Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 8 โซ่อุปทาน การขนส่งyalada

บทที่ 8 โซ่อุปทาน การขนส่งyalada

Published by nongdowny13, 2020-09-09 02:44:59

Description: บทที่ 8 โซ่อุปทาน การขนส่งyalada

Search

Read the Text Version

Lecture บทท่ี 8 การขนส่ งสินค้า ญาลดา พรประเสริฐ คณะวทิ ยาการจดั การ

การขนส่ งสินค้า

ความหมายของการขนส่งสินคา้ ภารกิจสาคญั ของกระบวนการขนส่งจะเกี่ยวขอ้ ง กบั การเคลื่อนยา้ ยวตั ถุดิบ สินคา้ พสั ดุ ส่ิงของ และปัจจยั ที่ เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิต เพื่อใหม้ ีการรับ-ส่งมอบสินคา้ และ บริการใหแ้ ต่ละหน่วยงานในโซ่อุปทาน ท้งั ภายในองคก์ ร และระหวา่ งองคก์ ร

รูปแบบการขนส่ง 1. ทางถนน (ขอ้ ดีคือ เขา้ ถึงลูกคา้ ไดง้ ่าย ราคาถูกแต่ตน้ ทุนผนั แปลตาม ราคาน้ามนั ขอ้ เสียคือ วงิ่ ไดร้ ะยะทางจากดั ) 2. ทางราง (ตน้ ทุนต่า เหมาะกบั สินคา้ ขนาดใหญ่ ขอ้ เสียคือ การเขา้ ถึง ลูกคา้ ทาไดย้ าก) 3. ทางน้า (ราคาถูกที่สุด แตใ่ ชเ้ วลานาน เหมาะกบั สินคา้ ขนาดใหญ่) 4. ทางอากาศ (ราคาแพงมาก ใชเ้ วลาส้ันมาก ไดร้ ะยะทางไกล) 5. ทางท่อ (เหมาะกบั การขนส่งของไหลเทา่ น้นั ใชเ้ วลาส้ัน ราคาถูก) 6. การขนส่งหลายรูปแบบ (Intermodel) ใชห้ ลายรูปแบบในการ ขนส่งสินคา้ 1 คร้ัง

องคป์ ระกอบของการจดั การขนส่ง ประกอบดว้ ย… 1. อรรถประโยชน์ดา้ นสถานที่ 2. อรรถประโยชนด์ า้ นเวลา 3. การส่งมอบสินคา้ ตรงตามเง่ือนไข 4. ความรับผดิ ชอบและการชดใช้ ค่าเสียหาย 5. การออกใบตราส่งของ

การจดั การผใู้ หบ้ ริการขนส่งสินคา้ การเปรียบเทียบค่าบริการจะตอ้ งคานึงถึง Liability Response คือ ความรับผดิ ชอบต่อ ความเสียหายซ่ึงอาจเกิดข้ึนกบั สินคา้ ในระหวา่ งการ ใหบ้ ริการขนส่ง และตอ้ งครอบคลุมถึงความเชื่อมน่ั ความสามารถในการตอบสนองของ ผใู้ หบ้ ริการขนส่งใน การที่สามารถ ตอบสนองต่อพนั ธกิจ

ลกั ษณะของผู้ประกอบการขนส่ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ… 1. Inhouse transport service 2. Outsources transport service

ความรับผดิ ชอบของผใู้ หบ้ ริการขนส่ง 1. Damage and Lost Liability 2. Value Responsibility 3. Scope of Liability 4. Intermode Liability 5. Just in Time Liability

การจดั การเก่ียวกบั ตน้ ทุน ดา้ นการขนส่ง

- ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการกาหนดราคาคา่ ขนส่ง - ประสิทธิภาพของการจดั การขนส่งสินคา้ ที่เป็นเลิศ - การขนส่งเกี่ยวขอ้ งกบั การประหยดั จากขอบเขต - การจดั การภูมิศาสตร์ขนส่งทางไกล - เง่ือนไขการส่งมอบสินคา้ ระหวา่ งประเทศ - ขอ้ ตกลงการขนส่งสินคา้ ระหวา่ งประเทศ

-Capital Investment - ค่าซ่อมบารุง - Marginal - ค่าใช้จ่ายทเี่ กย่ี วข้องกบั ปริมาณ Cost - ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางเทย่ี วกลบั - ค่าบริหารจดั การ - ค่าใช้จ่ายผนั แปร - ค่าประกนั ภัย - ค่าใช้จ่ายคงที่ - ค่าใช้จ่ายในการเกบ็ รักษายานพาหนะ - ค่าใช้จ่ายทเี่ กย่ี วข้องกบั ยานพาหนะ

ปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อการกาหนดราคาค่าขนส่ง ประกอบด้วย... 1. Density (ปริมาตรของสินค้าทรี่ ับบรรทุก) 2. Back Haul (ค่าใช้จ่ายทเ่ี กดิ จากการขนส่งเทย่ี วเปล่า) 3. Full Truck Load 4. Time Loading 5. Distance Service 6. Liability Costs

ประสิทธิภาพของการจัดการขนส่งสินค้าทเ่ี ป็ นเลิศ การบริหารจดั การระบบขนส่ง จะต้อง เป็ นลกั ษณะ JIT Delivery อย่าง แท้จริง ซ่ึงจะทาให้ภาคการผลติ เกดิ ความ เชื่อมั่น ไม่ต้องมสี ตอ็ กสินค้าคงคลงั ท้ังนี้ ระบบขนส่งท่ีมปี ระสิทธิภาพจะส่งผลต่อการ ลดระยะเวลาของการส่ งมอบสินค้า

การขนส่งเกยี่ วข้องกบั การประหยดั จากขอบเขต ระบบการขนส่งทมี่ ปี ระสิทธภิ าพน้ัน จาเป็ นต้องนาระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศทเี่ รียกว่า Transport Information System เข้ามาใช้เพื่อให้เกดิ 5 R’s (JIT) และสามารถเช่ือมโยง เข้าไปสู่การวางแผนร่วมกนั ในลกั ษณะ ทเี่ ป็ น B2B และ B2C ช่วยเพม่ิ มูลค่า ของการบริหารเครือข่ายในลกั ษณะ ทเี่ ป็ น Economies of Scope ซ่ึงจะส่งผลต่อ ปริมาณการส่ังซื้อสินค้าให้พอดีกบั การใช้งาน หรือการผลติ เพื่อส่ง มอบลูกค้า

การจดั การภูมศิ าสตร์ขนส่งทางไกล ระบบการจดั การขนส่งทางไกล โดยการควบคุมสารสนเทศ โลจิสติกส์ทน่ี ามาใช้ผ่านเครือข่ายดาวเทยี ม ทาให้การขนส่ง สามารถสื่อสารเช่ือมโยงได้อย่างมปี ระสิทธิภาพโดยไม่มขี ้อจากดั จาก ระยะทาง และทกุ สถานทบ่ี นพืน้ โลก ทาให้ระบบขนส่งกลายเป็ น “ภูมศิ าสตร์ขนส่ง” นาไปสู่การขนส่งต่อเน่ืองหลายรูปแบบ Multimodal Transport ซ่ึงจะทาให้ระบบการขนส่ง ทางไกลมปี ระสิทธภิ าพ ต่อการประหยดั ต้นทนุ

โดยระบบ Geographic Transport จะต้องใช้ ร่วมกบั GPS ทาให้สามารถเข้าไปตรวจสอบทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เกยี่ วกบั เส้นทางขนส่ง และกาหนดระยะเวลาทถ่ี งึ ทห่ี มายอย่างตรง เวลา นอกจากนีร้ ะบบสารสนเทศขนส่งซึ่งใช้ร่วมกบั RFID ซึ่ง ติดไปกบั ตวั สินค้าหรือตวั ตู้คอนเทนเนอร์จะทาให้ทราบสถานการณ์ เคล่ือนย้ายสินค้าและข้อมูล รายละเอยี ด จานวน ลกั ษณะหบี ห่อ และแหล่งผลติ รวมถึงสถานทซ่ี ่ึงจะส่งมอบ ท้งั ความปลอดภัยจาก การก่อวนิ าศภยั หรือการก่อการร้าย

เงื่อนไขการส่ งมอบสินค้าระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศในปัจจุบันยอมรับข้อตกลง Incoterm 2000 ใช้เป็ นบรรทัดฐานในการ กาหนดเง่ือนไขการส่งมอบ การประกนั ภยั และสถานทส่ี ่ง มอบสินค้า เพ่ือเป็ นกรอบให้แต่ละฝ่ ายท้งั เจ้าของสินค้า ผู้ ขนส่งผู้ส่งสินค้าและผู้รับ เข้าใจถงึ บทบาทหน้าทแ่ี ละความ รับผดิ ชอบ ท้งั ต่อตวั สินค้าและค่าใช้จ่าย



1. Ex W- Ex works (...named place) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผ้ขู ายจะสิ้นสุดภาระ การส่งมอบสินค้า เม่ือผ้ขู ายได้เตรียม สินค้าไว้พร้อมสาหรับส่งมอบให้กบั ผู้ซื้อ ณ สถานท่ีของผู้ขายเอง โดยผู้ซื้อจะต้อง รับผดิ ชอบค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ใน การขนส่งสินค้าไปยงั คลงั สินค้า ของผู้ซื้อ เอง

2. FCA -Free Carrier (...named place) เง่ือนไขการส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่ง มอบสินค้า เม่ือผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าให้กบั ผู้รับขนส่งทร่ี ะบุโดย ผู้ซื้อ ณ สถานทข่ี องผู้รับขนส่งทผ่ี ู้ขาย ต้องทาพธิ ีการส่งออก รับผดิ ชอบ ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า และ ความเส่ียงภัยระหว่างการขนส่ ง จากสถานทขี่ องผู้ขาย จนกระทง่ั ถงึ สถานทข่ี องผู้รับขนส่ง ฯ ส่วนค่าใช้จ่าย ต่างๆ ในการขนสินค้าและ ความเสี่ยงภยั ต่างๆไปยงั จุดหมายปลายทางเป็ นของผู้ซื้อ

3. FAS- Free Alongside Ship (...named port of shipment) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้า เม่ือผ้ขู ายได้นาสินค้าไปยงั กาบเรือ ณ ท่าเรือต้นทางท่ี ระบุไว้ ส่วนค่าใช้จ่ายในการนาของขนึ้ เรือ ค่าใช้ จ่ายในการขนส่ งสินค้า ความเสี่ยง ภยั ในการนาของขนึ้ เรือ และระหว่างการ ขนส่ง เป็ นภาระของ ผ้ซู ื้อในทันทที ่ี สินค้าถูกส่งมอบไปยงั กาบเรือ และผู้ซื้อต้อง รับผดิ ชอบการทาพธิ ีการส่งออกด้วย

4. FOB-Free On Board (...named port of shipment) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้า เมื่อผ้ขู ายได้ส่งมอบสินค้าข้ามกาบเรือขนึ้ ไปบนเรือสินค้า ณ ท่าเรือต้นทางท่รี ะบุไว้ ผู้ขายเป็ นผ้รู ับผดิ ชอบการทาพธิ ีการ ส่งออกด้วย ส่วนค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าและค่าใช้จ่ายอื่นๆ รวมท้ังความเส่ียงภยั ในการขนส่งสินค้า เป็ นภาระของผ้ซู ื้อในทนั ทีทข่ี องผ่าน กาบระวางเรือไปแล้ว

5. C& F-Cost And Freight (...named port of destination) เง่ือนไขการส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่ง มอบสินค้าเมื่อผ้ขู ายได้ส่งมอบสินค้าข้ามกาบเรือขนึ้ ไปบน เรือสินค้า ผู้ขายเป็ นผ้รู ับผดิ ชอบในการทาพธิ ีการส่งออก และจ่ายค่าระวางขนส่ งสินค้า ส่ วน ค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ รวมท้งั ความเส่ียงภยั ในการ ขนส่ งสินค้า เป็ นภาระของผ้ซู ื้อในทันทที ่ี ของ ผ่านกาบระวางเรือไปแล้ว

6. CIF- Cost Insurance and Freight (...named port of destination) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผ้ขู าย จะสิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้าเม่ือผ้ขู ายได้ส่งมอบสินค้าข้าม กาบเรือขนึ้ ไปบนเรือสินค้า ผู้ขายเป็ นผ้รู ับผดิ ชอบในการทาพธิ ี การส่งออก จ่ายค่าระวางเรือ และค่าประกนั ภยั ขนส่งสินค้า เพื่อ คุ้มครองความเส่ียงภยั ในการขนส่งสินค้า จนถงึ มือผู้ซื้อให้แก่ผู้ซื้อด้วย

7. CPT- Freight/Carriage Paid To (...named place of destination) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผ้ขู ายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้าเม่ือผ้ขู ายได้ส่งมอบสินค้าให้ผ้รู ับขนส่งทร่ี ะบุโดยผู้ซื้อณ สถานที่ของผ้รู ับขนส่งสินค้าท่เี มืองท่าต้นทาง ผ้ขู ายเป็ น ผู้รับผดิ ชอบในการทาพธิ ีการส่งออก และจ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ส่วนค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ รวมท้ังความเส่ียงภยั ในการขนส่งเป็ นภาระของผ้ซู ื้อในทนั ทที ่ีสินค้าถูก ส่งมอบให้แก่ผู้รับขนส่งสินค้าทีเ่ มืองท่าต้นทาง

8. CIP-Freight/Carriage and Insurance Paid To (…named place of destination) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้าเมื่อผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าให้ผู้รับขนส่งทรี่ ะบุโดยผ้ซู ื้อ ณ สถานทขี่ องผู้รับขนส่งสินค้าทีเ่ มืองท่าต้นทาง ผ้ขู ายเป็ น ผู้รับผดิ ชอบในการทาพธิ ีการส่งออก จ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า และค่าประกนั ภยั ขนส่งสินค้า เพ่ือคุ้มครองความเสี่ยงภยั ใน การขนส่งสินค้าจนถงึ มือผู้ซื้อให้แก่ผ้ซู ื้อด้วย

9. DES-Delivery Ex Ship (...named port of destination) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้าเม่ือผ้ขู ายได้จดั ให้สินค้าพร้อมส่งมอบบนเรือ ณ ท่าเรือ ปลายทาง ดงั น้ันผ้ขู ายจงึ เป็ นผ้รู ับผดิ ชอบการทาพธิ ีการส่งออก จ่ายค่าระวางขนส่งสินค่า ค่าประกนั ภยั ขนส่งสินค้า และเป็ น ผ้รู ับผดิ ชอบค่าใช้จ่ายอื่นๆ จนกระทง่ั สินค้า พร้อมส่งมอบบนเรือท่ี เมืองท่าปลายทาง โดยผู้ซื้อจะต้องดาเนินพธิ ีการ นาเข้าสินค้าเอง

10. DEQ -Delivery Ex Quay (…named port of destination) เง่ือนไขการส่งมอบนี้ ผ้ขู ายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้าเม่ือผู้ขายพร้อมส่งมอบสินค้า ณ ท่าเรือปลายทางดงั น้ัน ผ้ขู ายจงึ เป็ นผ้รู ับผดิ ชอบการทาพธิ ีการ ส่งออก จ่ายค่าระวาง ขนส่งสินค้า ค่าประกนั ภยั ขนส่งสินค้า และเป็ นผ้รู ับผดิ ชอบ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ จนกระทัง่ สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ ท่าเรือปลายทาง

ผู้ขายจะต้องเป็ นผ้ดู าเนินพธิ ีการนาเข้าสินค้า ให้แก่ผ้ซู ื้อด้วย เง่ือนไขการส่งมอบนี้ ผู้ซื้อจะระบุ ให้ผู้ขายเป็ นผ้จู ่ายภาษนี าเข้าแทนผู้ซื้อด้วยหรือไม่กไ็ ด้ โดยการระบุต่อท้ายว่า Duty Paid หรือ Duty Unpaid ส่ วนค่าใช้ จ่ายในการขนสินค้า จาก ท่าเรือไปยงั สถานที่ของผ้ซู ื้อ เป็ น ภาระของผู้ซื้อ

11. DAF -Delivered at Frontier (...named place) เง่ือนไขการส่ งมอบนี้ ผู้ขายจะ สิ้นสุ ดภาระการส่ งมอบสินค้า ตาม สัญญากต็ ่อเมื่อผ้ขู ายได้จดั ให้สินค้า พร้อมสาหรับการส่งมอบได้ทาพธิ ีการ ส่งออก และณ พรมแดนทีร่ ะบุโดยผู้ซื้อ

12. DDP -Delivery/Duty Paid (…named place of destination) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผ้ขู ายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้า เม่ือผ้ขู ายได้จดั ให้สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานที่ปลายทาง ของผู้ซื้อซ่ึงผ้ขู ายเป็ นผู้รับผดิ ชอบการทาพธิ ีการส่งออก จ่ายค่า ระวางขนส่งสินค้า ค่าประกนั ภยั ขนส่งสินค้า และ เป็ น ผู้รับผดิ ชอบค่าใช้จ่ายอื่นๆ

รวมท้ังค่าใช้จ่ายในการนาของ ลงจากเรือ และ ค่าขนส่งสินค้าไปยงั สถานที่ ทผ่ี ู้ซื้อระบุไว้จนกระทง่ั สินค้า พร้อมส่งมอบ ณ สถานท่ีปลายทาง ผู้ขายต้องเป็ นผู้ดาเนินพธิ ีการนาเข้า สินค้าให้แก่ผู้ซื้อ และเป็ นผู้จ่าย ค่า ภาษนี าเข้าแทนผ้ซู ื้อด้วย

13. DDU - Delivery Duty Unpaid (...named place of destination) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้า เม่ือผ้ขู ายได้จดั ให้สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานท่ี ปลายทางของผ้ซู ื้อ ผู้ขายจงึ เป็ นผู้รับผดิ ชอบการทาพธิ ีการ ส่งออกจ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ค่าประกนั ภยั ขนส่งสินค้า และ เป็ นผู้รับผดิ ชอบค่าใช้จ่ายอื่นๆ

รวมท้ังค่าใช้จ่ายในการนาของลง จากเรือ และค่าขนส่งสินค้าไปยงั สถานทท่ี ผี่ ู้ซื้อระบุไว้ จนกระทัง่ สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานท่ี ปลายทางของผ้ซู ื้อ ผู้ขายต้องเป็ นผู้ ดาเนิน พธิ ีการนาเข้าสินค้าให้แก่ผู้ ซื้อด้วย แต่ผ้ซู ื้อต้องจ่ายค่าภาษี นาเข้าเอง

13. DDU - Delivery Duty Unpaid (…named place of destination) เงื่อนไขการส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบ สินค้า เม่ือผู้ขายได้จดั ให้สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานท่ี ปลายทางของผู้ซื้อ ผู้ขายจงึ เป็ นผ้รู ับผดิ ชอบการทาพธิ ีการส่งออก จ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ค่าประกนั ภยั ขนส่งสินค้าและเป็ น ผู้รับผดิ ชอบค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ

รวมท้งั ค่าใช้จ่ายในการนาของลง จากเรือ และค่าขนส่งสินค้าไปยงั สถานทีท่ ีผ่ ้ซู ื้อระบุไว้ จนกระทัง่ สินค้าพร้อมส่งมอบ ณ สถานท่ี ปลายทางของผ้ซู ื้อ ผ้ขู ายต้องเป็ นผู้ ดาเนินพธิ ีการนาเข้าสินค้าให้แก่ผู้ ซื้อด้วย แต่ผู้ซื้อต้องจ่ายค่าภาษี นาเข้าเอง

ประเดน็ สาคญั ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน 1)คุณภาพโครงสร้างพืน้ ฐานของท่าเรือและท่าอากาศยานอยู่ในเกณฑ์ทดี่ ี แต่ คุณภาพการให้บริการ และบริการพธิ ีการศุลกากรมปี ระสิทธิภาพน้อยกว่า ประตูการค้าของคู่แข่ง 2)ระบบเครือข่ายขนส่งสินค้าภายในประเทศใช้ทางถนนเป็ นหลกั และมี ปัญหาความแออดั (Bottle-neck) โดยเฉพาะบริเวณรอบแหลม ฉบงั 3)ท่าเรือหลกั กาลงั เผชิญกบั การแข่งขนั กบั ประเทศเพ่ือนบ้านเพ่ือแย่งชิง บทบาทการเป็ นศูนย์กลางการขนถ่ายสินค้าในภูมภิ าค

การยกระดบั มาตรฐานระบบโลจิสติกส์ เพือ่ สนบั สนุน การเป็นศนู ยก์ ลาง การคา้ การลงทุนในภูมิภาคอินโดจีน อตั ราการเตบิ โตของการค้าระหว่าง จนี ลาว ประเทศของประเทศเพื่อนบ้าน 21% (‘40-’46) -0.5% CHIANG MAI เวยี ดนาม พม่า 17% 6.9% BANGKOK กมั พชู า USA EU 11% ทม่ี า: World Trade Organization

เพ่ือการยกระดบั โลจสิ ติกส์จะต้องบรรลเุ ป้าหมาย 3 ประการ • การลดต้นทุนทไ่ี ม่ 19%เป้าหมายการลดต้นทนุ ก่อให้เกดิ มูลค่า บริหาร (Non- สินค้าคง Cost Efficiency คลัง 15% value ขนส่ง Reliability • รคับวACารมอodสงsเาdวมtลeา)ารแdถลใะนการ 2004 2009 and คุณภาพของสินค้า/ บริการ 10(0%ค) วบารมิษัทส8ข0า%นมาดาใรหถญส่ ่งสินค้าไตด้อ้ตงเรพง่มิ ตศักายมภเาวพลา Security 80 SMEs 60 50% 40 20 Responsiv 0 ระยะเวลาขอใบอนุญาต e-ness • ความสามารถใน กระบวนการให้บริการ การตอบสนองความ ของภาครัฐ ต้องการของลกู ค้า ได้ทนั เวลา 10 วัน 4 วัน

ซ่ึงการพฒั นาระบบโลจิสติกส์ของประเทศใหม้ ีประสิทธิภาพ จะตอ้ งประสาน การทางานในส่วนอื่นๆ ไปพร้อมกนั ดว้ ย Enabling Physical Infrastructure Enmveirnotn Logistics ProviderLogistics Private Activities Sector Global End Users Regula Rail Regional tion Domestic Capaci Truck Respon- ty Maritime siveness Buildin Air Cost g Pipe Efficiency Reliability Institu ICT Security tional Frame work

กรอบแผนแม่บทการพฒั นาระบบโลจิสติกส์ วิสยั ทศั น์ มรี ะบบโลจสิ ตกิ ส์ท่ไี ด้มาตรฐานสากลเพ่อื สนับสนุนการเป็ นศนู ย์กลางธุรกิจและการค้าของภมู ภิ าคอนิ โดจนี วัตถุประสงค์ Cost Efficiency Reliability and Security Responsiveness ยทุ ธศาสตร์ 1. โครงสร้างพืน้ ฐาน 2. ระบบการเช่อื มโยง 3. ความสามารถในการ 4. ธุรกิจให้บริการ 5. การเช่อื มโยงทาง 6. กฎหมาย ข้อบงั คบั (Strategic ข้อมลู บริหารจดั การโลจิสติกส์ โลจิสติกส์(Logistics การค้ากับภมู ภิ าค กระบนวโยนบกาายรใแหล้บะริการ Agendas) 1.ยกระดับประสทิ ธภิ าพ Service Providers) กลยทุ ธ์หลกั การให้บริการท่ี และฐานข้อมลู (Capacity Building) 1.พฒั นาระบบอานวย ของรัฐ (Strategic ช่องทางการค้าหลกั 1. ส่ งเสริมธุรกิจ ความสะดวกทาง 1.พฒั นากฎหมาย/ Direction) และพฒั นาช่องทาง 1.พฒั นาระบบการ 1. ส่ งเสริมการผลิต ให้บริการโลจสิ ตกิ ส์ การค้าผ่านชายแดน การค้าท่มี ศี กั ยภาพ เช่อื มโยงข้อมลู บุคลากรด้าน (Trade and Transit ระเบยี บเพ่อื สนบั สนุน เป็ นเครือข่ายระดบั ระหว่างหน่วยงาน โลจสิ ตกิ ส์ท่มี คี ุณภาพ 2.พฒั นามาตรฐานการ Facilitation) กิจกรรมโลจสิ ตกิ ส์ สากล(Global ภาครัฐ เอกชน และ ให้เพยี งพอต่อความ ให้บริการของผู้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ Destination Network) ผ้ใู ช้บริการ ต้องการของ ให้บริการโลจสิ ตกิ ส์ 2.ส่งเสริมให้มกี ารสร้าง และได้ ตลาดแรงงาน มาตรฐานระบบ มาตรฐานสากล 2.พฒั นาระบบเครือข่าย 2.ส่งเสริมให้มกี าร 3. สนับสนุนให้ อานวยความสะดวก 2.ผลกั ดันการบงั คบั ใช้ เช่อื มโยงศูนย์รวบรวม ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี 2.พฒั นาความสามารถ ผู้ประกอบการธุรกิจ ทางการค้าและการ กฏหมายเพ่อื และกระจายสินค้า สารสนเทศในการทา ของบุคลากรด้าน SMEs หนั มาใช้บริการ ขนส่ งร่ วมกันใน สนบั สนุนธุรกรรม (Hub and Spokes) ธุรกจิ โลจสิ ตกิ ส์ ทงั้ ในระดับ (Outsource) ของผู้ ภมู ภิ าค อเิ ลคทรอนกิ ส์ ภายในประเทศให้มี บริหารและระดับ ให้บริการ 3. ปรับปรุ งกระบวนการ คณุ ภาพได้มาตรฐาน 3.สนับสนุนให้มกี าร ปฏบิ ตั กิ ารให้เป็ นมอื โลจิสติกส์ ให้บริการของรัฐ(Back และใช้ประโยชน์ พฒั นาระบบ อาชพี and Front Office) ให้มี สูงสุด ฐานข้อมลู เพ่อื การ มาตรฐานระดับสากล วางแผนด้าน 3. พฒั นาระบบ 3.พฒั นาเส้นทางขนส่ง โลจิสติกส์ทงั้ ใน มาตรฐานด้านการ และโลจสิ ติกส์ระดับ ระดบั ประเทศและ จดั การโลจิสติกส์ ภูมภิ าค บนเส้นทาง ระดบั กจิ การ การค้าหลักเช่อื มโยง ในประเทศกบั ภมู ภิ าค (Regional Transport and Logistics Corridor)

การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ 1 : โครงสร้างพนื้ ฐานด้านโลจสิ ตกิ ส์ ภาวะน้ามนั ข้ึนราคาอยใู่ นระดบั สูง ส่งผลต่อตน้ ทุนโลจิสติกส์ของประเทศ ภาครัฐ จึงเสนอใหม้ ีการจดั การโครงสร้างพ้ืนฐานโลจิสติกส์เพื่อลดการนาเขา้ พลงั งาน โดยมีกลยทุ ธ์ ดงั น้ี กลยุทธ์ 1. ปรับรูปแบบการขนส่ง (Modal Shift) ในการลด จาก การนาเข้า พลงั งาน ระบบ ถนน ไป ระบบราง และ/หรือทางนา้ 2. เปลยี่ นรูปแบบพลงั งานทใ่ี ช้ จากดเี ซลไปเป็ น NGV (Fuel Shift)

ภาพรวมการขนส่งสินคา้ ภายในประเทศ ส่วนใหญเ่ ป็นการขนส่งทางถนนถึง ร้อยละ 88.3 แม่สาย ถนน: 88.3% 40% เชียงใหม่ 35% แม่สอด • mining&const. materials 14% • rice, rubber, agriculture 12% มุกดาหาร • petroleum • manuf’g ดอนเมือง ราง: 2.8% สุวรรณภมู ิ • petroleum 36% ถนน (70.4%) อรัญฯ นา้ ในประเทศ: 4.8% • cement 20% แหทล่ามเรฉือบัง มาบตาพุด นา้ ชายฝ่ัง: 3.7% • const. materials 47% •• agriculture 3% • rice, tapioca, sugar, agri. 35% const. Materials 2% • petroleum 12% ราง (0.7%) ภเู ก็ต อากาศ: 0.2% นา้ ในประเทศ ((44..10%%)) ท่าเรือปากบารา นา้ ชายฝ่ังทะเล • perishable products • gems & jewelry อากาศ (20.7%) • electronic parts สะเดา ท่อ: 2.1% สดั ส่วนการขนส่ง 46’ สดั ส่วนการใช้พลังงาน •• goails 98% ท่ีมา: โครงการศกึ ษายทุ ธศาสตร์การพฒั นาโครงสร้างพนื ้ ฐาน เพ่ือสนับสนนุ การเพม่ิ 2% 1 2หมายเหต:ุ พลงั งานทใ่ี ช้ในการขนส่งทางอากาศ รวมการขนส่งทงั้ สินค้าและผ้โู ดยสาร ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ มธ. และ สศช.

พนั ธกรณขี องไทยในเวที WTO ต่างชาติถือหุน้ ไมเ่ กิน 49% และผบู้ ริหารไมน่ อ้ ยกวา่ 50% ตอ้ งเป็นคน ไทย ซ่ึงไทยไดผ้ กู พนั ท่ีจะอนุญาตใหค้ นต่างชาติมาจดั ต้งั ธุรกิจ ธุรกิจขนส่งทางอากาศ  บริการซ่อมบารุงอากาศยาน การขายและการตลาดบริการขนส่งทาง อากาศ ธุรกิจขนส่งทางราง  บริการซ่อมบารุงรถไฟ ทาความสะอาดรถไฟโดยสารและรถไฟสินคา้ บริการรักษาความปลอดภยั ท่ีสถานีรถไฟ

พนั ธกรณขี องไทยในเวที WTO • ธุรกจิ ขนส่งทางทะเล การขนส่งผ้โู ดยสารหรือสินค้าระหว่างประเทศ บริการลากจูง บริการรับถ่ายนา้ สกปรกจากเรือ บริการจดั การเรือต่างประเทศทเี่ มืองท่าในไทย บริการตรวจสภาพ เรือและอุปกรณ์ และบริการรับจดั การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ • ธุรกจิ ขนส่งทางถนน บริการขนสินค้าแช่เยน็ แช่แขง็ สินค้าเหลว และคอนเทนเนอร์ บริการให้เช่ารถเก๋ง พร้อมคนขบั บริการให้เช่ารถบสั พร้อมคนขบั • ธุรกจิ อื่น ๆ บริการเกบ็ รักษาสินค้า

ภายใต้กรอบอาเซียน สาขาโลจิสติกส์ถูกกาหนดใหเ้ ปิ ดเสรีภายในปี 2013 โดยนกั ลงทุนในอาเซียนสามารถมาลงทุนโดยถือหุน้ ได้ 70% ส่วน Mode 1 และ Mode 2 จะตอ้ ง ผกู พนั แบบไม่มีขอ้ จากดั

AEC กบั การเปิ ดเสรีบริการภาคโลจิสตกิ ส์ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) คร้ังท่ี 14 น้ันได้มีให้รวมตัวกนั เป็ น AEC ภายในปี 2020 (พ.ศ.2563) เป้าหมายของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนคือการ รวมตวั เป็ นประชาคมเศรษฐกจิ โดยจะมตี ลาดและฐานการผลติ ร่วมกนั (single market and single production base) และมกี ารเคล่ือนย้ายสินค้า บริการการลงทนุ เงนิ ทุน และ แรงงานฝี มืออย่างเสรี

AEC กบั การเปิ ดเสรีบริการภาคโลจิสตกิ ส์ กลุ่มประเทศอาเซียนไดป้ ระกาศชดั เจนใหป้ ี พ.ศ. 2558 เป็นปี เป้าหมาย ในการจดั ต้งั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และไดว้ างแผนงานในการเปิ ด เสรีภาคบริการใน 5 สาขา ไดแ้ ก่ – สาขาสุขภาพ – สาขาท่องเทย่ี ว – สาขาคอมพวิ เตอร์และโทรคมนาคม – สาขาขนส่งทางอากาศภายในปี พ.ศ. 2553 – และสาขาโลจสิ ตกิ ส์ภายในปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ.2013)

ผลกระทบของไทยจากการเปิ ดเสรีภาคบริการ 1. ส่งผลใหผ้ ผู้ ลิตและเจา้ ของกิจการในประเทศมีโอกาสท่ีจะโดนคู่แข่งขนั จากต่างชาติมารุกรานและแยง่ ส่วนแบ่งการตลาดในประเทศไป 2. ผผู้ ลิตและเจา้ ของกิจการในประเทศไทยกม็ ีโอกาสที่จะรุกเขา้ ไปแยง่ ส่วน แบ่งทางการตลาดในประเทศอ่ืนในอาเซียนไดเ้ หมือนกนั 3. บริษทั โลจิสติกส์ของไทยอาจจะไปเปิ ดสาขาและสร้างคลงั สินคา้ ใน ประเทศลาว พม่า กเ็ ป็นได้ ซ่ึงแน่นอนวา่ การแข่งขนั ยอ่ มจะรุนแรงข้ึน เรื่อยๆ 4. ผปู้ ระกอบการที่มีตน้ ทุนที่สูงและประสิทธิภาพในการดาเนินงานต่ากวา่ คู่แข่งจากต่างชาติกม็ ีสิทธิปิ ดกิจการลง

ผลกระทบของไทยจากการเปิ ดเสรีภาคบริการ 5. การเปิ ดเสรีทางดา้ นการบริการ จะส่งผลบวกต่อคนในประเทศ เพราะ ผบู้ ริโภคจะมีทางเลือกที่มากข้ึน มีโอกาสท่ีจะบริโภคสินคา้ และ บริการที่ถูกลง 6. การเปิ ดเสรีจะมีผลทาใหก้ ารจา้ งงานในประเทศลดลงเน่ืองจากการยา้ ย ฐานการผลิตไปยงั ประเทศอื่น 7. การเปิ ดเสรีบริการตามประชาคมอาเซียนส่งผลต่อปริมาณความ ตอ้ งการดา้ นการบริการทางโลจิสติกส์ที่จะมีเพ่มิ ข้ึนตามมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook