แผนปฏบิ ัติการ ป้องกันและแกไ้ ขปญั หานำ้ ทว่ มกรงุ เทพมหานคร ประจำปี 2565 ในส่วนรบั ผดิ ชอบของสำนักการระบายน้ำ
1 คำสงั่ สำนกั การระบายน้ำ ท่ี 6/2565 เรื่อง จัดตง้ั ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการป้องกนั และแก้ไขปญั หาน้ำทว่ มกรงุ เทพมหานคร ประจำปี 2565 ด้วยสำนักการระบายน้ำ มีภารกิจหลักในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม การเตรียมความ พร้อมเพื่อช่วยในการบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน ต้องมีศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูล รายงาน สภาพอากาศ รับเรอื่ งร้องทุกข์เกยี่ วกบั ปญั หาน้ำทว่ ม เพือ่ รายงานและสั่งการสถานการณ์ตา่ ง ๆ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการปอ้ งกันแกไ้ ขปญั หาน้ำท่วมทราบตลอด 24 ชว่ั โมง เพื่อให้การปฏิบัติงานป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานครดำเนินการไปอย่าง มีประสิทธิภาพ สามารถบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้ทันต่อเหตุการณ์ และมีประสิทธิภาพ อาศัย อำนาจตามมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2550 จึงให้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม กรุงเทพมหานคร ณ ห้องศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ชั้น 6 อาคารสำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร และแตง่ ต้ังเจา้ หน้าท่ีตามภารกิจต่าง ๆ ดังน้ี 1. ผ้อู ำนวยการสำนักการระบายนำ้ ผูอ้ ำนวยการ 2. รองผอู้ ำนวยการสำนักการระบายนำ้ (ด้านบรหิ าร) รองผอู้ ำนวยการ 3. รองผอู้ ำนวยการสำนักการระบายนำ้ (ด้านวิชาการ) รองผอู้ ำนวยการ 4. รองผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (ด้านปฏิบัตกิ าร) รองผูอ้ ำนวยการ 5. ผ้อู ำนวยการสำนักงานจดั การคุณภาพนำ้ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการ 6. ผอู้ ำนวยการสำนักงานพฒั นาระบบระบายน้ำ ผชู้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ 7. ผู้อำนวยการสำนกั งานระบบควบคมุ น้ำ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ 8. ผ้อู ำนวยการกองระบบท่อระบายนำ้ ผชู้ ่วยผูอ้ ำนวยการ 9. ผู้อำนวยการกองระบบคลอง ผู้ช่วยผูอ้ ำนวยการ 10. ผูอ้ ำนวยการกองเครอื่ งจักรกล ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการ 11. ผู้อำนวยการกองสารสนเทศระบายนำ้ เลขานกุ าร 12. เลขานกุ ารสำนักการระบายน้ำ ผูช้ ่วยเลขานุการ โดยแบง่ หน้าท่คี วามรับผดิ ชอบออกเป็น 3 ฝา่ ย คือ 1. ฝา่ ยปฏบิ ัติการ ประกอบด้วย 1.1 รองผอู้ ำนวยการสำนักการระบายน้ำ (ด้านปฏิบัตกิ าร) หัวหนา้ 1.2 ผู้อำนวยการสำนักงานระบบควบคมุ น้ำ รองหวั หนา้ 1.3 ผูอ้ ำนวยการกองระบบท่อระบายนำ้ รองหวั หน้า 1.4 ผูอ้ ำนวยการกองระบบคลอง รองหัวหนา้ 1.5 ผอู้ ำนวยการกองเครื่องจกั รกล รองหัวหนา้ 1.6 ผ้อู ำนวยการสว่ นระบบควบคมุ นำ้ พระนคร ผชู้ ่วยหวั หน้า สำนกั งานระบบควบคุมนำ้ 1.7 ผ้อู ำนวยการ...
2๒ 1.7 ผู้อำนวยการสว่ นระบบควบคมุ น้ำธนบุรี ผู้ชว่ ยหัวหนา้ สำนักงานระบบควบคมุ นำ้ 1.8 หวั หนา้ กลมุ่ งานพฒั นาระบบคลอง 1 ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ กองระบบคลอง 1.9 หวั หนา้ กลุม่ งานพัฒนาระบบคลอง 2 ผชู้ ว่ ยหัวหน้า กองระบบคลอง 1.10 หวั หน้ากลมุ่ งานบำรุงรักษาคลอง 1 ผชู้ ว่ ยหัวหน้า กองระบบคลอง 1.11 หวั หน้ากล่มุ งานบำรงุ รกั ษาคลอง 2 ผชู้ ่วยหวั หนา้ กองระบบคลอง 1.12 หวั หนา้ กลมุ่ งานบำรงุ รกั ษาคลอง 3 ผชู้ ่วยหัวหนา้ กองระบบคลอง 1.13 หวั หนา้ กล่มุ งานบำรุงรักษาคลอง 4 ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ กองระบบคลอง 1.14 หวั หนา้ ฝา่ ยพสั ดุ กองเคร่ืองจักรกล ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ 1.15 หัวหน้ากลุ่มงานบรกิ ารเครอื่ งสบู น้ำ 1 ผชู้ ว่ ยหวั หน้า กองเคร่ืองจักรกล 1.16 หัวหนา้ กลมุ่ งานบริการเคร่อื งสูบน้ำ 2 ผชู้ ่วยหวั หนา้ กองเครอื่ งจักรกล 1.17 หวั หนา้ กล่มุ งานซอ่ มและบำรุงรักษา 1 ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ กองเครื่องจกั รกล 1.18 หวั หน้ากลมุ่ งานซ่อมและบำรุงรักษา 2 ผชู้ ่วยหัวหน้า กองเครื่องจักรกล 1.19 หัวหนา้ กลมุ่ งานบำรุงรักษาท่อระบายนำ้ 1 ผชู้ ว่ ยหวั หน้า กองระบบทอ่ ระบายน้ำ 1.20 หวั หน้ากล่มุ งานบำรงุ รกั ษาท่อระบายนำ้ 2 ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ กองระบบทอ่ ระบายนำ้ 1.21 หวั หน้ากลุม่ งานวิศวกรรมทอ่ ระบายนำ้ ผชู้ ่วยหัวหนา้ กองระบบท่อระบายนำ้ 1.22 หัวหน้ากลมุ่ งานซ่อมระบบท่อระบายน้ำ ผชู้ ่วยหวั หนา้ กองระบบท่อระบายน้ำ 1.23 หวั หน้ากลุ่มงานอุโมงค์ระบายน้ำ ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ สว่ นระบบควบคุมน้ำพระนคร สำนกั งานระบบควบคมุ น้ำ 1.24 หวั หน้ากลุม่ งานอาคารบงั คบั น้ำ 1 ผชู้ ่วยหัวหนา้ ส่วนระบบควบคุมนำ้ พระนคร สำนักงานระบบควบคมุ น้ำ 1.25 หวั หนา้ กลมุ่ งานอาคารบงั คบั นำ้ 2 ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ ส่วนระบบควบคุมน้ำพระนคร สำนักงานระบบควบคุมน้ำ 1.26 หัวหนา้ กลมุ่ ...
3 ๓ 1.26 หัวหน้ากลุม่ งานวศิ วกรรม ผชู้ ่วยหัวหน้า ส่วนระบบควบคุมนำ้ พระนคร สำนักงานระบบควบคุมน้ำ 1.27 หวั หนา้ กลุ่มงานอุโมงค์ระบายน้ำ ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ สว่ นระบบควบคุมน้ำธนบรุ ี สำนักงานระบบควบคุมนำ้ 1.28 หัวหนา้ กลุ่มงานอาคารบงั คับน้ำ ผชู้ ่วยหวั หน้า ส่วนระบบควบคมุ นำ้ ธนบรุ ี สำนักงานระบบควบคุมน้ำ 1.29 หัวหนา้ กลุ่มงานวศิ วกรรม ผชู้ ว่ ยหวั หน้า สว่ นระบบควบคุมน้ำธนบุรี สำนกั งานระบบควบคุมน้ำ 1.30 หวั หน้ากล่มุ งานระบบควบคมุ น้ำตะวนั ออก เลขานุการ สำนกั งานระบบควบคมุ น้ำ มีหน้าที่รับผิดชอบการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม กรุงเทพมหานคร ดำเนินการแก้ไขปัญหาตามที่ได้รับคำร้องเรียนและตามที่ศูนย์ปฏิบัติการสั่งการ เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเฉพาะหน้า และรายงานผลการปฏิบัติการให้ฝ่ายเลขานุการทราบ ตลอดจน ประเมินผล และรายงานการป้องกันน้ำท่วมของแต่ละวันในเขตพื้นที่รับผิดชอบให้ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการ ทราบ โดยมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ของสำนักงานระบบควบคุมน้ำ กองระบบท่อระบายน้ำ กองระบบคลองและกองเครื่องจักรกลทั้งน้ี ให้หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการและรองหัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการสั่งการ เจ้าหนา้ ทข่ี องหน่วยงานให้ปฏิบัติงานในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาน้ำท่วมได้โดยตรง 2. ฝา่ ยตรวจสอบและตดิ ตามผล ประกอบดว้ ย 2.1 รองผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (ด้านวิชาการ) หัวหน้า 2.2 ผู้อำนวยการสำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ รองหัวหนา้ 2.3 ผ้อู ำนวยการสำนักงานพฒั นาระบบระบายน้ำ รองหวั หน้า 2.4 ผู้อำนวยการสว่ นวชิ าการและแผน ผูช้ ว่ ยหัวหน้า สำนักงานพัฒนาระบบระบายนำ้ 2.5 ผูอ้ ำนวยการสว่ นวศิ วกรรมระบบระบายนำ้ ผู้ชว่ ยหวั หน้า สำนักงานพัฒนาระบบระบายน้ำ 2.6 ผอู้ ำนวยการสว่ นวิชาการจดั การคุณภาพน้ำ ผ้ชู ่วยหัวหน้า สำนกั งานจัดการคุณภาพนำ้ 2.7 ผู้อำนวยการสว่ นปฏิบตั ิการจัดการคณุ ภาพน้ำ ผ้ชู ่วยหวั หนา้ สำนกั งานจัดการคณุ ภาพน้ำ 2.8 หวั หน้ากลุ่มงานวชิ าการและนวตั กรรมจัดการนำ้ ผูช้ ว่ ยหัวหน้า สว่ นวชิ าการและแผน สำนักงานพัฒนาระบบระบายน้ำ 2.9 หัวหน้ากลุ่มงานวศิ วกรรมระบบระบายน้ำ 1 ผู้ช่วยหัวหน้า ส่วนวิศวกรรมระบบระบายน้ำ สำนักงานพฒั นาระบบระบายนำ้ 2.10 หวั หนา้ กลมุ่ งานวิศวกรรมระบบระบายนำ้ 2 ผู้ชว่ ยหัวหนา้ ส่วนวศิ วกรรมระบบระบายน้ำ สำนักงานพัฒนาระบบระบายน้ำ 2.11 หวั หนา้ กล่มุ งานวศิ วกรรมระบบระบายนำ้ 3 ผชู้ ่วยหัวหน้า สว่ นวิศวกรรมระบบระบายน้ำ สำนกั งานพฒั นาระบบระบายน้ำ 2.12 หวั หนา้ กลุม่ ...
4๔ 2.12 หัวหน้ากลุ่มงานวเิ คราะห์คณุ ภาพน้ำ ผู้ช่วยหัวหน้า ส่วนวิชาการจัดการคุณภาพน้ำ สำนักงานจดั การคณุ ภาพน้ำ 2.13 หัวหนา้ กลุ่มงานโครงการและจดั การตะกอน ผ้ชู ว่ ยหัวหน้า สว่ นวชิ าการจัดการคุณภาพน้ำ สำนักงานจัดการคณุ ภาพน้ำ 2.14 หัวหน้ากล่มุ งานระบบข้อมูลและบริหารการจัดเกบ็ ค่าธรรมเนียมผชู้ ว่ ยหัวหน้า สว่ นวิชาการจดั การคุณภาพน้ำ สำนักงานจัดการคณุ ภาพน้ำ 2.15 หัวหนา้ กลุ่มงานพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสยี ผู้ช่วยหวั หนา้ ส่วนวชิ าการจัดการคุณภาพน้ำ สำนักงานจดั การคุณภาพน้ำ 2.16 หัวหน้ากลมุ่ งานควบคุมคุณภาพนำ้ 1 ผชู้ ่วยหัวหน้า ส่วนปฏบิ ตั ิการจดั การคุณภาพนำ้ สำนกั งานจดั การคุณภาพน้ำ 2.17 หวั หนา้ กล่มุ งานควบคุมคุณภาพน้ำ 2 ผชู้ ว่ ยหัวหน้า ส่วนปฏิบตั ิการจดั การคณุ ภาพนำ้ สำนักงานจดั การคุณภาพน้ำ 2.18 หัวหนา้ กลมุ่ งานควบคุมคุณภาพน้ำ 3 ผู้ช่วยหวั หนา้ สว่ นปฏิบตั กิ ารจัดการคณุ ภาพนำ้ สำนกั งานจดั การคุณภาพน้ำ 2.19 หัวหนา้ กลุ่มงานซ่อมบำรุงระบบรวบรวมน้ำเสีย ผู้ช่วยหวั หน้า สว่ นปฏบิ ตั ิการจดั การคณุ ภาพนำ้ สำนกั งานจดั การคุณภาพน้ำ 2.20 หวั หน้ากล่มุ งานแผนและโครงการ เลขานุการ ส่วนวชิ าการและแผน สำนกั งานพัฒนาระบบระบายน้ำ มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้เป็นไปตาม เป้าหมาย ตรวจสอบการก่อสร้างตามงบประมาณและโครงการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการระบายน้ำ กวดขัน การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจำเครื่องสูบน้ำ เจ้าหน้าที่ทำความสะอาดท่อระบายน้ำ เจ้าหน้าที่ขุดลอกคลอง และรายงานสถานการณ์ป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในช่วงมีภาวะฝนตกหนัก หรือมีปัญหาน้ำท่วม ให้ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการฯ ทราบ โดยมีเจ้าหน้าที่สำนักงานจัดการคุณภาพน้ำและสำนักงานพัฒนาระบบ ระบายนำ้ เป็นผปู้ ฏิบัตงิ านของฝ่ายตรวจสอบและติดตามผล 3. ฝ่ายเลขานกุ าร ประกอบด้วย 3.1 รองผอู้ ำนวยการสำนกั การระบายน้ำ (ดา้ นบริหาร) หวั หน้า 3.2 ผ้อู ำนวยการกองสารสนเทศระบายน้ำ รองหวั หน้า 3.3 เลขานุการสำนักการระบายน้ำ รองหัวหนา้ 3.4 หวั หนา้ ฝ่ายการเจ้าหน้าท่ี สำนกั งานเลขานุการ ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ 3.5 หวั หน้าฝา่ ยการคลัง สำนักงานเลขานกุ าร ผชู้ ว่ ยหัวหน้า 3.6 หวั หน้ากลมุ่ งานนิตกิ าร สำนักงานเลขานุการ ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ 3.7 หัวหนา้ กลมุ่ งานสารสนเทศ กองสารสนเทศระบายน้ำ ผู้ช่วยหัวหนา้ 3.8 หัวหน้ากลุม่ งานระบบโทรมาตร กองสารสนเทศระบายน้ำ ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ 3.9 หัวหนา้ กลุ่มงานวเิ คราะห์ขอ้ มูล กองสารสนเทศระบายนำ้ ผู้ช่วยหวั หน้า 3.10 หัวหน้าศนู ย์ควบคุมระบบป้องกนั น้ำท่วม กองสารสนเทศระบายน้ำ เลขานุการ มีหน้าท่ี...
๕5 มีหน้าที่จัดเตรียมสิ่งของและอุปกรณ์อื่นใดตามความจำเป็น สำหรับศูนย์ปฏิบัติการดำเนินการ ด้านสารบรรณ ธุรการ งบประมาณและการเงิน เตรียมการประชุมศูนย์ฯ ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม รับแจ้งเรื่องร้องทุกข์เกี่ยวกับปัญหาน้ำท่วม ทางโทรศัพท์ เพื่อแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการบริหารข้อมูลและแสดงตัวเลขข้อมูลทางจอภาพ เพื่อพิจารณาแนวทางในการแก้ไขสถานการณ์ ตรวจสอบ อุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องมือ เครื่องใช้ ของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วม ให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ตลอดเวลา และดำเนินการแก้ไขหากมีข้อผิดพลาดหรือเกิดการชำรุด รับรายงานสภาพปัญหาต่างๆ ทางวิทยุสื่อสารและวิทยุ เฉพาะกลุ่ม รายงานสภาพอากาศ ปริมาณฝน ระดับน้ำ ให้ผู้ปฏิบัติงานในสนามทราบสถานการณ์ และให้ข้อมูล ข่าวสารแก่สื่อมวลชน โดยมีเจ้าหน้าที่ของกองสารสนเทศระบายน้ำและสำนกั งานเลขานุการ สำนักการระบายนำ้ เป็นผู้ปฏบิ ัตงิ าน นอกจากความรับผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ ตามที่กำหนดข้างต้นแล้ว ให้ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและ แก้ไขปัญหาน้ำทว่ มกรงุ เทพมหานครประสานงานกับสำนักงานเขตต่าง ๆ อยา่ งใกล้ชดิ อีกทางหน่ึงด้วย ท้งั นี้ ต้ังแตว่ ันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2565 เป็นตน้ ไป สงั่ ณ วันท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2565
คำนำ ฝนตกน้ำท่วมยงั คงเปน็ ปญั หาใหญซ่ ้ำซากตอ่ ประเทศไทย และต่อกรงุ เทพมหานคร จากปัญหาภัยนำ้ ท่วม ในปี 2564 ทเ่ี ป็นภัยซำ้ เติมจากไวรัสโควิด-19 โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นท่ีใน ภาคอีสานและบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาในพื้นที่ภาคกลาง ซึ่งพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับ ผลกระทบจากช่วงน้ำทะเลหนุนสูงและน้ำเหนือหลาก จึงทำให้ระดับน้ำยกตัวสูงขึ้นประกอบ กับพื้นที่กรุงเทพมหานครส่วนใหญ่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล แต่ได้มีการเตรียมความพร้อม รองรับสถานการณ์ การแจง้ เตือน รวมถึงการเข้าแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ในทันที จึงทำให้ลด ผลกระทบทเ่ี กิดข้ึนเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว กรุงเทพมหานคร โดยสำนักการระบายน้ำ มีความมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาน้ำท่วม ปัญหาคุณภาพน้ำเน่าเสียและปัญหาภัยน้ำแล้ง จึงได้มีการบริหารจัดการน้ำ การเตรียม ความพร้อมและการเพิ่มประสิทธิภาพระบบระบายน้ำ ทั้งการสร้างบ่อหน่วงน้ำใต้ดิน การขยาย ท่อระบายน้ำ การขยายเส้นทางดึงน้ำเพิ่มเติมเพื่อรองรับปริมาณน้ำส่วนที่เกินศักยภาพระบบ ระบายน้ำ และการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่จุดเสี่ยง เพื่อช่วยลดปัญหาน้ำท่วมจุดที่ซ้ำซาก ให้เหลอื นอ้ ยท่ีสดุ รวมถงึ การดำเนนิ โครงการกอ่ สรา้ งระบบบำบดั น้ำเสียเพิม่ เติม สำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร ขอขอบคุณคณะผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ี กรุงเทพมหานครที่ได้เสียสละทุ่มเทในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มที่ตลอด 24 ชั่วโมง รวมถึง หน่วยงานภายนอกที่ได้ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานครและได้ ให้ ความอนุเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำหนังสือแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม กรุงเทพมหานคร ประจำปี 2565 จนสำเร็จเป็นไปด้วยดี หากมีข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์ ต่อการบริหารจัดการนำ้ และการจดั ทำหนังสือเล่มนี้ ขอใหส้ ่งขอ้ เสนอแนะมาที่สำนักการระบายน้ำ จกั ขอบคณุ ย่ิง
สารบญั แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาน้ำทว่ มกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2565 1. สถานการณ์ 1 2. สาเหตนุ ้ำท่วม 2 3. วตั ถุประสงคก์ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาน้ำท่วม 5 เนอื่ งจากนำ้ ฝนและนำ้ หนนุ 5 4. เปา้ หมายการดำเนนิ การ 5. สว่ นราชการที่รับผิดชอบการปฏบิ ัตกิ าร 6 6. มาตรการ แผน และแนวทางดำเนินการ 11 ในการป้องกันนำ้ ทว่ ม 7. กำหนดแผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หานำ้ ทว่ ม 20 8. งบประมาณ แผนปฏิบตั ิการป้องกันและแกไ้ ขปัญหานำ้ ท่วม 29 9. ปญั หาและอปุ สรรค 31 10. สรปุ 32 การบริหารจดั การน้ำในกรุงเทพมหานคร 1 - 37 ประจำปี 2565
สารบัญภาคผนวก ภาคผนวก ก ก 1 – 42 งานระบบคลอง ภาคผนวก ข ข 1 - 30 งานระบบทอ่ ระบายน้ำ ภาคผนวก ค ค 1 - 34 งานระบบควบคุมนำ้ ภาคผนวก ง ภาคผนวก คง 1 - 24 งานเครอ่ื งจกั รกล ภาคผนวก จ จ 1 - 17 งานจดั การคุณภาพนำ้ ภาคผนวก ฉ ฉ 1 - 47 ขอ้ มลู ประกอบแผนปฏบิ ัตกิ าร ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาน้ำท่วม ภาคผนวก ช ช 1-8 การประสานงานกับผ้เู กยี่ วขอ้ ง ภาคผนวก ซ ซ 1 - 14 ขัน้ ตอนการปฏิบตั กิ ารปอ้ งกัน และแก้ไขปญั หาน้ำท่วมกรงุ เทพมหานคร และแผนเผชิญเหตุ
แผนปฏบิ ตั กิ ารป้องกนั และแกไ้ ขปญั หานำ้ ท่วมกรุงเทพมหานคร เนอ่ื งจากน้ำฝนและนำ้ หนุน ประจำปี 2565 ในส่วนความรับผิดชอบของสำนักการระบายน้ำ กรงุ เทพมหานคร 1. สถานการณ์ 1.1 สถานการณท์ ัว่ ไป ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตมรสุม ซึ่งมีฝนตกชุกและมีปริมาณฝนสูง มีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำ สายหลักที่สำคัญของประเทศ ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นที่ราบลุ่มมีพื้นที่รับน้ำประมาณ 160,000 ตาราง กิโลเมตรหรือประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่ประเทศ รับน้ำบางส่วนจากตอนเหนือของพื้นที่ซึ่งมีระดับสูงกว่า และไหลผา่ นกรงุ เทพมหานคร เพอ่ื ลงส่ทู ะเลท่ีปากอา่ วไทย กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบลุ่มตอนปลายของแม่น้ำเจ้าพระยาและอยู่ภายใต้อิทธิพล การขน้ึ - ลงของน้ำทะเล กรุงเทพมหานคร ในอดีตมีห้วย หนอง คลอง บึง และที่ว่างเป็นจำนวนมาก ประชาชนใช้น้ำเป็น ส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวนั และเพื่อประกอบอาชีพ ไม่มีปัญหาน้ำทว่ มมากนัก ทั้งความเดือดร้อนเสียหายทาง เศรษฐกิจอันเนื่องมาจากสภาวะน้ำท่วมยังไม่รุนแรง ต่อมาความเจริญของกรุงเทพมหานครได้เติบโตข้ึน อย่างรวดเร็วเกินกว่าที่การวางผังเมืองการใช้ที่ดินและการสาธารณูปโภครวมทั้งมาตรการในการระบายน้ำ และการป้องกันน้ำท่วมที่วางไว้จะรับได้ ผนวกกับปัญหาแผ่นดินทรุดอีกประการหนึ่ง จึงก่อให้ปัญหาน้ำท่วม ทวคี วามรุนแรงขนึ้ 1.2 สถานการณเ์ ฉพาะ สาเหตุน้ำท่วมจากธรรมชาติมาจากหลายกรณี ทั้งจากน้ำฝน น้ำทุ่ง น้ำเหนือ และน้ำทะเลหนุน ดังนั้นแผนปฏิบตั กิ ารปอ้ งกันนำ้ ทว่ มประจำปี จึงแบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 1.2.1 การปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานครเนื่องจากน้ำฝน เป็นการ ปฏิบัติการที่จะระบายน้ำฝนที่ตกลงมาในพื้นที่ป้องกันและบริเวณใกล้เคียงให้ระบายออกไปจากพื้นที่น้ำท่วม โดยเรว็ เพื่อไม่ใหเ้ กดิ น้ำทว่ มหรอื เกดิ ขน้ึ เพยี งเล็กน้อยในระยะเวลาส้นั 1.2.2 การปฏิบัตกิ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาน้ำทว่ มกรุงเทพมหานครเนื่องจากน้ำหนนุ เป็นการ ปฏิบัติการที่จะป้องกันน้ำท่วมเนื่องจากน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยามีระดับสูงล้นตลิ่ง โดยการสร้างคันกั้นน้ำ ตามแนวรมิ ฝง่ั แมน่ ำ้ หรอื ริมฝง่ั คลองทไี่ ด้รบั อทิ ธิพลโดยตรงจากระดับน้ำในแมน่ ้ำเจ้าพระยา โดยแนวคันกั้นน้ำ นี้จะต้องมีระดับความสูงเพียงพอที่จะป้องกันไม่ให้น้ำล้นเข้ามาได้ อีกทั้งควบคุมการระบายน้ำเข้าและออก ในพื้นที่ป้องกันโดยการรักษาระดับน้ำภายในและระดับน้ำภายนอกให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยอาศัย ประตรู ะบายนำ้ และสถานีสูบน้ำเป็นหลักในการควบคุมระบบ 1
2 2. สาเหตุนำ้ ท่วม สาเหตุน้ำท่วมอาจเกิดขึ้นได้จากหลายกรณี แต่ที่สำคัญที่จะกล่าวถึงแบ่งออกเป็นสาเหตุจาก ธรรมชาติและจากสาเหตุทางกายภาพ 2.1 สาเหตจุ ากธรรมชาติ 2.1.1 น้ำฝน - ฤดูฝนเริ่มในเดือนพฤษภาคม สิ้นสุดในเดือนตุลาคม มีปริมาณและความถี่ของฝนสูงที่สุด ระหว่างกลางเดือนสิงหาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ประกอบกับเป็นช่วงที่มีโอกาสการเกิด พายุหมุนเขตรอ้ นเคลอ่ื นเข้ามาในประเทศไทยและใกลก้ รงุ เทพมหานคร - ปริมาณฝนสะสมคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2524-2553) เฉล่ียท้ังปีวัดท่ีกรมอุตุนิยมวิทยา มคี ่าประมาณ 1,648.4 มิลลเิ มตร - คา่ ปริมาณฝนท่ใี ชใ้ นการคำนวณระบบระบายน้ำ ตามแผนหลักระบายนำ้ คือ พน้ื ทที่ ่วั ไป ใชค้ ่าการเกิดซ้ำของฝนในคาบอุบตั ิ 2 ปี พ้ืนทที่ างระบายนำ้ หลกั ใชค้ า่ การเกิดซ้ำของฝนในคาบอบุ ตั ิ 5 ปี ตารางแสดงปรมิ าณฝนสะสม (Rainfall Depth มม.) และความเข้มฝนของฝน (Rainfall Intensity มม./ชม.) สำหรับช่วงเวลาและค่าการเกิดซ้ำของฝนลักษณะต่างๆ (Return Period of Design Storm) ของกรุงเทพมหานคร คา่ การ ช่วงเวลาท่ฝี นตก เกิดซำ้ (ป)ี 5 นาที 10 นาที 15 นาที 30 นาที 1 ชม. 2 ชม. 3 ชม. 6 ชม. 12 ชม. 24 ชม. 2 11.3 20.2 25.0 42.5 58.7 72.4 78.2 85.8 90.0 93.6 (135.5) (121.1) (99.8) (84.9) (58.7) (36.2) (26.1) (14.3) (7.5) (3.9) 122.4 5 14.1 24.3 31.7 54.3 76.0 95.0 103.6 114.0 120.0 (5.1) (168.9) (152.0) (126.7) (108.6) (76.0) (47.5) (34.5) (19.0) (10.0) 134.4 (5.6) 7 14.9 26.9 33.7 58.0 81.5 102.2 111.4 123.0 129.6 144.0 (178.3) (161.4) (134.9) (115.9) (81.5) (51.5) (37.1) (20.5) (10.8) (6.0) 163.2 10 15.7 28.4 35.7 61.5 86.8 109.2 119.3 132.0 139.2 (6.8) (188.3) (170.2) (142.7) (122.9) (86.8) (54.6) (39.8) (22.0) (11.6) 20 17.1 31.0 39.2 67.9 96.5 122.4 134.1 149.4 157.2 (204.9) (185.9) (156.9) (135.7) (96.5) (61.2) (44.7) (24.9) (13.1) หมายเหตุ ในวงเล็บ ( ) หมายถงึ คา่ ความเข้มฝน (Rainfall Intensities) มลิ ลิเมตรตอ่ ชวั่ โมง 2
3 2.1.2 นำ้ ทงุ่ - น้ำฝนหรือน้ำเพื่อการกสิกรรมที่มีในพื้นที่ใกล้เคียง ได้แก่ ด้านเหนือและด้านตะวันออก ของกรุงเทพมหานคร ไหลเขา้ ในพน้ื ทป่ี อ้ งกันน้ำทว่ มตามความลาดเอยี งของระดับพ้ืนดิน - ความรนุ แรงขน้ึ อยู่กับปริมาณและระดับน้ำจากภายนอกพนื้ ท่ปี ้องกันและความลาดเอียง ของระดับพื้นดินอันเกดิ จากปัญหาแผ่นดนิ ทรุด เช่น ในพื้นที่ด้านตะวันออกที่เกิดปัญหา น้ำทว่ มหนกั ในปี พ.ศ. 2525 2526 2538 2549 และ 2554 2.1.3 น้ำเหนอื - น้ำฝนที่ตกในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา กระจายอยู่ตามทุ่งเพาะปลูกและพื้นที่ต่าง ๆ กว่า 160,000 ตารางกิโลเมตร บางสว่ นถูกเก็บกักโดยเขื่อนตา่ งๆ ส่วนท่เี หลือประมาณร้อยละ 70 จะไหลผ่านกรุงเทพมหานคร ซึ่งจะส่งผลให้แม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงผ่าน กรงุ เทพมหานคร มีระดับน้ำสงู สดุ ช่วงเดือนตุลาคมถงึ เดือนพฤศจิกายน - ปริมาณน้ำเหนือจากล่มุ แม่นำ้ เจ้าพระยาไหลผา่ นกรงุ เทพมหานคร ในปีน้ำเหนือน้อย ประมาณ 1,000 – 2,000 ลบ.ม./วนิ าที ในปีนำ้ เหนอื มากประมาณ 4,000 – 5,500 ลบ.ม./วินาที - ขนาดของแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณกรุงเทพมหานคร สามารถรองรับปริมาณน้ำเหนือได้ ประมาณ 2,500 – 3,000 ลบ.ม./วินาที โดยไม่มนี ้ำลน้ ตลิ่งโดยทว่ั ไป 2.1.4 น้ำทะเลหนนุ - เมื่อระดับน้ำทะเลเคลื่อนไหวขึ้นและลง โดยธรรมชาติจะส่งผลกระทบให้ระดับน้ำใน แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณกรุงเทพมหานคร มีการขึ้น-ลงคล้อยตามกัน โดยมีช่วงน้ำทะเล หนนุ สงู สุดในเดอื นตลุ าคมถงึ เดอื นธันวาคม 2.1.5 ระดับนำ้ ในแม่น้ำเจ้าพระยา - จากสาเหตุน้ำเหนือมีปริมาณมากและน้ำทะเลหนุนสูงมีช่วงเวลาสัมพันธ์กัน ในเดือน ตุลาคมและพฤศจิกายนเป็นเหตุให้ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาสูงกว่าปกติมาก ตารางค่าระดับน้ำสูงสดุ ท่ีปากคลองตลาด ใกล้สะพานพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พ.ศ. 2526 2538 2539 2545 2549 2551 2553 2554 2560 2564 ระดบั น้ำสูงสุด 2.13 2.27 2.14 2.12 2.22 2.17 2.10 2.53 2.10 2.32 (ม.รทก.) - มีการเสริมความสูงคันป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อยและ คลองมหาสวสั ด์ิหลังจากน้ำทว่ มในปพี .ศ. 2554 เพ่ิมขนึ้ อกี ประมาณ 20 – 50 เซนตเิ มตร ระดับน้ำสงู สุด ความสงู ความสูงคันกนั้ นำ้ แม่น้ำเจา้ พระยา พ.ศ. 2554 คนั กัน้ น้ำเดมิ หลงั ปี 2554 (ม.รทก.) (ม.รทก.) (ม.รทก.) บรเิ วณตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร (ทคี่ ลองบางเขนและคลองบางซื่อ) +2.83 +3.00 +3.50 บรเิ วณตอนกลางของกรุงเทพมหานคร (ท่สี ะพานพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก) +2.53 +2.80 +3.00 บริเวณตอนใตข้ องกรงุ เทพมหานคร (ทีค่ ลองพระโขนงและคลองบางนา) +2.19 +2.50 +2.80 3
4 2.1.6 สภาวะการเปลีย่ นแปลงตามปรากฏการณ์ธรรมชาติ - ลานญี า (La Nina) ทำให้ปรมิ าณฝนสูงกวา่ ปกติ ในช่วงเวลาท่ีปรากฏการณน์ ส้ี ่งผลกระทบ ตอ่ ประเทศไทย - เอลนีโญ (EI Nino) ทำให้มีปริมาณฝนในภาพรวมต่ำกว่าปกติ แต่อาจมีฝนตกหนักใน บางพื้นท่ี ซ่งึ มผี ลกระทบตอ่ พ้ืนทช่ี มุ ชนเมอื ง เช่น กรงุ เทพมหานคร - ปรากฏการณ์ระดับน้ำในทะเลยกตัวสูงขึ้น ทำให้เกิดน้ำหนุนสูงขึ้นกว่าที่คาดการณ์ไว้ สง่ ผลให้ระดับนำ้ ในแม่น้ำเจ้าพระยาสูงขึน้ ผิดปกติ 2.2 สาเหตจุ ากสภาพทางกายภาพ 2.2.1 ปญั หาผงั เมอื ง กรุงเทพมหานคร ในอดีตเต็มไปด้วยคลอง คู บึง ห้วย ที่ว่างรับน้ำเป็นจำนวนมาก เมื่อ ฝนตกลงมาสามารถระบายน้ำจากถนนและบริเวณที่อยู่อาศัยออกไปที่ลุ่มข้างเคียงได้ง่าย ปัจจุบันความเจริญ ของชมุ ชนเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว โดยขาดการกำหนดผงั เมอื งและการควบคุมการใชท้ ีด่ ินอย่างเพียงพอเปน็ เหตุให้ - ท่ีว่างรบั นำ้ ตา่ ง ๆ ถูกถมความสามารถซับน้ำฝนและผิวดินเกอื บหมดไปเมือ่ ผิวดินสว่ นใหญ่ ถูกแทนทด่ี ้วยอาคารและพื้นที่คอนกรีต - ทางระบายน้ำถูกถมเปน็ เหตใุ หน้ ำ้ ฝนจากอาคารบ้านเรือนระบายออกสู่คลองไมท่ ัน - ระดับพื้นถนนและซอยไมเ่ ท่ากัน หรือบางช่วงเป็นแอ่งท้องกระทะเนือ่ งจากแผน่ ดินทรุด ทำให้น้ำฝนไหลลงมาท่วมถนน และซอยที่ต่ำกว่าเป็นสาเหตุให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและ รนุ แรงในถนน หรือพ้นื ที่หลายแห่งยากตอ่ การแกไ้ ขปัญหานำ้ ท่วม 2.2.2 ปญั หาระบบระบายนำ้ - จากปัญหาผังเมือง ตามมาด้วยมีปัญหาขาดแผนหลักระบายน้ำที่ถูกต้อง คู คลอง ถูกถม เป็นถนน และสร้างท่อระบายน้ำขนาดไม่เพียงพอ ประกอบกับการขยายตัวของชุมชน ใ น ป ั จ จ ุ บ ั น ท ่อ ร ะ บ า ยน ้ ำส ่ว นใ ห ญ ่จ ึง ม ี ข นา ด เ ล ็ ก ก ว ่ า ค ว า ม ต้ อ ง ก า รข อ ง แ ผ นหลั ก นอกจากนั้น คู คลองถูกรุกล้ำจนแคบไม่สามารถขุดลอกได้ลึกเพียงพอ นอกจากจะต้อง สร้างเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็กริมคลองก่อนเท่านั้น อนึ่ง เพื่อช่วยให้ระบบระบายน้ำ ธรรมชาติดีขึ้นแผนหลักได้กำหนด ให้มีการสร้างสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ และจัดหา ทว่ี ่างรับนำ้ ขนาดใหญเ่ พิม่ เตมิ อีกเป็นจำนวนมาก - ปัญหาระบบระบายน้ำที่ต้องปรับปรุงก่อสร้างนั้น จะต้องใช้งบประมาณมหาศาลและ กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาการจราจรติดขดั ดว้ ย 2.2.3 ปญั หาแผน่ ดินทรุด - ปัญหาแผ่นดินทรดุ เปน็ ปญั หาทน่ี า่ วติ กท่ีสดุ เนื่องจากเปน็ สาเหตุท่ที ำให้ระบบป้องกนั น้ำท่วม และระบายน้ำท่ลี งทุนไปแล้วและจะลงทนุ อีกในอนาคตประสบความล้มเหลวหรอื ลด ประสทิ ธภิ าพได้ ตราบทย่ี ังไม่มีมาตรการหยดุ ยง้ั หรอื ชะลออัตราการทรดุ ตวั ได้อยา่ งเพยี งพอ 4
5 แนวปอ้ งกันนำ้ ทว่ มริมแม่นำ้ เจ้าพระยา คลองบางกอกนอ้ ย คลองมหาสวัสด์ิ คลองชกั พระ และคลองพระโขนง 1. แม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสด์ิ คลองชักพระและคลองพระโขนง พ้ืนท่ี กรุงเทพมหานคร มีความยาวริมตลิ่งประมาณ 87.93 กิโลเมตร เป็นแนวป้องกันตนเองยาวประมาณ 8.30 กิโลเมตร และเปน็ แนวป้องกนั นำ้ ท่วมของกรงุ เทพมหานคร ซึ่งก่อสร้างโดยสำนักการระบายนำ้ ความยาวประมาณ 79.63 กโิ ลเมตร 1.1 สรุปรายละเอียดความยาวแนวป้องกนั นำ้ ทว่ มของกรุงเทพมหานคร ไดด้ งั น้ี 1.1.1 แนวปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มริมแมน่ ้ำเจ้าพระยา ความยาวรวม 52.70 กิโลเมตร 1.1.1.1 รมิ แมน่ ้ำเจา้ พระยาฝั่งพระนคร ต้งั แต่คลองบางเขนเกา่ ถงึ คลองบางนา ความยาว 34.70 กโิ ลเมตร 1.1.1.2 ริมแมน่ ้ำเจ้าพระยาฝ่ังธนบุรี ต้งั แต่สะพานพระราม 7 ถึงคลองแจงรอ้ น ความยาว 18.00 กิโลเมตร 1.1.2 แนวปอ้ งกนั น้ำทว่ มริมคลองบางกอกน้อย ตั้งแตป่ ากคลองบางกอกน้อยถึงคลองมหาสวสั ด์ิ ความยาวประมาณ 8.57 กิโลเมตร 1.1.3 แนวป้องกนั น้ำท่วมรมิ คลองมหาสวสั ดิ์ ตัง้ แตป่ ากคลองมหาสวสั ดิ์ ถึงประตรู ะบายนำ้ คลองทวีวัฒนา ความยาวประมาณ 15.49 กิโลเมตร 1.1.4 แนวป้องกนั น้ำทว่ มรมิ คลองชกั พระ ต้ังแต่คลองบางกอกน้อย ถึงประตูระบายน้ำ คลองชักพระ ความยาวประมาณ 0.67 กิโลเมตร 1.1.5 แนวป้องกันน้ำทว่ มรมิ คลองพระโขนง ต้งั แตแ่ ม่น้ำเจ้าพระยา ถึงประตูระบายน้ำคลองพระโขนง ความยาวประมาณ 2.20 กโิ ลเมตร 1.2 ระดบั ความสูงคันกนั้ นำ้ แนวปอ้ งกันน้ำทว่ มของกรงุ เทพมหานคร ดงั นี้ 1.2.1 ริมแม่นำ้ เจ้าพระยา ช่วงสะพานพระราม 7 ถงึ สะพานกรงุ ธนบรุ ี ความสงู +3.50 ม.(รทก.) 1.2.2 รมิ แมน่ ำ้ เจา้ พระยา ชว่ งสะพานกรุงธนบรุ ี ถึงสะพานสมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ ความสงู +3.25 ม.(รทก.) 1.2.3 ริมแมน่ ำ้ เจ้าพระยา ช่วงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า ถึงสะพานพุทธฯ ความสงู +3.00 ม.(รทก.) 1.2.4 รมิ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา ช่วงสะพานพทุ ธฯ ถึงบางนา ความสงู +2.80 ม.(รทก.) 1.2.5 รมิ คลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสด์ิ ความสงู +3.00 ม.(รทก.) 2. แนวป้องกันตนเองของเอกชนหรือหน่วยงานอ่ืน ความยาวประมาณ 8.30 กโิ ลเมตร ประกอบดว้ ย 2.1 แนวป้องกันตนเองท่ีสามารถป้องกันน้ำท่วมได้ ความยาวประมาณ 5.788 กิโลเมตร เช่น เข่ือน ป้องกันน้ำท่วมของกรมชลประทาน เขื่อนป้องกันน้ำท่วมของกองทัพเรือ เข่ือนป้องกันน้ำท่วมของธนาคาร แหง่ ประเทศไทย เข่ือนปอ้ งกนั น้ำท่วมของศาสนสถานหรือศาลเจ้าและเขื่อนป้องกันน้ำท่วมของเอกชนทีด่ ำเนินการ ก่อสรา้ งเอง เปน็ ต้น ซ่งึ แนวปอ้ งกันนำ้ ทว่ มดงั กล่าวมีความมน่ั คงแขง็ แรงสามารถป้องกนั น้ำทว่ มได้ 2.2 แนวป้องกันตนเองท่ีไม่สามารถป้องกันน้ำท่วมได้ (แนวฟันหลอ) ความยาวประมาณ 2.512 กิโลเมตร เช่น ท่าเทียบเรือขนส่งสินค้า อู่จอดเรือ ร้านค้าริมน้ำ อาคารโกดังสินค้า เป็นต้น โดยปัจจุบันมีทั้งสิ้น จำนวน 14 แห่ง ในพ้ืนท่ี 9 เขต ซ่ึงสำนักการระบายน้ำจะเข้าดำเนินการเรียงกระสอบทรายเพื่อป้องกันน้ำท่วม ในช่วงฤดูน้ำหลากและน้ำทะเลหนุนสูงเป็นประจำทุกปี โดยในปี 2564 สำนักการระบายน้ำ ได้ดำเนินการ เรยี งกระสอบทรายเพื่อป้องกันนำ้ ท่วมแล้วเสรจ็ ความยาวประมาณ 2.90 กิโลเมตร 5
6 อย่างไรก็ตาม ในปี 2565 ได้วางเป้าหมายการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเนื่องจากน้ำฝนน้ำหนุน และ น้ำเหนอื โดยการใช้ส่งิ ก่อสร้างถาวรที่เปน็ มาตรการก่อสรา้ งต่าง ๆ คอื กอ่ สร้างสถานีสบู น้ำ ก่อสรา้ งระบบป้องกัน นำ้ ท่วม ก่อสร้างประตูระบายน้ำ ก่อสร้างระบบระบายน้ำ กอ่ สรา้ งระบบผันน้ำ ก่อสร้างอุโมงค์ระบายนำ้ กอ่ สร้าง ท่อขนส่งน้ำและขยายท่อระบายน้ำในถนนสายหลักให้มีขนาดใหญ่ขึ้นโดยก่อสร้างด้วยวิธี Pipe Jacking จัดหา พื้นที่แก้มลิงเพิ่มเติม ก่อสร้างธนาคารน้ำใต้ดิน (Water Bank) ก่อสร้างและปรับปรุงแนวป้องกันน้ำท่วมริม แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางกอกน้อย ก่อสร้างเขื่อนริมคลองคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) ก่อสร้างและ ปรบั ปรงุ คนั กั้นน้ำทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร และคันกัน้ น้ำตามแนวพระราชดำริ อีกท้ังได้ดำเนินการ ขดุ ลอก คู คลอง ปรับปรงุ ทอ่ ระบายนำ้ และอุปกรณต์ ่าง ๆ ใหอ้ ยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ านไดส้ ูงสุด 5. ส่วนราชการทร่ี ับผิดชอบการปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานรับผิดชอบการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นท่ี กรุงเทพมหานคร ตลอดจนดูแลบำรุงรักษาทางระบายน้ำต่าง ๆ โดยมีอำนาจหน้าที่ตามปรากฏใน พระราชบญั ญตั ิ ขอ้ บญั ญัติตา่ ง ๆ และมีผูบ้ รหิ ารกรงุ เทพมหานครเป็นผู้อำนวยการควบคุมและสง่ั การ 1. หน่วยงานรับผิดชอบการปฏิบัติการ ประกอบด้วยสำนักการระบายน้ำ และสำนักงานเขตต่าง ๆ จำนวน 50 เขต 2. หน่วยงานสนับสนุนการปฏิบัติการ ได้แก่ สำนักและสำนักงานเขตต่าง ๆ ที่จะสนับสนุน การปฏิบัติการจดั ซ่อมบำรงุ เครื่องจักรกล เครอ่ื งสบู น้ำ การจัดสรรงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง ทำความสะอาดถนนและอืน่ ๆ 5.1 สำนักการระบายนำ้ และศูนย์ปฏิบัตกิ ารปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาน้ำท่วมกรงุ เทพมหานคร แผนปฏบิ ัตกิ ารนจ้ี ัดทำข้ึนสำหรับความรบั ผิดชอบของสำนกั การระบายน้ำ กรงุ เทพมหานคร ซ่ึงเป็น หนว่ ยงานรบั ผิดชอบการควบคุม อำนวยการ ปฏบิ ตั กิ าร ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหานำ้ ท่วมในถนนตา่ ง ๆ อันเป็น ระบบระบายนำ้ หลัก 5.1.1 สำนักการระบายนำ้ สำนกั การระบายน้ำ ประกอบด้วยหน่วยงานระดับสำนกั งานและระดับกอง คือ 5.1.1.1 สำนักงานระบบควบคมุ น้ำ เปน็ หนว่ ยงานหลักในการปฏบิ ัตกิ าร 5.1.1.2 กองระบบท่อระบายน้ำ เป็นหนว่ ยงานหลักในการปฏบิ ตั ิการ 5.1.1.3 กองระบบคลอง เป็นหนว่ ยงานหลกั ในการปฏบิ ัตกิ าร 5.1.1.4 กองเคร่อื งจกั รกล เป็นหน่วยงานหลกั ในการปฏิบัติการ 5.1.1.5 สำนกั งานจัดการคณุ ภาพน้ำ เป็นหน่วยงานสนบั สนนุ ในการปฏิบัติการ 5.1.1.6 สำนกั งานพฒั นาระบบระบายนำ้ เป็นหน่วยงานสนบั สนนุ ในการปฏิบตั กิ าร 5.1.1.7 กองสารสนเทศระบายนำ้ เปน็ หน่วยงานสนบั สนนุ ในการปฏิบตั ิการ 5.1.1.8 สำนักงานเลขานุการ เป็นหน่วยงานสนบั สนุนในการปฏิบตั กิ าร โดยมีอัตรากำลังประกอบด้วยข้าราชการ จำนวน 619 อัตรา ลูกจ้างประจำ จำนวน 2,442 อัตรา ลูกจา้ งช่วั คราวและลกู จ้างช่ัวคราวเฉพาะกิจ จำนวน 2,034 อัตรา (ขอ้ มูล ณ พฤศจกิ ายน 2564) 6
7 5.1.2 ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารป้องกันและแก้ไขปญั หานำ้ ท่วมกรงุ เทพมหานคร นอกจากการเตรียมการและปฏิบัติการป้องกันน้ำท่วม โดยกองที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ได้กำหนดให้จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร” ขึ้นใน สำนักการระบายนำ้ โดยมีวตั ถปุ ระสงคด์ งั น้ี 5.1.2.1 เพ่ือใหแ้ นวทางปฏิบัตกิ ารเหตกุ ารณป์ กตแิ ละฉุกเฉิน สำหรบั เจา้ หน้าท่ีเป็นไปใน แนวทางเดยี วกนั 5.1.2.2 เพ่ือให้เกดิ การประสานงานและแก้ไขปญั หาอย่างรวดเร็วและไมเ่ กดิ ความสบั สน 5.1.2.3 เพ่ือการติดตามสถานการณแ์ ละประเมนิ ผลปฏิบัตกิ ารทีช่ ัดเจน 5.1.2.4 เพ่ือให้เจา้ หน้าที่ท้งั หมดมีสว่ นรว่ ม เพอ่ื ช่วยการปฏิบัติงานและยังเปน็ การเพิ่ม ทกั ษะการปฏิบัตงิ านในหน้าท่ปี กตติ ่อไปอกี ด้วย 5.1.2.5 เพื่อใหก้ ารบรหิ ารทรัพยากรทง้ั หมดของสำนกั การระบายนำ้ เป็นไปอยา่ ง สอดคล้องในการปฏบิ ตั ิการ 5.1.2.6 เป็นการเกบ็ และบรหิ ารขอ้ มูลท่ีละเอยี ดถูกตอ้ งสำหรับการพฒั นา 5.1.2.7 รบั -ตอบ ปญั หาสถานการณใ์ นสภาวการณน์ ้ำทว่ มเพ่อื คลค่ี ลายปญั หาให้กบั ประชาชน 5.1.3 การจัดแบ่งหน่วยงานและการบรหิ ารงานของศูนย์ปฏบิ ตั ิการป้องกนั และแก้ไขปัญหาน้ำท่วม กรุงเทพมหานคร 5.1.3.1 ผ้บู ริหารศูนยป์ ฏบิ ตั ิการฯ และเจ้าหน้าท่ี ผ้อู ำนวยการสำนักการระบายนำ้ เปน็ ผ้อู ำนวยการศนู ยป์ ฏิบัติการฯ รองผู้อำนวยการสำนกั เป็นเจา้ หน้าทศ่ี ูนย์ปฏิบัตกิ ารฯ ผู้อำนวยการสำนักงาน เปน็ เจา้ หน้าท่ศี นู ย์ปฏิบัตกิ ารฯ ผูอ้ ำนวยการกอง เป็นเจ้าหน้าทีศ่ ูนย์ปฏิบัติการฯ เลขานุการสำนัก เป็นเจา้ หนา้ ท่ีศูนย์ปฏิบัตกิ ารฯ 5.1.3.2 ฝ่ายปฏิบตั กิ าร มีหน้าที่รับผิดชอบการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ดำเนินการแก้ไขปัญหาตามที่ได้รับคำร้องเรียนและ ตามทศี่ ูนย์ปฏบิ ัติการฯ ส่งั การ เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ เพ่อื แกไ้ ขปัญหาน้ำท่วมเฉพาะหน้า และรายงานผลการปฏิบัติการให้ฝ่ายเลขานุการ ตลอดจนประเมินผล และรายงาน การป้องกันน้ำท่วมของแต่ละวันในเขตพื้นที่รับผิดชอบให้ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการฯ ทราบ โดยมีเจา้ หนา้ ท่ีปฏิบัติการประกอบด้วยเจ้าหนา้ ท่ีของสำนักงานระบบควบคุมน้ำ กองระบบท่อระบายน้ำ กองระบบคลอง และกองเครื่องจักรกล ทั้งนี้ให้หัวหน้าฝ่าย และรองหัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการสั่งการเจ้าหน้าที่หน่ึงสำนักงาน สามกอง ให้ปฏิบัติการ ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาน้ำทว่ มได้โดยตรง 5.1.3.3 ฝา่ ยติดตามผล มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้ เป็นไปตามเป้าหมาย ตรวจสอบการก่อสร้างตามงบประมาณและโครงการต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการระบายน้ำ กวดขันการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจำ เครื่องสูบนำ้ เจ้าหน้าที่ทำความสะอาดท่อระบายน้ำ และขุดลอกคลอง และรายงาน สถานการณ์ป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในช่วงมีภาวะฝนตกหนักหรือมีปัญหา น้ำท่วมให้ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการฯ ทราบ โดยมีเจ้าหน้าที่สำนักงานจัดการ คณุ ภาพน้ำและสำนกั งานพฒั นาระบบระบายนำ้ เป็นผูป้ ฏิบตั ิงาน 7
8 5.1.3.4 ฝ่ายเลขานกุ าร มีหน้าที่จัดเตรียมสิ่งของและอุปกรณ์อื่นใดตามความจำเป็นสำหรับศูนย์ปฏิบัติการ ดำเนินการด้านสารบรรณและธุรการ เตรียมการประชุมศูนย์ฯ ประสานงานกับ หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม รับแจ้งเรื่องร้องทุกข์เกี่ยวกับปัญหาน้ำท่วมทางโทรศัพท์ เพื่อแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนนิ การแก้ไข ควบคมุ การทำงานของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ในการบริหารข้อมูลและ แสดงตัวเลขข้อมูลทางจอภาพ เพื่อพิจารณาแนวทางในการแก้ไขสถานการณ์ ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องมือเครื่องใช้ของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วม ให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ตลอดเวลาและดำเนินการแก้ไขหากมีข้อผิดพลาดหรือ เกิดการชำรุด รับรายงานสภาพปัญหาต่าง ๆ ทางวิทยุสื่อสารและวิทยุเฉพาะกลุ่ม รายงานสภาพอากาศ ปริมาณฝน ระดับน้ำ ให้ผู้ปฏิบัติงานในสนามทราบสถานการณ์ และให้ข้อมูลข่าวสารแก่สื่อมวลชน โดยมีเจ้าหน้าที่ของกองสารสนเทศระบายน้ำ และสำนกั งานเลขานุการสำนกั การระบายน้ำเป็นผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน 5.2 หน่วยงานหรือองค์การสนบั สนุนการปฏิบัติการ 5.2.1 หน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร 5.2.1.1 สำนักงานเขตต่าง ๆ นอกจากสำนักงานเขตต่าง ๆ จะรับผิดชอบการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา น้ำท่วมในพื้นที่รับผิดชอบแล้ว ยังให้การสนับสนุนการปฏิบัติการของสำนัก การระบายนำ้ โดย - ทำความสะอาดถนนต่าง ๆ ใหม้ ขี ยะน้อยที่สุด - ในขณะฝนตก ทำการเก็บขยะท่ีลอยตามน้ำมาติดตะแกรงช่องรบั นำ้ ฝนข้างถนน ให้สะอาดไมก่ ีดขวางทางน้ำท่รี ะบายลงสู่ท่อระบายนำ้ - สนับสนุนแก้ไขปัญหาเมื่อมีเหตุการณ์ปัญหาประชาชนขัดขวางการปฏิบัติงาน ของเจา้ หนา้ ท่ี หรือรกุ ลำ้ กดี ขวางทางระบายน้ำ - เร่งรัดงานก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบระบายน้ำให้แล้วเสร็จภายใน เดือนเมษายน และ/หรือ เดอื นกรกฎาคม 5.2.1.2 สำนักการโยธา - เร่งรัดงานก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับระบบระบายน้ำให้แล้วเสร็จภายในเดือน เมษายน และ/หรอื เดอื นกรกฎาคม - ใหก้ ารสนบั สนนุ ในการเปิดทางระบายน้ำ - ใหก้ ารสนับสนุนการกอ่ สร้างคนั กน้ั นำ้ ดว้ ยแอสฟัลต์ผสมร้อนและหนิ คลุก - ซ่อมแซมถนนและซอยท่ีชำรุด และเสยี หายจากนำ้ ทว่ ม 8
9 5.2.1.3 สำนกั การคลัง - เร่งรัดการพิจารณาขอรับอนุมัติใช้เงินยืมสะสม สำหรับงานปรับปรุงระบบ ระบายน้ำ - จัดซื้อและจัดหาอุปกรณ์และวสั ดบุ างรายการใหห้ นว่ ยปฏิบัติการ 5.2.1.4 กองโรงงานช่างกล สำนกั การคลงั - เร่งการจัดซ่อมอุปกรณ์เครื่องจักรกล และเครื่องสูบน้ำต่าง ๆ ที่ส่งเข้าซ่อมใน โรงงาน - จดั หน่วยซอ่ มเคล่ือนทสี่ นับสนนุ การซ่อมบำรุงเครือ่ งมอื ตา่ ง ๆ ณ จดุ ตดิ ตัง้ ในสนาม - สนบั สนนุ งานอื่น ๆ ตามทส่ี ำนักการระบายน้ำหรอื สำนกั งานเขตร้องขอ 5.2.1.5 กองงานผตู้ รวจราชการกรงุ เทพมหานคร - ตรวจสอบการเตรียมการและปฏิบัติการของสำนักการระบายน้ำ เพื่อให้งานมี ประสทิ ธภิ าพเพ่ิมขนึ้ 5.2.1.6 สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร - เรง่ รัดการพิจารณาขอรับอนุมัตงิ บประมาณต่าง ๆ สำหรับงบปรบั ปรงุ ระบบ ระบายนำ้ การป้องกนั และแก้ไขปญั หาน้ำท่วม 5.2.1.7 สำนักปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย - สนับสนุนกำลังเจ้าหน้าที่และวัสดุอุปกรณ์ในการช่วยเหลือประชาชน ในจดุ ท่มี นี ำ้ ท่วม 5.2.1.8 สำนกั เทศกจิ - สนับสนนุ กำลังเจ้าหนา้ ทบี่ รกิ ารชว่ ยเหลือประชาชน และสนับสนุนจัดการ อำนวยความสะดวกดา้ นการจราจร 5.2.1.9 สำนกั อนามยั - สนับสนุนเวชภณั ฑ์บรกิ ารประชาชน ในจุดทีม่ นี ้ำทว่ ม 5.2.1.10 สำนกั การจราจรและขนสง่ - สนบั สนุนการตรวจสอบสภาพน้ำทว่ มดว้ ยภาพกลอ้ ง CCTV 5.2.1.11 สำนกั สิง่ แวดลอ้ ม - สนบั สนุนการจดั เกบ็ ขยะวชั พชื ในแมน่ ้ำเจา้ พระยา 5.2.1.12 สำนกั งานประชาสมั พนั ธ์และสถานีวทิ ยุกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรงุ เทพมหานคร - ทำการประชาสมั พันธ์กจิ กรรมเตรียมการและปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั น้ำทว่ ม - ปรบั ปรงุ ระบบขอ้ มูลใหถ้ ูกตอ้ งอยู่เสมอ พรอ้ มที่จะชีแ้ จงใหแ้ กส่ ือ่ มวลชน - ประชาสัมพนั ธ์และแจ้งประชาชนทราบถึงสภาพอากาศ สภาวะนำ้ สภาพน้ำฝน ใหป้ ระชาชนทราบอย่างทันเวลาและเหตกุ ารณ์ 9
10 5.2.2 ส่วนราชการภายนอกกรุงเทพมหานคร 5.2.2.1 กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา - พยากรณส์ ภาพอากาศประจำวัน - ติดตามสภาวะฝนตั้งแต่อยู่รอบนอกพื้นที่กรุงเทพมหานคร จนกระทั่งฝนตก ถงึ หยุดตก - รายงานความรุนแรงและปรมิ าณฝนขณะฝนกำลังตก 5.2.2.2 กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ - ทำนายระดับน้ำในแมน่ ำ้ เจ้าพระยาจากอทิ ธิพลของน้ำทะเลหนนุ 5.2.2.3 การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย - แจ้งข้อมูลปริมาณและระดับนำ้ ในเขือ่ นต่าง ๆ - สนับสนนุ การทำนายสภาพน้ำของกรมชลประทาน 5.2.2.4 กรมชลประทาน - ควบคุมการจัดสรรน้ำในลมุ่ แม่นำ้ เจ้าพระยา ทงุ่ ฝั่งตะวนั ออกและทุ่งฝ่งั ตะวันตก - แจ้งข้อมูลปริมาณและระดบั นำ้ ในแมน่ ้ำเจา้ พระยา 5.2.2.5 การไฟฟา้ นครหลวง - ให้ความร่วมมือในการติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้า สำหรับเครื่องสูบน้ำกรณีฉุกเฉิน เร่งด่วน ตลอดทั้งแก้ไขปัญหาเมื่อไฟฟ้าดับ ด้วยระบบจ่ายกระแสไฟฟ้า อัตโนมัติ ควบคุมดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 5.2.2.6 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - สนบั สนุนการควบคุมสถานการณ์มิให้ประชาชนขดั ขวางการปฏบิ ตั ิการ - แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดเน่อื งจากนำ้ ฝน 5.2.2.7 สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) - ประสานแลกเปลย่ี นข้อมลู นำ้ นอกพ้ืนทกี่ รงุ เทพมหานคร 5.2.2.8 สำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ - กำกับนโยบายการบริหารจัดการน้ำ บูรณาการข้อมูลสารสนเทศ ติดตามและ ประเมินผลการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ 5.2.2.9 กรมทางหลวง - สนับสนุนการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หานำ้ ทว่ มในสว่ นพ้ืนทีร่ ับผิดชอบของ กรมทางหลวงและพ้ืนท่ีตอ่ เน่อื ง 5.2.2.10 กรมทางหลวงชนบท - สนับสนุนการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หานำ้ ทว่ มในส่วนพืน้ ทร่ี บั ผิดชอบของ กรมทางหลวงชนบท และพื้นท่ตี อ่ เนอื่ ง 5.2.2.11 กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย - สนับสนนุ การแก้ไขปญั หานำ้ ทว่ ม และชว่ ยเหลือประชาชนในพ้ืนที่น้ำทว่ ม 5.2.2.12 จงั หวดั ปริมณฑล - ประสานการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หานำ้ ท่วม พน้ื ท่ีรอยตอ่ จงั หวัด 10
11 5.2.3 การประสานความร่วมมือกับประชาชนและองค์กรชุมชน - ให้ความรว่ มมือกบั สำนกั งานเขตและชุมชนในพืน้ ที่ เพื่อรณรงค์ดูแลรักษาคู คลอง เพ่ือเปิดทางน้ำไหล กำจดั ขยะและพชื น้ำ เพ่ือไม่ใหเ้ ป็นอุปสรรคในการระบายน้ำ - ดำเนนิ การรณรงคร์ ว่ มกบั องค์กรเอกชนและชุมชน เพ่ือเปิดทางน้ำไหลและดูแล รกั ษาคู คลอง 5.3 หน่วยงานตรวจสอบและประเมินผล 5.3.1 สำนักการระบายนำ้ การตรวจสอบและประเมนิ ผลกระทำโดยหนว่ ยงานหลายระดับและหลายหน่วยงาน คอื 5.3.1.1 การตรวจสอบระดับกอง เป็นการตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ระดับหัวหน้ากลุ่มงาน ผูอ้ ำนวยการกอง ผูป้ ฏบิ ตั กิ ารในโครงการ/แผนงานของกองน้นั ๆ 5.3.1.2 การตรวจสอบระดับสำนัก เป็นการตรวจสอบโดยอาศัยฝ่ายติดตามผลของ ศูนยป์ ฏิบตั ิการป้องกนั นำ้ ท่วมและระดับผ้บู รหิ ารของสำนกั 5.3.2 สำนกั งานเขต เป็นการตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตที่รับผิดชอบพื้นท่ีต่าง ๆ และแจ้ง ศูนย์ปฏบิ ัติการของสำนกั การระบายนำ้ 5.3.3 กองงานผูต้ รวจราชการกรุงเทพมหานคร เปน็ การตรวจสอบดำเนินการตามแผนปฏิบตั ิการป้องกนั และแก้ไขปัญหาน้ำทว่ ม รายงานผล ต่อผบู้ รหิ ารกรุงเทพมหานคร และแจง้ สำนกั การระบายน้ำ 5.3.4 ผู้บรหิ ารกรุงเทพมหานคร เป็นการตรวจสอบ ติดตาม ประเมนิ ผลขน้ั สดุ ทา้ ย 6. มาตรการ แผน และแนวทางดำเนินการในการป้องกันนำ้ ท่วม 6.1 มาตรการหลกั ในการปอ้ งกนั นำ้ ทว่ ม อาจแบง่ ได้เปน็ 2 มาตรการ คอื 6.1.1 มาตรการใช้การก่อสรา้ ง (Structural Measures) สว่ นใหญใ่ ช้ในพืน้ ที่ชุมชนหนาแนน่ สำหรับกรงุ เทพมหานคร ซึง่ มีระดบั พ้ืนดนิ บางแหง่ ต่ำกว่าระดับนำ้ ภายนอก ใช้ระบบปอ้ งกนั น้ำทว่ มและระบายน้ำแบบระบบพน้ื ท่บี ริหารจดั การนำ้ ท่วม (Polder System) ซ่ึงประกอบด้วย 6.1.1.1 การป้องกนั น้ำภายนอกไหลเขา้ พ้ืนที่บรหิ ารจดั การน้ำท่วม - สว่ นทีเ่ ปน็ พื้นดินใช้คันกนั้ น้ำในรูปของถนน ทางรถไฟ คันดิน เข่ือน ค.ส.ล. แนวป้องกัน นำ้ ท่วมรปู แบบต่าง ๆ - สว่ นทเ่ี ปน็ ทางระบายนำ้ ใช้ประตรู ะบายน้ำ ประตทู อ่ ทำนบปิดกัน้ เปน็ ต้น 6.1.1.2 การระบายน้ำออกจากพืน้ ทบี่ ริหารจัดการน้ำทว่ ม - ระบายออกโดยธรรมชาติ ใช้ประตูระบายน้ำ ประตูท่อ เปน็ ต้น - ระบายออกโดยใช้เคร่ืองสูบน้ำ 6.1.1.3 การระบายนำ้ ในพ้ืนทีบ่ รหิ ารจดั การนำ้ ทว่ ม - ระบบระบายน้ำใชจ้ ากอาคารบา้ นเรือน ถนน ซอย ไปสู่ภายนอก โดยท่อระบายน้ำ คู คลอง - การชะลอนำ้ เพ่ือเก็บกกั น้ำไวร้ ะยะหนึ่ง โดยคลอง สระ บึง ท่ลี มุ่ ตา่ ง ๆ เป็นต้น 11
12 6.1.2 มาตรการไม่ใช้การก่อสร้าง (Non-Structural Measures) ส่วนใหญ่ใช้ในพื้นที่ชุมชน เบาบางและพื้นท่ีกสิกรรม ใช้สำหรบั การปฏบิ ัติการป้องกันน้ำทว่ มท่วั ไป และโดยเฉพาะอย่างยงิ่ กับพ้นื ทช่ี ุมชนเบาบาง และพื้นทีก่ สิกรรม เรยี กวา่ การบรหิ ารพื้นที่น้ำทว่ ม (Flood Plain Management) ประกอบด้วย 6.1.2.1 การควบคุมผงั เมืองและการใช้ท่ีดิน เพ่ือจดั ใหม้ ีท่ีว่างรับนำ้ ชะลอ และเกบ็ กักนำ้ 6.1.2.2 การควบคุมอาคาร ให้อาคารที่อยู่ในพื้นที่น้ำท่วมมีความคงทน ไม่เสียหายจากน้ำทว่ ม 6.1.2.3 การประชาสัมพันธ์รายละเอยี ดนำ้ ทว่ มใหป้ ระชาชนทราบและเรยี นร้สู ถานการณ์ ท่จี ะเกดิ ขนึ้ เพือ่ การปฏิบัติการปอ้ งกันตัวเองเม่ือจำเป็นและใหค้ วามรว่ มมือกับ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ 6.1.2.4 ตั้งระบบพยากรณ์และแจง้ เตอื นภัยนำ้ ทว่ ม เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติการและ เตือนประชาชน 6.1.2.5 ตงั้ หนว่ ยปฏบิ ตั ิการเรง่ ด่วน เพือ่ ปฏบิ ตั ิการป้องกนั และแก้ไขปัญหาน้ำท่วม ตลอดจนช่วยเหลอื ประชาชน 6.1.2.6 ต้ังองค์กรอำนวยการและบริหาร เพื่อใหห้ นว่ ยงานมีขดี ความสามารถในการเตรียม แผนงานในโครงการและปฏิบัตกิ ารอยา่ งถูกตอ้ งและบรหิ ารงานได้อยา่ งเพียงพอ ตอ่ ภารกิจ ขณะน้กี ารศึกษาแผนหลักการป้องกันน้ำทว่ มและระบายน้ำในกรงุ เทพมหานคร ได้ดำเนินการไป เป็นจำนวนมากทั้งพื้นที่ฝั่งตะวันออกและพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา นอกจากนั้นยังมีการ ศึกษา มาตรการอื่น ๆ ทั้งด้านมาตรการป้องกันน้ำท่วม องค์กรและการบริหารการเงินอีกด้วย แผนหลักการป้องกัน นำ้ ทว่ มและระบายนำ้ จะเป็นไปตามมาตรการท่ีกล่าวมา ความต้องการงบประมาณลงทุนสำหรับแผนหลักการป้องกันน้ำท่วม และระบบระบายน้ำของ กรุงเทพมหานครสูงมาก คาดว่าจำเป็นต้องดำเนินการตามความสามารถอันจำกัดของงบประมาณประจำปี ของกรุงเทพมหานคร และรัฐบาลตามลำดับความสำคัญของโครงการ ตามแผนหลักซึ่งในเชิงการวิเคราะห์ โครงการสามารถแสดงได้ว่าจังหวะและระยะเวลาการดำเนินการก่อสร้างและการใช้งานของโครงการต่าง ๆ ไมท่ นั กบั ความเสยี หายจากนำ้ ท่วมทีจ่ ะยังคงมีต่อไปในอนาคต การจัดแผนปฏิบัติการและการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบัน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา น้ำท่วมในแต่ละปจี ึงต้องใหล้ ะเอยี ดและตดิ ตามผลใหม้ ีประสทิ ธภิ าพสูงท่สี ดุ เทา่ ที่จะกระทำได้ 6.2 สำนักการระบายน้ำ มีแผนการดำเนินงานโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม โดยมี แผนระยะยาวทเ่ี ป็นระบบถาวร และแผนระยะสน้ั ที่เป็นระบบชั่วคราว 6.2.1. งานกอ่ สรา้ งระบบป้องกนั นำ้ ทว่ มและระบบระบายนำ้ เพื่อเป็นการพัฒนาระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำให้เป็นระบบถาวร เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานครให้มีมากยิ่งขึ้น โดยมีรายละเอียดการ ดำเนนิ การ ดังนี้ 1. โครงการก่อสร้างและปรับปรุงแนวป้องกนั น้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อย และคลองมหาสวสั ด์ิ 2. โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการระบายนำ้ ในถนนสายหลัก 3. โครงการก่อสร้างอุโมงคร์ ะบายน้ำขนาดใหญ่ 12
13 4. โครงการก่อสร้างและปรับปรุงระบบคลองระบายน้ำ 5. โครงการก่อสร้างและปรบั ปรุงแกม้ ลิง 6. โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพระบบคลอง 7. โครงการแผนท่ีความเส่ียงและดชั นีความเสย่ี งน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 8. โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการเตรยี มความพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงในกรุงเทพมหานคร 6.2.2. งานระบบคลอง ระบบคลอง เป็นทางระบายน้ำหลักสำหรับใช้ลำเลียงและระบายน้ำออกจากพื้นที่ในการ ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหานำ้ ท่วม รวมทั้งเปน็ ที่รองรับนำ้ ฝนเพื่อให้ระบบคลองต่าง ๆ ทำหน้าทรี่ ะบายน้ำได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ สำนักการระบายนำ้ ไดก้ ำหนดแผนการดำเนินการเพ่ือบำรุงรกั ษาคู คลอง ให้สามารถระบายน้ำ ไดส้ ะดวก โดยการกอ่ สร้างเข่อื นรมิ คลอง การขุดลอกคลองและเปิดทางนำ้ ไหลเปน็ ประจำทุกปี รวมท้งั การดูแล บำรุงรักษาพื้นที่เก็บ กักน้ำ (แก้มลิง) ที่พัฒนาก่อสร้างแล้วเสร็จทั้ง 34 แห่ง ให้สามารถเก็บกักน้ำได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพจึงกำหนดแผนปฏิบตั ิการเกย่ี วกับการบำรุงรกั ษาคลองไวด้ งั น้ี ตารางแผนปฏบิ ัตกิ ารเกยี่ วกับการบำรุงรกั ษาคลองประจำปี พ.ศ. 2565 ลำดับ แผนการปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลาดำเนนิ การ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 1 โครงการดแู ล บำรุงรกั ษา คคู ลองและบงึ รบั น้ำ 1.ภารกิจรกั ษาความสะอาดคูคลอง บงึ รับน้ำ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. จำนวน 163 คลอง 2 โครงการดแู ล บำรงุ รกั ษา คูคลองและบงึ รับน้ำ 2.ภารกิจเปดิ ทางนำ้ ไหลขุดลอกคแู ละคลอง จำนวน 95 คลอง 3 โครงการดูแล บำรุงรักษา คคู ลองและบงึ รบั นำ้ 3.ภารกิจเก็บขยะในคลองมหานาคและคลอง แสนแสบ จำนวน 22 คลอง 4 โครงการดแู ล บำรงุ รกั ษา คคู ลองและบึงรบั น้ำ 4.ภารกจิ บำรงุ รักษาครู ะบายน้ำถนนวภิ าวดี จากถนนดนิ แดงถงึ สดุ เขตกรุงเทพมหานคร คู ระบายนำ้ มีความกว้าง 2-14 เมตร ความยาวทัง้ สองฝง่ั 30 กิโลเมตร 5 แผนปฏิบัตงิ านตามโครงการจดั เกบ็ ผกั ตบชวา ตามการถ่ายโอนภารกจิ จากกรมชลประทาน จำนวน 20 คลอง 6 โครงการงบอดุ หนุนรฐั บาล ประจำปี 2565 จำนวน 1 โครงการ (คลองลาดพรา้ ว) 7 ขุดลอกคู คลอง (จา้ งเหมา) จำนวน 2 คลอง 13
14 ระยะเวลาดำเนนิ การ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ลำดับ แผนการปฏบิ ตั ิงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 8 ภารกิจใหก้ ารสนับสนุนหนว่ ยงานอืน่ นอกเหนือจากภารกจิ หลกั จำนวน 1 ภารกิจ 9 โครงการก่อสรา้ งเข่ือน ค.ส.ล. รมิ คลอง (งบอดุ หนุนรัฐบาล + งบประมาณ กทม.) จำนวน 3 โครงการ 10 โครงการกอ่ สร้างเขือ่ น ค.ส.ล.ริมคลอง (งบประมาณกรงุ เทพมหานคร) จำนวน 5 โครงการ 6.2.3. งานระบบท่อระบายนำ้ การเตรยี มการเพ่ือการป้องกันน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2565 กองระบบท่อระบายน้ำดำเนินการจัดทำแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของการแก้ไขปัญหา นำ้ ทว่ มโดยมแี ผนการดำเนินงานดังนี้ 6.2.3.1 แผนการลา้ งทำความสะอาดท่อระบายน้ำประจำปี พ.ศ. 2565 ดำเนินการล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำฯ โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือน ธันวาคม 2564 กำหนดแล้วเสร็จเดือนพฤษภาคม 2565 มีความยาวที่จะล้างรวมประมาณ 336 กิโลเมตร โดยแบง่ การดำเนนิ การออกเป็น 3 สว่ น ดงั น้ี 1. จา้ งเอกชน ความยาวประมาณ 202 กิโลเมตร 2. จา้ งแรงงานชวั่ คราว จำนวน 38 คน ความยาวประมาณ 71 กิโลเมตร 3. ใชร้ ถดูดเลนของสำนักการระบายน้ำจำนวน 4 คัน ความยาวประมาณ 63 กิโลเมตร 6.2.3.2 แผนการทำแนวกระสอบทรายป้องกันน้ำท่วมเนือ่ งจากนำ้ เหนอื ไหลหลาก และนำ้ ทะเลหนุนสูง ทำการบรรจุกระสอบทรายและเรียงกระสอบทราย ทำแนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำ เจา้ พระยา โดยเรมิ่ ดำเนนิ การตั้งแตเ่ ดือนสิงหาคม 2565 กำหนดแลว้ เสรจ็ เดือนกันยายน 2566 ความยาวท่ีจะ ทำแนวกระสอบทรายประมาณ 3 กิโลเมตร 6.2.3.3 แผนการควบคมุ การลดระดับน้ำตามบ่อสบู น้ำในพ้นื ทป่ี ดิ ล้อม ควบคุมและลดระดับน้ำตามบ่อสูบน้ำ ท่ีอยู่ในพื้นที่บริหารจัดการน้ำท่วม 22 พื้นที่ เพอ่ื ใหร้ ะดบั น้ำในพน้ื ที่มรี ะดับตำ่ เปน็ การเตรยี มรบั น้ำฝนทีจ่ ะตกมา และเพอ่ื เป็นการสูบช่วยเร่งระบายนำ้ ไม่ให้ ท่วมขังในถนนเปน็ เวลานาน 14
15 6.2.3.4 แผนการจดั หนว่ ยเคลอื่ นทีเ่ ร็วเพ่ือออกตรวจสอบแก้ไขปญั หานำ้ ท่วม จดั หน่วยปฏบิ ัติการเร่งดว่ นแกไ้ ขปัญหาน้ำท่วม (หนว่ ย BEST) พรอ้ มอุปกรณ์ เครื่องมือ ออกตรวจสอบแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในถนนที่มีปัญหาน้ำท่วมขังพร้อมเก็บขยะที่ติดตามช่องตะแกรงน้ำฝน และตามบ่อสบู นำ้ เพอ่ื เปน็ การเรง่ ระบายนำ้ ตารางหนว่ ยเคลื่อนท่เี ร็ว (หน่วย BEST) หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ จำนวน (หน่วย) กองระบบท่อระบายน้ำ 24 กองระบบคลอง 9 กองเคร่ืองจักรกล 2 รวมทั้งสิ้น 35 6.2.4. งานระบบควบคมุ น้ำ งานระบบควบคุมน้ำ เปน็ งานที่ทำหน้าท่ีควบคุมระดับน้ำให้เปน็ ไปตามแผนการควบคุมระดับน้ำ และบังคับน้ำให้ไหลในทิศทางที่ต้องการ โดยอาศยั ระบบต่างๆ และอุปกรณ์ต่างๆ เช่น สถานสี ูบน้ำ ประตูระบายน้ำ อุโมงค์ระบายน้ำ เครื่องสูบน้ำ อุโมงค์ทางลอดรถยนต์ เป็นต้น ซึ่งใช้ในการระบายน้ำในเขตพื้นที่ เพื่อเป็น การเตรยี มความพร้อมในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาน้ำท่วม จึงจดั ทำแผนงาน ดังน้ี 6.2.4.1 แผนซ่อมบำรงุ รกั ษาระบบควบคุมนำ้ ดำเนินการตรวจสอบสภาพและซ่อมบำรุงเครื่องสูบน้ำ เครื่องจักร ตู้ควบคุมและ อุปกรณ์ไฟฟ้า โดยมีแผนการซ่อมบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพดี พร้อมต่อการใช้งานก่อนเริ่มฤดูฝนเดือนพฤษภาคม ของทุกปี ดงั น้ี ตารางแผนซอ่ มบำรงุ รกั ษาระบบควบคุมน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ลำดบั แผนซ่อมบำรงุ รักษาระบบควบคมุ นำ้ ต.ค. ระยะเวลาดำเนนิ การ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ก.ย. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. 1 ตรวจสอบและรวบรวมข้อมลู 2 จัดเตรยี มเจา้ หนา้ ท่ี เครอ่ื งมอื อะไหล่ 3 ดำเนนิ การซอ่ มบำรงุ 4 ลงทะเบยี นประวตั กิ ารซ่อมบำรงุ 5 สรปุ ผลและรายงานผลการดำเนนิ งาน 15
16 6.2.4.2 แผนเพ่ิมประสทิ ธิภาพระบบควบคุมน้ำ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนดำเนินการงานเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบควบคุมน้ำ เพ่อื เพ่ิมความสามารถการระบายน้ำ ในการบริหารจดั การนำ้ เพ่ือป้องกันและแก้ไขปญั หานำ้ ทว่ ม ดงั นี้ 1. โครงการปรับปรงุ เพิ่มประสิทธิภาพสถานีสูบน้ำหน้า สน.หัวหมาก 2. โครงการปรบั ปรงุ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพสถานีสูบน้ำคลองห้วยขวาง 3. โครงการปรับปรุงเพิ่มประสทิ ธิภาพสถานีสูบน้ำคลองบางนางจนี 4. โครงการปรับปรุงเพ่ิมประสิทธภิ าพสถานีสบู นำ้ คลองจกิ 5. โครงการปรบั ปรงุ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพสถานีสบู น้ำคลองจติ 6. โครงการปรบั ปรงุ เพิม่ ประสทิ ธิภาพสถานีสบู น้ำคลองบา้ นหลาย 7. โครงการปรบั ปรุงเพิม่ ประสทิ ธิภาพสถานีสบู น้ำคลองเตย 8. โครงการปรับปรุงสถานีสูบนำ้ คลองวดั หลกั สี่ ถนนวภิ าวดีรงั สติ ฝ่งั ขาออก 9. งานก่อสร้างสถานีสง่ นำ้ สาทรบริเวณแยกวทิ ยุ 10. งานก่อสร้างระบบควบคุมการไหลเวยี นน้ำสถานสี บู น้ำคลองช่องนนทรี 6.2.5 งานตดิ ตงั้ สนับสนนุ ซ่อมบำรงุ รกั ษาเครอื่ งสบู นำ้ เครอ่ื งจกั รกล และยานพาหนะ การบำรุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้งเครื่องสูบน้ำประกอบด้วย เครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า และชนิด เครื่องยนต์ โดยมีการตดิ ตั้งทั้งแบบถาวร กึ่งถาวร แบบชั่วคราว รวมทั้งการบำรุงรักษา ซ่อมแซมเครื่องจักรกล ชนิดต่าง ๆ โดยการดำเนินการจะสอดคล้องกับแผนป้องกันน้ำท่วมเนื่องจากน้ำฝน น้ำเหนือไหล่บ่าและน้ำ ทะเลหนนุ สูง รวมถงึ การเตรียมความพร้อมในสถานการณ์วิกฤตเรง่ ด่วนด้านอุทกภัย ปี พ.ศ. 2565 สำนักการระบายน้ำ ได้กำหนดแผนปฏิบัติการในการบำรุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง เครือ่ งสบู น้ำ และเครื่องจักรกลประเภทต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับแผนป้องกันน้ำทว่ มเน่ืองจากนำ้ ฝน น้ำเหนอื ไหล่บ่า และน้ำทะเลหนนุ สงู รวมถงึ การเตรยี มความพร้อมในสถานการณว์ ิกฤตเรง่ ดว่ นด้านอทุ กภยั ดงั นี้ 6.2.5.1 การตดิ ตง้ั และสนบั สนนุ เครอ่ื งสูบนำ้ ประจำปี 2565 ลำดบั หน่วยงาน รายละเอียดเครอ่ื งสบู นำ้ พน้ื ท่กี ารติดต้งั และสนับสนุน จดุ ตดิ ต้งั จำนวน ปรมิ าตรการสบู 1 สำนักการระบายนำ้ (จุด) (เครือ่ ง) (ลบ.ม./วินาที) 1.1 พ้ืนทต่ี ะวนั ออกของกรงุ เทพมหานคร 1.2 พ้นื ทีต่ ะวันตกของกรุงเทพมหานคร 278 687 628.16 126 201 114.53 2 สำนักงานเขต 2.1 พ้ืนที่ตะวนั ออกของกรุงเทพมหานคร (35 เขต) 30 139 27.50 2.2 พ้ืนทตี่ ะวนั ตกของกรงุ เทพมหานคร (15 เขต) 26 49 6.84 460 1,076 รวมท้ังสิ้น 777.03 * เครอ่ื งสบู น้ำที่ตดิ ต้ังและสนับสนนุ ประกอบด้วยเคร่อื งสบู น้ำชนิดไฟฟ้าและชนดิ เครอ่ื งยนต์ 16
17 6.2.5.2 แผนการติดตงั้ และซ่อมบำรุงรักษาเครอ่ื งสูบนำ้ และเครอ่ื งจักรกล ประจำปี 2565 ลำดบั แผนการปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลาดำเนินการ ปีงบประมาณ 2565 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. การซ่อมและบำรงุ รักษาประจำปี 2. การติดตงั้ เครอ่ื งสูบนำ้ ตามแผนการติดตงั้ ประจำปี นำ้ ฝน นำ้ หนุน และนำ้ เหนอื 3. การตรวจซ่อมและแก้ไขเคร่ืองสบู น้ำ เครอื่ งจกั รกล และยานพาหนะหลงั การใช้งาน 4. จัดต้ังหนว่ ยเคลอื่ นทเ่ี รว็ (BEST) เพื่อตรวจสอบและ แกไ้ ขเคร่อื งสบู น้ำ เครือ่ งจักรกลและยานพาหนะ ตลอด 24 ชั่วโมง 6.2.5.3 การสนับสนุนเครื่องสูบนำ้ และวัสดุอุปกรณเ์ กี่ยวกับเครอ่ื งสูบนำ้ แกส่ ำนกั งานเขต เพื่อสนับสนุนการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเชิงรุก และเพิ่มประสิทธิภาพการ ระบายน้ำในพื้นที่เขตต่างๆ รวมทั้งการบำรุงรักษา ซ่อมแซม เครื่องสูบน้ำ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับเครื่องสูบน้ำ ใหแ้ กส่ ำนกั งานเขตตา่ ง ๆ โดยมีแผนการดำเนนิ การ ดังนี้ ลำดับ แผนการปฏิบัตงิ าน ระยะเวลาดำเนินการ ปงี บประมาณ 2565 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เมย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. ประสานความต้องการสนบั สนุนเครื่องสบู น้ำและ วสั ดุอปุ กรณ์ ในการเตรียมการวางแผนปอ้ งกันและ แก้ไขปญั หาน้ำท่วมประจำปี 2. จัดเตรียมเคร่ืองสูบน้ำและวสั ดอุ ปุ กรณ์ทเี่ กยี่ วขอ้ ง น้ำฝน นำ้ เหนอื และน้ำทะเลหนนุ สงู 3. สนบั สนุนเคร่ืองสบู น้ำและวัสดอุ ุปกรณ์ตดิ ตง้ั ให้แก่ สำนักงานเขตตา่ ง ๆ 4. ตรวจสอบ ซ่อมและบำรงุ รักษาเครอ่ื งสบู นำ้ ตาม รอบการซ่อมบำรุงเชิงป้องกนั และการตรวจซอ่ ม แกไ้ ขปญั หาขัดข้องตามแผนงานและกรณเี ร่งด่วน ตามทไี่ ดร้ บั แจ้ง ตลอด 24 ช่ัวโมง 6.2.5.4 สนบั สนุนการผลักดันนำ้ สำหรบั การเร่งระบายนำ้ ในพ้นื ที่กรงุ เทพมหานคร สนับสนุนการเร่งผลักดันน้ำ โดยการติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำและเครื่องสูบน้ำความดันสูง เพอ่ื เพ่มิ ขีดความสามารถในการระบายนำ้ ในพ้นื ท่ีประสบปัญหาน้ำท่วมหรอื พื้นท่ีเส่ียงภยั ต่างๆ ในกรณเี ร่งด่วน หรอื ในพน้ื ทท่ี จี่ ำเป็นต้องตดิ ต้งั หากพน้ื ทหี่ รอื จดุ ตดิ ตง้ั ใดท่ีไม่มรี ะบบไฟฟ้าของการไฟฟา้ รองรบั การทำงานของ เครอ่ื งสูบน้ำ จะดำเนนิ การสนับสนนุ และตดิ ต้ังเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าขนาดท่ีมีความเหมาะสม เพื่อให้สามารถเร่ง ระบายนำ้ ออกจากพื้นทไี่ ด้อย่างรวดเร็วและตอ่ เน่ือง 17
18 6.2.6 งานระบบสารสนเทศระบายนำ้ ระบบสารสนเทศระบายนำ้ เป็นระบบตรวจวัดขอ้ มูลอตั โนมตั ิเพื่อสนับสนุนการตดั สินใจในการ ปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม ประกอบด้วย ระบบโทรมาตร เรดาร์ตรวจอากาศ ระบบตรวจวัด ปริมาณฝน ระบบตรวจวัดสภาพอากาศ ระบบตรวจวัดน้ำท่วมบนถนน ระบบตรวจวัดระดับน้ำ ระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (Closed-circuit television : CCTV) ระบบตรวจวัดอัตราการไหลของน้ำ ระบบ ตรวจสอบการทำงานของประตูระบายน้ำ ระบบการตรวจสอบการทำงานของเครื่องสูบน้ำ ประสานงานและเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน กรมอุทกศาสตร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) ในการใช้ข้อมูลร่วมกัน เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงการประชาสมั พันธ์ขอ้ มูล การแจ้งเตือนภัยเกี่ยวกับสถานการณน์ ำ้ และ ฝน ใหก้ บั หน่วยงานต่าง ๆ ทง้ั ภาครัฐ เอกชน และประชาชนท่ัวไป 6.2.7 งานจัดการคุณภาพนำ้ แผนแม่บทการจัดการน้ำเสีย ในอดีตจะเริ่มต้นจากโครงการก่อสร้างระบบบำบดั น้ำเสียรวมใน พื้นที่ชั้นในที่มีประชากรหนาแน่น ต่อมาเนื่องจากกรุงเทพมหานครมีข้อจำกัดด้านงบประมาณและมีความ จำเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาน้ำเสียเฉพาะแห่งในระยะแรก จึงได้มีโครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย ขนาดเล็ก หลังจากนั้นได้มีการทบทวนและจัดทำแผนแม่บทการจัดการน้ำเสีย ตะกอนน้ำเสีย และการนำน้ำเสีย กลับมาใช้ประโยชน์ ปัจจุบันแผนการจัดการคุณภาพน้ำจะล้อตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูแหล่งน้ำ ทั้งแม่น้ำ ลำคลอง และแหลง่ น้ำธรรมชาติ แผนการจัดการคุณภาพน้ำตง้ั แต่ในอดีตจนถึงปัจจบุ ันมดี งั น้ี 1. แผนแม่บทการจัดการน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร ปี 2554 ซึ่งกรุงเทพมหานครร่วมกับ องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (JICA) ได้เสนอแผนแม่บทระยะ 30 ปี ให้กรุงเทพมหานคร สร้างระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากชุมชนในกรุงเทพมหานครทั้งหมด โดยแบ่งพื้นที่ ก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียออกเป็น 27 พื้นที่ เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนเมืองภายในปี พ.ศ. 2583 ปจั จุบนั ไดเ้ ปิดดำเนนิ การแลว้ 8 พนื้ ที่ กำลงั ดำเนินการ 6 พน้ื ท่ี จะดำเนนิ การในอนาคต 13 พน้ื ท่ี 2. แผนแม่บทการบริหารจดั การน้ำเสียชมุ ชนของกรมควบคมุ มลพิษ ซง่ึ ใช้เปน็ กรอบแนวทาง ในการบริหารจัดการน้ำเสียชุมซนในภาพรวมของประเทศ ประกอบด้วย 3 เป้าหมาย ได้แก่ (1) น้ำเสียชุมชน ร้อยละ 93 ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง (2) น้ำเสียชุมชนกลับไปใช้ประโยชน์ได้ร้อยละ 50 และ (3) แหล่ง กำเนิดน้ำเสียชุมชนปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้น โดยมีมาตรการจัดการ 4 มาตรการ ได้แก่ (1) จัดการ น้ำ เสียชุมชน ณ แหลง่ กำเนิด (2) เพิ่มศกั ยภาพการบริหาร (3) พฒั นากฎหมาย/มาตรการ/กฎเกณฑ/์ กฎระเบียบ และ (4) ส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มจดั การน้ำเสยี ชุมชน 3. แผนพฒั นากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) เปน็ การนำแผนวิสัยทัศน์ ของประชาชนเพื่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม สามารถนำ กรุงเทพมหานครให้เจริญเติบโตสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชียท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสู่ประชาคมอาเซียน และทา่ มกลางกระแสการเปล่ียนแปลงของบริบทแวดล้อมในด้านตา่ ง ๆ ท้ังในภูมภิ าคเอเชียและประชาคมโลก โดยมียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการคุณภาพน้ำ คือ มหานครแห่งความปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ ปลอดมลพิษ มีเป้าหมาย คือ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่าง ๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ใน เกณฑม์ าตรฐานคุณภาพนำ้ ผิวดิน ประเภทที่ 4 18
19 4. แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของ ประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน มีประเด็นยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเตบิ โตบน คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมาย คือ อนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งนำ้ ธรรมชาติ ทั่วประเทศ โดยฟื้นฟแู ม่น้ำลำคลองและการปอ้ งกันตลิง่ และฝายชะลอน้ำ มีการวางแผนการอนรุ ักษ์และฟื้นฟู แหล่งน้ำ ส่งเสริมกลไกการมีส่วนร่วมในการบริหารการจัดการอนุรักษ์และพัฒนาแม่น้ำ คู คลองและแหล่งน้ำ ธรรมชาติ มีระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย ระบบเก็บขนและกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลของชุมชนให้ ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล สนับสนุนให้มีโครงข่ายการสัญจรทางน้ำที่สะดวก ปลอดภัย ประหยัดและมี ประสิทธิภาพ ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนองค์กรเอกชน เอกชน มีความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักต่อ คณุ คา่ และความสำคัญของแม่นำ้ คู คลอง 4.1 แผนหลักการพัฒนา ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมคลองแสนแสบ เป็นการดำเนินการภายใต้ คณะอนุกรรมการ บริหาร พัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูคลองแสนแสบ โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวติ ร วงษ์สุวรรณ) เปน็ ประธานคณะอนกุ รรมการฯ โดยคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ไดเ้ ห็นชอบแผนหลักการพัฒนา ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมคลองแสนแสบ เมือ่ วันที่ 10 กนั ยายน 2564 เรียบร้อยแล้ว และการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2564 มีมติเห็นชอบในหลักการของแผนหลักการพัฒนา ฟื้นฟสู ภาพแวดล้อมคลองแสนแสบ ประกอบด้วยโครงการจำนวน 84 โครงการ วงเงนิ รวมท้งั สน้ิ 82,567.8930 ล้านบาท (แปดหมื่นสองพันห้าร้อยหกสิบเจ็ดล้านแปดแสนเก้าหมื่นสามพันบาทถ้วน) มีหน่วยงาน ร่วมดำเนินการจำนวน 8 หน่วยงาน ได้แก่ กรุงเทพมหานคร กรมควบคุมมลพิษ กรมเจ้าท่า กรมโรงงาน อุตสาหกรรม องค์การจัดการน้ำเสีย กรมชลประทาน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และจังหวัดฉะเชิงเทรา แบ่งการดำเนินงานเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะเร่งด่วน (ปี พ.ศ. 2564) ระยะกลาง (ปี พ.ศ. 2565 - 2570) และ ระยะยาว (ปี พ.ศ. 2571 เป็นต้นไป) ประกอบด้วย 5 เป้าประสงค์ ได้แก่ การเสริมสร้างความปลอดภัยในการ สัญจรทางน้ำของประชาชน การปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์บริเวณคลองแสนแสบ การแก้ไขปัญหามลภาวะและ คุณภาพน้ำในคลองแสนแสบ การป้องกันปราบปรามการบุกรุกทำลายทรัพยากรในคลองแสนแสบ และการ บริหารจดั การทรพั ยากรน้ำในคลองแสนแสบ มีผลสัมฤทธริ์ วมในประเด็นของการจดั การคุณภาพน้ำโดยมุ่งหวัง ให้มีการแก้ไขปัญหามลภาวะและคุณภาพน้ำในคลองแสนแสบอย่างครบวงจร ทั้งด้านการบังคับใช้กฎหมาย กับโรงงานและอาคารประเภทต่างๆ พร้อมมีระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียรองรับการบำบัดน้ำเสียใน คลองแสนแสบได้ 1,364,525 ลบ.ม./วนั 4.2 แผนการจัดการน้ำเสียในคลองเปรมประชากร คลองเปรมประชากรช่วงที่ไหลผ่าน กรุงเทพมหานครมีปัญหาน้ำเน่าเสียเป็นสีดำและส่งกลิ่นเหม็น ซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของเมืองและ ชมุ ชนตามแนวคลอง น้ำเสียจากบ้านเรือนและสถานประกอบการจำนวนมากทีต่ ้ังอยบู่ รเิ วณริมคลองถูกปล่อย ทิ้งลงคลองโดยไม่ได้รับการบำบัด ทำให้คุณภาพน้ำเสื่อมโทรม ผลการสำรวจ พบว่า ปัจจุบันจำนวนผู้บุกรุก เฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ถนนรัชดาฯ บริเวณหมู่บ้านกลางเมือง ไปจนถึงหลังหมู่บ้านแกรนด์คาแนล เขตดอนเมือง มีผู้บุกรุก 4,777 หลังคาเรือน แยกเป็น เขตดอนเมือง 14 ชุมชน และในเขตหลักส่ี 13 ชุมชน โดยมีแนวทางในการจัดการน้ำเสียที่ผ่านมาคือ คลองเปรมประชากรตั้งแต่ช่วงซอยงามวงศ์วาน 59 แยก 5 ลงมาจนถึงทำเนียบรัฐบาล ความยาวประมาณ 11.5 กิโลเมตร อยู่ในพื้นที่บริการบำบัดน้ำเสียศูนย์การศึกษา และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ และโรงควบคุมคุณภาพน้ำดินแดง และการดำเนินการในอนาคต สำนักการระบายน้ำได้บรรจโุ ครงการบำบัดน้ำเสียบางเขน และโครงการบำบัดน้ำเสียดอนเมือง ไว้ในแผนการ จัดการคุณภาพน้ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียในพื้นที่ทาง ตอนเหนือของ กรุงเทพมหานคร รวมทั้งฟื้นฟูคุณภาพน้ำของคลองต่าง ๆ โดยเฉพาะคลองเปรมประชากรช่วงแยกถนนงาม วงศว์ านไปจนสดุ เขตพื้นที่กรงุ เทพมหานคร ทไี่ หลผา่ นพ้ืนท่ชี ุมชนในเขตหลักสี่ เขตบางเขน และเขตดอนเมือง 19
20 7. กำหนดแผนปฏบิ ัติการป้องกันและแก้ไขปญั หานำ้ ท่วม 7.1 ช่วงปฏิบตั กิ าร แบ่งออกเปน็ 3 ชว่ งปฏิบตั กิ าร ตามสถติ ฝิ นและระดบั แมน่ ้ำเจ้าพระยา คือ ชว่ งปฏิบตั ิการ ลกั ษณะเหตุน้ำท่วม ช่วงที่ 1 : ต้นฤดูฝน - ความเข้มของฝน โดยทั่วไปไมส่ ูงนัก (10-60 มิลลเิ มตรตอ่ ชั่วโมง) - นอกจากลกั ษณะอากาศผดิ ปกติ (อาจเกิน 90 มิลลิเมตรต่อชัว่ โมง) เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกรกฎาคม - ระดบั นำ้ แมน่ ำ้ เจ้าพระยาไมส่ งู นัก (สงู สดุ +1.20 ม.รทก.) ช่วงที่ 2 : ปลายฤดูฝน - ความเข้มของฝนสงู ขนึ้ (35-90 มิลลเิ มตรตอ่ ช่ัวโมง) เดือนสงิ หาคม ถึงเดอื นตุลาคม - ลกั ษณะอากาศผดิ ปกติ เชน่ มพี ายุหมนุ เข้ามา (ปรมิ าณเกนิ 90 มิลลเิ มตรต่อช่วั โมง หรือตดิ ตอ่ กันหลายวนั ) - ระดบั นำ้ แม่นำ้ เจ้าพระยาสูงขนึ้ (สูงสุด +1.55 ถึง +2.10 ม.รทก.) ช่วงที่ 3 : นำ้ เหนือไหลบา่ และนำ้ ทะเลหนนุ สงู - ความเขม้ ของฝนสงู ในช่วงตน้ เดือนตลุ าคม เดือนตลุ าคม ถึงเดือนธันวาคม - นำ้ ทุ่งจากพ้ืนที่ด้านเหนือและตะวันออกไหลเขา้ พ้นื ที่ - ระดบั นำ้ แมน่ ำ้ เจ้าพระยาสูงสดุ (ประมาณ +2.00 ถึง 2.53 ม.รทก.) 7.2 แผนการป้องกันนำ้ ท่วมเนือ่ งจากฝนตก 7.2.1 กำหนดการเตรียมการเพอื่ ปอ้ งกนั น้ำท่วมเนอื่ งจากฝน ลำดบั แผนการปฏบิ ัตงิ าน ระยะเวลาดำเนินการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 การตรวจซอ่ มเครื่องสูบนำ้ 2 การตรวจซ่อมประตรู ะบายนำ้ ตา่ ง ๆ 3 การตดิ ต้งั เครื่องสูบนำ้ 4 การดำเนินการเปิดทางนำ้ ไหลในคลอง* 5 การทำความสะอาดท่อระบายนำ้ 6 การตรวจสอบกำหนดมาตรการปอ้ งกันแกไ้ ข สำหรับพน้ื ท่นี ำ้ ท่วม 7 การจัดเตรียมอปุ กรณ์ และเจ้าหนา้ ที่ 8 การเตรยี มความพรอ้ มในการปฏบิ ตั ิงานของ ศูนย์ป้องกันนำ้ ทว่ มสำนักการระบายนำ้ 9 การประสานแผนของสำนักการระบายนำ้ กับแผนของหน่วยงานหรอื สว่ นราชการอืน่ * โดยดำเนนิ การในจดุ ท่สี ำคัญและมปี ัญหาก่อน 20
21 7.2.2 กำหนดพน้ื ทีบ่ ริหารจดั การน้ำท่วมกรงุ เทพมหานคร การปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ชุมชนหนาแน่น และครอบคลุมพื้นที่น้ำท่วม ท่สี ำคัญ โดยใช้ “ระบบพ้นื ทปี่ ดิ ล้อมย่อยบรหิ ารจดั การน้ำท่วม (Sub Polder System)” จำนวน 22 พนื้ ท่ี ดังนี้ ลำดบั ระบบพน้ื ทป่ี ดิ ลอ้ มย่อยบรหิ ารจัดการนำ้ ทว่ ม พ้ืนท่ี (ตารางกิโลเมตร) 1 พน้ื ที่บรหิ ารจดั การนำ้ ทว่ มดอนเมอื ง อนสุ รณ์สถาน เขตดอนเมอื ง 2 พื้นทบ่ี รหิ ารจัดการนำ้ ทว่ มแจง้ วฒั นะ เขตหลักสแ่ี ละเขตบางเขน 37.640 3 พื้นที่บรหิ ารจดั การน้ำทว่ มรชั ดาภเิ ษก พหลโยธนิ แยกเกษตร เขตจตุจักร 35.778 4 พน้ื ที่บรหิ ารจัดการน้ำทว่ มลาดพร้าว บางกะปิ นวมินทร์ เขตลาดพรา้ วและเขตบางกะปิ 36.760 5 พน้ื ที่บรหิ ารจดั การนำ้ ทว่ มดินแดง ห้วยขวาง เขตดินแดงและเขตหว้ ยขวาง 42.017 6 พน้ื ทบ่ี ริหารจดั การน้ำทว่ มถนนเพชรบรุ ี จากทางรถไฟถึงถนนอโศกมนตรี เขตราชเทวี 18.000 9.540 และเขตดินแดง 7 พื้นที่บรหิ ารจัดการนำ้ ทว่ มถนนทหาร พระรามท่ี 6 คลองสามเสน เขตดุสติ เขตบางซือ่ 6.423 และเขตพญาไท 5.780 8 พื้นทบ่ี ริหารจัดการนำ้ ทว่ มพระรามที่ 5 คลองผดุงกรงุ เกษม คลองสามเสน เขตดุสติ 11.444 เขตบางซ่ือและเขตพญาไท 9 พน้ื ที่บรหิ ารจัดการน้ำทว่ มรามคำแหง เขตบางกะปิ 8.692 10 พื้นทบ่ี รหิ ารจัดการน้ำทว่ มถนนพระจันทร์ รอบสนามหลวง ถนนทา้ ยวัง ถนนหน้าพระลาน 25.253 เขตพระนคร เขตสัมพนั ธวงศแ์ ละเขตปอ้ มปราบศัตรูพา่ ย 11 พ้ืนทบ่ี ริหารจัดการน้ำทว่ มถนนจันทน์ เซนต์หลุยส์ สวนพลู ทุ่งมหาเมฆ 11.660 22.595 เขตสาทรและเขตยานนาวา 40.357 12 พน้ื ทีบ่ รหิ ารจัดการนำ้ ทว่ มพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน เขตคลองเตยและเขตวฒั นา 3.600 13 พื้นท่บี รหิ ารจัดการนำ้ ทว่ มถนนสขุ มุ วิทฝ่ังเหนอื เขตวฒั นาและเขตคลองเตย 8.750 14 พน้ื ที่บรหิ ารจดั การนำ้ ทว่ มถนนสขุ มุ วทิ ฝง่ั ใต้ ศรนี ครนิ ทร์ เขตบางนา 0.813 15 พื้นทบ่ี ริหารจดั การน้ำทว่ มตลง่ิ ชนั ฉมิ พลี ทุ่งมังกร สวนผกั เขตตลิ่งชนั 2.490 16 พ้ืนที่บริหารจัดการนำ้ ทว่ มเพชรเกษม เขตบางแคและเขตทวีวัฒนา 3.326 17 พื้นทบ่ี ริหารจัดการน้ำทว่ มถนนบางบอน 1 เขตบางบอน 0.741 18 พืน้ ทบ่ี ริหารจัดการน้ำทว่ มถนนบางขุนเทยี นชายทะเล เขตบางขนุ เทียน 13.251 19 พนื้ ที่บรหิ ารจดั การน้ำทว่ มถนนประชาอทุ ศิ เขตทงุ่ ครุ 2.846 20 พ้นื ทบ่ี ริหารจดั การนำ้ ทว่ มถนนสุวินทวงศ์ เขตมนี บุรี 21 พื้นทบ่ี รหิ ารจดั การนำ้ ทว่ มถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวงและบางกะปิ 22 พน้ื ทบ่ี ริหารจดั การนำ้ ทว่ มบางซอ่ื เขตบางซ่อื สำหรับพื้นที่น้ำท่วมที่อยู่นอกพื้นที่บริหารจัดการน้ำท่วมย่อย ให้ใช้วิธีการแก้ไขเป็นจุดโดยไม่ กำหนดพน้ื ท่ีบรหิ ารจัดการนำ้ ท่วม 21
7.2.3 ข้ันตอนการปฏบิ ตั กิ ารป้องกันและแก้ไขปญั หานำ้ ท่วมเนอื่ งจากนำ้ ฝน มีแผนดำเนินการ ดังน้ี 1. ระบบระบายนำ้ มีองคป์ ระกอบ คือ 1.1 ระบบคคู ลอง ไดแ้ ก่ การสร้างเขื่อนกันดินริมคลองท่อลอดตามแนวคลองขุดลอก คูคลองและเปิดทางน้ำไหลและทำความสะอาดคคู ลอง เป็นต้น 1.2 ระบบทอ่ ระบายน้ำ ได้แก่ การก่อสร้างปรับปรุงท่อระบายน้ำและทำความสะอาด ท่อระบายนำ้ เปน็ ตน้ 1.3 ระบบสูบนำ้ ได้แก่ สถานสี ูบน้ำบอ่ สบู น้ำและการติดต้ังเคร่ืองสูบน้ำต่าง ๆ เป็นต้น 1.4 ระบบประตูระบายน้ำ ได้แก่ ประตูระบายนำ้ ถาวรและทำนบกั้นน้ำต่าง ๆ เปน็ ตน้ 2. การกำหนดลำดับความสำคญั แบง่ ลำดบั ความสำคัญ 2.1 ระดับ A ลำดับความสำคัญสูง เปน็ ระบบทอี่ ยใู่ นบริเวณพ้นื ที่นำ้ ท่วมทีส่ ำคัญ 2.2 ระดับ B ลำดับความสำคัญปานกลาง เปน็ ระบบทอ่ี ยใู่ นบรเิ วณพื้นทนี่ ำ้ ทว่ มทั่วไป 2.3 ระดบั C ลำดับความสำคัญต่ำ เป็นระบบที่อยู่ในพื้นที่ป้องกันน้ำท่วมที่อาจมี ปญั หานำ้ ทว่ มเมอ่ื มีฝนตกหนกั 3. เป้าหมายของการเตรยี มการ 3.1 ลำดับความสำคัญ “A” ให้แล้วเสรจ็ ใชง้ านได้ภายในเดือนเมษายน 3.2 ลำดับความสำคัญ “B” ใหแ้ ลว้ เสร็จใช้งานได้ภายในเดือนกรกฎาคม 3.3 ลำดบั ความสำคัญ “C” ให้ดำเนินการมากทสี่ ดุ เท่าที่จะมีโอกาสกระทำได้ 4. โครงการเตรียมการ 4.1 โครงการ / กิจกรรมตามงบประมาณหมวดค่าทีด่ นิ และสิ่งก่อสรา้ งประจำปี 4.2 โครงการเปิดทางน้ำไหลในคูคลอง 4.3 โครงการทำความสะอาดท่อระบายน้ำ 4.4 โครงการเตรียมระบบประตูระบายนำ้ และทำนบกัน้ นำ้ 4.5 โครงการปรบั ปรุงเสรมิ ระบบระบายนำ้ กลางปี 7.2.4 แผนปฏิบัตกิ ารประจำวนั เพือ่ ปอ้ งกนั นำ้ ท่วมเนอ่ื งจากฝน 1. การปฏบิ ัติการปกตปิ ระจำวัน 1.1 หน่วยปฏิบัตกิ ารแก้ไขน้ำท่วมดำเนินการทำความสะอาดท่อระบายนำ้ และคู คลอง รวมทง้ั เสริมมาตรการเตรยี มการปฏบิ ตั ิการตา่ ง ๆ 1.2 หนว่ ยควบคมุ ระดับนำ้ ปฏิบตั กิ ารลดระดบั นำ้ ข้นั ต้นที่กำหนด 1.3 หน่วยเคลอื่ นทเ่ี รว็ ออกปฏบิ ัตกิ ารแก้ไขปญั หาตามคำส่งั และคำร้องเรียนของ ประชาชน 1.4 หน่วยซอ่ มบำรงุ เครื่องสบู น้ำปฏิบตั ิการตรวจสอบบำรุงรกั ษาเคร่ืองสูบนำ้ ตามปกติ 1.5 หนว่ ยตรวจสอบติดตามผล ตรวจสอบสภาพการเตรียมการและรายงานผล ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารฯ ติดตามสภาพอากาศและระดับน้ำรายงานสรปุ สถานการณ์ ประจำวันใหท้ กุ หนว่ ยทราบทุกวัน เวลา 09.00 น. 1.6 ตรวจสอบสภาพอากาศจากเรดาร์ รายงานทุกหนว่ ยงานทกุ ต้นชวั่ โมง 22
2. การปฏิบตั ิการเม่อื ไดร้ ับแจ้งเตอื นเกีย่ วกบั ฝน เมื่อเรดาร์ตรวจพบกลุ่มฝนในพื้นที่จังหวัดใกล้กรุงเทพมหานครและมีแนวโน้ม จะ เคลื่อนที่เข้ากรงุ เทพมหานครหนว่ ยงานเตรียมปฏิบตั ิการดังน้ี 2.1 ศูนย์ปฏิบัติการฯ แจ้งเตือนสภาพอากาศกลุ่มฝนที่ตรวจพบแนวโน้มและความรุนแรง ของฝนให้หน่วยต่าง ๆ และผบู้ ริหารศนู ย์ฯทราบเป็นระยะ ๆ พรอ้ มทั้งตรวจสอบ ระดบั นำ้ และการเดินเครอื่ งสูบนำ้ ทกุ จดุ 2.2 หนว่ ยควบคุมระดับน้ำเดนิ เครื่องสบู น้ำลดระดบั นำ้ ลงถงึ ระดับข้ันต่ำที่กำหนด เตรียมพรอ้ มรับสภาพฝน 2.3 หน่วยเคลื่อนที่เร็วแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเคลื่อนย้ายกำลังเข้าจุดปฏิบัติการท่ี กำหนดหรอื จุดทไ่ี ด้รบั แจ้งเตอื นทีค่ าดว่าฝนตกหรือจะมปี ญั หาน้ำท่วมขัง 3. การปฏิบตั ิการเมือ่ ฝนตก 3.1 ศูนย์ปฏิบัติการฯ ติดตามสภาพความรุนแรงของกลุ่มฝนแนวโน้มทิศทางจาก เรดาร์ตรวจฝนและตรวจสอบปริมาณฝนตกจาก “ระบบตรวจวัดข้อมูลอัตโนมัติ” แล้วรายงานให้หน่วยปฏิบัตติ ่าง ๆ และผู้บริหารศูนย์ฯ ทราบเป็นระยะทุก 15 นาที จนกวา่ ฝนหยดุ ตกกลับสูส่ ภาวะปกติ 3.2 ศูนย์ปฏบิ ตั ิการฯ ประสานข้อมูลข่าวสารแนวทางปฏบิ ัติรวมท้ังคำส่ังปฏิบัติการ ให้หนว่ ยปฏิบัติการตา่ ง ๆ 3.3 หน่วยควบคุมระดับน้ำยังคงปฏิบตั ิการเต็มท่ี จนกระทั่งควบคุมระดับน้ำให้ลดลง ถงึ คา่ ระดับทก่ี ำหนด 3.4 ศูนย์ปฏิบตั ิการฯ สรปุ สภาพน้ำท่วมปริมาณฝนและผลการปฏบิ ัติการแก้ไขปัญหา นำ้ ทว่ มต่อผู้บงั คบั บญั ชา 3.5 หน่วยตดิ ตามผลรายงานสภาพปัญหาน้ำท่วมและความคดิ เห็น 4. แผนการควบคมุ การลดระดบั น้ำตามบ่อสูบน้ำในพนื้ ท่ีปิดลอ้ ม ควบคุมและลดระดับน้ำตามบอ่ สบู น้ำ ที่อยู่ในพื้นทีบ่ ริหารจัดการน้ำทว่ ม 22 พื้นท่ี เพื่อให้ระดับน้ำในพื้นที่มีระดับต่ำเป็นการเตรียมรับน้ำฝนที่จะตกมา และเพื่อเป็น การสูบชว่ ยเรง่ ระบายน้ำไม่ให้ทว่ มขังในถนนเป็นเวลานาน 5. แผนการจัดหน่วยเคล่อื นทเ่ี รว็ เพื่อออกตรวจสอบแก้ไขปญั หานำ้ ท่วม จัดหน่วยปฏิบัติการเร่งด่วนแก้ไขปัญหาน้ำท่วม (หน่วย BEST) พร้อมอุปกรณ์ เครื่องมือ ออกตรวจสอบแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในถนนที่มีปัญหาน้ำท่วมขัง พร้อมเก็บ ขยะทต่ี ดิ ตามช่องตะแกรงนำ้ ฝนและตามบ่อสบู นำ้ เพอื่ เปน็ การเร่งระบายน้ำ 23
24 7.3 แผนการป้องกนั น้ำท่วมเนือ่ งจากน้ำหนุน 7.3.1 กำหนดการเตรียมการเพอื่ ป้องกันน้ำท่วมเนอ่ื งจากน้ำหนุน ลำดบั รายการ ระยะเวลาดำเนินการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 1 การปรบั ปรุงกอ่ สรา้ งแนวคนั กน้ั นำ้ ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 2 การปิดกน้ั ทอ่ ระบายนำ้ ตามจดุ ปดิ กน้ั รมิ แม่นำ้ 3 การปรับปรงุ ซ่อมแซม สร้างเพ่มิ เตมิ หรอื ยา้ ย ทำนบก้ันนำ้ และประตรู ะบายนำ้ 4 การดำเนนิ การเรื่องการตดิ ตง้ั เครอ่ื งสูบน้ำ 5 การตรวจสอบแก้ไขส่ิงทเี่ ป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัตกิ าร 6 การจดั ทำแผนกำลังคนทต่ี ้องใชใ้ นการปฏิบัติการ 7 การฝกึ อบรมเจา้ หน้าทีแ่ ละจดั เตรยี มอุปกรณ์ประกอบ การปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าท่ี 8 การประสานแผนและการเตรยี มการตามแผนของ สำนกั การระบายนำ้ กบั หนว่ ยงานอน่ื 7.3.2 กำหนดพื้นทบี่ รหิ ารจัดการน้ำทว่ มเนอื่ งจากนำ้ หนนุ 1. จัดทำแนวป้องกันช่ัวคราว (กระสอบทราย) ดำเนินการบรรจุกระสอบทรายและเรียงกระสอบทราย ทำเป็นแนวคันป้องกันชั่วคราว ในจุดที่ยังไม่มีแนวคันถาวร กำหนดแผนให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 กันยายน 2565 โดยกำหนดความสงู ของแนวกระสอบทรายใหส้ ามารถป้องกันน้ำท่ีระดับ +2.00 ม.รทก. 2. การจัดทำแนวคันกน้ั นำ้ จดุ ปิดกั้นทอ่ ทำนบก้ันน้ำและประตูระบายน้ำ 2.1 การดำเนินการปรับปรุงก่อสร้างแนวคันกั้นน้ำตามที่กำหนดในแผนต้องดำเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 กันยายน 2565 โดยในการดำเนินการให้เสริมระดับ แนวคันกั้นน้ำให้สูงอย่างน้อยที่สุดที่ระดับ +2.00 ม.รทก. ซึ่งระดับความสูงคันกั้น น้ำอาจจะเพิ่มขึ้นอีก 20 - 40 เซนติเมตรตามสภาพการทรุดตัวของพื้นดินในแต่ละ พื้นที่จากนัน้ จึงค่อยๆเสรมิ ระดบั ให้สูงขึ้นตามความจำเป็นของสภาพระดับน้ำซึ่งได้มี การตรวจสอบตดิ ตามสภาพน้ำเปน็ ระยะ ๆ ต่อไป 2.2 การปิดกั้นท่อระบายน้ำตามจุดต่าง ๆ ที่กำหนดไว้เพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับเข้ามา ของนำ้ จากแม่นำ้ ฯ โดยดำเนินการปดิ ก้ันให้เสร็จภายในวนั ท่ี 31 สิงหาคม 2565 2.3 ดำเนนิ การปรับปรงุ ซ่อมแซมสร้างเพิ่มเติมหรือรื้อย้ายทำนบก้นั น้ำและประตูระบายน้ำ ตามแผนท่กี ำหนดให้แลว้ เสร็จภายในวันท่ี 30 กนั ยายน 2565 24
25 3. การติดตง้ั เครื่องสูบนำ้ 3.1 สำรวจจุดติดตั้งเครือ่ งสูบน้ำพร้อมทั้งชนิดและจำนวนเครื่องสูบน้ำที่ตอ้ งใช้แต่ละจดุ ใหพ้ ร้อมตดิ ต้งั ภายในวันท่ี 30 กนั ยายน 2565 3.2 การติดตั้งเครื่องสูบน้ำเพื่อป้องกันน้ำหนุนในระยะเริ่มแรกคือช่วงปลายเดือน กันยายนและตุลาคม ซึ่งยังคงเป็นช่วงที่มีฝนตกหนักอยู่ให้ดำเนินการติดตั้ง เครื่องสูบน้ำเฉพาะส่วนที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างการป้องกันน้ำฝนและน้ำหนุน หรือเฉพาะเครื่องสูบน้ำที่ไม่มีภารกิจด้านการป้องกันน้ำฝนส่วนที่เหลือให้ทยอย ติดต้ังตามความเหมาะสมกบั สถานการณข์ ณะน้นั 4. การตรวจสอบแกไ้ ขส่งิ ท่ีจะเป็นอุปสรรคตอ่ การปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันนำ้ ท่วม การตรวจสอบแก้ไขเช่นตรวจสอบการก่อสร้างที่เกี่ยวกับทางระบายน้ำ เช่น การสร้าง ประตูระบายน้ำหรือสถานีสูบน้ำว่าจะมีอุปสรรคต่อการระบายน้ำอย่างไรหรือไม่ และ จะมีแนวทางดำเนินการอย่างไรพร้อมดำเนินการแก้ไขทันทีให้แล้วเสร็จภายใน วันที่ 15 กันยายน 2565 5. การเตรียมเจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัติการและอุปกรณ์สนับสนุนการปฏบิ ัติการ 5.1 จัดทำแผนกำลงั คนท่ตี ้องใชส้ ำหรบั การปฏบิ ัติการปิด – เปิดประตูระบายนำ้ จุดปดิ ก้ัน ท่อระบายน้ำการเดินเครื่องสูบน้ำและการควบคุมแนวคันกั้นน้ำ ท้ังนี้ให้แล้วเสร็จ ภายในวนั ที่ 31 สิงหาคม 2565 5.2 จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ต้องใชป้ ระกอบการปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หนา้ ท่ี เชน่ เต็นท์พกั นอนฯลฯ ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในวนั ที่ 15 กนั ยายน 2565 6. การประสานแผนฯกับแผนป้องกันน้ำท่วมเนื่องจากน้ำหนุนของสำนักงานเขตต่างๆ และหน่วยงานอื่นๆในการปฏิบัตงิ านตามแผนปอ้ งกันน้ำหนุนปี 2565 สำนักการระบายนำ้ ได้มีการประสานงานกับสำนักงานเขตต่างๆ และหนว่ ยงานอ่ืนๆ โดย ได้แบง่ หนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบปฏิบัติการ ดงั นี้ 6.1 การจัดทำและดูแลแนวคันกั้นน้ำตามแนวริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกช่วง จากใต้คลองบางเขนลงทางใต้จนสุดเขตกรุงเทพมหานคร เป็นหน้าที่ของ สำนกั การระบายนำ้ 6.2 การจัดทำแนวป้องกันและแนวบรรเทาปัญหาน้ำท่วมเนื่องจากน้ำหนุน ในพื้นท่ี ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ได้จัดทำแนวป้องกันในลักษณะเป็นพื้นที่ปิดล้อม เพื่อบริหารจัดการน้ำท่วม (Polder) ในบริเวณที่เป็นพื้นที่เศรษฐกิจหรือชุมชน หนาแน่นก่อน โดยสำนักการระบายน้ำและสำนักงานเขตได้แบ่งพื้นที่ ความรับผิดชอบ โดยแบ่งเป็นพื้นที่บริหารจัดการน้ำท่วมในแต่ละพื้นที่ตามส่วน ความรับผดิ ชอบ 25
26 7.3.3 ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเนอ่ื งจากนำ้ หนนุ เร่ิมต้งั แตว่ นั ท่ี 1 ตุลาคม 2565 เป็นตน้ ไป โดยมกี ารดำเนนิ การ ดงั น้ี 1. การสบู นำ้ - หน่วยปฏบิ ัติการสบู น้ำดำเนนิ การลดระดับน้ำในพื้นท่ปี อ้ งกนั ตามระดับท่ีกำหนด 2. การปดิ -เปดิ ประตูระบายนำ้ - หนว่ ยปฏิบัติการปิด-เปิดประตูระบายน้ำจะปิด-เปิดเพ่ือการ ถ่ายเทตามจังหวะ การขน้ึ -ลงของน้ำ เพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการถา่ ยเทน้ำและลดระยะเวลาของการเดิน เคร่ืองสูบนำ้ 3. การประชาสมั พนั ธ์ - มีการประชาสัมพันธ์ทำความเข้าใจกับประชาชนให้เข้าใจถึงจุดประสงค์ และ ความจำเป็นในการจัดทำแนวคันกั้นน้ำหรือการปฏิบัติการสูบถ่ายน้ำ เพื่อที่ประชาชน จะไดเ้ ป็นหเู ปน็ ตาดูแลแนวคันก้ันนำ้ และอุปกรณ์ตา่ งๆ ไม่ให้ถูกทำลาย 4. การตรวจสอบแนวคนั กัน้ นำ้ และจดุ อุดกนั้ ต่างๆ - จัดเจา้ หนา้ ทอี่ อกตรวจสอบควบคมุ แนวคนั ก้ันน้ำและจดุ อดุ ก้ันตา่ งๆ ตลอดเวลา รวมท้งั ปฏบิ ัตกิ ารปิด - เปิดจดุ อดุ ก้นั ต่างๆ เพ่ือไม่ให้เกดิ ปัญหานำ้ ทว่ มขัง 5. การสนบั สนนุ วสั ดอุ ุปกรณ์ - มีการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติการให้เพียงพอและทันเวลา เช่น น้ำมนั กระสอบทรายฯลฯ 6. การติดตามสถานการณน์ ้ำปรมิ าณนำ้ หลาก ระดับน้ำทะเลหนุนและระดับน้ำใน แม่น้ำเจ้าพระยา - จะต้องมีการศึกษา ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ คือระดับน้ำในแม่น้ำตามคาดการณ์ ของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือระดับน้ำที่วัดได้จริงปริมาณน้ำที่ปล่อยออกมาจาก เขื่อนและทุ่งการเกษตรต่างๆ ทั้งนี้เพื่อนำมาประเมินแนวโน้มของระดับน้ำช่วยให้ สามารถคาดหมายระดับนำ้ สงู สุดได้เป็นการล่วงหน้าในเวลาเหมาะสม สามารถมีเวลา พอสำหรับการปรับปรงุ แผนหรือเปา้ หมายการปฏบิ ัตกิ ารไดท้ นั การณ์ - ให้มีการติดตามสถานการณ์น้ำและปริมาณน้ำหลากของน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา จากพ้นื ท่ตี อนบนด้วย 7. การปฏบิ ตั กิ ารป้องกันนำ้ เหนอื หลากมาตามทุ่ง - ในชว่ งปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกันนำ้ ทะเลหนุนทม่ี ปี ัญหาเนือ่ งจากน้ำเหนอื หลากมาตามท่งุ ในปริมาณมาก การปฏิบตั กิ ารจะดำเนนิ การ ดงั น้ี 7.1 การดำเนินการในพื้นท่ีฝัง่ ตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยานอกเหนอื จากปฏบิ ตั ิการ ป้องกนั น้ำเหนือตามแนวริมฝั่งแม่นำ้ แล้วจะตอ้ งควบคุมปริมาณนำ้ ใหไ้ หลผ่าน เขา้ -ออกคนั กนั้ น้ำด้านตะวันออก (แนวคนั กนั้ น้ำพระราชดำริ ถนนก่ิงแกว้ ถนนรม่ เกล้า ถนนนิมติ รใหม)่ ในปริมาณท่เี หมาะสม 26
27 7.2 การดำเนินการในพื้นทีฝ่ ่ังตะวันตกของแมน่ ้ำเจ้าพระยานอกเหนือ จากการปฏิบัติ ในเรื่องการป้องกันน้ำเหนือเป็นหลักเพราะรูปแบบการป้องกันน้ำท่วมใช้รูปแบบ แนวปิดล้อมพืน้ ที่ (Polder) หลายๆ พน้ื ทีเ่ พยี งแต่จะต้องมีการประเมินปริมาณน้ำ และระดับน้ำอย่างใกล้ชิดรวมทั้งขีดความสามารถในการป้องกันแต่ละแห่งด้วย ทงั้ น้ีเพื่อตดั สนิ ใจไดว้ ่าสามารถเสริมระดับของแนวป้องกนั ในทุกๆ พน้ื ที่ ไดส้ มั พันธ์ กับระดับน้ำที่เพิ่มขึ้นหรือไม่ หรือจะต้องลดพื้นที่ป้องกันลงมาเฉพาะส่วนท่ี สามารถป้องกันได้ โดย 1. ติดต้ังเคร่ืองสบู นำ้ เพ่มิ ตามความจำเปน็ 2. นำเครื่องมือกลเข้าเสรมิ การปฏบิ ตั ิการตามความจำเป็น 3. ขอกำลังและเคร่ืองมือกลจากหน่วยงานอน่ื เสรมิ ตามความจำเป็น 7.3.4 แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำวนั เพ่ือปอ้ งกันน้ำท่วมเน่อื งจากน้ำหนุน การปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื ปอ้ งกนั แก้ไขปัญหาน้ำทว่ มเน่ืองจากนำ้ หนนุ ไดก้ ำหนดการ ปฏบิ ัตงิ านตามช่วงเวลาน้ำข้ึน - นำ้ ลง ในแต่ละวนั ดังนี้ 1. หน่วยปฏบิ ัตกิ ารแก้ไขปญั หาน้ำท่วมออกปฏบิ ตั กิ ารตรวจสอบแนวป้องกนั นำ้ ทว่ ม ตามแผนปกตหิ รือตามทไ่ี ดร้ ับร้องเรยี น 2. ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารฯตรวจสอบสภาพนำ้ และระดับน้ำรายงานให้หน่วยปฏบิ ัตกิ ารทราบ 3. เมอื่ ระดบั นำ้ ในแม่น้ำเจ้าพระยาเริม่ ขึ้น หน่วยปฏบิ ัติการเคลื่อนท่ีเร็วออกปฏิบัติการ ประจำแนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อเฝ้าระวังระดับน้ำล้นหรือซึม เข้ามาในพนื้ ทีป่ อ้ งกัน 4. หน่วยเคลื่อนที่เร็วซ่อมเครื่องสูบน้ำออกปฏิบัติการตรวจสอบเครื่องสูบน้ำตาม จุดท่ีกำหนดตามแผน 5. ศูนย์ปฏิบัติการฯตรวจสอบระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาและรายงานให้หน่วย ปฏิบตั ิการตา่ งๆ ทราบเป็นระยะทกุ 15 นาที จนกว่าระดับนำ้ ข้ึนสูงสดุ และลดลง กรณีทีร่ ะดับน้ำขึ้นสูง 1. ศนู ย์ปฏบิ ัติการฯตรวจสอบระดบั นำ้ ในแมน่ ้ำเจ้าพระยา และรายงานให้หน่วยปฏิบตั กิ าร ต่างๆ ทราบเป็นระยะทุก 15 นาที จนกว่าระดับนำ้ ข้นึ สงู สดุ และลดลง 2. เมอื่ ใกลเ้ วลาท่ีระดบั นำ้ ขน้ึ สงู สุดหน่วยควบคุมระดับนำ้ ตามสถานสี ูบน้ำหลกั ลดการสบู น้ำ ลงแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อลดปรมิ าณนำ้ ท่ีจะไปเพ่ิมให้ระดับน้ำสงู ขน้ึ 3. หน่วยปฏบิ ตั ิการเคลอ่ื นที่เร็วตรวจสอบแนวปอ้ งกนั น้ำท่วมตรวจสอบจุดท่นี ำ้ รั่วซึม หรือจุดท่ีมีนำ้ สูงล้นแนวป้องกันเข้ามาดำเนินการอุดจุดรั่วซมึ หรอื เสรมิ แนวที่นำ้ ลน้ ทันที 4. ผูบ้ ริหารศูนย์ฯเข้ามาอำนวยการในศนู ย์ปฏบิ ัติการเม่ือมีแนวโน้มทร่ี ะดับน้ำจะสูงข้ึนอีก 5. ผู้บริหารศูนย์ฯ และเจ้าหน้าที่ระดับสูงหารือสั่งการแก้ไขสถานการณ์เป็นกรณีพิเศษหรือ กำหนดให้เจ้าหน้าที่ระดับสูงเข้าพื้นที่อำนวยการและสั่งการหรือเสริมกำลังเจ้าหน้าท่ี ระดบั สงู ขึน้ อกี ตามสถานการณร์ ะดับน้ำ พร้อมประสานขอกำลังสนับสนุนจากหนว่ ยงานอื่นๆ 6. เม่ือระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาลดลงต่ำสู่ระดับปกติ ศูนย์ปฏิบัติการฯ สรุปรายงาน ผบู้ งั คับบัญชา 7. การปฏบิ ตั ิจะดำเนินการจนกว่าสถานการณร์ ะดับน้ำในแมน่ ้ำลดลงสภู่ าวะปกติเช่นน้ีทุกวัน จนกวา่ จะผา่ นพน้ ชว่ งนำ้ ทะเลหนนุ สงู ทจ่ี ะทำใหม้ ีผลกระทบกบั พ้ืนที่กรุงเทพมหานคร 27
28 กรณนี ำ้ หลากจากพืน้ ทปี่ รมิ ณฑล 1. ศูนย์ปฏิบัติการฯ ติดตามสภาพน้ำลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง ตั้งแต่ใต้เขื่อนเจ้าพระยา ลงมาและรายงานผบู้ รหิ ารทราบ 2. ตดิ ตามระบบป้องกันน้ำของจังหวัดต่าง ๆ ว่าสามารถป้องกันน้ำไดห้ รือไม่ หากจังหวัดใด ที่ระบบป้องกัน น้ำท่ว มล้ มเหลว แล ะจ ะส่ งผล กร ะทบต่ อก รุ งเ ทพมหาน คร ร ี บ แจ้ ง ผบู้ ริหารทราบ 3. ตดิ ตามสภาพนำ้ หลากตามทงุ่ จากจังหวดั ปรมิ ณฑลแล้วแจง้ เตอื นฝ่ายปฏิบัติ 4. ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ประชาชนทราบสถานการณ์ 5. การปฏบิ ตั จิ ะดำเนนิ การจนกว่าสถานการณ์จะคลีค่ ลาย 7.3.5 แผนการบรหิ ารจดั การนำ้ ตามข้อตกลงกบั พน้ื ทรี่ อบนอกตอ่ เช่ือมปริมณฑล การประสานงานเพื่อการบริหารจัดการน้ำระหว่างจังหวัดปริมณฑลกับกรุงเทพมหานครน้ัน สำนกั การระบายน้ำ ได้มีการประสานงานรว่ มมือกนั มาอยา่ งต่อเนือ่ งมาหลายปีแล้ว และไดพ้ ฒั นาความร่วมมือ จนจัดทำเป็นข้อตกลงร่วมกับพน้ื ทป่ี รมิ ณฑล พื้นทฝ่ี ง่ั ธนบรุ ี สำนกั การระบายนำ้ มขี อ้ ตกลงในการบริหารจัดการนำ้ กับพ้นื ที่รอบนอกซ่ึงเชื่อมต่อกบั ปริมณฑล ดังน้ี 1. ด้านเหนือ แนวริมคลองมหาสวัสดิ์ เขตทวีวัฒนาได้แก่ ประตูระบายน้ำคลองทวีวัฒนา ประตูระบายนำ้ คลองซอย ประตรู ะบายน้ำคลองบางคูเวียง ประตูระบายน้ำคลองขุนศรีบุรรี ักษ์ ประตูระบายน้ำ คลองควาย จะเปิดประตูระบายน้ำตลอดเวลา แต่ในช่วงฤดูฝนจะควบคุมระดับนำ้ ภายในพื้นที่ฝั่งธนบรุ ีไม่เกิน +0.80 ม.รทก. ถ้าระดับน้ำมากกว่านี้จะเปิดประตูบางส่วนหรือปิดประตูระบายน้ำทั้งหมดขึ้นอยู่กับสภาพฝน และระดบั นำ้ ภายใน 2. ด้านใต้ แนวโครงการแก้มลิง เขตบางขุนเทียน ได้แก่ สถานีสูบน้ำคลองสนามชยั สถานีสบู น้ำ คลองพระยาราชมนตรีสถานีสูบน้ำ คลองสะแกงาม สถานีสูบน้ำคลองเลนเปน สถานีสูบน้ำคลองระหาญ ประตูระบายน้ำคลองรางตรงประตูระบายนำ้ คลองม่วง และประตูระบายน้ำคลองบางขนุน และด้านคลองบางมด ได้แก่ ประตูระบายน้ำคลองรางโพธิ์ ประตูระบายน้ำคลองบุญสุข ประตูระบายน้ำคลองรางสะแก และ ประตูระบายน้ำคลองนา ในเดือนมกราคม - พฤษภาคม รวมเวลา 5 เดือน จะทำการปิดประตูระบายน้ำและ หยุดเดินเครื่องสูบน้ำ ในช่วงข้างขึ้น/ข้างแรม 4 - 10 ค่ำ และจะเปิดประตูระบายน้ำได้หรือสูบน้ำออกได้ ในช่วงข้างขึ้น/ข้างแรม 11 - 3 ค่ำ ในเดือนมิถุนายน ถึงเดือนธนั วาคม สามารถสบู น้ำหรือเปิดประตูระบายนำ้ ได้ตลอดเวลา 3. ดา้ นใต้พ้ืนท่ีติดกับจงั หวัดสมทุ รปราการ ปลายคลองบางมด เขตทุ่งครุ เช่น ประตูระบายน้ำ คลองสวน ประตูระบายน้ำคลองกระออม มีการเปิดประตูระบายน้ำออกจากคลองบางมดได้ คือในช่วงเดือน ธันวาคม ถึง เดือนพฤษภาคม จะเปิดประตูระบายน้ำเดอื นละ 1 ครั้ง ในช่วงข้างแรม 8 - 10 ค่ำ รวมเดือนละ 3 วัน และในช่วงเดือน มิถุนายน ถึง เดือนพฤศจิกายน จะเปิดประตูระบายน้ำเดือนละ 2 ครั้ง ในช่วงข้างขึ้น 8 - 10 ค่ำ และข้างแรม 8 - 10 ค่ำ รวมเดอื นละ 6 วัน 28
29 พ้ืนที่ฝั่งพระนคร สำนักการระบายน้ำมีข้อตกลงในการบริหารจัดการนำ้ พื้นทรี่ อบนอกซึง่ เชอื่ มต่อกับปริมณฑล ดงั นี้ 1. ด้านเหนือ คลองเปรมประชากรตอนประตูระบายน้ำคลองเปรมใต้ (ติดคลองรังสิต) ประตู ดังกล่าวประกอบด้วยประตูแบบปิด และติดตั้งเครื่องสูบน้ำขนาด 3 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที จำนวน 4 เครื่อง ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของสำนักชลประทานที่ 11 ช่วงฤดูฝนจะเดินเครื่องสูบน้ำรักษาระดับน้ำ ด้านในไม่เกิน +0.50 ม.รทก. ช่วงฤดูแล้งจะเปิดบานประตูเพื่อนำน้ำจากคลองรังสิตผ่านเข้ามาไหลเวียน คลองเปรมประชากร โดยกรุงเทพมหานครจะเดินเครื่องสูบน้ำที่สถานีสูบน้ำคลองเปรมประชากร และ สถานีสูบนำ้ บางซ่ือ เพอื่ ถา่ ยเทนำ้ และปรบั คณุ ภาพน้ำ 2. ด้านตะวันออก ซึ่งประกอบด้วยสถานีสูบน้ำของ สำนักชลประทานที่ 11 ได้แก่สถานีสูบน้ำ คลองหกวา ตอนคลอง 13 สถานีสูบน้ำแสนแสบตอนหนองจอก สถานีสูบน้ำประเวศบุรีรมย์ ตอนคลอง พระองค์เจ้าไชยานชุ ิต และสำนกั การระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร ดแู ลประตูระบายนำ้ คลองสองสายใต้ ประตู ระบายนำ้ แนวคลองหกวาสายลา่ ง การดำเนินการ 1. สถานีสูบน้ำคลองหกวา ตอนคลอง 13 ควบคุมระดับน้ำที่ด้านนอกไม่เกิน +1.70 ม.รทก. ดา้ นในไม่เกนิ +0.90 ม.รทก. ซึง่ เปน็ ค่าระดบั ที่มีขอ้ ตกลงกัน ในชว่ งฤดฝู นถา้ ระดับนำ้ ด้านในสถานีเกนิ +0.90 ม.รทก. กรมชลประทานจะเดินเครื่องสูบน้ำเพื่อลดระดับน้ำด้านในสถานีสูบน้ำคลองหกวา ตอนคลอง 13 ซึ่งมี ผลตอ่ ระดับน้ำดา้ นนอกของประตูระบายนำ้ ท่ีกรงุ เทพมหานครดูแลอยู่ ซ่งึ ไดแ้ ก่ ประตูระบายนำ้ คลองสองสาย ใต้ ประตูระบายน้ำคลองพระยาสุเรนทร์ ประตูระบายน้ำคลองลำหม้อแตกและประตูระบายน้ำคลองสามวา แต่ถ้าระดับนำ้ ดา้ นนอกของสถานีสบู น้ำคลองหกวา ตอนคลอง 13 สูงถงึ ระดบั +1.70 ม.รทก. กรมชลประทาน จะหยุดเดินเคร่อื งสูบน้ำเน่อื งจากระดับนำ้ อาจส่งผลกระทบกับพ้นื ท่ภี ายนอก 2. สถานีสูบน้ำคลองแสนแสบตอนหนองจอก ควบคุมระดับน้ำที่ด้านนอกไม่เกิน +1.30 ม.รทก. ด้านในไม่เกิน +0.90 ม.รทก. กรณีระดับน้ำด้านในสูงเกิน +0.90 ม.รทก. กรมชลประทานจะ เดินเครื่องสูบน้ำเพื่อลดระดับน้ำด้านใน ซึ่งจะมีผลต่อระดับน้ำด้านนอกประตูระบายน้ำแสนแสบมีนบุรี กรณี ระดับน้ำด้านนอกสูงถึงระดับ +1.30 ม.รทก. กรมชลประทานจะหยุดเดินเครื่องสูบน้ำเนื่องจากระดับน้ำอาจ สง่ ผลกระทบพนื้ ทภี่ ายนอก 3. สถานีสูบน้ำคลองประเวศบุรีรมย์ตอนคลองพระองค์เจา้ ไชยานุชติ ควบคุมระดับน้ำด้านใน ไม่เกิน +0.50 ม.รทก. กรณีระดับน้ำด้านในสูงเกิน +0.50 ม.รทก. กรมชลประทานจะเดินเครื่องสูบนำ้ เพือ่ ลด ระดับน้ำด้านในลง ส่งผลต่อระดับน้ำด้านนอกประตูระบายน้ำลาดกระบัง ถ้าระดับน้ำ ด้านนอกสถานีสูงเกิน +0.75 ม.รทก. กรมชลประทานจะหยุดเดนิ เคร่ืองสูบนำ้ เน่อื งจากระดับนำ้ อาจสง่ ผลกระทบพืน้ ทีภ่ ายนอก นอกจากน้ียงั มกี ารประชุมเจ้าหนา้ ทฝ่ี า่ ยปฏิบัตงิ านร่วมกนั ระหว่างสำนักการระบายนำ้ กรมชลประทาน และจังหวัดรอบปริมณฑลเป็นประจำทุกปเี ชน่ กัน 8. งบประมาณแผนปฏิบตั กิ ารปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาน้ำท่วม งบประมาณแผนปฏิบัติการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหานำ้ ท่วมส่วนใหญ่จะเปน็ สิ่งทีไ่ ด้เตรียมไว้ใช้ ในแผนงานปกตซิ ึง่ สามารถแบ่งไดด้ ังนี้ 8.1 งบประมาณประจำปี สำหรบั คา่ ใช้จ่ายตามแผนงานเตรียมการและปฏบิ ตั กิ ารท่ีเตรียมไว้ สำหรับแผนงานปกตโิ ดยจา่ ยจากงบประมาณประจำปี 8.2 งบกลาง ประเภทเงนิ สำรองสำหรบั ค่าใชจ้ ่ายตา่ งๆเกี่ยวกบั กรณนี ำ้ ทว่ มประจำปีและ แผนงานเรง่ ดว่ นเพ่มิ เตมิ ระหวา่ งปี 29
30 8.3 เงนิ ยืมสะสม ใชใ้ นกรณเี ดียวกบั ข้อ 8.2 เมื่อเงนิ งบกลางประเภทสำรองสำหรับค่าใชจ้ ่าย ต่างๆเกีย่ วกับกรณนี ำ้ ท่วมไมเ่ พียงพอ/เปน็ แผนงานทีต่ ้องใช้งบประมาณมากพอสมควร 8.4 เงินอุดหนุนรฐั บาลสำหรบั โครงการ/แผนงานท่ีกำหนดโดยคณะกรรมการพัฒนา กรงุ เทพมหานครและปริมณฑลเทา่ นัน้ ตารางแสดงการจดั สรรงบประมาณแผนปฏิบัตกิ ารปอ้ งกันและแก้ไขปญั หานำ้ ท่วม ในส่วนราชการสำนกั การระบายน้ำ งบประมาณประจำปี 2565 สว่ นราชการ เงนิ งบประมาณ เงินอดุ หนนุ รฐั บาล รวมจำนวนเงนิ ประจำปี 2565 ประจำปี 2565 สำนกั งานพัฒนาระบบระบายน้ำ (บาท) กองระบบคลอง (บาท) (บาท) 2,242,362,767 สำนักงานระบบควบคุมน้ำ 2,140,400,267 101,962,500 กองเครอื่ งจักรกล 190,000,000 889,872,568 กองระบบท่อระบายนำ้ 699,872,568 25,920,000 325,592,551 กองสารสนเทศระบายน้ำ 299,672,551 69,209,100 69,209,100 - 229,449,000 รวม 27,489,000 201,960,000 139,859,200 139,859,200 3,896,345,186 - 3,376,502,686 519,842,500 แผนภูมริ ูปวงกลม แสดงจัดสรรงบประมาณแผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำทว่ ม ในสว่ นราชการสำนกั การระบายน้ำ งบประมาณประจำปี 2565 กองระบบท่อระบายน้า 6% กองสารสนเทศระบายน้า 4% กองระบบคลอง 23% กองเครอ่ื งจักรกล สา้ นักงานพัฒนาระบบระบายน้า 2% 57% สา้ นกั งานระบบควบคมุ น้า 8% 30
31 แผนภมู ิแท่งแสดงการจัดสรรงบประมาณแผนปฏบิ ัติการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาน้ำทว่ ม ในสว่ นราชการสำนักการระบายน้ำ งบประมาณประจำปี 2565 2,500,000,0020,140,400,267 2,000,000,000 1,500,000,000 1,000,000,000 699,872,568 500,000,000 101,962,500 190,000,2090902,657,922,505,010609,209-,2170,04892,0010,0960,103090,859,-200 0 เงนิ งบประมาณ กทม เงินอุดหนุนรฐั บาล 9. ปัญหาและอุปสรรค 9.1 ปัญหาและอปุ สรรคในการดำเนนิ การป้องกันน้ำท่วมเน่อื งจากนำ้ ฝน 9.1.1 มีการกีดขวางทางน้ำไหล - จากถนนลงสทู่ ่อระบายน้ำโดยขยะทีล่ อยมาติดตะแกรงช่องรับน้ำฝน - จากท่อระบายนำ้ ลงสคู่ ลองโดยทอ่ ระบายน้ำชำรุดเนื่องจากหน่วยงานสาธารณปู โภค เชน่ โทรศพั ทห์ รอื ประปา และเหตุอน่ื ๆ - ในคคู ลองโดยมีประชาชนปลูกบา้ นเรือนรุกล้ำคคู ลองทำใหม้ อิ าจขุดลอกขยายความกว้าง และลึกได้พอเปน็ เหตใุ ห้น้ำไหลไม่สะดวกและเกิดสิ่งกดี ขวางทางน้ำไหลได้งา่ ย - ระบบสูบนำ้ มขี ยะและวชั พืชจำนวนมากซ่ึงลอยมากบั กระแสน้ำมาติดทีต่ ะแกรงกั้นขยะ กอ่ นเข้าเคร่ืองสูบนำ้ 9.1.2 แผนปฏบิ ตั ิการยังไม่ครอบคลุมปญั หาอย่างครบถ้วน 9.1.3 เกิดกระแสไฟฟ้าดับหรอื กระแสไฟฟ้าสำหรับเคร่อื งสูบนำ้ และประตรู ะบายนำ้ ขัดขอ้ ง 9.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการดำเนนิ การปอ้ งกันน้ำทว่ มและระบายนำ้ เน่ืองจากน้ำหนุน 9.2.1 ในกรณีที่ระดบั นำ้ ในแมน่ ้ำเจา้ พระยาท่ีสูงเกินกว่า +2.00 ม.รทก. ตามที่คาดหมายไว้อาจทำให้การป้องกันน้ำท่วมไม่ได้ผลในกรณีนี้จึงต้องติดตาม และคาดหมายระดบั นำ้ เป็นการล่วงหน้าเพือ่ ใหม้ เี วลาเพียงพอในการเสริมแนวป้องกัน 31
32 9.2.2 แนวป้องกนั น้ำทว่ มบางส่วนอาจมีประชาชนที่ได้ประโยชน์ แต่บางส่วนอาจไม่ได้ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาในเรื่องความรู้และความเข้าใจของ ประชาชนที่ไม่ถูกต้อง เช่น เหตุการณ์ที่ประชาชนไปทำลายแนวป้องกันน้ำท่วม ทำให้ น้ำไหลเข้าทว่ มพืน้ ทีต่ ่าง ๆ เปน็ ต้น 9.2.3 การปฏบิ ตั กิ ารในชว่ งฝนตกหนกั มาก ขณะเดียวกันก็มีระดบั น้ำในแม่นำ้ สูงอาจมีอปุ สรรคในบางพื้นท่ีในกรณีนจี้ ะตอ้ ง มกี ารประสานการปฏบิ ัติงานอยา่ งรวดเรว็ 9.3 ปัญหาจากปรมิ ณฑล 9.3.1 เปิดประตรู ะบายน้ำ ในอตั ราทสี่ ามารถบรหิ ารจดั การไดโ้ ดยไม่สง่ ผลกระทบต่อพนื้ ท่ี กรงุ เทพมหานคร 9.3.2 ประชาสมั พนั ธ์ ให้ประชาชนทราบขอ้ เทจ็ จริงทงั้ หมด 10. สรุป 10.1 การปฏิบตั กิ ารปอ้ งกันและแก้ไขปญั หานำ้ ทว่ มเนื่องจากน้ำฝน ที่สำคัญจะต้องมีการดำเนินงานในทุกขั้นตอนอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือจะต้องมีการดำเนินงาน ในขั้นเตรียมการให้มีความพร้อมทั้งด้านอุปกรณ์และสภาพทางระบายน้ำ รวมทั้งจะต้องมีความพร้อมของ เจ้าหน้าที่ทุกระดับในขั้นปฏิบัติการอีกด้วย ซึ่งการที่จะสามารถดำเนินงานให้ได้ผลดังกล่าวจะต้องมีการ ประสานงานและการตรวจสอบติดตามประเมินผลเป็นอย่างดีตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อให้สามารถอำนวยการป้องกัน และแกไ้ ขปัญหาน้ำทว่ มไดต้ ามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 10.2. การปฏิบตั ิการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหานำ้ ทว่ มเนอ่ื งจากนำ้ หนุน หัวใจสำคญั อย่ทู ่จี ะต้องมีแนวคนั กน้ั น้ำท่ีมีความพร้อมและครอบคลุมพน้ื ทป่ี ้องกันอยา่ งทั่วถงึ และ จะตอ้ งมีระดับสงู พอท่จี ะป้องกันไมใ่ ห้นำ้ ล้นเข้ามาในพ้ืนทป่ี ้องกันไดร้ วมท้งั จะตอ้ งมีการถา่ ยเทน้ำออกจากพื้นท่ี อย่างมีประสิทธภิ าพอีกด้วย โดยการตรวจสอบแนวคันก้ันน้ำอยา่ งสม่ำเสมอและทำการปรับปรงุ ซ่อมแซมจุดท่ี ชำรุดหรือเป็นจุดเสี่ยง แต่เนื่องจากการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และระดับของแนวคันกั้นน้ำนั้นเป็นไป เพื่อการป้องกันน้ำท่วมระดับหนึ่งเท่านั้น การที่จะสามารถดำเนินการป้องกันให้ยังคงมีประสิทธิภาพในสภาพ การอื่นๆ ขึ้นอยู่กับเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายจะต้องปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบของตนอย่างเต็มกำลัง ความสามารถ รวมทั้งจะต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารในแง่ของการประสานความร่วมมือจาก ส่วนราชการอ่ืนๆ และวัสดอุ ปุ กรณ์ในกรณีพเิ ศษเร่งด่วนดว้ ย ลงชื่อ..........................................ผขู้ ออนมุ ตั ิ (นายอาสา สุขขงั ) ผอู้ ำนวยการกองสารสนเทศระบายน้ำ สำนกั การระบายนำ้ ลงช่อื ..........................................ผู้อนุมัติ (นายสมศกั ด์ิ มีอดุ มศักด)์ิ ผู้อำนวยการสำนกั การระบายน้ำ 32
33
การบริหารจัดการนำ้ ในกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร พ้ืนท่ีประมาณ 1,568 ตารางกิโลเมตร ต้ังอยู่บนพื้นที่ลุ่มต่ำตอนปลายของ แม่น้ำเจ้าพระยาใกล้อ่าวไทย ระดับความสูงเฉลี่ยประมาณ 0.00 ถึง +1.50 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง (ม.รทก.) โดยบริเวณริมฝ่ังแม่น้ำเจ้าพระยาและพ้ืนท่ีทางทิศเหนือมีระดับสูง +1.50 ม.รทก. ส่วนพ้ืนท่ีตอนกลาง ด้านตะวันออก และด้านใต้มีระดับต่ำ อยู่ระหว่าง 0.00 ถึง +0.50 ม.รทก. บางพ้ืนท่ีมีระดับต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ปานกลาง เช่น บริเวณมหาวิทยาลัยรามคำแหง การระบายน้ำออกจากพื้นที่โดยใช้การไหลตามธรรมชาติ โดย แรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) ทำได้ยากและมีประสิทธิภาพต่ำ เน่ืองจากระดับพ้ืนดินมีระดับต่ำกว่าระดับ น้ำควบคุมในคลองและในแม่น้ำเจ้าพระยา การระบายน้ำออกจากพื้นท่ีโดยขีดความสามารถของสถานีสูบน้ำและ คลองระบายน้ำจงึ มีความจำเปน็ แต่ก็มีขีดจำกัดจากการที่ไมส่ ามารถปรับปรุงขยายความกว้างของคลองได้จึงทำให้ เพิ่มขีดความสามารถการระบายน้ำไม่ได้ เน่ืองจากปัญหาการรุกล้ำคู คลอง สาธารณะ กรุงเทพมหานคร จึงดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมโดยใช้ระบบพ้ืนที่ปิดล้อม ด้วยการก่อสร้างแนวป้องกันน้ำท่วม ล้อมรอบพ้ืนที่ เพ่ือป้องกันน้ำจากพื้นที่ภายนอกไหลบ่าเข้าท่วมพื้นท่ี ส่วนภายในพื้นที่ปิดล้อมมีการก่อสร้าง ระบบระบายน้ำ เพ่อื ระบายน้ำทว่ มขงั เน่อื งจากฝนตกในพน้ื ที่ให้ระบายลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงห่วงใย ถึงความเดือดร้อนของประชาชน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะผู้บริหารของกรุงเทพมหานครเข้าเฝ้าเพื่อ พระราชทานพระราชดำริในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม และการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียหลายครั้ง ซง่ึ กรงุ เทพมหานคร ได้น้อมนำพระราชดำริ เพ่ือยึดถอื เปน็ นโยบายสำคัญและใช้เป็นแนวทางปฏบิ ตั ิ ซ่ึงเป็นแนวทาง ที่สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาได้จริง โดยในส่วนการดำเนินการด้านการป้องกันน้ำท่วมและการระบายน้ำได้มี การดำเนนิ การ ดงั นี้ ระบบป้องกันนำ้ ท่วม โดยกอ่ สร้างคนั ปอ้ งกันนำ้ ท่วมปิดลอ้ มพ้นื ท่ีเพ่ือป้องกันน้ำหลากและนำ้ ทะเลหนุนสงู เพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วมเน่ืองจากน้ำหลากจากแม่น้ำเจ้าพระยาและน้ำบ่าจากทุ่งโดยรอบพื้นที่ ไหลเขา้ ท่วมพื้นท่ี กรุงเทพมหานครกอ่ สรา้ งคนั ปอ้ งกันนำ้ ท่วมปิดลอ้ มพน้ื ที่ โดยก่อสรา้ งคันป้องกันน้ำทว่ ม ดงั น้ี คนั ปอ้ งกันน้ำท่วมดา้ นตะวันออกของกรุงเทพมหานคร (คนั กน้ั นำ้ พระราชดำริ) ตามท่ีมีปัญหาน้ำท่วม เมื่อ พ.ศ. 2526 กรุงเทพมหานครและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ก่อสร้าง แนวป้องกันน้ำท่วมตามพระราชดำริ โดยได้เริ่มดำเนินการต้ังแต่ พ.ศ. 2527 เพื่อป้องกันน้ำไหลบ่าจากพ้ืนที่ ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานคร เข้าท่วมพ้ืนที่ชุมชนช้ันใน ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีหนาแน่นมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ สังคม โดยก่อสร้างคันดินริมถนนสายต่าง ๆ ด้านตะวันออก ความยาวรวมประมาณ 72 กิโลเมตร แนวคันป้องกัน เร่ิมต้ังแต่ถนนพหลโยธินบริเวณซอยแอนเนกซ์ ถนนเลียบคลองสอง ถนนเลียบคลองหกวาสายล่าง ถนนหทัยราษฎร์ ถนนหทัยมิตร ถนนนิมิตรใหม่ ถนนประชาร่วมใจ ถนนราษฎร์อุทิศ ถนนสุวินทวงศ์ ถนนรามคำแหง ถนนร่มเกล้า ถนนก่ิงแก้ว ถนนสุขุมวิทสายเก่าจรดทะเลท่ีจังหวัดสมุทรปราการ การก่อสร้างแล้วเสร็จ พ.ศ. 2528 ได้มีการ ยกระดับ ถนนริมคันกั้นน้ำเดิม เป็นแนวคันป้องกันถาวรแทน สามารถป้องกันน้ำไหลบ่าจากทุ่งด้านเหนือและ ด้านตะวันออกของพ้ืนที่ได้ที่ระดับ ความสูง +3.00 ม.รทก. ซ่ึงคันกั้นน้ำบางส่วนมีการทรุดตัว ทำให้คันกั้นน้ำ มีระดับ ลดลงมีความสูงที่ + 2.00 ม.รทก. ถึง + 2.50 ม.รทก. หลังน้ำท่วมปี 2554 กรุงเทพมหานครได้เสริมคันกั้นน้ำ ด้านตะวันออกตามแนวพระราชดำริ และประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเสริมคันกั้นน้ำด้านตะวันออกตาม แนวพระราชดำริ โดยประสานกรมชลประทาน กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท ในการขยายแนวป้องกัน น้ำท่วมตามแนวพระราชดำริด้านเหนือ ไปท่ีบริเวณคลองรังสิตฝั่งทิศใต้ เร่ิมจากแม่น้ำเจ้าพระยาไปถึงประตูระบายน้ำ 1
2 จุฬาลงกรณ์ ทำการเสริมความสูงคันก้ันน้ำ +3.95 ม.รทก. และจากประตูระบายน้ำจุฬาลงกรณ์เลียบคลองรังสิต ประยูรศักดิ์ด้านใต้ไปถึงคลองเจ็ด และจากถนนเลียบคลองเจ็ดฝั่งตะวันออกลงมาจรดแนวคันพระราชดำริเดิมท่ี ถนนนิมิตรใหม่ เสริมความสูงคันก้ันน้ำระดับความสูง +3.55 ม.รทก. และจากถนนนิมิตรใหม่ถึงถนนร่มเกล้า เสริมความสูงคนั ก้นั นำ้ +3.00 ม.รทก. ส่วนคนั กน้ั น้ำพระราชดำริเดิมบริเวณใตค้ ลองหกวาสายล่างดำเนินการปรับปรุง ประตูระบายน้ำคลองสองสายใต้ และเสริมความสูงคันกั้นน้ำจากประตูระบายน้ำคลองสองสายใต้ถึงถนนร่มเกล้าสูง +3.00 ม.รทก. จากถนนรม่ เกล้าถงึ ถนนบางพลี-ตำหรุ เสรมิ ความสงู +2.50 ม.รทก. นอกจากนี้ยังยกระดับถนนเป็นคันก้ันน้ำเพิ่มเติมในเขตคลองสามวา โดยยกระดับถนนเป็นคันกั้นน้ำ ที่ถนนราษฎร์นิมิตร ช่วงจากถนนหทัยราษฎร์ถึงถนนนิมิตรใหม่ ยาวประมาณ 1.5 กิโลเมตร ถนนหทัยมิตร ช่วง จากถนนหทัยราษฎรถ์ ึงถนนนิมิตรใหม่ ยาวประมาณ 1.0 กิโลเมตร และถนนประชารว่ มใจ ช่วงจากถนนนิมติ รใหม่ ถึงถนนคลองบึงไผ่และ ประตูระบายน้ำคลองแสนแสบ ยาวประมาณ 1.5 กิโลเมตร ความสูงคันกั้นน้ำ +3.00 ม. รทก. และ สร้างทำนบกั้นน้ำ จำนวน 5 แห่ง ท่ีคลองสามวา คลองส่ีตะวันออก คลองสามตะวันออก คลองสอง- ตะวันออก และคลองหน่งึ ตะวนั ตก 2
3 3
4 4
5 แนวปอ้ งกันนำ้ ทว่ มรมิ แมน่ ้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสด์ิ คลองชักพระ และคลองพระโขนง 1. แม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสดิ์ คลองชักพระและคลองพระโขนง พ้ืนท่ี กรุงเทพมหานคร มีความยาวริมตล่ิงประมาณ 87.93 กิโลเมตร เป็นแนวป้องกันตนเองยาวประมาณ 8.30 กิโลเมตร และเปน็ แนวปอ้ งกนั น้ำทว่ มของกรุงเทพมหานคร ซ่ึงกอ่ สร้างโดยสำนกั การระบายน้ำ ความยาวประมาณ 79.63 กโิ ลเมตร 1.1 สรปุ รายละเอยี ดความยาวแนวป้องกันน้ำทว่ มของกรงุ เทพมหานคร ไดด้ งั น้ี 1.1.1 แนวป้องกนั น้ำทว่ มริมแม่นำ้ เจา้ พระยา ความยาวรวม 52.70 กิโลเมตร 1.1.1.1 รมิ แม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งพระนคร ตัง้ แต่คลองบางเขนเก่าถึงคลองบางนา ความยาว 34.70 กโิ ลเมตร 1.1.1.2 รมิ แมน่ ำ้ เจ้าพระยาฝ่งั ธนบรุ ี ตง้ั แตส่ ะพานพระราม 7 ถงึ คลองแจงร้อน ความยาว 18.00 กิโลเมตร 1.1.2 แนวปอ้ งกันนำ้ ท่วมริมคลองบางกอกน้อย ตั้งแตป่ ากคลองบางกอกน้อยถงึ คลองมหาสวสั ดิ์ ความ ยาวประมาณ 8.57 กิโลเมตร 1.1.3 แนวป้องกนั น้ำท่วมรมิ คลองมหาสวัสด์ิ ตงั้ แตป่ ากคลองมหาสวสั ด์ิ ถงึ ประตูระบายน้ำคลอง ทววี ัฒนา ความยาวประมาณ 15.49 กิโลเมตร 1.1.4 แนวปอ้ งกันน้ำท่วมรมิ คลองชักพระ ตั้งแตค่ ลองบางกอกนอ้ ย ถึงประตรู ะบายน้ำ คลองชกั พระ ความยาวประมาณ 0.67 กโิ ลเมตร 1.1.5 แนวป้องกนั น้ำทว่ มรมิ คลองพระโขนง ตั้งแต่แมน่ ำ้ เจ้าพระยา ถงึ ประตูระบายน้ำคลองพระ โขนงความยาวประมาณ 2.20 กโิ ลเมตร 1.2 ระดบั ความสูงคันกัน้ นำ้ แนวป้องกันน้ำท่วมของกรุงเทพมหานคร ดังน้ี 1.2.1 ริมแม่นำ้ เจ้าพระยา ชว่ งสะพานพระราม 7 ถึงสะพานกรงุ ธนบรุ ี ความสูง +3.50 ม.(รทก.) 1.2.2ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ช่วงสะพานกรุงธนบรุ ี ถึงสะพานสมเด็จพระปนิ่ เกลา้ ความสงู +3.25 ม.(รทก.) 1.2.3 ริมแม่นำ้ เจ้าพระยา ช่วงสะพานสมเดจ็ พระป่ินเกล้า ถงึ สะพานพุทธฯ ความสูง +3.00 ม.(รทก.) 1.2.4 ริมแมน่ ำ้ เจ้าพระยา ช่วงสะพานพุทธฯ ถึงบางนา ความสูง +2.80 ม.(รทก.) 1.2.5 รมิ คลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสด์ิ ความสงู +3.00 ม.(รทก.) 2. แนวป้องกันตนเองของเอกชนหรอื หน่วยงานอ่นื ความยาวประมาณ 8.30 กโิ ลเมตร ประกอบด้วย 2.1 แนวป้องกันตนเองท่สี ามารถป้องกนั นำ้ ทว่ มได้ ความยาวประมาณ 5.788 กิโลเมตร เช่น เขอ่ื น ปอ้ งกันน้ำท่วมของกรมชลประทาน เขื่อนป้องกนั น้ำทว่ มของกองทัพเรือ เขือ่ นป้องกันน้ำทว่ มของธนาคาร แหง่ ประเทศไทย เข่ือนปอ้ งกันน้ำทว่ มของศาสนสถานหรือศาลเจา้ และเขอ่ื นป้องกันน้ำท่วมของเอกชนท่ดี ำเนนิ การ กอ่ สร้างเอง เป็นต้น ซ่ึงแนวป้องกนั น้ำท่วมดังกล่าวมีความมั่นคงแข็งแรงสามารถป้องกันน้ำทว่ มได้ 2.2 แนวปอ้ งกันตนเองทไี่ ม่สามารถป้องกนั น้ำท่วมได้ (แนวฟนั หลอ) ความยาวประมาณ 2.512 กโิ ลเมตร เช่น ทา่ เทียบเรือขนสง่ สินค้า อจู่ อดเรือ ร้านคา้ ริมน้ำ อาคารโกดังสินคา้ เปน็ ต้น โดยปจั จุบนั มีทงั้ สนิ้ จำนวน 14 แหง่ ในพ้ืนท่ี 9 เขต ซึง่ สำนกั การระบายนำ้ จะเข้าดำเนินการเรียงกระสอบทรายเพื่อป้องกนั น้ำทว่ ม ในช่วงฤดูนำ้ หลากและน้ำทะเลหนนุ สงู เปน็ ประจำทุกปี โดยในปี 2564 สำนักการระบายน้ำ ไดด้ ำเนนิ การ เรียงกระสอบทรายเพื่อป้องกันน้ำทว่ มแล้วเสร็จ ความยาวประมาณ 2.90 กิโลเมตร 5
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350