Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เคมี ม.4 - บทที่ 1 ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

เคมี ม.4 - บทที่ 1 ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

Published by spectrum_705, 2021-09-30 02:45:33

Description: เคมี ม.4 - บทที่ 1 ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

Search

Read the Text Version

ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี 1.1 ประเภทของสารเคมี - ข้อมูลฉลากของสารเคมีในห้องปฏิบัติการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 1

สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมีที่นิ ยมใช้ มี 2 ระบบ ดังนี้ 1.GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labelling) *เป็นระบบที่ใช้สากล มีทั้งหมด 9 สัญลักษณ์ - Carcinogen (สารก่อมะเร็ง) - Mutagen (ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์) - Reproductive Toxicity (เป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์) - Respiratory Sensitizer (หากสูดเข้าไปทำให้เกิดการแพ้ หรือหอบหืดหรือ หายใจลำบาก) - Target Organ Toxicity - Aspiration Toxicity (อันตรายจากการสำลัก) - Flammables (สารไวไฟ) - Pyrophorics (สารที่ลุกติดไฟได้เอง) - Self-Heating (สารที่เกิดความร้อนได้เอง) - Emits Flammable Gas (สารที่ให้แก๊สไวไฟ) - Self-Reactives (สารที่ทำปฏิกิริยาได้ด้วยตนเอง) - Gases under Pressure Substance is compressed, liquefied, or dissolved at 29 psi or more - Irritant (skin and eye) (ระคายเคืองผิวหนั งและตา) - Skin Sensitizer (ทำให้เกิดการแพ้ที่ผิวหนั ง) - Acute Toxicity (harmful) (เป็นพิษเฉียบพลัน) - Respiratory Tract Irritant - Hazardous to Ozone Layer (Non Mandatory) (เป็นอันตรายต่อชั้นโอโซนในอากาศ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 2

- Skin Corrosion/ burns - Eye Damage - Corrosive to Metals - Explosives (วัตถุระเบิด) - Self-Reactives - Organic Peroxides - Oxidizers substances that release oxygen to another material for purpose of combustion - Acute Toxicity (severe) overexposure may be toxic or fatal Aquatic Toxicity หน้า 3 toxic to plants and aquatic life กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล

สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมีที่นิ ยมใช้ มี 2 ระบบ ดังนี้ 2. NFPA (National Fire Protection Association Hazard Identification System *เป็นระบบที่ใช้สหรัฐอเมริกา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 4

น่ ารู้ Signal words Saftey data sheet เอกสารที่แสดงข้อมูลของสารเคมีหรือผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับ ลักษณะความเป็นอันตราย พิษ วิธีใช้ การเก็บรักษา การขนส่ง การกำจัดและการจัดการอื่น ๆ เพื่อดำเนิ นการเกี่ยว กับสารเคมีนั้ นเป็นไปอย่างถูกต้องและปลอดภัย USA : Material Safety Data Sheet (MSDS) Malaysia : Chemical Safety Data Sheet (CSDS) European Union (EU) : Safety Data Sheet (SDS) United Nations (UN) ; The Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) ข้อมูลใน SDS 1.ข้อมูลสารเคมี/ผู้ผลิต/จำหน่ าย 2. ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย 3. ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม 4. มาตรการปฐมพยาบาล 5. มาตรการผจญเพลิง 6. มาตรการจัดการเมื่อมีการรั่วไหล 7. การขนถ่ายเคลื่อนย้าย/การจัดเก็บ 8. การควบคุมการรับสัมผัส 9. คุณสมบัติทางกายภาพ/เคมี 10. ความเสถียรและความไวต่อปฏิกิริยา 11. ข้อมูลด้านพิษวิทยา 12. ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิ เวศ 13. ข้อพิจารณาในการกำจัด 14. ข้อมูลเกี่ยวกับการขนส่ง 15. ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ 16. ข้อมูลอื่น ๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 5

ตัวอย่าง Saftey data sheet กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 6

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 7

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 8

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 9

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 10

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 11

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 12

1.2 ข้อควรปฏิบัติในการปฏิบัติการเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 13

1.2 ข้อควรปฏิบัติในการปฏิบัติการเคมี ให้ใช้มือโบกให้ไอของสารเข้าจมูกเพียงเล็กน้ อย การเจือจางกรด - ให้เทกรดลงน้ำ ไม่เทสารเคมีที่เหลือจากการเทหรือตักออกจากขวดสารเคมีแล้วกลับเข้าขวด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 14

การกำจัดสารเคมี 1. สารเคมีที่สามารถทิ้งลงอ่างน้ำหรือท่อน้ำทิ้งได้ แต่ต้องทำให้เจือจางก่อน - สารเคมีที่เป็นกรดหรือด่างนี้ ต้องเจือจางให้ต่ำกว่า 1 M (1 Molar หรือ 1 โมล/ลิตร) ก่อนเททิ้งลงอ่างน้ำ และเมื่อเทลงอ่างแล้วให้เปิดน้ำล้างตามมากๆ - สารกลุ่ม volatile organic เช่น formaldehyde ต้องเจือจางด้วยน้ำให้เป็น 0.1% ก่อนทิ้ง 2. สารเคมีหรือสารละลายที่ประกอบด้วยสารต่อไปนี้ ห้ามทิ้งลงอ่างน้ำหรือท่อน้ำทิ้งเด็ดขาด - สารไวไฟสูง และ solvent ที่ไม่ละลายน้ำ เช่น ethyl ether, hexane, acetone เป็นต้น solvent ปริมาณไม่มาก และไม่ใช่สารพิษหรือสารก่อมะเร็ง อาจตั้งทิ้งไว้ในตู้ดูดไอสารเคมีจน ระเหยหมด แล้วกำจัดตะกอนหรือสารเคมีที่เหลือตามวิธีที่เหมาะสมต่อไป - สารพิษ และสารก่อมะเร็ง เช่น acrylamide, mercury, ethidium bromide เป็นต้น - สารไวปฏิกิริยากับน้ำ เช่น โลหะโซเดียม เป็นต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 15

แบบฝึกหัด 1.1 (หนังสือเรียน หน้า 11-13) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 16

แบบฝึกหัด 1.1 (หนังสือเรียน หน้า 11-13) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 17

แบบฝึกหัด 1.1 (หนังสือเรียน หน้า 11-13) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 18

1.3 อุบัติเหตุจากสารเคมี ให้นั กเรียนศึกษา clip video ตาม qr code เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น จากอุบัติเหตุจากการใช้สารเคมี แล้ว ทำแบบฝึกหัดที่ 1.2 (หน้ า 15-16) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 19

1.4 การวัดปริมาณสาร ความน่ าเชื่อถือของข้อมูล สามารถพิจารณาได้จาก 2 ส่วน - ความเที่ยง (precision) คือ ความใกล้เคียงกันของค่าที่ได้จากการวัดซ้ำ - ความแม่น (accuracy) คือ ความใกล้เคียงของค่าเฉลี่ยจากการวัดซ้ำเทียบกับค่าจริง ** ความเที่ยงและความแม่นของอุปกรณ์ที่ใช้ ขึ้นอยู่กับทักษะของผู้ทำความวัดและ ความละเอียดของอุปกรณ์ ที่ใช้** กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 20

1.4 การวัดปริมาณสาร - อุปกรณ์การวัดปริมาตร beaker erlenmeyer flask measuring cylinder กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 21

1.4 การวัดปริมาณสาร - อุปกรณ์การวัดปริมาตร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 22

1.4 การวัดปริมาณสาร - อุปกรณ์วัดมวล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 23

1.5 เลขนัยสำคัญ การบันทึกหรือรายงานผลการทดลองสำหรับการบอกจำนวนหรือปริมาณของสารที่เป็นค่าตัวเลข ตัวเลขที่แสดงนั้ นต้องสามารถบอกถึงความถูกต้อง และ/หรือ ความเที่ยงของการวัดหรือเครื่องมือวัด ตัวเลขดังกล่าวนี้ เรียกว่า เลขนั ยสำคัญ (significant figure) โดยตัวเลขนั ยสำคัญประกอบด้วยตัวเลขทุกตัวที่แสดงแน่ นอน (certainty) รวมกับตัวเลขอีกตัว หนึ่ งที่แสดงความไม่แน่ นอน (uncertainty) ค่าที่อ่านได้......................... ค่าที่อ่านได้......................... หลักการนั บเลขนั ยสำคัญ 0.0024070 จะนั บจากตัวเลขที่แน่ นอนตัวแรกสุดที่ไม่ใช่เลข 0 รวมถึงตัวเลขสุดท้ายที่มีค่าไม่แน่ นอนอีกหนึ่ งตัว 0 ข้างหน้า 0 ท้าย 0 ระหว่าง หลักการนั บเลขนั ยสำคัญ ตัวอย่าง จำนวนเลขนั ยสำคัญ 1.เลข 1-9 ให้นั บเป็นเลขนั ยสำคัญ 2.89 3 526.12 5 2. เลข 0 ระหว่าง 1 ถึง 9 ให้นั บเป็นเลขนั ยสำคัญ 11.08 4 50.0008 6 3. เลข 0 อยู่ด้านซ้ายมือของตัวเลข 0.708 3 (0 ข้างหน้ า) ไม่นั บเป็นเลขนั ยสำคัญ 104.560 6 4. เลข 0 อยู่หลังตัวเลข (0 ตัวท้าย) 2.0 2 และมีจุดทศนิ ยม ให้นั บเป็นเลขนั ยสำคัญ 540.0 4 5. เลข 0 อยู่หลังตัวเลข (0 ตัวท้าย) 120 2 1 และไม่มีจุดทศนิ ยม ไม่นั บเป็นเลขนั ยสำคัญ 5000 3 6. เลข 10n ไม่นั บเป็นเลขนั ยสำคัญ 6.02 x 1023 2 8.6 x 10-10 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 24

หลักการปัดเลขนั ยสำคัญ 1. ให้พิจารณาจากตัวเลขที่ตามหลังตัวเลขนั ยสำคัญตัวสุดท้าย 2. ต้องรู้ว่าต้องการคำตอบที่มีเลขนั ยสำคัญกี่ตัว ถ้าตัวเลขที่พิจารณามีค่ามากกว่าเลข 5 ให้ปัดขึ้น เช่น 3.89 ต้องการเลขนั ยสำคัญเพียง 2 ตัว จะปัดได้เป็น ............................. 2.0089 ต้องการเลขนั ยสำคัญเพียง 3 ตัว จะปัดได้เป็น ............................. ถ้าตัวเลขที่พิจารณามีค่ามากกว่าเลข 5 ให้ปัดทิ้ง เช่น 3.42 ต้องการเลขนั ยสำคัญเพียง 2 ตัว จะปัดได้เป็น ............................. 2.003 ต้องการเลขนั ยสำคัญเพียง 3 ตัว จะปัดได้เป็น ............................. ถ้าตัวเลขที่พิจารณาเป็นเลข 5 และหลัง 5 เป็นตัวเลขที่ไม่ใช่ 0 ให้ปัดขึ้น เช่น 2.752 ต้องการเลขนั ยสำคัญเพียง 2 ตัว จะปัดได้เป็น ............................. แต่ถ้าหลังเลข 5 เป็น 0 หรือไม่มีตัวเลข ให้พิจารณาดังนี้ - ตัวเลขนำหน้ า 5 เป็นเลขคู่ (หรือเป็น 0) ให้ตัดเลข 5 ทิ้งไป เช่น 2.65 จะปัดได้เป็น ............ - ตัวเลขนำหน้ า 5 เป็นเลขคี่ ให้ปัดเลข 5 ขึ้น เช่น 2.55 จะปัดได้เป็น ............ 0.053585 ต้องการเลขนั ยสำคัญเพียง 3 ตัว จะปัดได้เป็น ............................. ต้องการเลขนั ยสำคัญเพียง 4 ตัว จะปัดได้เป็น ............................. ต้องการเลขนั ยสำคัญเพียง 5 ตัว จะปัดได้เป็น ............................. หลักการคำนวณเลขนั ยสำคัญ ผลลัพธ์ต้องมีเลขหลังจุดทศนิ ยมเท่ากับจำนวน เลขที่มีเลขหลังจุดทศนิ ยมจำนวนน้ อยที่สุด เช่น 11.45 + 125.896 + 60.4518 = ....................... = ........................ ผลลัพธ์ต้องมีเลขนั ยสำคัญเท่ากับตัวเลขที่นำ มาคูณหรือที่มีจำนวนเลขนั ยสำคัญน้ อยที่สุด เช่น 3.86 x 13.458 = ....................... 8.23 x 3.2 = ........................ การนั บเลขนั ยสำคัญจะนั บจำนวนเลขที่เป็นเลข mantissa เท่านั้ น โดยให้มีจำนวนเลขนั ยสำคัญเท่ากับตัวเลขนั ยสำคัญที่นำมาหาค่า logarithm characteristic คือ ตัวเลขหน้าจุดทศนิยม mantissa คือ ตัวเลขหลังจุดทศนิยม เช่น log 1.23 x 105 = ............................... = ................................ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 25

สัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ การเขียนตัวเลขในรูปของสัมประสิทธิ์ (A) คูณกับเลขยกกำลังฐานสิบ (10n ) มีรูปทั่วไปเป็น A x 10n เมื่อ 1 A 10 และ n เป็นจำนวนเต็มบวกหรือลบ ให้นักเรียนเขียนจำนวนต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ 1) 2500 เขียนเป็น ......................................................... เขียนเป็น ......................................................... 2) 0.00000002586 เขียนเป็น ......................................................... 3) 2536.2514 x 1012 เขียนเป็น ......................................................... 4) 0.08975 x 10-5 เขียนเป็น ......................................................... 5) 300.25 x 10-2 ให้นักเรียนคำนวณค่าต่อไปนี้ ตามหลักเลขนัยสำคัญ 1) 4.65 x 1.4 = .............................. 2) ( 4.5 x 1.12 ) - 1.34 = .............................. 3) 3.25 + 2.1 - 1.13 = .............................. 4) ( 2.25 x 1.5 ) + 1.25 = ............................... 5) 360 x 3.00 = .............................. 6) -log 1.75 x 10-5 = ............................... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 26

1.5 หน่วยวัด ปัจจุบันระบบการวัดทางวิทยาศาสตร์ยอมรับและให้ตกลงใช้ร่วมกันทั่วโลกคือระบบหน่ วยเอสไอ (International System of Units หรือ SI units) จากที่ประชุม CGPM (General Conference on Weights and Measures) เมื่อปี ค.ศ.1960 (ตัวย่อ SI มาจากภาษาฝรั่งเศส Système International d’Unités) ในปัจจุบันหน่ วย SI ประกอบด้วย 2 กลุ่ม (class) คือ หน่ วยฐานเอสไอ (SI base unitsSI base units) และหน่ วยอนุพัทธ์เอสไอ (SI base unitsSI derived units) หน่วยฐานเอสไอ (SI base units) เป็นหน่ วยการวัดพื้นฐานของหน่ วยวัดอื่นๆ ทั้งหมดซึ่งสามารถสอบ กลับได้ (traceability) หน่ วยฐานทั้ง 7 หน่ วย หน่วยอนุพัทธ์เอสไอ (SI derived units) เป็นหน่ วยอนุพัทธ์เกิดจากการพิสูจน์ ทางพีชคณิตระหว่าง หน่ วยฐานบเอสไอหรือระหว่างหน่ วยอนุพัทธ์เอสไอ ตัวย่อของหน่ วยอนุพัทธ์เอสไอได้มาจากการกระทำ ทางคณิ ตศาสตร์โดยการคูณและการหาร หน่วยนอกระบบเอสไอ - ที่ใช้ในทางเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 27

ตรวจสอบความเข้าใจ (ในหนังสือแบบเรียนหน้า 33) ทำลงสมุด 1) ลวดแมกนี เซียมหนา 0.1 มิลลิเมตร สามารถเขียนแสดงความหนาให้อยู่ในรูปสัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ ในหน่ วยเอสไอได้เป็นเท่าใด .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2) ปริมาตรน้ำที่ได้จากการปิเปต 10.00 ลูกบาศก์เซนติเมตร สามารถเขียนแสดงปริมาตรให้อยู่ในรูป สัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ในหน่ วยเอสไอได้เป็นเท่าใด .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. นั กเรียนจะสังเกตว่าการคำนวณเกี่ยวกับปริมาณต่าง ๆ อาจจะต้องมีการเปลี่ยนหน่ วยให้อยู่ใน หน่ วยที่เหมาะสมโดยไม่ทำให้ค่าของปริมาณเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนหน่ วยสามารถทำได้หลายวิธี ในระดับชั้นนี้ จะใช้วิธีการเทียบหน่วย ซึ่งต้องใช้ แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย (conversion factor) เป็นอัตราส่วนซึ่งได้จากการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ ของหน่ วยที่เกี่ยวข้อง ทั้งที่มีปริมาณอยู่ในมิติเดียวกันแต่มีหน่ วยต่างกันหรือมีปริมาณอยู่ต่างมิติกันก็ได้ โดยข้อมูลเชิงปริมาณทั้งหมดที่จะนำมาสั มพันธ์กันต้องเป็นข้อเท็จจริง ในการเขียนแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่ วยมีหลักดังนี้ 1. เขียนความสัมพันธ์ของหน่ วย ซึ่งอาจเป็นปริมาณที่อยู่ในมิติเดียวกันแต่มีหน่ วยต่างกัน หรือเป็น ปริมาณที่อยู่ต่างมิติกัน เช่น ปริมาตร 1 dm3 เท่ากับ 1000 cm 3 เขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ 1 dm3 = 1000 cm3 2. เขียนในรูปอัตราส่วนโดยนำปริมาณใดปริมาณหนึ่ งหารทั้ง 2 ข้าง ซึ่งจะทำให้อัตราส่วนด้านหนึ่ ง มีค่าเท่ากับ 1 ซึ่งเรียกว่า แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่ วย เช่น หารด้วย 1000 cm ทั้ง 2 ข้าง 1 dm 3 = 1000 cm 3 = 1 1000 cm 3 1000 cm 3 หรือ หารด้วย 1 dm ทั้ง 2 ข้าง 1 dm3 = 1000 cm3 = 1 1 dm3 1 dm3 3. อัตราส่วนทั้งสองมีค่าเท่ากับ 1 ได้แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่ วยดังนี้ 1 dm3 หรือ 1000 cm 3 1000 cm3 1 dm3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 28

ตัวอย่างแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยที่ได้จากความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ ความสั มพันธ์ แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่ วย ความดัน 1 atm = ความดัน 760 mmHg 1 atm หรือ 760 mmHg น้ำ 1 g = น้ำ 1 mL 760 mmHg 1 atm 1g หรือ 1 mL 1 mL 1g เหล็ก 1 mol = เหล็ก 55.8 g 1 mol Fe หรือ 55.8 g Fe 55.8 g Fe 1 mol Fe จงเขียนแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยจากความสัมพันธ์ต่อไปนี้ (ทำลงสมุด) 1) He 4 g มีปริมาตร 22.4 dm3 33 ..................................................... ..................................................... 2) ปริมาตร 1 m เท่ากับ 1000 dm ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... 3) ทองคำ 1 บาท หนั ก 15.244 g 23 ..................................................... ..................................................... 4) CO2 1 mol มี 6.02 x 10 molecule ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... วิธีการเทียบหน่วย แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่ วยใช้สำหรับเปลี่ยนหน่ วยจากหน่ วยหนึ่ งไปเป็นอีกหน่ วยหนึ่ ง การคำนวณหาปริมาณและหน่ วยที่ต้องการโดยใช้แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่ วย เรียกว่า วิธีการเทียบ หน่ วย (factor-label method) มีวิธีการดังนี้ 1. พิจารณาหน่ วยที่โจทย์กำหนดและหน่ วยที่ต้องการ 2. เขียนแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่ วย แล้วนำไปคูณกับปริมาณและหน่ วยที่โจทย์กำหนด จนได้หน่ วยที่ต้องการ สรุปได้ดังนี้ ปริมาณและหน่วยที่ต้องการ = ปริมาณและหน่วยที่โจทย์กำหนด x แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย เช่น 1) ทองแดงยาว 3 m คิดเป็นกี่เซนติเมตร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2) ปรอท 1 mL มีมวล 13.6 g ปรอทมวล 20.4 g จะมีปริมาตรกี่ มิลลิลิตร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 29

แบบฝึกหัด 1.4 (แบบเรียนหน้า 35) ทำลงสมุด 1) จงแสดงวิธีการเปลี่ยนหน่ วยไปเป็นหน่ วยใหม่ที่ต้องการในแต่ละข้อต่อไปนี้ วิธีคิด 1.1 ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 1.2 ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 1.3 ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 1.4 ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 2) น้ำบริสุทธิ์ปริมาตร 50.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 20.5 องศาเซลเซียสมีมวล เท่าใด เมื่อความหนาแน่ นของน้ำ ที่อุณหภูมิ 20.5 องศาเซลเซียส เท่ากับ 0.998099 กรัม ต่อลูกบาศก์เซนติเมตร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 3) สารละลายกรดซัลฟิวริกเข้มข้นร้อยละ 24 โดยมวล มีความหนาแน่ น 1.2 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าสารละลายกรดซัลฟิวริก 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีกรดซัลฟิวริกกี่กรัม .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 30

แบบฝึกหัด 1.4 (แบบเรียนหน้า 35) ทำลงสมุด 4) ถ้าทองเหลือง 12 กรัม ต้องใช้ทองแดง 9.0 กรัม มีต้นทุนราคาของทองแดงกิโลกรัมละ 200 บาท หาก ต้องการทองเหลือง 300 กรัม ต้องซื้อทองแดงกี่บาท .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การเทียบหน่วย (ทำลงสมุด) 1) สารตัวอย่างชนิ ดหนึ่ งปริมาตร 1 mL มีมวล 7.6 g ถ้าสารตัวอย่างนี้ มีมวล 4.0 kg จะมีปริมาตรกี่มิลลิลิตร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2) ทองแดง 75.5 kg มีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เมตร (ความหนาแน่ นของทองแดง เท่ากับ 8.9 × 103 kg/m3 ) .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 3) ปรอทมวล 136 kg มีปริมาตรกี่ลิตร (ความหนาแน่ นของปรอทเท่ากับ 13.6 × 103 kg/m3) .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 4) สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 1.5 mol/dm3 ปริมาตร 250 cm3 จะ ต้องใช้HCl กี่ mol .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 31

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 (หนังสือเรียน หน้า 40-43) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 32

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 (หนังสือเรียน หน้า 40-43) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 33

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 (หนังสือเรียน หน้า 40-43) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 34

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 (หนังสือเรียน หน้า 40-43) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หน้า 35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook