาสมัครสาธารณสุขระดับหมู่บ้านหรือชุมชน และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข ในพน้ื ที่ เปน็ ผ้ตู รวจสอบและรับรองรายงานผลการปฏิบัตงิ าน การตรวจและรับรองรายงานผลการปฏิบัติงานตาม (2) น้ัน มีผลผูกพันกับผู้ตรวจ และผู้รับรองตามกฎหมาย (3) ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน เข้าประชุม และหรือ อบรมเพิ่มพูนความรู้ อย่างน้อยหนึ่งคร้ังต่อเดือน ในเรื่องที่เป็นความจําเป็นตามสภาพปัญหาของชุมชน หรือตามช่วงปฏิทิน การรณรงค์ของกระทรวงสาธารณสุขจากเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุข และให้เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขสรุปรายงาน การประชุมไวท้ ุกคร้งั ขอ้ 7 เมื่อได้ดําเนินการ ตามข้อ 6 (2) แล้ว ให้เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในพื้นท่ี ตรวจสอบและยืนยันการส่งรายงานผลการปฏิบัติงาน ในระบบฐานข้อมูลค่าป่วยการอาสาสมัคร สาธารณสขุ ประจําหม่บู ้านอยา่ งสมํ่าเสมอทุกเดือน ให้สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน ห รื อ ห น่ ว ย บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข อื่ น ซ่ึ งไม่ ได้ อ ยู่ ใน ก า ร ดู แ ล กํ า กั บ ข อ ง สํ า นั ก ง า น ส า ธ า ร ณ สุ ข อํ า เภ อ และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ยืนยันข้อมูลอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านท่ีส่งรายงาน ผลการปฏิบัติงานเข้าในระบบ และให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพดําเนินการยืนยันสิทธิรับค่าป่วยการ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน เพ่ือส่งข้อมูลให้กรมบัญชีกลางดําเนินการโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝาก ของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจําหมบู่ ้านเป็นรายบุคคลต่อไป

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๒ ง หน้า ๑๘ ๒๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๑ ราชกิจจานุเบกษา ถ้าการยืนยันสิทธิรับเงินค่าป่วยการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ไม่สามารถ ดําเนินการได้ทันตามกําหนดระยะเวลาท่ีกรมบัญชีกลางกําหนดในแต่ละเดือน ให้ดําเนินการเบิกจ่ายเงิน ค่าปว่ ยการใหใ้ นรอบถดั ไป ขอ้ 8 การจ่ายเงินค่าป่วยการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ให้กรมบัญชีกลาง โอนเขา้ บญั ชีเงนิ ฝากธนาคารของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจําหมู่บ้าน ข้อ 9 อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านรายใด มีเหตุจําเป็นไม่อาจเปิดบัญชีธนาคาร เพื่อรับเงินค่าป่วยการได้ ให้ทําคําชี้แจงต่อนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นรายบุคคล และให้ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมข้อมูล และเหตุผลความจําเป็น ส่งให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพพิจารณา ใหค้ วามเห็นชอบในการเบิกจา่ ยเงนิ สดเป็นรายบุคคลต่อไป การเบิกจ่ายเงินค่าป่วยการเป็นเงินสด ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพ้ืนท่ียืนยันการส่งรายงาน ผลการปฏิบัติงาน (อสม.1) ในฐานข้อมูลค่าป่วยการอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน และรวบรวม อสม.1 พร้อมท้ังใบสําคัญรับเงิน เพ่ือดําเนินการเบิกจ่ายเงินค่าป่วยการให้กับอาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมู่บ้านโดยไม่ชักช้า เมื่อได้รับการโอนเงินจากกรมบัญชีกลางเข้าบัญชีของโครงการ ส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขประจาํ หมู่บา้ น (อสม.) เชงิ รุกแล้ว เมื่อส้ินปีงบประมาณ มีเงินเหลือจ่ายในบัญชีของโครงการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมู่บ้าน (อสม.) เชิงรุก ให้ส่งเงินเหลือจ่ายพร้อมดอกผลคืนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าของงบประมาณ ขอ้ 10 อัตราค่าป่วยการสําหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ให้เบิกจ่ายเป็น รายเดือนในอตั ราหกรอ้ ยบาทตอ่ คน หรือตามอตั ราทคี่ ณะรัฐมนตรกี าํ หนด ข้อ 11 ในกรณีท่ีอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านซ่ึงมีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการเสียชีวิต ระหว่างการรับเงินค่าป่วยการ ให้ยุติการจ่ายเงินดังกล่าว พร้อมทั้งให้สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ดําเนนิ การปรบั ปรุงฐานข้อมูลทันที ขอ้ 12 การเบิกจ่ายเงินค่าป่วยการที่ไม่ได้กําหนดไว้ในประกาศน้ี ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ หรือหลักเกณฑก์ ารเบกิ จ่ายเงนิ เดอื น หรือค่าจ้างของทางราชการโดยอนโุ ลม ข้อ 13 บรรดาหลักเกณฑ์ที่เก่ียวกับการเบิกจ่ายเงินค่าป่วยการของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมู่บ้าน (อสม.) ประกาศ กฎ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติของกฎหมายอื่นใดขัดหรือแย้งกับ ประกาศน้ี ใหใ้ ช้ประกาศนแ้ี ทน ข้อ 14 ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ และให้มีอํานาจตีความ และวินิจฉยั ปัญหา รวมทัง้ กาํ หนดหลักเกณฑ์และวธิ ีปฏิบตั ิ เพอื่ ให้เป็นไปตามประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ที่ ๗ ธนั วาคม พ.ศ. 256๐ ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข

หลกั เกณฑแ์ นบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง สทิ ธิได้รับเงินคา่ ปว่ ยการในการปฏิบตั หิ นา้ ทขี่ องอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน พ.ศ. 2560 เกยี่ วกับการปฏบิ ัติงานของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น (อสม.)โครงการส่งเสรมิ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมบู่ า้ น (อสม.) เชงิ รกุ ข้อ 1 ให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมีคาสั่งมอบหมายอาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บา้ นที่มีภูมิลาเนาในเขตจังหวัดท่ีตนรับผิดชอบให้มีสิทธิรับเงินค่าป่วยการตามประกาศนี้ให้ครบตามจานวน ท่กี ระทรวงสาธารณสุขกาหนด ข้อ 2 ในระหว่างปีงบประมาณ หากมีกรณีท่ีกระทรวงสาธารณสุขสามารถกาหนดจานวน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านเพิ่มเติมจากจานวนที่กาหนดไว้ ให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ซึ่งรับผิดชอบพ้ืนที่ ท่ีได้รับการจัดสรรเงินค่าป่วยการเพ่ิมเติม มีคาสั่งมอบหมายอาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมบู่ ้านซ่งึ มภี มู ลิ าเนาในเขตจังหวดั ทต่ี นรับผิดชอบใหป้ ฏบิ ัติหน้าทีเ่ พ่ิมเติมได้ ข้อ 3 ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านกับเจ้าหน้าท่ีร่วมกันจัดทาแผนปฏิบัติงาน รายเดอื นของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น ข้อ 4 เมื่ออาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ได้ดาเนินการตามแผนปฏิบัติงานแล้ว ให้บนั ทกึ ข้อมลู กิจกรรมเก็บไว้เปน็ หลักฐานเพือ่ ตรวจสอบ เชน่ (1) บนั ทึกข้อมลู กิจกรรมการสง่ เสรมิ สุขภาพ (2) บันทกึ ข้อมลู กิจกรรมการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน และควบคมุ โรค (3) บันทกึ ข้อมูลกจิ กรรมการฟื้นฟูสขุ ภาพ (4) บนั ทึกข้อมลู กิจกรรมการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค (5) บนั ทกึ ข้อมูลกิจกรรมการจัดการสขุ ภาพชมุ ชนและการมีสว่ นรว่ มในแผนสขุ ภาพตาบล (6) บันทกึ กจิ กรรมอื่นๆ ตามสภาพปญั หาสขุ ภาพของชมุ ชน ขอ้ 5 ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน จดั ทารายงานผลการปฏบิ ตั ิงานตามแบบ อสม.1 และสง่ ใหป้ ระธานอาสาสมคั รสาธารณสขุ ระดับหมู่บา้ นหรือชุมชนภายในวันที่ 25 ของเดอื น ขอ้ 6 ให้ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขระดับหมู่บา้ นหรือชมุ ชน ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข ในพื้นท่ีดาเนินการตรวจสอบและรับรองรายงานผลการปฏิบัติในแบบ อสม. 1 แล้วให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในพื้นที่ทาการตรวจสอบและยืนยันการส่งรายงานผลการปฏิบัติงาน (อสม.1) ในระบบฐานข้อมูลให้แล้วเสร็จ ภายในวนั ที่ 5 ของทกุ เดือนและเก็บหลกั ฐาน อสม.1 ไวเ้ พอ่ื ตรวจสอบตอ่ ไป ข้อ 7 ให้สานักงานสาธารณสุขอาเภอ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชมุ ชน หรือหน่วยบริการสาธารณสุขอ่ืนซึ่งไม่ได้อยู่ในการดูแลกากับของสานักงานสาธารณสุขอาเภอ ตรวจสอบ ความถูกต้องของระบบฐานข้อมูล อสม. ที่มีสิทธิได้รับค่าป่วยการในภาพรวมของอาเภอ และยืนยันข้อมูล ส่งสานักงานสาธารณสุขจังหวัด และให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ตรวจสอบความถูกต้องของระบบ ฐานข้อมูล อสม. ท่ีมีสิทธิได้รับค่าป่วยการในภาพรวมของจังหวัด และยืนยันข้อมูลส่งให้กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ ภายในวันที่ 8 ของทุกเดือน

-2- ข้อ 8 ให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล อสม. ท่ีมีสิทธิได้รับ ค่าป่วยการในภาพรวมของประเทศ ยืนยันข้อมูลและส่งข้อมูลให้กรมบัญชีกลางตรวจสอบฐานข้อมูล ทะเบียนราษฎร์ ภายในวนั ที่ 10 ของทกุ เดอื น



เลม่ ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง หน้า ๑ ๒๙ มิถนุ ายน ๒๕๖๑ ราชกิจจานุเบกษา ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุข วา่ ด้วยการยกเลกิ ระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ดว้ ยการเบกิ จ่ายเงนิ ค่าปว่ ยการ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาํ หมู่บ้าน (อสม.) พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2560 ตามท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันที่ 22 ธันวาคม 2558 เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานระบบการชําระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) โดยมีวัตถุประสงค์เป็นการส่งเสริมให้มีฐานข้อมูลกลางเกี่ยวกับสวัสดิการของภาครัฐ เพ่ือให้ภาครัฐ สามารถจ่ายเงินช่วยเหลือและสวัสดิการให้แก่ประชาชนได้โดยตรงลดการซ้ําซ้อน และลดการทุจริต และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 เห็นชอบให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ดําเนินการตามแนวทางการบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ รวมท้ังปรับปรุง ระเบียบ กฎหมาย ที่เก่ียวข้องให้รองรับการดําเนินการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลในการบูรณาการ ฐานข้อมูลประชาชน และการบริการภาครัฐ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545 รัฐมนตรกี ระทรวงสาธารณสขุ ออกระเบียบไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการยกเลิกระเบียบ กระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าป่วยการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2560” ข้อ 2 ระเบียบน้ีใหใ้ ช้บังคบั ตั้งแตว่ ันถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ใหย้ กเลกิ (1) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าป่วยการอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหม่บู า้ น (อสม.) พ.ศ. 2552 (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง แนวทางและหลักเกณฑ์การปฏิบัติงานของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) โครงการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) เชิงรุก พ.ศ. 2552 (3) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง แนวทางและหลักเกณฑ์การปฏิบัติงานของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) การจัดสรรเงินค่าป่วยการอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมู่บ้าน พ.ศ. 2553

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๒ ง หน้า ๒ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ ราชกิจจานุเบกษา ข้อ 4 กรณีมีเงินเหลือจ่าย ค้างจ่ายในบัญชีของโครงการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมู่บ้าน (อสม.) เชิงรุกในทุกกรณี ให้สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดส่งเงินเหลือจ่าย ค้างจ่าย พรอ้ มดอกผลคืนคลงั จังหวัดภายในเก้าสิบวันนับแต่วนั ท่รี ะเบียบน้ีมผี ลใช้บงั คับ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๗ ธนั วาคม พ.ศ. 256๐ ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข













ภาคผนวก 2

แบบฟอร์มตา่ งๆ แบบฟอรม์ ตัวอยา่ ง คารอ้ งกรณี อสม. ไม่สามารถรบั เงินผา่ นระบบ e-Payment ได้( สาหรบั อสม. )

แบบฟอรม์ ตัวอยา่ งหนังสอื ขอสง่ รายช่อื อสม.ท่ีขอเบิกจ่ายค่าป่วยการเปน็ เงนิ สด กรณที ีไ่ มส่ ามารถรบั เงนิ ผา่ นระบบ e-Payment ( สาหรบั เจา้ หนา้ ที่ )

แบบฟอรม์ ตัวอย่าง หนังสอื ขอส่งรายชือ่ อสม. ผูไ้ มม่ ีสถานะทางทะเบียน ทีข่ อเบิกจา่ ยค่าปว่ ยการเปน็ เงนิ สดกรณีที่ไม่สามารถรบั เงินผา่ นระบบ e-Payment ( สาหรบั เจ้าหนา้ ที่ )

แบบฟอรม์ ตัวอยา่ งใบสมัคร ของ อสม. (ท้งั น้แี บบฟอร์มใบสมัคร ขึ้นกบั แตล่ ะจงั หวัดท่จี ะใช้)



แบบฟอรม์ ตวั อยา่ งใบประกาศนียบัตรผา่ นการอบรมหลักสตู รมาตรฐาน ของ อสม. ใหม่ กรณที ผ่ี วู้ ่าราชการฯ มอบอานาจให้ นพ.สสจ. เปน็ ผูเ้ ซน็ แทน (1) ต้องมีใบมอบอานาจระบหุ น้าท่ีนใ้ี หช้ ัดเจน (2) ตอ้ งมีลายเซน็ ท้งั สองตาแหนง่ โดยเปล่ียนด้านซ้ายเปน็ ปฏิบตั ริ าชการแทน ผวู้ ่าราชการจงั หวัด ( สามารถใช้ตราประทบั ลายเซน็ แทนลายเซน็ สดได้)

แบบฟอร์มตวั อยา่ งคาขอมบี ัตร อสม.

แบบฟอรม์ ตัวอยา่ งใบคารอ้ งขอลาออกของ อสม.

คณะผ้จู ัดทา 1. นางสุจนิ ดา สขุ กาเนดิ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการพิเศษ 2. นางศุภคั ชญา ภวังคะรตั นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ 3. นายเจษฎา ผาผง นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการ 4. นายชนินทร์ ห่านตระกูล นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ จดั ทาโดย กองสนับสนนุ สขุ ภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข อาคารกรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ ช้ัน 7 88 / 44 ซอย สาธารณสุข 8 ถนนติวานนท์ ตาบลตลาดขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 ปีท่จี ดั ทา : กันยายน 2561


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook