Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเมินผลการฝึกปฏิบัติบนหอผู้ป่วย

ประเมินผลการฝึกปฏิบัติบนหอผู้ป่วย

Published by suranuchsuktawee, 2021-06-24 09:26:39

Description: ประเมินผลการฝึกปฏิบัติบนหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชลบุรี

Search

Read the Text Version

ผลการฝึกภาคปฏิบตั ิการพยาบาล หอผู้ปว่ ยโรงพยาบาลชลบรุ ี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี

ประเมนิ ผลการฝกึ ภาคปฏิบัตกิ ารพยาบาลของอาจารยน์ ิเทศประจำหอผู้ป่วย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี อาจารยส์ ุรนชุ สขุ ทวี กำหนดการฝกึ ปฏิบัติ 1.ตารางแสดงระยะเวลา หน่วยงานและรายช่ือพยาบาลพี่เล้ียง ระยะเวลาทฝี่ ึกปฏิบัติ หน่วยงาน รายช่ือพยาบาลพ่ีเลยี้ ง 1 ต.ค. 2563 – 30 พ.ย. 2563 หอผปู้ ว่ ยชลาทศิ 2 นางสาวปารฉิ ัตร์ พรมจติ ร์ 1 ธ.ค. 2563 - 31 ม.ค. 2564 หอผู้ป่วยสก. 5 นางสาวปยิ วรรณ โพธเ์ิ ผอื ก 1 ก.พ. 2563 – 31 ม.ี ค. 2563 หอผปู้ ่วยหนกั PICU นางสาวศริ ิขวัญ เนนิ ปลอด 1 – 30 เมษายน 2564 รพสต.บางทราย นางบุศรา สุขสวสั ด์ิ 2.ตารางแสดงประสบการณ์ที่ต้องการฝึกทักษะ หอผปู้ ว่ ยอายรุ กรรม (หอผู้ป่วย สก.5) ประสบการณ์ท่ตี ้องการฝึกทักษะ ผลการฝกึ ประสบการณ์ที่ได้รับ 1. ใสส่ ายยางทางจมกู (NG tube) ปฏบิ ตั ิ ประสบการณ์ที่ไดร้ บั จากการฝกึ ทักษะการ 2. ให้อาหารทางสายยาง (NG feeding) ปฏิบตั ิ พยาบาลผปู้ ่วยทางอายุรกรรม ได้แก่ 3. ใส่สายสวนปัสสาวะ (Urethral ปฏบิ ตั ิ - การประเมินผู้ปว่ ย ได้แก่ การประเมนิ ระดบั catheterization) ความรสู้ กึ ตัว (Glasgow coma scale) การ - แบบสวนทิง้ ประเมินสญั ญาณชีพ (Vital signs) การ - แบบสวนค้าง ประเมนิ SOS Score, sedative score, 4. การบริหารยาทางปาก ปฏิบตั ิ motor power, Braden score,Pain 5. การบรหิ ารยาฉีดเข้าชัน้ ใต้ผิวหนัง/ ฉีดเขา้ ปฏิบตั ิ score, การประเมินความสมดุลของนา้ํ เขา้ กล้ามเนื้อ และออกจากร่างกาย (Intake Output) การ 6. การบริหารยาและสารน้ำทางหลอดเลอื ดดำ ปฏิบตั ิ ประเมนิ ระดับแผลกดทบั ,ประเมนิ ความเส่ยี ง 7. การพยาบาลผู้ปว่ ยใหเ้ ลือดและสว่ นประกอบ ปฏิบัติ ตอ่ การพลัดตกหกล้มและการตรวจรา่ งกาย ของเลือด ผู้ป่วย 8. การพยาบาลผปู้ ว่ ยที่ได้รับออกซิเจน ปฏบิ ัติ - การฝกึ การเขยี นบนั ทกึ ทางการพยาบาล 9. การพยาบาลผปู้ ว่ ยท่ีใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจ ปฏิบตั ิ แบบ Focus charting การจัดลำดับ 10. การหย่าเคร่ืองชว่ ยหายใจผปู้ ว่ ย ปฏบิ ัติ ความสำคญั ของปัญหาและการพยาบาล การ 11. การพยาบาลผปู้ ่วยที่ได้รับการเฝา้ ระวงั ปฏิบัติ เขยี นฟอร์มปรอท อาการแบบ Close monitoring 12. การวดั CVP ปฏบิ ัติ

ประสบการณ์ทตี่ ้องการฝึกทกั ษะ ผลการฝึก ประสบการณ์ทีไ่ ดร้ ับ 13. การเก็บสิง่ ส่งตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร ปฏบิ ัติ - การรับและจำหนา่ ยผปู้ ่วย การแนะนำการ 14. การดูแลผูป้ ่วยท่ีมแี ผลกดทบั เชน่ การ ปฏิบัติ เซน็ ใบยินยอมและการใหข้ ้อมูลทางการ ประเมนิ ระดับแผลกดทับ การทำแผล พยาบาลเบอ้ื งตน้ กบั ญาติผ้ปู ว่ ย 15. การทำแผลผ้ปู ว่ ยเจาะคอ ปฏิบัติ - ทักษะทางการพยาบาล เช่น การบริหารยา 16. การพยาบาลผู้ป่วยทำหัตถการเจาะปอด ไมไ่ ด้ ตามหลัก 7R รวมถึงการเฝา้ ระวังอาการ ปฏิบตั ิ ขา้ งเคียงภายหลงั ได้รบั ยา, การใสส่ ายยางทาง 17. การพยาบาลผ้ปู ว่ ยทำหัตถการเจาะท้อง ปฏิบตั ิ จมกู และการให้อาหารทางสายยาง, การดแู ล 18. การพยาบาลผปู้ ว่ ยทำหัตถการ Central ปฏบิ ัติ ผปู้ ว่ ยทีใ่ ชเ้ ครอ่ื งชว่ ยหายใจ เชน่ การทำความ line สะอาดแผลเจาะคอ, การ suction clear 19. การพยาบาลผปู้ ่วยทำหัตถการเจาะหลัง ปฏบิ ัติ airway แบบ Open/Close system, การ 20. การหยา่ เคร่ืองชว่ ยหายใจผปู้ ว่ ย ปฏบิ ัติ ประเมินความพร้อมในการหย่าเคร่อื งช่วย 21. การประเมนิ SOS ในการดูแลผปู้ ว่ ย Care ปฏิบตั ิ หายใจตาม weaning protocol, การให้ program ออกซิเจนตามความเหมาะสมกับอาการ ปฏิบัติ ผูป้ ว่ ย, การประเมินบาดแผลและทำแผล (Dry 22. Pain management ปฏิบตั ิ dressing, Wet dressing), การใสส่ ายสวน 23. การบันทึกทางการพยาบาลแบบ Focus ปัสสาวะแบบสวนท้งิ /สวนคา้ ง, การเก็บสิ่งสง่ charting ตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ, การดแู ลดา้ นสขุ วทิ ยา เช่น การอาบน้ำผปู้ ว่ ย การดแู ลความ สะอาดช่องปากและฟนั , การชว่ ยฟ้นื คืนชีพ - การพยาบาลผู้ปว่ ยดา้ นอายุรกรรมในโรค ทางระบบทางเดนิ หายใจ ระบบหัวใจและ หลอดเลือด ระบบทางเดินอาหารและระบบ ต่อมไร้ทอ่

ผลการฝึกภาคปฏบิ ตั ิหอผู้ปว่ ยอายรุ กรรม (หอผู้ปว่ ย สก.5) อาจารย์พี่เลี้ยง คือ นางสาวปิยวรรณ โพธิ์เผือก ในการฝึกปฏิบัติงานจะได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่วย ทั้งหมดประมาณ 8 เตียงต่อเวร อาจารย์พี่เล้ียงจะใหต้ รวจสอบชื่อ-สกุลผู้ปว่ ย การวินิจฉยั โรคและการรักษาที่ ต้องปฏิบัติ หลังจากรับเวรอาจารย์พี่เลี้ยงจะพูดคุยถึงโรคของผู้ป่วย อาการปัจจุบัน ปัญหาของผู้ป่วยและการ พยาบาลที่เหมาะสมกับผู้ป่วย รวมถึงข้อควรระวัง/ความเส่ียงของผู้ปว่ ยเฉพาะราย มีการทบทวนการพยาบาล ผู้ป่วยกอ่ นให้การพยาบาลจรงิ เปิดโอกาสใหส้ อบถามถึงสงิ่ ท่สี งสัยหรือไมเ่ ข้าใจ หลังจากให้การพยาบาลผู้ป่วย อาจารย์พี่เลี้ยงจะแนะนำถึงการบันทึกทางการพยาบาลในแต่ละวัน (Focus charting) จากการฝึกปฏิบัติงาน ทำให้เกิดความมั่นใจในการปฏิบัติงานและเกิดความชำนาญ อาจารย์พี่เลี้ยงให้ความช่วยเหลือในการฝึกงาน เป็นอย่างดตี ลอดระยะเวลาการฝกึ การฝกึ ปฏิบัติในหอผู้ป่วยอายรุ กรรม (หอผปู้ ว่ ย สก.5) จำนวนผู้ปว่ ยเพียงพอต่อการฝึกปฏบิ ัติและการ เกบ็ ประสบการณ์ ในการเกบ็ ประสบการณ์ขาดการพยาบาลผู้ป่วยทำหัตถการเจาะปอดที่ไม่ได้ปฏิบัติกับผู้ป่วย เนอ่ื งจากไมม่ เี คสผปู้ ว่ ยในความดูแลขณะฝกึ ปฏบิ ัติ โดยขณะฝกึ ปฏิบัติได้ติดตามเก็บประสบการณ์การพยาบาล ผู้ป่วยทำหัตถการเจาะปอดในตึกผู้ป่วยศัลยกรรม (ชลาทิศ 2) อุปกรณ์มีเพียงพอต่อการใช้งาน บุคลากรในหอ ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพที่ดี กล่าวโดยสรุปการเก็บประสบการณ์ที่จำเป็นสำหรับการดูแลผู้ป่วยในหอผู้ป่วยอายุร กรรมสามารถทำได้ครบตามวตั ถุประสงค์การฝึก และแหล่งฝกึ เหมาะสมกับการฝึกภาคปฏบิ ัติการพยาบาลของ อาจารย์นเิ ทศประจำหอผู้ปว่ ย

3.ตารางแสดงประสบการณ์ที่ต้องการฝกึ ทักษะ หอผู้ปว่ ยศัลยกรรม (หอผ้ปู ว่ ย ชลาทศิ 2) ประสบการณ์ทต่ี ้องการฝึกทกั ษะ ปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 1. การเตรยี มผูป้ ว่ ยกอ่ นผา่ ตัดและการสง่ ปฏบิ ัติ ประสบการณ์ทีไ่ ดร้ ับจากการฝกึ ทักษะการ ผู้ป่วยผ่าตัด พยาบาลผู้ป่วยทางศลั ยกรรม ได้แก่ 2. การพยาบาลผู้ปว่ ยหลังผา่ ตัดระยะ 24 ชม. ปฏบิ ัติ - การเตรยี มผูป้ ่วยกอ่ นผา่ ตดั และการส่งผู้ปว่ ย แรกและหลงั 24 ชว่ั โมง ผ่าตัด 3. การทำแผล ปฏิบัติ - การพยาบาลการเตรยี มผู้ป่วยกอ่ นและหลัง - Wet dressing เช่น แผลผา่ ตดั ทแี่ พทย์เย็บ ผา่ ตดั และการพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตดั ระยะ ขอบแผลตดิ กนั แผลมที ่อระบาย แผลไฟไหม้ 24 ชั่วโมงแรกและหลัง 24 ชั่วโมง การประเมนิ ระดับบาดแผล เป็นตน้ - การประเมนิ ผูป้ ว่ ย ได้แก่ การประเมินระดับ - Dry dressing เช่น แผลกดทบั แผลผา่ ตดั ความรู้สึกตวั (Glasgow coma scale) การ ที่มีการตดิ เช้อื แล้วขอบแผลแยก แผลผ่าตดั ที่ ประเมินสญั ญาณชพี (Vital signs) การ เยบ็ ขอบแผลแตไ่ มผ่ ูกด้ายหรือไหมทเ่ี ย็บเข้า ประเมิน SOS Score, sedative score, หากัน เปน็ ต้น motor power, Braden score,Pain score, 4. การดูแลผปู้ ว่ ยที่ทำการผ่าตดั และมีแผล ปฏิบัติ การประเมินความสมดลุ ของนํ้าเข้าและออก ระบายสารคัดหลั่ง (drain) เช่น การดแู ล จากร่างกาย (Intake Output) การประเมิน ผปู้ ่วยทีม่ ี Jackson drain หรือ Radivac ระดับแผลกดทับ,ประเมินความเสี่ยงต่อการ drain เป็นตน้ พลดั ตกหกล้มและการตรวจร่างกายผปู้ ่วย 5. Intercostal drainage (ICD) ปฏบิ ตั ิ - การฝึกการเขียนบนั ทึกทางการพยาบาลแบบ - การเตรียมอปุ กรณ์สำหรบั ทำ Intercostal Focus charting การจดั ลำดบั ความสำคญั ของ drainage (ICD) ปัญหาและการพยาบาล การเขียนฟอรม์ ปรอท - การพยาบาลผ้ปู ว่ ยทีท่ ำ Intercostal - การรบั และจำหน่ายผู้ปว่ ย การแนะนำการ drainage (ICD) เชน่ การจัดทา่ ผปู้ ว่ ย การ เซ็นใบยนิ ยอมและการให้ข้อมูลทางการ ดูแลขวด drain พยาบาลเบอ้ื งตน้ กับญาตผิ ปู้ ่วย - การพยาบาลผปู้ ว่ ยท่ี Off ICD - ทักษะทางการพยาบาล เชน่ การบริหารยา 6. การเตรยี มผู้ป่วยตรวจพิเศษทางศัลยกรรม ปฏิบัติ ตามหลัก 7R รวมถงึ การเฝา้ ระวังอาการ 7. การพยาบาลผู้ป่วยทางศลั ยกรรมทใี่ ช้ ปฏิบัติ ข้างเคยี งภายหลังไดร้ บั ยา, การใสส่ ายยางทาง เครอ่ื งชว่ ยหายใจ จมกู และการให้อาหารทางสายยาง, การดแู ล 8. การดแู ลผ้ปู ว่ ยผา่ ตัดสมอง ไม่ได้ ผปู้ ว่ ยท่ีใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจ เช่น การทำความ ปฏบิ ัติ สะอาดแผลเจาะคอ, การ suction clear 9. การพยาบาลผู้ปว่ ยผา่ ตัดไขสันหลัง ไมไ่ ด้ airway แบบ Open/Close system, การ ปฏิบัติ ประเมินความพร้อมในการหย่าเคร่ืองช่วย

ประสบการณ์ทีต่ ้องการฝึกทักษะ ปฏิบตั ิ หมายเหตุ 10. การพยาบาลผูป้ ว่ ยท่ใี ส่ Traction เชน่ ปฏิบตั ิ หายใจตาม weaning protocol, การให้ skeletal traction skin traction 11. การหยา่ เคร่ืองชว่ ยหายใจผปู้ ว่ ยทาง ออกซิเจนตามความเหมาะสมกบั อาการผปู้ ว่ ย, ศลั ยกรรม ปฏิบตั ิ การประเมินบาดแผลและทำแผล (Dry dressing, Wet dressing), การดแู ลและทำ แผลผปู้ ว่ ยทำการผา่ ตดั และมีแผลระบายสาร คดั หลัง่ (drain) เช่น การดูแลผปู้ ่วยที่มี Jackson drain/Radivac drain/Penrose drain/T-tube ,การเตรยี มและเปลีย่ นขวด ICDและประเมนิ ความผิดปกติในผปู้ ว่ ยท่ใี ส่ ICD (ICD care), การใส่สายสวนปัสสาวะแบบ สวนทิง้ /สวนค้าง, การเก็บสง่ิ สง่ ตรวจทาง ห้องปฏิบตั ิการ, การดูแลดา้ นสขุ วิทยา เช่น การอาบน้ำผู้ปว่ ย การดูแลความสะอาดช่อง ปากและฟัน การขบั ถ่าย, การชว่ ยฟื้นคนื ชพี , การปฏิบตั ิงานในการดูแลผู้ป่วยติดเชอื้ ด้อื ยา ต้านจลุ ชีพ, การดูแลผปู้ ่วยแบบ ประคับประคองในระยะสุดท้ายของชวี ิต (Palliative Care), การพยาบาลผู้ป่วยท่ใี ส่ Traction เช่น skeletal traction skin traction, การเตรยี มและช่วยแพทย์ใส่ทอ่ ชว่ ย หายใจ - การพยาบาลผ้ปู ว่ ยด้านศลั ยกรรมในโรคทาง ระบบทางเดินอาหาร เชน่ การพยาบาลผปู้ ่วย ทีม่ สี ายระบายช่องท้อง, การพยาบาลผู้ป่วยท่ี ได้รับการผ่าตดั ลำไส้เปดิ ทางหน้าท้อง(ทวาร เทียม) เปน็ ตน้ ผลการฝึกภาคปฏบิ ตั ิหอผปู้ ่วยศัลยกรรม (หอผ้ปู ว่ ย ชลาทศิ 2) อาจารย์พี่เลี้ยง คือ นางสาวปาริฉัตร์ พรมจิตร์ ในการฝึกปฏิบัติงานจะได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่วย ทั้งหมดประมาณ 4-8 เตียงต่อเวร ในการรับเวรอาจารย์พี่เลี้ยงจะให้ตรวจสอบชื่อ-สกุลผู้ป่วย การวินิจฉัยโรค และการรกั ษาท่ีต้องปฏิบตั ิ หลงั จากรับเวรอาจารย์พ่ีเลยี้ งจะพูดคยุ ถึงโรคของผ้ปู ว่ ย อาการปัจจุบัน ปัญหาของ

ผู้ป่วยและการพยาบาลที่เหมาะสมกับผู้ป่วย รวมถึงข้อควรระวัง/ความเสี่ยงของผู้ป่วยเฉพาะราย ในการ ปฏิบัติงานให้การพยาบาลกับผู้ป่วยมีอาจารย์พี่เลี้ยงติดตาม มีการทบทวนการพยาบาลผู้ป่วยก่อนให้การ พยาบาลจริง เปิดโอกาสให้สอบถามถึงสิ่งที่สงสัยหรือไม่เข้าใจได้ตลอดเวลา หลังจากให้การพยาบาลผู้ป่วย อาจารย์พี่เลี้ยงจะแนะนำถึงการบันทึกทางการพยาบาลในแต่ละวัน (Focus charting) หลังจากนั้นอาจารย์พ่ี เลี้ยงจะพูดคุยถึงข้อมูลการผ่าตัดของผู้ป่วยที่ได้รับ พยาธิสภาพของโรค ตำแหน่งของการผ่าตัด การพยาบาล ของผู้ปว่ ย ความเสย่ี ง/ข้อควรระวังหลงั ผา่ ตดั จากการฝกึ ปฏิบตั งิ านทำให้เกิดความม่ันใจในการปฏิบัติงานและ เกดิ ความชำนาญ อาจารยพ์ เี่ ล้ียงใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการฝึกงานเป็นอย่างดตี ลอดระยะเวลาการฝกึ การฝกึ ปฏิบตั ใิ นหอผู้ป่วยศลั ยกรรม (หอผูป้ ่วย ชลาทศิ 2) จำนวนผปู้ ่วยเพยี งพอต่อการฝึกปฏิบัติและ การเก็บประสบการณ์ ในการเก็บประสบการณ์ขาดการพยาบาลผู้ป่วยทำหัตถการเจาะปอดที่ไม่ได้ปฏิบัติกับ ผู้ป่วย เนื่องจากไม่มีเคสผู้ป่วยในความดูแลขณะฝึกปฏิบัติ โดยขณะฝึกปฏิบัติได้ติดตามเก็บประสบการณ์การ พยาบาลผู้ป่วยทำหัตถการเจาะปอดในตึกผู้ป่วยศัลยกรรม (ชลาทิศ 2) อุปกรณ์มีเพียงพอต่อการใช้งาน บุคลากรในหอผู้ป่วยมสี มั พันธภาพท่ดี ี กลา่ วโดยสรุปการเกบ็ ประสบการณ์ทจ่ี ำเป็นสำหรบั การดูแลผู้ป่วยในหอ ผ้ปู ่วยอายรุ กรรมสามารถทำไดค้ รบตามวัตถุประสงค์การฝึก และแหล่งฝึกเหมาะสมกับการฝึกภาคปฏิบัติการ พยาบาลของอาจารยน์ เิ ทศประจำหอผปู้ ว่ ย อาจารย์พี่เลี้ยงคือนางสาวนิตยา หวังเดช ในขณะฝึกปฏิบัติจะได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่วยทั้งหมด ประมาณ 4-8 เตียงต่อเวร ขึ้นอยู่กับจำนวนผู้ป่วยบนหอผู้ป่วย โดยอาจารย์พี่เลี้ยงจะให้รับเวรและประเมิน ผปู้ ่วยพร้อมกนั ทั้งตึกและ conference ในเวรเช้า เมือ่ แลว้ เสร็จจากการปฏิบัติงานตาม Routine ในแต่ละเวร จะนำ Focus chart และ Problem list ของผ้ปู ่วยมาเขยี นและให้อาจารย์พี่เล้ยี งตรวจสอบ อาจารยพ์ เี่ ลี้ยงจะ ติดตาม requirement ที่ต้องการและให้ความช่วยเหลือในการหาเคสประสบการณ์ให้ เพื่อให้พบเคสท่ี หลากหลาย พี่พยาบาลบนหอผูป้ ่วยให้ความช่วยเหลือและใหค้ วามร่วมมือในการฝึกเป็นอย่างดีจนการฝึกผ่าน ไปอยา่ งราบรื่น การฝึกปฏิบัติในหอผู้ป่วยศัลยกรรม (หอผู้ป่วย ช.1) บริบทของหอผู้ป่วยจะรับผู้ป่วยเจ็บป่วยดว้ ยโรค ทางศัลยกรรม โดยเน้นการพยาบาลผูป้ ่วยทางระบบประสาทและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ลักษณะของผู้ป่วยทำ ให้มีการติดต่อประสานงานแพทย์หลายสาขารวมถึงการประสานงานกับสหสาขาวิชีพ เช่น นักกายภาพบำบัด เป็นต้น มกั พบเคสทางด้านศัลยกรรมใบหนา้ กระดกู และข้อ และเคสทตี่ อ้ งปรึกษาทางด้านอายุรกรรม จำนวน ผู้ปว่ ยจงึ เพยี งพอ ครบถ้วนตอ่ การเก็บประสบการณท์ างดา้ นศลั ยกรรมและตรงตามวตั ถุประสงค์การฝึก

4.ตารางแสดงประสบการณ์ทีต่ ้องการฝึกทักษะ หอผู้ป่วยวกิ ฤต (หอผู้ปว่ ย PICU) ประสบการณ์ทต่ี ้องการฝึกทักษะ หอผ้ปู ่วย ปฏิบัติ/ หมายเหตุ วิกฤต สังเกตการณ์ 1. การประเมินระดับความรู้สึกตัวและ ปฏิบตั ิ 1.การฝึกประสบการณ์ด้านทักษะการ สัญญาณชีพ พยาบาลผู้ป่วยทั่วไปที่จำเป็นต่อการดูแล 2. การใชอ้ ปุ กรณส์ ำหรับการ Monitor ผปู้ ่วย สังเกตการณ์ ผู้ป่วยระยะวิกฤตที่เจ็บป่วยด้วยโรคทาง ตา่ งๆ อายรุ กรรม ได้แก่ 3. การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยา High alert สงั เกตการณ์ - การเตรียมยาและการให้ยาแก่ผู้ป่วยตาม drug ยาที่มีฤทธิ์ต้านหรือส่งเสริมการทำงาน หลัก5R และประเมินผลข้างเคียงของยาตอ่ ของยาที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย เปน็ ต้น ผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างเหมาะสม 4. การใชเ้ ครอ่ื งชว่ ยหายใจ (Ventilator) เชน่ สังเกตการณ์ ตรงตามแผนการรักษาของแพทย์อย่าง การปรับ mode การดูแลผู้ปว่ ยท่ใี ช้ ปลอดภยั เคร่อื งช่วยหายใจ การ observe - การใส่สายสวนปัสสาวะแบบสวนทิ้งและ อาการทสี่ ำคญั ของคนไข้ทใ่ี ช้เครือ่ งชว่ ย แบบสวนค้าง หายใจ - การใสส่ ายให้อาหารทางสายยาง 5. การชว่ ยฟ้นื คืนชพี สังเกตการณ์ - การให้อาหารทางสายยาง 6. การพยาบาลผปู้ ่วยท่ใี สท่ ่อชว่ ยหายใจ เช่น สงั เกตการณ์ - การพยาบาลปอ้ งกันแผลกดทบั - - การทำความสะอาดในชอ่ งปาก - การพยาบาลการป้องกันการพลัดตกหก - การเปลย่ี นเชอื กผกู ทอ่ ชว่ ยหายใจ ลม้ (Falling precaution) 7. การดูดเสมหะในท่อช่วยหายใจ/การใช้ ปฏิบัติ - การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับเลือดและ Close suction system สว่ นประกอบของเลือด 8. การทำ Basic EKG และประเมนิ Cardiac ปฏิบตั ิ - การพยาบาลผู้ป่วยท่ีไดร้ บั ออกซเิ จน - การให้ความช่วยเหลือด้านกิจวัตรของ Arrhythmia 9. การชว่ ยเตรยี มอปุ กรณเ์ พื่อชว่ ยแพทย์เจาะ ปฏิบัติ ผู้ป่วย ได้แก่ การช่วยเหลือผู้ป่วยอาบน้ำ ทัง้ หมดและบางสว่ น การดูแลความสะอาด ABG และการแปลผล 10. การประเมนิ ภาวะวิกฤตและแนวโน้มเข้า สังเกตการณ์ ชอ่ งปากและฟนั - ฝกึ การประเมินผปู้ ่วย เช่น ระดับความ สภู่ าวะตา่ งๆ สงั เกตการณ์ รสู้ ึกตวั Glasgow coma score, Pupil , 11. การพยาบาลผู้ปว่ ยท่ีได้รับการทำ สัญญาณชีพ , การประเมิน SOS Score, Hemodialysis สังเกตการณ์ motor power ,sedative score , Braden score ระดบั แผลกดทับ,ประเมิน 12. การพยาบาลผปู้ ่วยท่ีได้รับการใส่ Central line/ A-line

ประสบการณ์ท่ตี ้องการฝึกทักษะ หอผ้ปู ่วย ปฏบิ ตั ิ/ หมายเหตุ วกิ ฤต สงั เกตการณ์ 13. การพยาบาลผปู้ ่วยที่ได้รับสารอาหารทาง ปฏิบัติ ความเสี่ยง ต่อการพลัดตกหกลม้ และตรวจ หลอดเลือดดำ PPN/ TPN ร่างกาย 14. การประเมนิ ความเส่ยี งต่างๆ ทางคลนิ ิก ใน ICU การป้องกัน การเฝ้าระวงั และการ สังเกตการณ์ - การรับและจำหน่ายผู้ปว่ ย จัดการ - การเขียนแผนการพยาบาล การทำ focus charting การลงขอ้ มลู ในฟอรม์ ปรอท - การเตรียมและเปลี่ยนขวด ICDและ ประเมินความผิดปกติในผู้ป่วยที่ใส่ ICD (ICD care) 2. ประสบการณใ์ นการดแู ลผู้ป่วยวิกฤต - การปฏิบัตชิ ่วยฟืน้ คนื ชีพ - การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ เช่น การทำความสะอาดแผลเจาะคอ ,การ suction clear airway ใ น Open แ ล ะ Close system ,การประเมินความพร้อม ในการหย่าเครือ่ งช่วยหายใจตาม weaning protocol การปรับตั้งค่าเครื่องช่วยหายใจ เพื่อรองรับการรับใหม่ผู้ป่วยหนัก (setting mode) - การประเมินผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เช่น การ ประเมินติดตามระดับน้ำตาล ผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ และvital signs ทุก ชวั่ โมงและรายงานแพทยอ์ ย่างเหมาะสม - การใหส้ ารอาหาร ทางหลอดเลอื ดดำ เชน่ B Fluid - การทำ EKG 12 leads - การอ่านและประเมนิ Basic EKG การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ Central line and Arterial-line 3. ประสบการณ์การพยาบาลตามบรบิ ท ของหอผู้ป่วย

ประสบการณ์ท่ตี ้องการฝึกทักษะ หอผ้ปู ่วย ปฏบิ ัติ/ หมายเหตุ วกิ ฤต สงั เกตการณ์ - การเตรียมผู้ป่วยทำ Chest X-ray portable - การจัดท่าผ้ปู ่วย Prone position ใน ผปู้ ่วยที่ได้รับการวนิ ิจฉัยเปน็ ARDS - การพยาบาลผปู้ ว่ ยท่ไี ด้รับการรกั ษาดว้ ย Hemodialysis, การฟอกเลอื ดชนดิ ต่อเนือ่ ง (Continuous renal replacement therapy, CRRT) - การพยาบาลผู้ป่วย Tetanus ในรายท่ี แสดงอาการชักเกร็ง กระตุก - การบริหารยา sedativeและยา high alert drug เช่น Nimbex, Dormicum Pethidine, Morphine, Adrenaline injection ,Amiodarone injection, Dobutamine injection , Enoxaparin injection และRegular Insulin เปน็ ต้น - การตรวจสอบ Drug interaction ใน รปู แบบความเข้ากนั ไดจ้ ากตาราง Y-site - การติดอุปกรณ์เพือ่ ทำการตรวจ คลืน่ ไฟฟา้ สมอง (Electroencephalo - graphy ; EEG) การประเมนิ คลื่นไฟฟ้า สมองทางไกล (Tele EEG) เพอ่ื ประเมนิ อาการชัก - การดแู ละวเิ คราะห์ผลการทำ CT brain เพอื่ ประเมินตำแหน่งของรอยโรคในสมอง ในของผู้ป่วยเส้นเลอื ดสมองตีบ แตกและ ตนั (Stroke patient) - การดูแลผปู้ ว่ ยทไี่ ด้รบั การรกั ษาดว้ ยเครื่อง ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย (Hypo- Hyperthermia system) การปรับเคร่อื ง และการประเมิน core temperature

ผลการฝึกภาคปฏบิ ัติหอผู้ป่วยอายุรกรรม () อาจารย์พี่เลี้ยงคือ นางวิภาวรรณ บุญสุข (MICU) และนางสาวกนกรส เบริน (ICU Stroke) ในขณะ ฝึกปฏิบัติจะได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่วยทั้งหมดประมาณ 1-2 เตียงต่อเวร มีการ conference case ในเวร เช้าร่วมกันทั้งตึก เมื่อแล้วเสร็จจากการทำงาน routine จะมีการทบทวนความรู้ที่ได้รับกับอาจารย์พี่เลี้ยง รวมถึงซักถามข้อสงสัยเพิ่มเติม ในหอผู้ป่วยวิกฤตนี้ได้รับประสบการณ์เพิ่มเติมจากหอผู้ป่วยสามัญ เช่น การ พยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการทำ Hemodialysis ,การพยาบาลผู้ป่วยที่ทำ Continuous renal replacement therapy, CRRT ,การพยาบาลผู้ป่วย Tetanus รุนแรงที่เกิดอาการของโรคแล้ว,การพยาบาลผู้ป่วย ARDS ที่ ต้องจดั ทา่ Prone position เป็นต้น ผลการฝกึ ภาคปฏิบตั ิงานในชมุ ชน (รพสต.บางทราย) ในส่วนของหอผูป้ ่วย ICU Stroke ได้รับประสบการณ์เพ่ิมเตมิ ในเรื่อง การดู CT Brain ของผู้ป่วยเพ่ือ วินิจฉัยลักษณะและสาเหตกุ ารเกิดโรค อาจารย์พี่เลี้ยงให้ศึกษากรณีศึกษาอย่างละเอียดและรว่ มพดู คุยความร็ และซักถามขอ้ สงสัยทำใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจโรคและการรกั ษามากขึน้ กล่าวโดยสรุปการฝึกประสบการณ์ในหอผู้ป่วยหนักได้รับประสบการณ์ที่จำเป็นสำหรับการพยาบาล ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวกิ ฤตอยา่ งครบถว้ นตามวัตถุประสงค์การฝกึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook