Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน ครั้งที่ 1/2564

รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน ครั้งที่ 1/2564

Published by Suvalai S, 2021-11-18 06:59:06

Description: รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพรานครั้งที่ 1 / 2564

Keywords: รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน ครั้งที่ 1 / 2564

Search

Read the Text Version

1 รายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน คร้งั ที่ 1/2564 วนั ศุกร์ที่ 19 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.00 น. ณ หอ้ งประชุมกิตตินธร วิทยาลัยสงฆ์พุทธปญั ญาศรที วารวดี วดั ไรข่ ิง อาเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม ------------------------------------- ผมู้ าประชมุ 1. พระเทพศาสนาภบิ าล (แยม้ กติ ฺตินธฺ โร) ประธานกรรมการ 2. นายสกนธ์ วงศส์ กุ ฤต กรรมการ 3. นายฌาญา ปานเจรญิ กรรมการ 4. นางสาวน้าฝน ปาจนี บูรวรรณ์ หัวหนา้ ฝ่ายบรหิ ารการศกึ ษา เทศบาลเมืองไร่ขงิ รบั มอบหมายปฏบิ ัตหิ น้าทแี่ ทน นายจ้ารัส ตังตระกูลธรรม กรรมการ 5. นายมารุฒ มหายศนนั ท์ กรรมการ 6. นายเนตร หงษ์ไกรเลิศ กรรมการ 7. นายสนอง เนอ่ื งอาชา กรรมการ 8. นางพชั รี เกษรบุญนาค กรรมการ 9. นายสมมาตร คงช่นื สิน กรรมการและเลขานุการ 10. นางสวุ ลัย แจ่มจันทรเ์ กษม กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ 11. นางประคองศรี โพธิ์เพชร์ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ ผไู้ ม่มาประชมุ - ผ้เู ข้ารว่ มประชุม ครู ชา้ นาญการพเิ ศษ 1. นางสาวผณนิ ทร มายืนยง ครู ช้านาญการ 2. นางอรวรรณ มหายศนนั ท์ ครอู าสาสมัคร กศน. 3. นางสาวศศิยาพชั ญ์ อนิ ทรก์ รุงเก่า ครอู าสาสมัคร กศน. 4. นางสาวอมรรัตน์ ธนธนานนท์ ครูอาสาสมัคร กศน. 5. นางสาวมาลา กณั ฑ์โย ครู กศน. ตา้ บลสามพราน 6. นายวรพจน์ ศรีเพช็ ร์ธาราพันธ์ ครู กศน. ตา้ บลบางช้าง 7. นางบษุ กร พรมเพยี งชา้ ง ครู กศน. ตา้ บลตลาดจินดา 8. นางสาวอญั ชลีย์ วอ่ งไว ครู กศน. ตา้ บลทา่ ตลาด 9. นางสาวนาฏยา พรมพนั ธ์ุ ครู กศน. ตา้ บลหอมเกร็ด 10. นางสาวจิตรา เซี่ยงเทศ ครู กศน. ตา้ บลออ้ มใหญ่ 11. นางวันเพญ็ ปน่ิ ทอง

2 12. นางสาวจนิ ตนา โพธ์ศิ รที อง ครู กศน. ต้าบลทรงคนอง 13. นางอนงค์ ท่งั ทอง ครู กศน. ต้าบลบางกระทกึ 14. นางสาวอารีรตั น์ พุทธรักษา ครู กศน. ต้าบลบา้ นใหม่ 15. นางสาวทัตตยิ า น้อยพทิ ักษ์ ครู กศน. ต้าบลบางเตย 16. นางอารีย์ ศรที ิพย์ ครู กศน. ต้าบลไร่ขงิ 17. นางสาวญาณิศา หมน่ื จง ครู กศน. ต้าบลคลองจินดา 18. นางสาววราลี จิรวฒั นช์ ัยนนั ท์ ครศู ูนย์การเรยี นชุมชน 19. นายมานพ ปราชญอ์ ภิญญา ครศู ูนยก์ ารเรียนชุมชน 20. นางสาวจินตนา คลา้ ยสุบรรณ ครศู ูนยก์ ารเรียนชุมชน 21. นายธนานาจ พวงสุข ครูศนู ยก์ ารเรียนชุมชน 22. นางสาวคณติ า สุทธิโยชน์ ครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชน 23. นายชูเกยี รติ คลา้ ยสุบรรณ ครศู ูนยก์ ารเรียนชมุ ชน 24. นางสาววนิ ิดา เบาะโท ครผู สู้ อนคนพิการ 25. นางสาวลาวัลย์ โพธศ์ิ รที อง เจา้ หนา้ ท่เี ทคโนโลยสี ารสนเทศ 26. นางสาวชิดสุมน ชินวงษเ์ ขยี ว บรรณารักษ์ (อัตราจ้าง) 27. นางสาวโรสิตา ลาภอาภารัตน์ บรรณารักษ์ (อัตราจ้าง) เปิดประชุมเวลา 13.00 น. โดยพระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร) เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง รองเจา้ คณะจงั หวดั นครปฐม ประธานกรรมการ กลา่ วเปิดประชุม ระเบียบวาระที่ 1 เรือ่ งประธานแจง้ เพ่ือทราบ ประธาน ได้กล่าวเปิดการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ้าเภอสามพราน มอบหมายให้นายสมมาตร คงช่ืนสิน เลขานุการ ด้าเนินการประชุมตามระเบียบวาระ และใหค้ ณะกรรมการแตล่ ะท่านแนะน้าตัว 1.1 ผลการคัดเลือกการปฏิบตั งิ าน กศน. ดเี ด่น ระดบั ประเทศ ประจาปี 2562 ส้านักงาน กศน. ได้ด้าเนินการคัดการคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ประจา้ ปี 2562 ของบุคลากร หน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่าย เพื่อสร้างแรงจูงใจ และส่งเสริมให้เกิดการจัดและ สนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีคุณภาพ โดยมีการมอบโล่รางวัลเพื่อเป็นการเชิดชู เกยี รติ และสร้างขวัญกา้ ลงั ใจให้แก่หน่วยงานและผ้ปู ฏิบัติงานในพืนที่ ใหเ้ กิดความภาคภมู ใิ จในการปฏิบัติงานด้วยความ เสียสละม่งุ มัน่ ทุ่มเทกศน. อา้ เภอสามพรานได้รบั การคัดเลือกจ้านวน2รางวัล คอื 1) กศน. อา้ เภอ/เขต ดเี ดน่ รางวลั ท่ี 1 ได้แก่ กศน. อ้าเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม 2) ศิษยเ์ กา่ กศน. ดเี ด่น รางวัลท่ี 2 ได้แก่ พระเทพศาสนาภบิ าล (แยม้ กติ ตฺ นิ ฺธโร) โดยเข้ารับโล่การปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ในวันที่ 8 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุมครุ สุ ภา กระทรวงศกึ ษาธิการ มติทปี่ ระชุม รับทราบ

3 1.2 ผลการคัดเลอื ก กศน.ตน้ แบบ 5 ดี พรีเม่ยี ม ระดบั ภาค ส้านักงาน กศน. ได้มีการประเมินคัดเลือก กศน. ต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม เพื่อ สร้างให้เป็นต้นแบบ กศน. ต้าบล ซ่ึง กศน. ต้าบลกระทุ่มล้ม อ้าเภอสามพรานได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 โดยเขา้ รบั โลเ่ กยี รติคุณ จากสถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาค กลาง เม่ือวนั ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2563 ณ วรบรุ ี อยุธยา รสี อรท์ แอนด์ สปา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา มติทป่ี ระชมุ รับทราบ 1.3 โครงงาน “เคร่ืองเก็บขยะมูลฝอยในน้าแบบเคล่ือนที่ได้ด้วยพลังงาน แสงอาทิตย์” โดยนักศึกษา กศน.ต้าบลกระทุ่มล้ม ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ระดับประเทศ ใน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์พัฒนานวัตกรรมด้านส่ิงแวดล้อม ประเภทการจัดการขยะมูลฝอย ส้าหรับนักศึกษา กศน. ระดับประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ การศกึ ษารงั สิตกรุงเทพมหานคร เมอ่ื วนั ท่ี 15 สิงหาคม พ.ศ. 2563 มติที่ประชุม รับทราบ 1.4 การเปิดภาคเรียนของ กศน. อ้าเภอสามพราน ซึ่งเปิดสถานศึกษาภายใต้ มาตรการป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับ การประกาศจากจังหวัดนครปฐม เมื่อวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2564 โดยศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ระดับอ้าเภอ ได้มาประเมินความพร้อม สถานศึกษา กศน. อ้าเภอสามพราน เม่อื วนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 โดยผา่ นการประเมนิ และให้อนุญาตให้ เปิดสถานศึกษาได้ ตังแต่วันอาทิตย์ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 โดยก่อนที่จะได้รับการประกาศให้เปิด สถานศึกษา ได้จดั การเรียนการสอนออนไลนเ์ ปน็ หลัก และมี กศน. ตา้ บลอ้อมใหญไ่ ม่ได้รับอนุญาตให้เปิด จัดการเรียนการสอนได้ เน่ืองจากนักศึกษาส่วนใหญ่เป็นคนพืนที่อ้าเภออ้อมน้อย จังหวัดสมุทรสาคร จึงจัดการเรียนการสอนออนไลน์ กศน. อ้าเภอสามพรานได้จัดท้าประกาศ เร่ือง การก้าหนดมาตรการ การป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ิมเติม โดย ก้าหนดให้ครู และนักศึกษาท่ีมีภูมิล้าเนาจังหวัดสมุทรสาครห้ามเดินทางมาพบกลุ่ม ถ้าอยู่จังหวัดอ่ืนต้อง ได้รับการอนุญาตจากศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ระดบั อา้ เภอก่อน พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กติ ตฺ ินฺธโร) ประธาน ให้ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ ว่า ใหท้ ุกคนปฏิบัติ ตามมาตรการในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 ดว้ ยความระมัดระวัง โดย มีการวัดไข้ สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา หมน่ั ล้างมือ นางพัชรี เกษรบุญนาค กล่าวเพ่ิมเติมว่า กล่มุ แรงงานพม่าท่ีมาท้างานในประเทศไทย เปน็ วัยแรงงาน ยังหนุ่มสาว ไม่มีโรคประจ้าตัว เม่ือเป็นโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 ไม่แสดงอาการมาก แต่คนไทยทีเ่ ป็นแลว้ ตาย ส่วนใหญ่เป็นผู้สงู อายุ และมโี รคประจา้ ตวั ท้าให้มภี มู ติ ้านทานน้อย เมือ่ เป็นโรค ติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 เชือจะเข้าไปท้าลายปอด ท้าให้หายใจไม่ได้ อาการทรุดลงเรื่อย ๆ ท้าให้ เสยี ชีวิตได้

4 นายเนตร หงส์ไกรเลิศ กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรท่ีท้างานกับแรงงานพม่า ต้อง ระมัดระวังตัวเอง เนื่องจากบางคนติดเชือ แต่ไม่แสดงอาการ จึงต้องควบคุมไม่ให้เข้าออกนอกพืนท่ี มหาวิทยาลัยมหิดลได้ท้าวิจัยและให้ข้อเสนอแนะ ให้จ้ากัดสถานท่ี ไม่ให้เข้าออกนอกพืนที่ คณบดี คณะแพทย์ศิริราช ให้ควบคุมตามเขตพืนท่ีที่ ศบค. ก้าหนดเป็นโซนสีต่าง ๆ เน่ืองจากไม่ได้ตรวจเชิงรุก ดังนนั ให้ทุกคนให้ระมดั ระวงั ตัว การ์ดอยา่ ตก นายมารุฒ มหายศนันท์ กล่าวเพ่ิมเติมว่า ตอนนีทุกระดับตงั แต่ระดับจงั หวัด อ้าเภอ หน่วงานต่าง ๆ ทุกฝ่าย ป้องกัน ระมัดระวังให้มากที่สุด เพื่อป้องกันไม่ให้ทุกคนติดเชือ เน่ืองจากถ้าหนุ่ม สาวตดิ เชอื กจ็ ะนา้ เชือไปตดิ ญาติพี่น้องได้ มติท่ปี ระชมุ รับทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เร่อื งรับรองรายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา คร้งั ที่ 1/2563 วันศุกรท์ ี่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมกันตรวจสอบรายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ครงั ท่ี 1/2563 วนั ศุกร์ท่ี 28 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2563 มตทิ ีป่ ระชมุ รบั รองรายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา ครงั ที่ 1/2563 วันศุกร์ที่ 28 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2563 ระเบยี บวาระท่ี 3 เร่ืองสบื เนอื่ งจากการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา ครัง้ ที่ 1/2563 วันศกุ ร์ที่ 28 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2563 นายสมมาตร คงช่ืนสิน กล่าวว่า ความส้าคัญส่วนหนึ่งของการประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษา คือ การให้ความเห็นชอบในเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ แผนปฏิบัติการประจ้าปี หลักสูตร การจัดหา หนังสือเรียน หลักสูตร ซึ่งมีความจ้าเป็นต้องได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา หลายครัง ท่ีผ่านมามีการประชุมปีละครัง ท้าให้บางครังเพื่อให้ทันต่อเหตการณ์ จึงได้ให้ประธานคณะกรรมการ สถานศึกษาเหน็ ชอบ โดยเปน็ ตัวแทนของคณะกรรมการสถานศึกษา 3.1 ขอความเหน็ ชอบการจัดหาหนงั สอื เรยี น ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 การจัดหาหนังสือเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 มติท่ีประชุมเห็นชอบ ให้ กศน. อ้าเภอสามพราน ใช้วิธีจัดซือหนังสือเรียน หรือวิธีที่เหมาะสมตามระเบียบราชการ เพื่อให้เกิด ความรวดเร็ว และทันต่อการเรียนการสอน โดยปฏิบัติตามขันตอนตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การจัดซือจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 อย่างถูกต้อง ในปีงบประมาณ 2563 กศน. อ้าเภอสามพรานไดด้ า้ เนนิ การจดั หาหนังสอื เรยี นด้วยวธิ ีดงั นี 3.1.1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ใช้วิธีการจัดซือหนังสือเรียน รายวิชา บังคบั และรายวิชาเลือก เปน็ เงิน จา้ นวน 498,100 บาท 3.1.2 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ใช้วิธีการจัดซือหนังสือเรียน รายวิชา บงั คับ และรายวิชาเลือก เปน็ เงนิ จา้ นวน 360,260 บาท มติท่ีประชมุ รับทราบ

5 ระเบยี บวาระที่ 4 เร่ืองเสนอเพ่ือพจิ ารณา และเหน็ ชอบ 4.1 รายงานผลการดาเนนิ งาน ปีงบประมาณ 2563 กศน.อ้าเภอสามพราน ได้ด้าเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ 2563 รายละเอยี ดดังนี เป้าหมายและผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.อ้าเภอสามพราน ได้ด้าเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รายละเอยี ดดงั นี โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการ คดิ เปน็ หมายเหตุ (คน) ดาเนนิ งาน รอ้ ยละ งานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (คน) กิจกรรมจัดการเรยี นการสอน 1,741 1,750 100.52 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 71 74 104.23 1. นกั ศึกษาภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 727 727 100.00 1.1 ระดบั ประถมศึกษา 943 949 100.64 1.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 1.3 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1,741 1,599 91.84 71 67 94.37 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 727 669 92.02 1. นักศกึ ษาภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 943 863 91.52 1.1 ระดับประถมศกึ ษา 1.2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 1,741 1,750 100.52 1.3 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 71 74 104.23 727 727 100.00 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 943 949 100.64 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 1,741 1,599 91.84 1.นักศกึ ษาภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 71 67 94.37 1.1 ระดบั ประถมศึกษา 727 669 92.02 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 943 863 91.52 1.3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 1. นักศกึ ษาภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 1.1 ระดบั ประถมศึกษา 1.2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 1.3 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

6 โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการ คิดเปน็ หมายเหตุ (คน) ดาเนินงาน ร้อยละ กิจกรรมจัดหาหนังสอื เรียน (คน) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 1.นักศกึ ษาภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 1,315 1,315 100.00 1.1 ระดับประถมศกึ ษา 54 54 100.00 1.2 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 549 549 100.00 1.3 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 712 712 100.00 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 951 951 100.00 1. นักศกึ ษาภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 38 38 100.00 1.1 ระดับประถมศกึ ษา 399 399 100.00 1.2 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 514 514 100.00 1.3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 4 8 200.00 การประเมนิ เทียบระดบั การศึกษา -- 2 3 150.00 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 2 5 250.00 1.นักศกึ ษาภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 5 16 320.00 1.1 ระดบั ประถมศึกษา - 1 100.00 1.2 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 2 4 200.00 1.3 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3 11 366.67 1. นกั ศึกษาภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 1.1 ระดบั ประถมศกึ ษา 5 5 100.00 1.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 1.3 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 582 629 108.08 427 681 159.48 งานการสง่ เสรมิ การรูห้ นงั สอื 228 510 223.68 การสง่ เสรมิ การร้หู นังสอื 275 385 140.00 388 823 212.11 งานการศกึ ษาต่อเนือ่ ง 129 138 106.98 1. การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ 2. การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน 3. กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน 4.1 กิจกรรมชันเรยี นวชิ าชีพ (31 ชม. ขนึ ไป) 4.2 กิจกรรมพฒั นาอาชีพระยะสนั (ไมเ่ กนิ 30 ชม.) 4.3 กิจกรรม 1 อ้าเภอ 1 อาชพี

7 โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการ คิดเป็น หมายเหตุ (คน) ดาเนินงาน รอ้ ยละ (คน) งานการศกึ ษาตามอัธยาศยั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านของหอ้ งสมดุ ประชาชน 8,760 12,752 145.57 4,300 8,088 188.09 1. การให้บริการส่งเสริมการอ่านของห้องสมดุ ประชาชน 3,000 3,199 106.63 1.1 จา้ นวนผเู้ ขา้ รบั บริการ 1,460 1465 100.34 1.2 การยมื -คนื 1.3 การให้บริการอนิ เตอร์เน็ต 198 12,610 6,567.71 2,490 2,634 105.78 2. กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นของหอ้ งสมดุ ประชาชน 3,400 3,435 101.03 3. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของบา้ นหนงั สือชุมชน 4. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นของหนว่ ยเคลอื่ นทรี่ ถโมบาย 168 180 107.14 5. กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นของอาสาสมคั รส่งเสริมการอา่ น 780 784 100.51 6. กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านของหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี ส้าหรบั ชาวตลาด. กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน.ตาบล 1. การใหบ้ ริการส่งเสรมิ การอา่ นของ กศน.ต้าบล 1,920 3,582 186.56 1.1 จา้ นวนผู้เขา้ รบั บริการ 960 1,468 152.92 1.2 การยืม-คนื 480 938 195.42 1.3 การให้บริการอินเตอรเ์ นต็ 480 1,176 245.00 2. กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นของ กศน.ตา้ บล 1,056 2,178 206.25 3. กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นของบา้ นหนงั สือชุมชน 480 1,104 230.00 4. กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นของหนว่ ยเคล่ือนท่ีรถโมบาย 480 735 153.13 5. กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นของอาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น 320 757 236.56 6. กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของหอ้ งสมดุ เคลอ่ื นท่ี 480 480 100.00 สา้ หรับชาวตลาด งานสาคญั อื่น ๆ ตามยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนนิ งานของ สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั 480 504 105.00 330 348 105.45 2. โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิต เพอื่ คงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผ้สู ูงอายุ

8 งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.อ้าเภอสามพราน ได้รับการจัดสรรงบประมาณส้าหรับ การด้าเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จ้านวน 5,530,769 บาท รายละเอยี ดดังนี โครงการ/กิจกรรม ได้รับจดั สรร เบกิ จ่าย คงเหลือ คดิ เปน็ หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท) รอ้ ยละ แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์พฒั นาการศกึ ษาเพื่อความย่งั ยนื โครงการสนบั สนุนค่าใช้จ่ายการจดั การศึกษาต้ังแตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กจิ กรรมจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน งบเงนิ อุดหนนุ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 1. ค่าจัดการเรยี นการสอน 810,416.00 810,416.00 - 100.00 คืนเงนิ 2. ค่ากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 494,240.00 361,036.00 133,204.00 งบประมาณ 73.05 3. คา่ หนังสือเรยี น 498,100.00 498,100.00 - 4. ค่าตอบแทนครผู ้สู อนคนพกิ าร - 100.00 90,000.00 90,000 100.00 แผนงาน : พืน้ ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน ผลผลิตนโยบายและแผนดา้ นการศึกษา กจิ กรรมการดาเนนิ งานดา้ นนโยบายและยทุ ธศาสตร์ งบเงินอุดหนุน รายการเงินอดุ หนุนการจัดงานฉลองวนั เด็ก 10,000.00 10,000.00 - 100.00 แห่งชาติ 99.99 คนื เงิน แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา งบประมาณ โครงการสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาต้ังแตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 100.00 กจิ กรรมจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน งบเงินอุดหนุน 100.00 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 1,430,880.00 1,430,802.03 77.97 100.00 1. ค่าจัดการเรียนการสอน 2. ค่ากจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 450,340.00 450,340.00 - 3. ค่าหนงั สือเรียน 360,260.00 360,260.00 - 4. ค่าตอบแทนครผู ู้สอนคนพกิ าร - 90,000.00 90,000

9 โครงการ/กิจกรรม ไดร้ ับจัดสรร เบกิ จา่ ย คงเหลอื คิดเป็น หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท) รอ้ ยละ แผนงาน : พ้ืนฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน ผลผลติ ท่ี 4 ผ้รู ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ กิจกรรมจดั การศกึ ษานอกระบบ งบดา้ เนินงาน 9,000.00 8,999.15 0.85 99.99 คนื เงนิ 5,000.00 5,000.00 งบประมาณ 1. ค่าตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ - 100.00 2. คา่ สาธารณปู โภค 3. กจิ กรรมการส่งเสรมิ การรู้หนังสือ 1,650.00 1,650.00 - 100.00 4. กิจกรรมการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวิต 33,465.00 33,465.00 - 100.00 5. กิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน 85,600.00 85,600.00 - 100.00 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 45,600.00 45,600.00 - 100.00 แผนงาน : พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4 ผูร้ บั บริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจดั การศึกษานอกระบบ งบดา้ เนินงาน 1. คา่ ตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 17,500.00 17,500.00 - 100.00 2. คา่ สาธารณปู โภค 15,000.00 7,123.78 7,876.22 47.49 คนื เงนิ 3. กิจกรรมการส่งเสริมการรู้หนังสอื 1,100.00 งบประมาณ 100.00 1,100.00 - 4. กจิ กรรมการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชีวติ 33,465.00 33,465.00 - 100.00 5. กจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชมุ ชน 85,200.00 85,200.00 - 100.00 6. กิจกรรมการเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 45,600.00 45,600.00 - 100.00 แผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน ผลผลติ ท่ี 5 ผู้รบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรมจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย งบดา้ เนนิ งาน 1. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 18,000.00 18,000.00 - 100.00 2. ค่าสาธารณปู โภค 5,500.00 5,500.00 - 100.00 3. คา่ จัดซือหนงั สอื พิมพ์/วารสาร 6,820.00 6,820.00 - 100.00 4. คา่ จัดซอื หนังสอื ส่ือ สา้ หรบั ห้องสมดุ ประชาชน 25,000.00 25,000.00 - 100.00 5. คา่ เชา่ บรกิ ารอินเตอรเ์ นต็ 16,704.00 16,704.00 - 100.00 กจิ กรรมจัดสร้างแหลง่ การเรยี นรใู้ นระดบั ต้าบล งบดา้ เนินงาน 1. ค่าหนังสือพิมพ์ กศน. ต้าบล 2,500.00 2,500.00 - 100.00 2. ค่าหนงั สอื สือ่ กศน.ตา้ บลไรข่ ิง 10,000.00 10,000.00 - 100.00 3. คา่ จัดกจิ กรรม กศน.ตา้ บลไร่ขิง 5,000.00 5,000.00 - 100.00 4. คา่ สาธารณปู โภค กศน.ตา้ บลไรข่ ิง 3,000.00 2016.77 67.23 คนื เงนิ 983.23 งบประมาณ

10 โครงการ/กิจกรรม ไดร้ บั จัดสรร เบกิ จ่าย คงเหลอื คดิ เป็น หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท) ร้อยละ แผนงาน : พ้นื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผูร้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมจัดการศึกษาตามอัธยาศยั งบดา้ เนนิ งาน 1. ค่าตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ 18,000.00 18,000.00 - 100.00 2. คา่ สาธารณูปโภค 5,500.00 5,500.00 - 100.00 3. ค่าจัดซือหนังสือพมิ พ/์ วารสาร 6,110.00 6,110.00 - 100.00 4. ค่าจดั ซือหนงั สือ สื่อ สา้ หรับหอ้ งสมดุ ประชาชน 25,000.00 25,000.00 - 100.00 5. คา่ เชา่ บรกิ ารอินเตอร์เน็ต 16,704.00 12,614.00 4,090 75.51 คืนเงิน งบประมาณ กิจกรรมจดั สร้างแหล่งการเรยี นรู้ในระดบั ต้าบล งบดา้ เนนิ งาน 1. ค่าหนังสือพิมพ์ กศน. ต้าบล 16,680.00 14,940.00 1,740 89.57 คนื เงนิ 10,000.00 งบประมาณ 2. ค่าหนังสือ สอ่ื กศน.ตา้ บลไร่ขิง 10,000.00 - 100.00 3. ค่าจดั กจิ กรรม กศน.ต้าบลไรข่ ิง 5,000.00 5,000.00 - 100.00 4. ค่าสาธารณปู โภค กศน.ต้าบลไรข่ งิ 3,000.00 - 3,000 0.00 คืนเงนิ งบประมาณ แผนงาน : ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการศึกษาเพ่ือความย่งั ยนื โครงการขบั เคล่ือนการพฒั นาการศกึ ษาทยี่ ั่งยืน กจิ กรรมสง่ เสริมศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน งบรายจา่ ยอื่น 1. กจิ กรรมชันเรียนวชิ าชพี (31 ชม. ขึนไป) 115,200.00 115,200.00 - 100.00 - 100.00 2. กจิ กรรมพัฒนาอาชพี ระยะสนั (กลุม่ สนใจ 134,400.00 134,400.00 ไม่เกิน 30 ชม.) - 100.00 3. กิจกรรม 1 อ้าเภอ 1 อาชพี 56,700.00 56,700.00 แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื สนับสนุนดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขบั เคลอื่ นการพฒั นาการศึกษาทย่ี ่งั ยนื กจิ กรรมส่งเสรมิ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอน่ื 1. กิจกรรมชนั เรียนวชิ าชพี (31 ชม. ขนึ ไป) 72,900.00 72,900.00 - 100.00 74,900.00 74,900.00 - 100.00 2. กจิ กรรมพฒั นาอาชีพระยะสัน (กล่มุ สนใจ ไม่เกิน 30 ชม.) 59,400.00 59,400.00 - 100.00 3. กิจกรรม 1 อ้าเภอ 1 อาชพี

11 โครงการ/กจิ กรรม ไดร้ ับจัดสรร เบิกจา่ ย คงเหลอื คิดเปน็ หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท) รอ้ ยละ แผนงาน : บูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดจิ ทิ ลั โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ จิ ิทลั กจิ กรรมการพฒั นาเครือขา่ ยเศรษฐกิจดจิ ทิ ัลสูช่ มุ ชนในระดับต้าบล งบรายจา่ ยอนื่ โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดิจิทลั หลกั สตู ร 57,600.00 57,600.00 - 100.00 Digital Literacy แผนงาน : บรู ณาการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมดิจทิ ัล โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจิทัล ศนู ย์ดจิ ทิ ัลชุมชน งบรายจา่ ยอนื่ โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล หลกั สูตร 65,440.00 65,440.00 - 100.00 การค้าออนไลน์ โดยเน้นพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ และบรรจุภัณฑ์ แผนงาน : ยุทธศาสตร์พฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผู้สูงอายุ กจิ กรรมการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอนื่ 83,295.00 44,550.00 38,745.00 53.48 คืนเงนิ 5,530,769 5,341,051.73 189,717.27 96.57 งบประมาณ โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษา ตลอดชีวิต เพือ่ คงพฒั นาการทางกาย จติ คืนเงนิ และสมองของผู้สงู อายุ งบประมาณ รวมทัง้ ส้นิ

12 ผลการปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี (Best Practice)  การจัดการเรยี นร้แู บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project – Base Learning) บชุ อ่ื ผลงาน 1. ชอ่ื ผลงานวธิ ีหรอื แนวทางปฏิบตั งิ านที่ดี (Best Practice) : การจัดการเรยี นรู้แบบใชโ้ ครงงาน เปน็ ฐาน (Project – Base Learning) 2. สถานศกึ ษา/พนื้ ที่ดาเนนิ การ : กศน.อ้าเภอสามพราน 3. เจา้ ของผลงาน/คณะทางาน : คณะครแู ละนกั ศกึ ษา กศน.ต้าบลกระทมุ่ ลม้ กศน.อา้ เภอสามพราน 4. ความสอดคลอ้ ง : นโยบายเรง่ ดว่ นเพื่อร่วมขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 3. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ข้อ 3.1 พัฒนาครูและบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้ เช่ือมโยงความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม และเป็น “ผู้อ้านวยการการเรียนรู้” ท่ีสามารถบริหารจัดการความรู้ กจิ กรรม และการเรียนรู้ท่ดี ี ข้อ 3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอือต่อการเรียนรู้ ส้าหรับทุกคน สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการ ของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทังใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนใน การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนในชุมชนไปสู่การจัดการความรู้ของชุมชน อยา่ งยัง่ ยืน ข้อ 3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคี เครือข่าย ทังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทังส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และ จัดการศึกษาและการเรยี นรู้ให้กบั ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ ข้อ 3.9 การสง่ เสริมวทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตรเ์ ชงิ รุก และเน้นใหค้ วามรู้วิทยาศาสตรอ์ ย่างง่ายกับ ประชาชนในชุมชน ทังวิทยาศาสตร์ในวิถีชีวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจ้าวันข้อ 3.9 การส่งเสริม วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษา 4. ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสและเสมอภาคทางสังคม ข้อ 4.3 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจ้าการ รวมทัง กลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่น ๆ เช่น ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบ การศึกษา ให้จบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน สามารถน้าความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนา ตนเองอย่างต่อเน่อื ง

13 5. ยุทธศาสตร์ดา้ นสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตที่เปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม ข้อ 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพ่ือลด ความเสียหายจากภัยธรรมชาตแิ ละผลกระทบท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ข้อ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความส้าคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ ให้กับประชาชนเกี่ยวกับการคัดแยกตังแต่ต้นทาง การก้าจัดขยะ และการน้ากลับมาใช้ซ้า เพื่อลดปริมาณ และต้นทุนในการจัดการขยะของเมือง และสามารถน้าขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้โดยง่าย รวมทัง การจดั การมลพิษในชุมชน ข้อ 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทังลดการใช้ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใช้ถุงพลาสติก การ ประหยดั ไฟฟ้า เปน็ ตน้ ภารกิจต่อเนอ่ื ง 1. ดา้ นการจัดการศึกษาและเรียนรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขันพืนฐาน โดย การด้าเนินการให้ผู้เรียนไดร้ ับการสนับสนุนค่าจดั ซือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และค่าจัดการเรียนการสอนอย่างท่ัวถึงและพอพียง เพื่อเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงบริการทาง การศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ ่าย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ทังระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและ ประเมินผล การเรียน ผ่านการเรียน แบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชันเรียน และ การจดั การศกึ ษาทางไกล 4) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้า ร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การบ้าเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตังชมรม/ชุมนุม พร้อมทังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนน้า กิจกรรมการบา้ เพญ็ ประโยชนอ์ น่ื ๆ นอกหลกั สูตร มาใชเ้ พิ่มชัว่ โมงกิจกรรมให้ผู้เรียนจบตามหลักสตู รได้ 5. ความเปน็ มาของโครงการ/กิจกรรม การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน เป็นฐาน (Project – Base Learning) เป็นการจัด กระบวนการเรียนรู้โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้นเพ่ือน้าความสนใจท่ีเกิดจากตัวผู้เรียนมาใช้ในการท้ากิจกร รม ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง น้าไปสู่การเพิ่มความรู้ท่ีได้จากการลงมือปฏิบัติ โดยผู้เรียนมี การเรียนรู้ผ่านกระบวนการท้างานเป็นกลุ่ม ที่จะน้ามาสู่การสรุปความรู้ใหม่ มีการเขียนกระบวนการ จดั ท้าโครงงานและได้ผลการจัดกิจกรรมเป็นผลงานแบบรปู ธรรม เป็นรปู แบบหน่ึงท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้ท้างานตามระดับทักษะท่ีตนเองมีอยู่ เป็นเร่ืองที่สนใจ ผู้เรียนได้รับสิทธิในการเลือกว่าจะตังค้าถาม อะไร และต้องการผลผลิตอะไรจากการท้างานชินนี โดยครูท้าหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนอุปกรณ์และจัด ประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน สนับสนุนการแก้ไขปัญหา และสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียน เป็นการจัด

14 การเรียนรทู้ ี่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงอย่างครบวงจร ตังแต่การวิเคราะห์ การวางแผน การปฏิบัติงาน และการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน ลักษณะของงานตามโครงงานที่ปฏิบัติที่เป็นความต้องการของ ผู้เรียน มีลักษณะเป็นงานผลิตและหรืองานบริการ ผู้เรียนต้องเป็นผู้ปฏิบัติเองทังหมด ตังแต่เริ่มต้นจน สินสุดการปฏิบัติงาน โดยมี ครูท้าหน้าที่เป็นท่ีปรึกษาและการปฏิบัติโครงงานให้ปฏิบัติงานรวมกันเป็น กลุ่ม ซึ่ง กศน.อา้ เภอสามพรานได้จัดให้มกี ารประกวดโครงงานนักศึกษาเปน็ ประจ้าทุกภาคเรียน เพื่อเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงผลงาน แลกเปล่ียนเรียนรู้ อันเป็นการน้าไปสู่การพัฒนาผู้เรียนด้านการคิดเป็น ทา้ เป็น แก้ปัญหาเป็นต่อไป 6. วตั ถุประสงค์หรอื จดุ ม่งุ หมาย เพ่ือส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project – Base Learning) โดยใช้ กระบวนการสะเต็มศึกษา (STEM Education) 7. ความสาเร็จที่เปน็ จุดเดน่ ของโครงการ/หรอื กจิ กรรมนี้ การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project – Base Learning) เป็นส่วนหนึ่งของ การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใช้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE Model เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดขึนอย่างเป็น ระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” มีทักษะการแสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ และสรา้ งองคค์ วามร้สู า้ หรบั ตนเอง ชมุ ชนและสังคม 8. รางวัลแห่งความสาเร็จของโครงการ/กจิ กรรม 1. โครงงาน “เครื่องเก็บขยะมูลฝอยในน้าแบบเคล่ือนท่ีได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์” โดย นักศึกษา กศน.ต้าบลกระทุ่มล้ม ได้เป็นตัวแทน ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษากาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี เข้าร่วมประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์พัฒนานวัตกรรมด้านส่ิงแวดล้อม ประเภทการจัดการ ขยะมูลฝอย ส้าหรับนักศึกษา กศน. ระดับประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ ศูนย์ วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษารังสิตกรงุ เทพมหานคร เม่ือวันที่ 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 และไดร้ บั รางวัลรอง ชนะเลิศ อันดบั 1 ระดับประเทศ “เครอ่ื งเก็บขยะมูลฝอยในน้าแบบเคล่อื นท่ีไดด้ ้วยพลังงานแสงอาทิตย์” เป็นแนวคิดของนักศึกษาท่ีตอ้ งการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม การลดขยะมลู ฝอยในน้า โดยใช้กระบวนการสะ เต็มศึกษา (STEM Education) ในการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในการลดปัญหาขยะ และการสง่ เสรมิ การประกอบอาชพี ในชุมชน 9. ขอ้ คดิ ควรคานึงในการนาไปขยายผลหรอื นาโครงการนไี้ ปทา ครูและนักศึกษา ต้องเป็นผู้ท่ีมีความพยายาม ตังใจ อดทน ศึกษาค้นคว้า คิดค้น ในการสร้าง พฒั นาและปรบั ปรุงชินงานอยา่ งไมย่ ่อท้อ เพ่ือให้ชนิ งานออกมาอยา่ งสมบูรณ์ทส่ี ุด ในส่วนของการแข่งขัน หรือการประกวด ผู้เรียนที่เป็นเจ้าของชินงานโครงงานต้องรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจาก คณะกรรมการตัดสินโครงงานมาคิดวิเคราะห์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ กระบวนการคิด ทักษะ การแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงต้องน้าข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาพัฒนาและต่อยอดชินงาน เพ่ือนา้ ไปสกู่ ารสามารถน้าไปประยกุ ต์ใชใ้ นการด้าเนนิ ชวี ิตไดจ้ รงิ ต่อไป

15 10. ข้อมูล/หลกั ฐานอ้างองิ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้รับโล่และเกียรติบัตร จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในการเขา้ รว่ มประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์พฒั นานวัตกรรมดา้ นสิ่งแวดล้อม ประเภทการจัดการขยะมูล ฝอย ส้าหรับนักศึกษา กศน. ระดับประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ การศึกษา รังสิต กรงุ เทพมหานคร วนั ที่ 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2563

16  หนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) 1. ชือ่ ผลงานวธิ ีหรือแนวทางปฏบิ ตั ิงานท่ีดี (Best Practice) : หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) 2. สถานศกึ ษา/พ้ืนทีด่ าเนนิ การ : ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุกศน.อา้ เภอสามพราน 3. เจา้ ของผลงาน/คณะทางาน : คณะบรรณารกั ษ์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อ้าเภอสามพราน 4. ความสอดคล้อง : ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอือต่อการเรียนรู้ เป็นแหล่ง สารสนเทศสาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่เอือต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พืนท่ีการเรียนรู้ ส้าหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอ้านวยความสะดวก มีบรรยากาศที่สวยงามมีชีวิต ท่ีดึงดูดความสนใจ และมี ความปลอดภยั สา้ หรบั ผใู้ ชบ้ ริการ 3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จ้านวน 103 แห่งให้เป็น Digital Library โดยมีบริการหนังสือในรูปแบบ E-Book บริการคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง รวมทัง Free Wi-Fi เพ่ือการสบื คน้ ข้อมลู 5. ความเป็นมาของโครงการ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชานุญาตให้กระทรวง ศึกษาธิการ โดยส้านักงาน กศน. เป็นผู้ขับเคล่ือน และเพื่อเป็นการปลูกฝังให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน รกั การเรียนรู้ในรปู แบบของการศึกษาตามอธั ยาศัย กล่าวคือสามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง ทังจากการอา่ น หนังสือที่เป็นเล่มการเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งปัจจุบันระบบดังกล่าวมีบทบาทมากต่ อ การดา้ รงชวี ติ ดั่งค้ากลา่ วทีว่ ่า“นั่งท่ีไหน อ่านท่นี ่นั ” ดังนัน เพ่ือให้มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้ เป็นแหล่งข้อมูล สาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่เอือต่อการเรียนรู้ เป็นเสมือนคาเฟ่การเรียนรู้ส้าหรับทุกคน ทุกช่วงวัยมีสิ่งอ้านวยความสะดวก มีความสวยงามที่ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยส้าหรับ ผ้ใู ชบ้ รกิ าร จงึ ไดม้ แี นวคดิ ในการพฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ใหเ้ ปน็ Digital Library” 6. วตั ถปุ ระสงค์ หรอื จุดม่งุ หมาย เพ่อื สง่ เสริมการอา่ นทางออนไลน์ด้วยหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)

17 7. ความสาเร็จทเี่ ปน็ จดุ เดน่ ของโครงการ/หรือกิจกรรม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เป็นหนังสือที่อยู่ในรูปแบบออนไลน์สามารถเข้าถึงได้อย่าง สะดวกรวดเร็ว และเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ้าเภอสามพราน เลง็ เหน็ ถึงความสา้ คัญในการอ่านเปน็ อยา่ งยง่ิ จงึ ได้จัดกิจกรรมหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) ให้บริการ ผู้ใช้บริการของห้องสมุด และเผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไปผ่านทางแฟนเพจเฟซบุ๊ก และระบบเช่ือมโยง เครือขา่ ยการเรียนรู้ โดยการเรียบเรียงเนอื หาจากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ น้ามาสร้างหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E- Book) ออนไลน์ พร้อมจัดท้าแบบทดสอบ และมอบวุฒิบัตรส้าหรับผู้อ่านการทดสอบ ซ่ึงมีการให้บรกิ าร อยา่ งสมา่้ เสมอ หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) มีเนือหาทหี่ ลากหลายเหมาะสมสา้ หรบั ทุกเพศทกุ วัย 8. รางวลั แห่งความสาเร็จของโครงการ/กจิ กรรม - 9. ข้อคดิ ควรคานึงในการนาไปขยายผลหรอื นาโครงการนไี้ ปทา คณะผูจ้ ดั คดั เลอื กเรื่องทน่ี ่าสนใจ เปน็ ปัจจุบนั มาท้าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) พร้อม จดั ท้ารปู แบบหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) ใหน้ า่ สนใจ และประชาสมั พนั ธ์กิจกรรมใหผ้ ใู้ ช้บรกิ าร มาร่วมกิจกรรมต่อไป 10. ข้อมูล/หลกั ฐานอ้างองิ 1. แฟนเพจเฟซบกุ๊ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ้าเภอสามพราน 2. เว็บไซต์ระบบเชื่อมโยงเครือข่ายแหลง่ การเรยี นรู้

18 ภาพการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านดว้ ยหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ้าเภอสามพราน

19 นายสมมาตร คงชื่นสิน น้าเสนอเพิ่มเติมว่า กศน. อ้าเภอสามพรานมีแผนท่ีจะ ด้าเนินการห้องสมุดมือถือ ซ่ึงเป็นแอปพลิเคชันหน่ีง เป็นส่ือที่ให้บริการการอ่านและการเรียนรู้ ซึ่งเป็น ช่องทางในการเข้าถึงการอ่านท่ีสามารถเรียกใช้งานได้ง่าย สะดวกต่อการสืบค้น และสามารถตอบสนอง ความต้องการในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ใช้ได้เปน็ อย่างดี ถ้าเปิดแอปพลเิ คชันบนมือถือแลว้ เหมือน อยู่ในห้องสมุด สามารถเรียนรู้โดยเชื่อมโยงความรู้ด้านต่าง ๆ ในพืนที่ทุกต้าบลในอ้าเภอสามพราน ภายในประกอบด้วยใบความรู้ รูปภาพ คลิปวิดีโอ ซ่ึงส้านักงาน กศน. จังหวัดราชบุรีเป็นผู้พัฒนา กศน. อ้าเภอสามพรานจะเชิญมาเป็นวิทยากรใหค้ วามรกู้ ับบุคลากร เพ่ือด้าเนินการต่อไป นายสกนธ์ วงศ์สุกฤต เสนอว่า ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึน เสนอให้ ส่งเสริมการอ่านออนไลน์โดยใช้ OR Code และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ซึ่งช่วยในการลด กระดาษ และสามารถอ่านได้ทุกที่ทุกเวลา และไม่ต้องกังวลเรื่องจะได้รับหนังสือคืนหรือไม่ ประหยัด งบประมาณ และเสนอใหจ้ ัดท้าหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) หลวงพ่อวัดไร่ขงิ มิ่งมงคล คนสามพราน เพอ่ื ใหผ้ ้สู นใจไดศ้ กึ ษาเรียนรู้ และใหป้ ระธานลงนามในเกียรติบัตรมอบให้ผ้ทู ่ีทา้ แบบทดสอบผ่านเกณฑ์ นายเนตร หงส์ไกรเลิศ เสนอว่า เห็นด้วยกับการใช้ OR Code และหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) และเสนอ Mobil ซาเล้ง โดยการสร้างกลุ่มไลน์แม่ค้า เป็นการส่งเสริมการอ่าน โดยบรรณารักษ์สามารถสอบถามความต้องการหนังสือ เป็นช่องทางให้แม่ค้าได้สอบถาม แลกเปล่ียน เรียนรู้จากการอ่านซึ่งกันและกัน และฝากในการจัดท้าห้องสมุดมือถือว่า ถ้ามีข้อมูลจ้านวนมาก ให้ พจิ ารณาหาจุดน่าสนใจ ขอ้ มูลไม่เหมือนทีอ่ ื่น วธิ กี ารนา้ เสนอที่นา่ สนใจ มภี ูมปิ ญั ญานา้ เสนอ พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร) ประธาน เสนอว่า ให้จัดท้าความฝันของ หลวงพ่อพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปัญญา อินฺทปญฺโญ) อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ให้เป็นจริง ให้เพิ่มข้อมูล ในห้องสมุดมือถือ เรื่อง อุทยานการศึกษาวัดไร่ขิง มีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จ้านวน 27 หน่วยงาน ประกอบด้วย สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษาระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา วิทยาลัย การอาชีพ กศน. มหาวิทยาลัย วัฒนธรรม โรงพยาบาล ให้ใส่ข้อมูล วัดไร่ขิง และหน่วยงานต่าง ๆ ทัง 27 หน่วยงาน ซ่งึ จะเป็นประโยชน์ใหค้ วามร้ไู ด้อยา่ งดี และ เรอื่ ง ข้อมูล หมู่บา้ นรักษาศีล 5 ซง่ึ ประกอบด้วย 77 จังหวัด เพราะมีขอ้ มลู อยู่แลว้ ใหน้ า้ ข้อมูลมานา้ เสนอหอ้ งสมุดมือ ถือดว้ ย มติทป่ี ระชมุ รบั ทราบ 4.2 รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ 2563 กศน.อ้าเภอสามพราน ได้จัดท้ารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2563 ตามมาตรฐานของสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองใน ภาพรวม อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีคะแนนรวมเท่ากับ 93.46 คะแนน และเม่ือพิจารณาผลการประเมิน ตนเองตามประเภทการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา พบว่า

20 1. มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน สถานศึกษามีผลการประเมิน ตนเอง อยใู่ นระดับ ยอดเยยี่ ม มคี ะแนนรวมเทา่ กับ 90.61 คะแนน มาตรฐานการศึกษา/ประเดน็ การพิจารณา นา้ หนัก ผลการประเมนิ คณุ ภาพ (คะแนน) คะแนน ระดบั ท่ไี ด้ คุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบ ระดับ 50 45.81 ยอดเย่ียม การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขันพนื ฐานมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นที่ดีสอดคลอ้ ง 10 10 ยอดเยย่ี ม กับหลักสตู รสถานศึกษา 1.2 ผเู้ รียนการศกึ ษาขนั พนื ฐานมคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ 10 10 ยอดเยยี่ ม คุณลกั ษณะทด่ี ตี ามท่ีสถานศกึ ษาก้าหนด 1.3 ผู้เรยี นการศกึ ษาขันพนื ฐานมคี วาม สามารถในการคดิ วิเคราะห์ 5 4 ดีเลศิ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ รว่ มกับผูอ้ น่ื 1.4 ผเู้ รียนการศึกษาขันพนื ฐานมีความ สามารถในการสร้างสรรค์ 5 5 ยอดเยี่ยม งาน ชินงาน หรือนวตั กรรม 1.5 ผูเ้ รียนการศึกษาขันพืนฐานมคี วาม สามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 4 3.42 ดีเลิศ ดิจิทัล 1.6 ผู้เรยี นการศึกษาขนั พนื ฐานมสี ขุ ภาวะทางกาย และสุนทรยี ภาพ 4 3.31 ดเี ลศิ 1.7 ผ้เู รยี นการศึกษาขันพืนฐานมีความ สามารถในการอ่าน การเขยี น 4 3.68 ยอดเย่ียม 1.8 ผ้จู บการศึกษา ขันพืนฐานน้าความรู้ ทักษะพืนฐานท่ีไดร้ ับไปใช้ 8 6.40 ดเี ลศิ หรือประยุกต์ใช้ มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา 20 16.00 ดีเลิศ ขน้ั พื้นฐานทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั 2.1 การพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาทส่ี อดคลอ้ งกับบริบท และความ 5 4 ดเี ลิศ ตอ้ งการของผเู้ รยี น ชมุ ชน ท้องถ่ิน 2.2 สอ่ื ทเี่ อือต่อการเรียนรู้ 5 4 ดีเลศิ 2.3 ครมู ีความรูค้ วามสามารถในการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ 5 4 ดีเลศิ สา้ คัญ 2.4 การวดั และประเมินผลการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ 5 4 ดีเลิศ

21 มาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณา น้าหนัก ผลการประเมินคุณภาพ (คะแนน) มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการจดั บริหารจดั การของสถานศกึ ษา คะแนน ระดับ 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาท่ีเนน้ การมสี ่วนร่วม ท่ไี ด้ คณุ ภาพ 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 3.3 การพฒั นาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 30 28.80 ยอดเย่ียม 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการ 3.5 การก้ากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดา้ เนินงานของสถานศกึ ษา 3 3 ยอดเยี่ยม 3.6 การปฏบิ ตั ิหน้าทีข่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาทเี่ ปน็ ไปตาม บทบาทท่ีก้าหนด 4 4 ยอดเยย่ี ม 3.7 การสง่ เสริม สนับสนนุ ภาคีเครอื ข่ายใหม้ สี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา 3.8 การสง่ เสริม สนับสนุนการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ 3 3 ยอดเยย่ี ม 3.9 การวิจยั เพอ่ื การบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศึกษา 3 3 ยอดเยย่ี ม รวม 3 2.40 ดีเลศิ 3 3 ยอดเยย่ี ม 3 3 ยอดเยย่ี ม 5 5 ยอดเยี่ยม 3 2.40 ดเี ลศิ 100 90.61 ยอดเย่ียม 2. มาตรฐานการศึกษาต่อเน่ือง สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม มคี ะแนนรวม เท่ากบั 91.97 คะแนน มาตรฐานการศกึ ษา/ประเดน็ การพิจารณา นา้ หนัก ผลการประเมินคณุ ภาพ (คะแนน) มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียนการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง คะแนน ระดบั 1.1 ผ้เู รียนการศกึ ษาตอ่ เน่ืองมคี วามรู้ ความสามารถ และหรอื ทกั ษะ ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ และหรือคณุ ธรรมเปน็ ไปตามเกณฑ์การจบหลกั สูตร 1.2 ผู้จบหลักสตู รการศึกษาต่อเน่ืองสามารถนา้ ความรูท้ ่ีได้ ไปใช้ 50 45.97 ยอดเยี่ยม หรือประยุกต์ใช้ บนฐานคา่ นิยมรว่ มของสังคม 1.3 ผจู้ บหลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื งท่ีน้าความรู้ไปใช้จนเห็นเปน็ 10 10 ยอดเยี่ยม ประจกั ษ์หรือตวั อยา่ งท่ีดี มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการเรียนรกู้ ารศึกษาตอ่ เนอื่ ง 20 19.97 ยอดเยี่ยม 2.1 หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่องมีคุณภาพ 2.2 วทิ ยากรการศึกษาต่อเน่ือง มคี วามรู้ ความสามารถ หรือ 20 16 ดเี ลศิ ประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง 2.3 ส่อื ท่ีเอือต่อการเรยี นรู้ 20 17.20 ดีเลศิ 2.4 การวดั และประเมนิ ผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง 4 3.20 ดีเลิศ 2.5 การจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาต่อเน่อื งที่มีคณุ ภาพ 4 3.60 ยอดเย่ยี ม 4 3.20 ดเี ลศิ 4 3.20 ดเี ลศิ 4 4 ยอดเย่ียม

22 มาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพจิ ารณา นา้ หนกั ผลการประเมนิ คุณภาพ (คะแนน) มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการจดั บริหารจัดการของสถานศกึ ษา คะแนน ระดับ 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมสี ่วนร่วม ท่ไี ด้ คณุ ภาพ 3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 30 28.80 ยอดเยี่ยม 3.4 การใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การ 3.5 การกา้ กับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการด้าเนนิ งานของ 3 3 ยอดเยี่ยม สถานศกึ ษา 3.6 การปฏิบตั หิ นา้ ทีข่ องคณะกรรมการสถานศึกษาทเ่ี ปน็ ไปตาม 4 4 ยอดเยี่ยม บทบาทที่กา้ หนด 3.7 การส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคเี ครือข่ายให้มสี ่วนร่วมในการจดั 3 3 ยอดเยย่ี ม การศกึ ษา 3.8 การส่งเสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ 3 3 ยอดเยย่ี ม 3.9 การวจิ ยั เพอื่ การบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา 3 2.40 ดีเลิศ รวม 3 3 ยอดเยย่ี ม 3 3 ยอดเย่ียม 5 5 ยอดเย่ยี ม 3 2.40 ดเี ลิศ 100 91.97 ยอดเย่ียม 3. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มคี ะแนนรวม เท่ากบั 97.80 คะแนน มาตรฐานการศึกษา/ประเดน็ การพิจารณา นา้ หนกั ผลการประเมินคณุ ภาพ (คะแนน) คะแนน ระดบั ท่ไี ด้ คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย 50 50.00 ยอดเยี่ยม 1.1 ผรู้ บั บรกิ ารมคี วามรู้ หรือทกั ษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกับ 50 50 ยอดเยี่ยม วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั 20 19.00 ยอดเยี่ยม 2.1 การก้าหนดโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั 5 5 ยอดเยย่ี ม 2.2 ผู้จดั กิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรมการศึกษา 5 5 ยอดเยย่ี ม ตามอัธยาศัย 2.3 สอื่ หรอื นวตั กรรม และสภาพแวดล้อมท่เี อือต่อการจดั การศกึ ษา 5 4 ดีเลศิ ตามอธั ยาศัย 2.4 ผู้รบั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 5 5 ยอดเยย่ี ม

23 มาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณา นา้ หนัก ผลการประเมนิ คุณภาพ (คะแนน) มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการจัดบริหารจดั การของสถานศึกษา คะแนน ระดับ 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาที่เนน้ การมสี ่วนร่วม ทไ่ี ด้ คุณภาพ 3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 30 28.80 ยอดเย่ียม 3.4 การใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การ 3.5 การก้ากบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการดา้ เนนิ งานของ 3 3 ยอดเยย่ี ม สถานศกึ ษา 3.6 การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีเปน็ ไปตาม 4 4 ยอดเยย่ี ม บทบาทที่ก้าหนด 3.7 การส่งเสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือขา่ ยให้มีสว่ นร่วมในการจัด 3 3 ยอดเยย่ี ม การศึกษา 3.8 การสง่ เสริม สนับสนนุ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ 3 3 ยอดเยยี่ ม 3.9 การวิจยั เพ่อื การบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา 3 2.40 ดีเลศิ รวม 3 3 ยอดเย่ยี ม 3 3 ยอดเยีย่ ม 5 5 ยอดเยย่ี ม 3 2.40 ดเี ลศิ 100 97.80 ยอดเยี่ยม ทังนี จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยภาพรวมของสถานศึกษา จึงไดม้ ีการก้าหนดแนวทางเพื่อรักษาคุณภาพหรือพฒั นาคุณภาพการศึกษา ทส่ี ถานศึกษาคาดวา่ จะนา้ ไปดา้ เนนิ การในปงี บประมาณถัดไป ดงั นี 1. ควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการออกแบบการจัด กระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นส้าคญั เพ่อื ใหส้ ามารถจัดการเรียนการสอนในรายวิชาหลกั ได้ 2. ควรจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านวิชาการท่ีหลากหลาย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทาง การเรยี นของผเู้ รียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขันพนื ฐานใหม้ ีค่าสูงขนึ 3. สถานศึกษาควรมีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา และน้าผลการประเมินมาปรับปรุง พฒั นาหลกั สูตรอย่างต่อเนอื่ ง มคี ุณภาพยิง่ ขึน 4. ควรสง่ เสริมสนับสนุนพัฒนาครู เรื่อง การประเมินหลักสูตร การพัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ การวิจัย ในชันเรียน เพอ่ื ใหค้ รูสามารถจดั การเรยี นรู้การศึกษาขันพนื ฐานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 5. ควรพัฒนากิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โดยส่งเสริมการเรียนรู้อาชีพใหม่ ๆ ให้เป็น ทางเลือกเพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน เพ่ิมช่องทางการตลาดให้กับผู้เรียน เพื่อจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ได้ อย่างแพร่หลาย และส่งเสริมสนับสนุนต่อยอดให้ผู้เรียนท่ีจบหลักสูตรการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ให้มี ทักษะในการประกอบอาชพี สามารถสร้างรายได้ให้แกค่ รอบครัว มคี ณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ 6. สถานศึกษาควรจัดให้มีการติดตามการน้าความรู้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ของผู้จบการศึกษา ต่อเน่ือง ให้ครอบคลมุ หลกั สูตรการศึกษาต่อเน่อื งมากขึน 7. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้วิทยากร หรือ ผู้จัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ได้รับ การพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง โดยอาจส่งไปเข้าร่วมการอบรม หรือเข้า

24 ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับหน่วยงานต้นสังกัด หรือนอกสังกัดส้านักงาน กศน. เพ่ือให้วิทยากร หรอื ผ้จู ัดการเรียนรู้การศกึ ษาต่อเนอ่ื งไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง 8. สถานศึกษาควรให้บรรณารักษ์ และครู กศน.ต้าบล ด้าเนินการจัดท้าและให้ผู้รับบริการ ประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถ่ิน และ น้าผลการประเมนิ ความพึงพอใจมาพัฒนาหรือจดั หาส่อื แหลง่ เรยี นร้หู รอื ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ 9. สถานศึกษาควรให้บรรณารักษ์ และ ครู กศน.ต้าบลท้าแบบประเมินความพึงพอใจโครงการ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และน้าผลท่ีได้จากการประเมินความพึงพอใจมาปรับปรุงสถานที่ การให้บริการ และพัฒนาการจดั และด้าเนนิ โครงการของสถานท่ี เพือ่ ให้มีผลการประเมนิ ในระดบั ดขี ึนไปเพมิ่ มากขึน 10. สถานศกึ ษาควรขอรับการจดั สรรงบประมาณในการจัดซอื สอ่ื หนังสอื การจดั กจิ กรรมส่งเสริม การอา่ น และการพัฒนาตกแตง่ บา้ นหนงั สือชุมชน 11. สถานศึกษาควรขอรับการจัดสรรงบประมาณในการปรับปรุง พัฒนา จัดหาเทคโนโลยีท่ี ทันสมัยใหก้ บั หอ้ งสมดุ ประชาชนเพมิ่ ขึน 12. สถานศึกษาควรมีการติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และน้าผลการประเมิน การนิเทศ และการวิจัย เพ่ือการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา และนา้ มาเปน็ สว่ นหนึ่งในการวางแผน การพัฒนาโครงการ/กจิ กรรมหรือแหล่งการเรยี นรู้ มตทิ ป่ี ระชมุ รับทราบ 4.3 รายงานผลการนเิ ทศของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2563 กศน. อ้าเภอสามพรานได้จัดท้าค้าส่ัง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยสามพราน ที่ 203/2562 ลงวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2562 เรื่อง แต่งตังคณะกรรมการนิเทศ ภายในสถานศึกษา ประจ้าปีงบประมาณ 2563 จัดท้าแผนการนิเทศกิจกรรมการจดั การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขันพืนฐานทุกภาคเรียน คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษาได้ด้าเนินการนิเทศการ จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทกุ กจิ กรรม แล้วจัดทา้ รายงานผลการนิเทศติดตามผล แนวทางการขับเคล่ือนการด้าเนินงานส้านักงาน กศน.ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ตามประเด็นนิเทศ ตา่ ง ๆ ไปยังต้นสงั กดั ดงั นี นโยบายเร่งด่วน ดา้ นที่ 2 ดา้ นท่ี 2 Good Place – Best Check In เรื่องที่ 2 เร่งยกระดับ กศน. ตา้ บล 928 แหง่ เปน็ กศน. ตา้ บล 5 ดี พรเี มย่ี ม เรอื่ งที่ 4 พัฒนาหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” เป็น Digital Literacy ดา้ นที่ 3 Good Activities เร่อื งท่ี 6 พัฒนาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน. เร่อื งท่ี 8 เรง่ ปรับปรุงหลักสตู ร การจัดการศกึ ษาอาชพี กศน. ดา้ นท่ี 4 Good Partnerships เรอื่ งท่ี 9 เสรมิ สรา้ งความร่วมมือกบั ภาคีเครือขา่ ย ด้านที่ 5 Good Innovation เรื่องที่ 10 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพ่ือประโยชน์ต่อการจัด การศึกษาและกลมุ่ เป้าหมาย

25 ภารกิจต่อเนื่อง (งานปกต)ิ 1. การศึกษาขนั พืนฐาน เร่ืองที่ 1 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เรือ่ งท่ี 2 เร่ือง การสง่ เสริมการรู้หนงั สอื ไทย 2. การศกึ ษาต่อเนื่อง เรื่องที่ 1 ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน เรื่องที่ 2 โครงการศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน เรื่องที่ 4 การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใหม่ เรื่องที่ 5 การจัดกจิ กรรมปอ้ งกันภาวะโรคซมึ เศร้าของผู้สงู อายุ เรื่องท่ี 6 การศึกษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชุมชน 3. การศกึ ษาตามอธั ยาศัย เร่ืองท่ี 5 ห้องสมุดประชาชน 4. เร่ืองอื่น ๆ เรื่องท่ี 8 การพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา เรื่องที่ 9 การสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมในสถานศึกษา เรอ่ื งท่ี 10 พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 การรายงานผลการนิเทศติดตามผลดงั กลา่ ว ประกอบด้วยการรายงานในประเด็น ต่าง ๆ ได้แก่ สภาพท่ีพบ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความส้าเร็จ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาทัง ตอ่ สถานศึกษา และต่อต้นสังกัด เป็นต้น ซ่ึงพบว่ามีผลการด้าเนนิ งานในภาพรวมทุกกิจกรรมเปน็ ไปอย่าง มปี ระสทิ ธิภาพ มตทิ ปี่ ระชมุ รับทราบ 4.4 รายงานผลการวจิ ัยเพอ่ื การบริหารการจดั การศกึ ษาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2563 สถานศึกษาได้ด้าเนนิ งานวจิ ัยอยา่ งงา่ ย หรือการวิจัยในชันเรยี น ใน ปีงบประมาณ 2563 ดังนี

26 ตารางการดา้ เนินการวิจัยอยา่ งงา่ ยหรอื การวิจัยในชนั เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 ที่ ชอื่ ผวู้ จิ ัย ต้าแหน่ง ชื่อเรอ่ื งท่วี จิ ัย 1 นายสมมาตร คงชน่ื สิน ผู้อ้านวยการ แนวทางการพฒั นาการบริหารจัดการกระบวนการเรยี นรู้ สถานศกึ ษา แบบโครงงาน กศน. อา้ เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2 นางสาวสาวิตรี มมุ สนิ ครูอาสาฯ การสง่ เสริมทักษะการค้นควา้ ความรวู้ ทิ ยาศาสตร์ของ นักศึกษาระดับชนั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ของกศน.ตา้ บลกระท่มุ ลม้ 3 นางสาวอมรรตั น์ ครูอาสาฯ การศึกษาและแกป้ ัญหาผู้เรยี นเขยี นภาษาไทยไม่ถูกต้อง ธนธนานนท์ ในระดับประถมศึกษาของนักศึกษา ศรช. ไร่ขิง 4 นางสาวมาลา กณั ฑ์โย ครูอาสาฯ การศกึ ษาพฤติกรรมของนกั ศึกษาท่ีมผี ลสมั ฤทธิ์ทาง การเรียนต้่าระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 5 นางสาวศศยิ าพชั ญ์ ครูอาสาฯ การปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกของ อินทรก์ รุงเกา่ นกั ศึกษา 6 นางประคองศรี ครอู าสาฯ การปรับพฤติกรรมความรบั ผิดชอบในการไมส่ ่งงานของ โพธเ์ิ พ็ชร นักศกึ ษา ศรช.วัดดงเกตุ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น โดยการใชส้ ัญญาเง่อื นไข 7 นางสาวชญานุช ครู กศน. การแก้ปัญหาความไมส่ ะอาดในหอ้ งเรยี น และบรเิ วณ ชินจนิ ตา้ บล กศน.ตา้ บลกระท่มุ ล้ม อา้ เภอสามพราน 8 นายเมธา ประชมุ พนั ธ์ ครู กศน. การสง่ เสริมทกั ษะการค้นคว้าความรู้วิทยาศาสตร์ ของ ตา้ บล นกั ศกึ ษาระดับชันมัธยมศกึ ษาตอนต้น ของ กศน.ต้าบลยายชา 9 นางอารีย์ ศรีทิพย์ ครู กศน. การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวทิ ยาศาสตรโ์ ดยการทา้ โครงงาน ตา้ บล ของนักศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ต้าบลไร่ขงิ 10 นายภีระ มายนื ยง ครู กศน. การพัฒนาแบบทดสอบการแสดงออกของนักศกึ ษา กศน. ตา้ บล ตา้ บลคลองใหม่ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 11 นางสาวอัญชลี วอ่ งไว ครู กศน. การศึกษาการปรับพฤตกิ รรมความรับผดิ ขอบในการ ตา้ บล ทา้ งานของนกั ศึกษา กศน.โดยการใช้การเสริมแรงทางบวก 12 นางสาวจุฑารัตน์ ครู กศน. การพฒั นาแบบฝกึ การเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์ เกย่ี วกบั บญุ ปลกู ตา้ บล ระบบนเิ วศของนักศกึ ษา กศน ตา้ บลทา่ ข้าม ระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้น 13 นางสาวจิตรา ครู กศน. การปรบั พฤตกิ รรมความรับผิดชอบในการไม่สง่ งานของ เซย่ี งเทศ ตา้ บล นกั ศึกษา 14 นายวรพจน์ ครู กศน. การเขยี นค้าศัพทภ์ าษาองั กฤษไม่ถกู ต้อง ระดบั ศรีเพ็ชรธาราพนั ธ์ ตา้ บล มัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตา้ บลสามพราน 15 นางวนั เพ็ญ ปน่ิ ทอง ครู กศน. การฝึกทักษะการเขยี นโดยใช้แบบฝกึ การพัฒนาการเขียน ตา้ บล 16 นางสาวจนิ ตนา ครู กศน. การวจิ ัยสา้ รวจเจตคติของนกั ศึกษาระดับมัธยมศึกษา โพธศิ์ รีทอง ตา้ บล ตอนตน้ ท่ีมีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ กศน.ต้าบลทรงคนอง

27 ท่ี ชื่อผู้วิจัย ต้าแหนง่ ช่อื เรื่องท่ีวจิ ยั 17 นางสาวญาณิศา ครู กศน. การใช้แบบฝึกเพอื่ ศึกษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวชิ า หมนื่ จง ตา้ บล วทิ ยาศาสตร์ของนักศึกษา กศน.ตา้ บลคลองจนิ ดา 18 นางสาวทัตติยา ครู กศน. การศกึ ษาพฤติกรรมของนกั ศึกษากศน. ต้าบลบางเตย นอ้ ยพิทกั ษ์ ตา้ บล ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ในเร่อื งการไม่สง่ งาน/การบา้ น 19 นางอนงค์ ทง่ั ทอง ครู กศน. สง่ เสริมทักษะการค้นควา้ ความรู้วิทยาศาสตร์ นกั ศกึ ษา ตา้ บล ระดับมธั ยมศึกษาตอ้ นต้นกศน.ต้าบลบางกระทกึ 20 นางอารรี ตั น์ ครู กศน. การจัดการเรียนการสอนดว้ ยโครงงานเพ่ือพฒั นานักศึกษา พุทธรักษา ตา้ บล ให้คดิ เปน็ และแก้ปญั หา ส้าหรับนกั ศกึ ษา กศน.ตา้ บลบา้ นใหม่ 21 นางบุษกร ครู กศน. การศึกษาการปรบั พฤตกิ รรมความรบั ผิดชอบในการทา้ งาน พรมเพียงช้าง ตา้ บล วชิ าวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา กศน.ต้าบลบางชา้ ง ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 22 นางสาวนาฏยา ครู กศน. การศึกษาเจตคติตอ่ การเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ของ พรมพนั ธ์ ตา้ บล นักศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้นของนักศึกษาต้าบล ท่าตลาดท่มี รี ะดับผลการเรียนตา่ งกนั 23 นายมานพ ครู ศรช. การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทา้ งานของนักศึกษา กศน. ปราชญ์อภญิ ญา ระดับชนั มัธยมปลาย 24 นายชูเกยี รติ ครู ศรช. ปัจจยั ทีส่ ง่ ผลต่อการอ่านออกเขยี นได้ของนักศึกษา ศรช. คลา้ ยสบุ รรณ วดั ท่าพดู 25 นางสาวจนิ ตนา ครู ศรช. การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ของ คลา้ ยสุบรรณ นักศึกษา ศรช.บ้านหัวอา่ ว 26 นางสาววราลี ครู ศรช. การจัดการเรียนการสอนด้วยโครงงานเพ่ือพัฒนานักศึกษา จริ วฒั นช์ ัยนันท์ ให้คิดเป็น และแกป้ ัญหา ส้าหรบั นักศึกษา ศรช.วัดสามพราน 27 นายธนานาจ พวงสุข ครู ศรช. การส่งเสรมิ ทกั ษะการคน้ คว้าความรู้วชิ าวิทยาศาสตร์ 28 นางสาวนางสาวคณติ า ครู ศรช. การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานตามก้าหนดของ สทุ ธโิ ยชน์ นักศกึ ษา ศรช.ออ้ มใหญ่ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 29 นางสาววนิดา เบาะโท ครูผสู้ อนคน การพัฒนาความสามารถในการเขียนสะกดค้าของ พิการ นักศกึ ษาระดบั ชนั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ของ กศน.ต้าบล ไร่ขงิ (ผู้พิการทางการเห็น) โดยใช้วิธเี รียนแบบสบื คน้

28 ตารางการด้าเนินการวิจยั อย่างง่ายหรือการวิจัยในชนั เรียน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ที่ ชอ่ื ผูว้ ิจัย ตา้ แหนง่ ชื่อเร่ืองที่วิจัย การศกึ ษาพฤติกรรมการแตง่ กายของนักศึกษา กศน. 1 นางสาวสาวติ รี มมุ สิน ครอู าสาฯ ต้าบลกระทุ่มลม้ อา้ เภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม การใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ น – การเขยี นวชิ าภาษาไทย 2 นางสาวอมรรัตน์ ครอู าสาฯ และการเสริมแรง ในระดับประถมศึกษาของนักศึกษา ศรช.ไรข่ งิ ธนธนานนท์ การศกึ ษาผลการเรยี นออนไลน์ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 3 นางสาวมาลา กณั ฑ์โย ครูอาสาฯ การพัฒนาทกั ษะการเรยี นเชิงสร้างสรรค์ โดยใชแ้ บบฝึก เสริมทักษะการเขียนเชงิ สร้างสรรค์ของนักศึกษา ระดับ 4 นางสาวศศยิ าพัชญ์ ครูอาสาฯ มัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช.วัดหอมเกร็ด อนิ ทร์กรุงเก่า การแก้ปญั หาการเขยี นสะกดคา้ ในวชิ าภาษาไทยไม่ถกู ต้อง ของนักศึกษา ศรช.วัดดงเกตุ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 5 นางประคองศรี ครอู าสาฯ การพัฒนาความสามารถในการเขียนสะกดคา้ ของ โพธ์เิ พช็ ร นกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ของ กศน. ตา้ บล ครู กศน. กระทุ่มลม้ โดยใช้วธิ เี รยี นแบบสืบค้น 6 นางสาวชญานุช ตา้ บล การพัฒนาความสามารถในการเขยี นสะกดคา้ ของ ชนิ จิน นกั ศึกษาระดบั ชันมธั ยมศึกษาตอนต้นของ กศน.ตา้ บล ยายชา โดยใชว้ ิธีเรยี นแบบสบื ค้น 7 นายเมธา ประชมุ พนั ธ์ ครู กศน. การพฒั นาความสามารถในการใช้ตวั สะกดในการเขียน ตา้ บล ภาษาไทยไมถ่ ูกต้องดว้ ยการใช้แบบฝกึ ทักษะของ นกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กศน. ต้าบลไรข่ ิง 8 นางอารีย์ ศรที ิพย์ ครู กศน. การพัฒนาแบบฝกึ การอา่ นคา้ ราชาศพั ท์เพ่ือพัฒนาการ ตา้ บล อา่ นส้าหรบั นกั ศึกษา กศน.ต้าบลคลองใหม่ ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 9 นายภรี ะ มายืนยง ครู กศน. การใชแ้ บบฝึกทักษะการเขียนสะกดค้าของนกั ศึกษากศน.ตา้ บล ตา้ บล ตลาดจนิ ดาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ในเร่อื งการเขียนสะกดคา้ การพฒั นาแบบฝึกการออกเสียงการคา้ ควบกล้าของ 10 นางสาวอัญชลี วอ่ งไว ครู กศน. นักศกึ ษา กศน.ตา้ บลท่าข้าม ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ แก้ปญั หาการเขียนคา้ ภาษาไทยไม่ถกู ต้องของนักศึกษา ตา้ บล การพัฒนาความสามารถในการเขยี นสะกดค้าของนกั ศกึ ษา 11 นางสาวจุฑารัตน์ ครู กศน. ระดับชันมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ของ กศน.ตา้ บลสามพราน การพัฒนาการอ่านออกเสยี งควบกลา้ โดยใช้แบบฝกึ การอ่าน บญุ ปลูก ตา้ บล ของนักศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายกศน.ต้าบลอ้อมใหญ่ การแกป้ ัญหานกั ศึกษาเขยี นสะกดคา้ ไม่ถูกตอ้ ง กศน. 12 นางสาวจติ รา ครู กศน. ตา้ บลทรงคนอง เซี่ยงเทศ ตา้ บล 13 นายวรพจน์ ครู กศน. ศรเี พช็ รธาราพนั ธ์ ตา้ บล 14 นางวันเพญ็ ปน่ิ ทอง ครู กศน. ตา้ บล 15 นางสาวจินตนา ครู กศน. โพธศ์ิ รที อง ตา้ บล

29 ท่ี ชอ่ื ผวู้ จิ ัย ตา้ แหนง่ ชื่อเร่อื งท่ีวิจัย 16 นางสาวญาณศิ า ครู กศน. การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคา้ ตรงตามหลัก หมน่ื จง ตา้ บล ภาษาไทยโดยใชแ้ บบฝึกการเขียนสะกดคา้ สา้ หรบั นกั ศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 17 นางสาวทตั ติยา ครู กศน. น้อยพิทักษ์ ตา้ บล การพฒั นาทักษะการอา่ นวิชาภาษาไทยโดยใช้หนังสือ สง่ เสริมการอา่ นของนกั ศกึ ษากศน.ระดับมัธยมศึกษา 18 นางอนงค์ ท่งั ทอง ครู กศน. ตอนต้น ตา้ บลบางเตย อ้าเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม ตา้ บล 19 นางอารีรตั น์ การใช้แบบฝกึ พัฒนาทักษะการอ่านจบั ใจความของ พุทธรกั ษา ครู กศน. นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ต้าบลบางกระทึก ตา้ บล 20 นางบษุ กร การแก้ปัญหาการเขียนคา้ ภาษาไทยไม่ถกู ต้องของ พรมเพียงชา้ ง ครู กศน. นกั เรียนชนั ประถมศึกษา โดยใช้แบบฝึกหดั เขยี นไทย ตา้ บล 21 นางสาวนาฏยา การแก้ปัญหาการเขยี นค้าภาษาไทยไม่ถกู ต้องของ พรมพนั ธ์ ครู กศน. นกั ศกึ ษา ชันประถมศึกษาโดยใชแ้ บบฝกึ หัดเขียนไทย ตา้ บล การพฒั นาการอ่านออกเสียงควบกล้า โดยใช้แบบฝกึ 22 นายมานพ ครู ศรช. การอา่ นที่มตี วั ร,ล,ว ควบกลา้ ของนักศึกษาระดับ ปราชญอ์ ภิญญา มัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ต้าบลท่าตลาด 23 นายชูเกียรติ ครู ศรช. การพัฒนาทักษะกระบวนการท้างานกลมุ่ ของนักศึกษาระดบั มัธยม คล้ายสุบรรณ ครู ศรช. ศกึ ษาตอนปลายศึกษาเฉพาะกรณขี องนักศึกษาศรช.หม่บู า้ นเอือ ครู ศรช. อาทรสาย5กศน.ตา้ บลไรข่ ิงอ้าเภอสามพรานจังหวัดนครปฐม 24 นางสาวจินตนา ครู ศรช. คลา้ ยสุบรรณ การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ชาตไิ ทย ของนกั ศกึ ษา ศรช.วดั ท่าพูด 25 นางสาววราลี จิรวัฒนช์ ยั นนั ท์ การพัฒนาทักษะการอา่ นจับใจความดว้ ยวิธกี ารสอน แบบ SQ4R 26 นายธนานาจ พวงสุข การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วชิ าภาษาไทย ของ 27 นางสาวนางสาวคณติ า ครู ศรช. นักศึกษา ศรช.วัดสามพราน สุทธิโยชน์ การศึกษาการอา่ น การเขียน วิชาภาษาไทย ระดับ 28 นางสาววนิดา เบาะโท ครผู สู้ อน มธั ยมศึกษาตอนปลาย คนพกิ าร การแกป้ ัญหาการเขียนค้าภาษาไทยไม่ถกู ต้องดว้ ย แบบทดสอบความสามารถในการเขียนค้าภาษาไทยของ นักศึกษา ศรช.วดั อ้อมใหญ่ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น การศึกษาพฤติกรรมการแตง่ กายของนกั ศกึ ษากศน.ตา้ บลไร่ขิง (ผพู้ กิ ารทางการเหน็ )อา้ เภอสามพรานจงั หวดั นครปฐม นายเนตร หงส์ไกรเลิศ เสนอว่า ให้น้าแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจาก การประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจ้าปีงบประมาณ 2563 มาจัดท้าวิจัยเพ่ือการบริหารการจัด การศึกษาได้ เช่น ข้อ 6 สถานศึกษาควรจัดให้มีการติดตามการน้าความรู้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ของผู้จบ การศึกษาตอ่ เนื่อง ใหค้ รอบคลุมหลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่อื งมากขึน ขอ้ 8 สถานศึกษาควรใหบ้ รรณารักษ์ และครู กศน.ต้าบล ด้าเนินการจัดท้าและให้ผู้รับบริการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้สื่อ

30 เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถนิ่ และน้าผลการประเมินความพึงพอใจมาพัฒนา หรือจัดหาส่ือ แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ข้อ 9 สถานศึกษาควรให้บรรณารักษ์ และ ครู กศน. ตา้ บลท้าแบบประเมินความพึงพอใจโครงการ กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั และนา้ ผลท่ีได้จากการประเมิน ความพึงพอใจมาปรับปรุงสถานท่ี การให้บริการ และพัฒนาการจัดและด้าเนินโครงการของสถานที่ เพื่อให้มี ผลการประเมินในระดบั ดีขึนไปเพิม่ มากขึน มตทิ ่ีประชุม รับทราบ 4.5 ขอความเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2562-2655 (ฉบับ ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) ระยะเวลา 4 ปี จัดท้าขึน เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562 เม่ือวันที่ 6 ธันวาคม 2562 กศน. อ้าเภอสามพรานได้ปรับค่าเป้าหมาย เกี่ยวกับผลลัพธ์ท่ีจะให้เกิดแก่ผู้เรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรของ สถานศึกษา เพื่อใช้ในการเทียบเคียง ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา เฉพาะในประเดน็ การพิจารณาท่ีสมควรจัดให้มกี ารก้าหนดค่าเป้าหมาย ส้าหรับใช้ในการประเมินคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษาไว้ดงั นี มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.1 ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนท่ดี ี สอดคล้องกบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา คา่ เปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ คือ สถานศกึ ษามกี ารกาหนดคะแนนผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนรายวชิ าบังคับท่ไี วเ้ ปน็ คา่ เป้าหมายโดยกาหนดจาก  คะแนนเฉลยี่ ผลการสอบปลายภาคเรยี นของผเู้ รยี น จา้ นวน 2 ภาคเรียน หรอื คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-Net) จ้านวน 2 ภาคเรยี น ดงั นี ทงั นี ในการก้าหนดคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาบังคับ เพอ่ื เปน็ ค่าเป้าหมาย ให้สถานศึกษาก้าหนดค่าเป้าหมายเฉพาะรายวิชาท่ีมีแผนการลงทะเบียนเรียนตาม หลักสูตร สถานศึกษาในปีท่ีสถานศึกษาจัดทารายงานการประเมินตนเอง โดยใช้คะแนนเฉล่ียผล การสอบปลาย ภาคเรียนของผู้เรียน จ้านวน 2 ภาคเรียน หรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-Net) ท่ีมีอยู่ครังล่าสุดของแต่ละรายวิชา มาเป็นข้อมูลสารสนเทศ หรือ ขอ้ มลู ตังต้นในการก้าหนดคา่ คะแนนเปา้ หมายดงั กลา่ ว

รายวชิ า 31 ทกั ษะการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา ภาษาไทย เปา้ หมายคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ภาษาอังกฤษ 2563 2564 2565 คณติ ศาสตร์ 20.50 21.00 วิทยาศาสตร์ 18.00 18.50 ชอ่ งทางอาชีพ ทกั ษะอาชีพ 20.00 พัฒนาอาชีพ 17.50 เศรษฐกิจพอเพยี ง 18.00 18.50 สขุ ศึกษา พลศึกษา 25.00 ศลิ ปศกึ ษา 21.00 สังคมศึกษา 19.00 ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมือง 25.50 26.00 การพัฒนาตนเองชุมชนสงั คม 22.00 22.50 18.00 18.50 รายวชิ า 20.50 21.50 ทกั ษะการเรยี นรู้ 20.50 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ มัธยมศึกษาตอนตน้ คณติ ศาสตร์ เปา้ หมายคุณภาพผลสัมฤทธิ์ วทิ ยาศาสตร์ 2563 2564 2565 ช่องทางอาชพี 23.00 23.50 ทกั ษะอาชีพ 24.50 25.00 พฒั นาอาชีพ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 14.00 สุขศึกษา พลศึกษา 18.50 ศิลปศกึ ษา 16.00 16.50 สงั คมศึกษา 23.00 ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมือง 16.00 การพัฒนาตนเองชมุ ชนสังคม 18.50 21.50 22.00 22.00 22.50 16.00 16.50 18.50 20.00 22.00

รายวชิ า 32 ทกั ษะการเรียนรู้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาษาไทย เปา้ หมายคณุ ภาพผลสัมฤทธิ์ ภาษาอังกฤษ 2563 2564 2565 คณติ ศาสตร์ 26.50 27.00 วิทยาศาสตร์ 24.00 24.50 ชอ่ งทางอาชพี ทักษะอาชีพ 18.00 พฒั นาอาชีพ 18.00 เศรษฐกิจพอเพยี ง 17.50 18.00 สขุ ศึกษา พลศึกษา 22.00 ศิลปศกึ ษา 21.50 สงั คมศึกษา 18.50 ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง 23.50 24.00 การพฒั นาตนเองชุมชนสงั คม 21.00 21.50 18.50 19.00 19.00 24.00 23.50

33 ประเดน็ การพิจารณา รายการประเมิน คา่ เปา้ หมาย ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 5.50 5.80 6.10 24.26 25.26 26.26 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขันพืนฐานมี ผเู้ รยี นการศึกษาขนั พืนฐานที่ได้รับ 5.10 5.30 5.50 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และ การยกย่อง เชิดชูเกยี รติ หรือเป็น 83.60 84.60 85.60 คุณลกั ษณะท่ดี ี ตามท่ี แบบอยา่ งท่ีดใี นด้านทเี่ กยี่ วข้องกับ 2.13 2.33 2.43 สถานศกึ ษากา้ หนด การมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม หรอื คณุ ลักษณะทดี่ ี 1.3 ผ้เู รยี นการศกึ ษาขันพนื ฐานมี ผเู้ รียนการศึกษาขนั พนื ฐานท่ีมี ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ ความสามารถ ในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และแลก ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ เปล่ยี นความคิดเหน็ ร่วมกับผอู้ ่ืน ขอ้ มลู และเหตุผลประกอบการ ตดั สนิ ใจ แกไ้ ขปัญหาได้อย่าง ถูกต้อง สมเหตสุ มผล และสามารถ แลกเปลยี่ นความคิดเห็นร่วมกับ ผอู้ นื่ ได้ 1.4 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขันพืนฐานมี ผู้เรยี นการศกึ ษาขนั พืนฐานท่ี ความสามารถในการสรา้ งสรรค์ สามารถสรา้ งโครงงาน ชนิ งาน งาน ชนิ งาน หรือนวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ สิ่งใหม่ที่สามารถนา้ ไปใชป้ ระโยชน์ ไดจ้ ริง 1.8 ผูจ้ บการศึกษาขนั พืนฐานนา้ ผู้จบการศึกษาตามหลักสตู ร ความรู้ ทกั ษะพนื ฐานท่ไี ดร้ ับ ไป การศึกษานอกระบบระดับ ใช้ หรอื ประยุกต์ใช้ การศึกษาขนั พนื ฐาน ท่สี ามารถนา้ ความรู้ ทกั ษะพนื ฐานทไ่ี ดร้ ับไปใช้ หรือประยุกตใ์ ช้ในการดา้ เนนิ ชีวติ การประกอบอาชพี หรือเพ่ือ การศึกษาต่อในระดบั ทีส่ ูงขึน มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 1.3 ผ้จู บหลักสตู รการศึกษา ผจู้ บการศกึ ษาและหรือจา้ นวน ต่อเนอ่ื งท่ีน้าความรู้ไปใชจ้ นเห็น กลมุ่ ผู้จบการศึกษาต่อเนื่องที่มีผล เปน็ ประจกั ษ์ หรอื ตวั อย่างทดี่ ี การด้าเนินงานท่เี ห็นเป็นประจักษ์ ในพนื ท่ี หรือเปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ี มตทิ ่ีประชุม เห็นชอบ

34 4.6 ขอความเหน็ ชอบแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2564 กศน. อ้าเภอสามพรานได้จัดท้าแผนปฏิบตั ิการประจ้าปงี บประมาณ 2564 ตาม กรอบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอา้ เภอสามพราน พ.ศ. 2562-2565 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) และสอดคล้องกับ แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ยุทธศาสตร์และจุดเน้น การด้าเนินงาน ส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดนครปฐม และนโยบายประจ้าปีงบประมาณ 2564 ของ ส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม ที่มุ่งหวังให้ คนไทย ได้รับโอกาสทางการศึกษาตลอดชีวิตอย่างเสมอภาค เท่าเทียม ทั่วถึง และมีคุณภาพ เพ่ือสร้างสังคมแห่ง การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ โดย ประกอบดว้ ยโครงการ จ้านวน 21 โครงการ ดงั นี 1. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขันพนื ฐาน 2. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขันพืนฐานส้าหรบั คนพกิ าร 3. โครงการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น 4. โครงการจัดหาหนงั สือเรยี น 5. โครงการการประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษา 6. โครงการส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบ 7. โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต 8. โครงการการศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน 9. โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 10. โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน 11. โครงการส่งเสริมการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นของ หอ้ งสมดุ ประชาชน) 12. โครงการสง่ เสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นของ กศน.ตา้ บล) 13. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารดา้ นอาชีพ 14. โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทัล 15. โครงการพัฒนาบุคลากร 16. โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 17. โครงการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 18. โครงการนเิ ทศติดตามผลการจัดการศึกษา 19. โครงการส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของภาคีเครอื ข่ายในการจดั การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 20. โครงการส่งเสริมบทบาทหน้าทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษา 21. โครงการประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่องค์ความรู้ และกจิ กรรม กศน.ส่ชู มุ ชน และได้รับการจัดสรรงบประมาณส้าหรับการด้าเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จ้านวน 6,655,780 บาท โดยจ้าแนกเป็น แผนงานตา่ ง ๆ ดังนี

35 ตาราง แสดงงบประมาณที่ กศน. อ้าเภอสามพรานได้รบั การจัดสรรประจ้าปีงบประมาณ 2564 งาน/ผลผลติ /กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ หมายเหตุ จัดสรร แผนงาน : พน้ื ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพ 564 (บาท) ทรัพยากรมนุษย์ 425 คนผลผลติ ที่ 4 : ผรู้ ับบริการการศกึ ษานอกระบบ 306 34,000 กจิ กรรมจดั การศกึ ษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน 30,000 งบบริหาร 64,860 1. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 170,000 122,400 2. คา่ สาธารณูปโภค 30,910 งบกจิ กรรม 11,840 1. กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ 42,500 11,000 2. กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน 648,000 3. กิจกรรมการศึกษาเพ่ือเรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 38,400 แผนงาน : พนื้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพ 20,000 ทรัพยากรมนุษย์ 20,000 ผลผลติ ที่ 5 ผู้รบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั 6,000 กจิ กรรมจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย งบดาเนนิ งาน 1. คา่ ตอบแทนใชส้ อยและวัสดุ 2. คา่ หนงั สอื พิมพ์/วารสาร 3. ค่าจัดซอื หนงั สือ สอื่ สา้ หรับหอ้ งสมดุ ประชาชน 4. ค่าสาธารณูปโภค 5. คา่ จ้างเหมาบรกิ าร แผนงาน : พื้นฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั กจิ กรรมจดั สร้างแหล่งการเรยี นรใู้ นระดบั ตาบล งบดาเนนิ งาน 1. ค่าหนงั สือพิมพส์ ้าหรบั กศน.ตา้ บล 2. คา่ หนังสอื สอื่ กศน.ตา้ บล 3. คา่ จดั กจิ กรรม กศน.ตา้ บล 4. ค่าสาธารณปู โภค กศน. ต้าบล

36 งาน/ผลผลติ /กจิ กรรม เป้าหมาย งบประมาณ หมาย จดั สรร เหตุ (บาท) แผนงาน : พน้ื ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพ 1,960 ทรัพยากรมนุษย์ 3,266 38,400 ผลผลิตที่ 5 ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 3,266 กิจกรรมสนบั สนุนคา่ บรกิ ารเครือขา่ ยสารสนเทศเพอ่ื การจัด 740,380 การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 133 917,440 งบดาเนนิ งาน 393 2,962,050 1. ค่าบริการส่ือสาร และโทรคมนาคม 360 119,700 แผนงาน : ยทุ ธศาสตรส์ รา้ งความเสมอภาคทางการศึกษา 24 275,100 โครงการสนบั สนุนค่าใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาตั้งแตร่ ะดับ 324,000 อนบุ าลจนจบการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กิจกรรมจดั การศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 28,800 งบเงินอดุ หนุน เงินอดุ หนนุ ทั่วไป 1. ค่าหนังสอื เรียน 2. ค่ากิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 3. ค่าจัดการเรยี นการสอน แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพ่ือสนบั สนนุ ดา้ นการพัฒนาและ เสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โครงการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาการศกึ ษาท่ีย่งั ยนื งบรายจา่ ยอืน่ กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน คา่ ใช้จา่ ยโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน 1. กิจกรรม 1 อา้ เภอ 1 อาชพี 2. กจิ กรรมพัฒนาอาชพี ระยะสนั (กลุม่ สนใจไมเ่ กิน 30 ชัว่ โมง) 3. กจิ กรรมชนั เรียนวิชาชพี (31 ชวั่ โมงขึนไป) แผนงาน : ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ กจิ กรรมภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการสอื่ สารด้านอาชพี งบรายจา่ ยอนื่ โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ทิ ัล โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล กิจกรรมศนู ยด์ จิ ิทัลชุมชน งบรายจา่ ยอืน่ คา่ ใชจ้ ่ายโครงการศนู ย์ดจิ ทิ ัลชุมชน โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจิทัล

37 นายมารุต มหายศนันท์ กล่าวว่า ขอช่ืนชม กศน. อ้าเภอสามพรานที่ด้าเนินการตาม แผนปฏิบัติการได้สัมฤทธ์ิผล และมีประสิทธิภาพ และสอบถามว่าในแผนปฏิบัติการมีกิจกรรมหรือ โครงการใดทดี่ ้าเนินการเกีย่ วกบั โรคติดเชือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) นายสมมาตร คงชื่นสนิ ชแี จงว่า กิจกรรมที่ด้าเนินการเกีย่ วกับโรคติดเชือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) คือ กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น คอื โครงการพัฒนาผู้เรียน เรียนรู้ป้องกัน ร้ทู ันโรค ร้าย ใส่ใจสุขภาพตนเองและผู้อื่น เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การป้องกัน และการท้าเจลแอลกอฮอล์ส้าหรับล้างมือ แต่ถ้าไม่สามารถจัดซือครุภัณฑ์ได้ โดยได้น้าเงิน รายได้สถานศกึ ษาไปจัดซือ นายมารุต มหายศนันท์ เสนอให้ ท้าเรื่องของบประมาณไปยังส้านักงาน กศน. เพื่อ จัดซือครุภัณฑ์ที่จ้าเปน็ ตอ่ ไป มติทป่ี ระชมุ เหน็ ชอบ 4.7 ขอความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ปีงบประมาณ 2563 และ ปงี บประมาณ 2564 การศึกษาต่อเน่ือง เป็นการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนท่ัวไป ทุกกลุ่มวัยได้รับการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ด้านการพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนา สังคมและชุมชน ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดการศึกษา ต่อเนื่อง สถานศึกษาต้องจัดหาหรือจัดท้าหลักสูตรเนือหาที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน โดย หลกั สูตรตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา และผ้บู ริหารสถานศึกษาอนมุ ัตหิ ลักสูตร ในปีงบประมาณ 2563 กศน. อา้ เภอสามพรานได้จัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง ดังนี

38 1) การศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ กศน. อา้ เภอสามพรานจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นา อาชพี 3 กิจกรรม ดงั นี - กจิ กรรมชันเรยี นวชิ าชีพ (31 ชั่วโมงขนึ ไป) ที่ พ้ืนท่ดี ำเนนิ งำน หลกั สูตร/วชิ าชีพ จานวน (ชัว่ โมง) 32 1 กศน.ตำบลกระทมุ่ ล้ม วชิ าผา้ ด้นมอื (งานปักเพ่ือการตกแต่ง) 32 32 2 กศน.ตำบลคลองจนิ ดำ วิชาการแปรรปู สนิ คา้ เกษตร 32 32 3 กศน.ตำบลคลองใหม่ วชิ าการสานเส้นพลาสติก 32 32 4 กศน.ตำบลตลำดจินดำ วชิ าช่างเสรมิ สวยพืนฐาน 32 32 5 กศน.ตำบลทรงคนอง การท้าอาหารขนม 32 32 6 กศน.ตำบล ทำ่ ขำ้ ม วชิ าการท้าอาหารติ่มซ่า้ 32 32 7 กศน.ตำบลท่ำตลำด วิชา กระเป๋าผ้าดน้ มือ 32 32 8 กศน.ตำบลบำงกระทึก วิชำเครอ่ื งแขวนไทย 32 9 กศน.ตำบลบำงชำ้ ง วิชา การขยายพนั ธุพ์ ชื 10 กศน.ตำบลบำงเตย ของชา้ ร่วยจากไหมพรม 11 กศน.ตา้ บลบา้ นใหม่ วิฃานวดตวั เพ่ือสขุ ภาพ 12 กศน.ตำบลยำยชำ วชิ าหน้ากากอนามัยแฟนซ่ีและเฟสชวิ 13 กศน.ตำบล ไรข่ งิ การแปรรูปผลไม้ 14 กศน.ตำบลสำมพรำน วชิ า (อาหารจานเดียว) 15 กศน.ตำบลหอมเกร็ด สมนุ ไพรพอกหน้า-แช่มอื แช่เทา้ เพ่ือบ้าบดั กาย 16 กศน.ตำบลอ้อมใหญ่ กำรสำนเส้นพลำสติก

- กจิ กรรมพฒั นาอาชพี (ไม่เกิน 30 ช่ัวโมง) 39 ท่ี พ้ืนทด่ี าเนินงาน หลักสตู ร/วชิ าชพี จานวน (ชัว่ โมง) 1 กศน.ต้าบลกระทมุ่ ลม้ วิชาผ้าด้นมอื (หมอนปลาวาฬ) 3 2 กศน.ต้าบลคลองจินดา วชิ าผา้ ดน้ มือ(กระเป๋ารองเทา้ นาร)ี 6 3 กศน.ต้าบลคลองใหม่ วชิ าผา้ ดน้ มือ (ถงุ ผา้ ) 3 4 กศน.ตา้ บลตลาดจินดา วชิ าการท้าพมิ เสนนา้ 3 5 กศน.ตา้ บลทรงคนอง วชิ าการเพาะเห็ดฟาง 6 6 กศน.ต้าบลทา่ ข้าม วชิ าอาหารว่าง (วุ้น,ขนมจีบ) 3 7 กศน.ต้าบลทา่ ตลาด วิชาทา้ โบว์จากรบิ บิน 3 8 กศน.ตา้ บลบางกระทึก วชิ าการท้าขนมครก 3 9 กศน.ต้าบลบางชา้ ง วชิ าการทา้ นมถั่วเหลอื ง 3 10 กศน.ต้าบลบางเตย อาหารว่าง(ขนมจีบ,แซนวิช) 6 11 กศน.ต้าบลบา้ นใหม่ ขนมไทย(ข้าวต้มมัด,ขนมกล้วย) 3 การแปรูปอาหาร(ถ่ัวกรอบแก้ว,กล้วยฉาบ) 3 การทา้ ข้าวตม้ มดั 3 การทา้ ขนมบัวลอยเบญจรงค์ 3 การท้ากระเป๋าผ้าใสแ่ กว้ น้า 6 วิชาทา้ โบว์จากริบบนิ 3 วิชาการทา้ แคบหมู 3 วิชาการท้าลูกประคบ สมุนไพรพืนฐาน 3 วชิ าการเพ้นท์ กระเปา๋ ผ้า 3 วชิ าถงุ หอมสมนุ ไพร 3 วชิ าการประดิษฐ์ดอกสบั ปะรดจากผ้า 3 วชิ าพวงมาลัยริบบิน 6 วชิ ายางรัดผมจากผา้ ขาวม้า 6 วชิ าเครอื่ งแขวนไทย 6 วิชา การทา้ ขา้ วเกรยี บมนั มว่ ง 3 วิชา การท้าขา้ วเกรียบออ่ น 3 วชิ าการทา้ กระเปา๋ ผ้าใสแ่ กว้ นา้ 6 วิชา ขนมปั้นสิบ 6 วิชา ศิลปะดนิ ไทย (แมเ่ หลก็ ติดต้เู ยน็ ) 3 วิชา มะลิทชิ ชู 3 วิชา ขนมปน้ั สบิ 6 วิชา ศลิ ปะดนิ ไทย (แม่เหล็กติดตู้เยน็ ) 3 วิชา มะลิทิชชู 3

ที่ พ้นื ท่ดี าเนนิ งาน หลกั สูตร/วิชาชีพ 40 12 กศน.ตา้ บลยายชา วชิ าหมอนรองคอ 13 กศน.ต้าบลไร่ขิง วิชากระเป๋าเวชภณั ฑ์ จานวน (ชว่ั โมง) สาคูไส้หมู 6 14 กศน.ตา้ บลสามพราน ก๋วยเตี๋ยวลยุ สวน 6 การแปรรปู น้าสมุนไพร 3 15 กศน.ตา้ บลหอมเกร็ด กว๋ ยเตยี๋ วหลอด 3 การจดั สวนถาด 6 16 กศน.ต้าบลอ้อมใหญ่ วิชาผ้าดน้ มอื (กระเปา๋ ผ้า) 3 การทา้ ดอกไมใ้ บเตยไหวพ้ ระ 3 การบรู หอมไลย่ งุ 6 การทา้ เครป 3 การสานตะกรา้ จากเส้นพลาสติก 3 การท้าขนมชัน 3 การท้าวนุ้ กะทิ 6 3 - กิจกรรม 1 อา้ เภอ 1 อาชพี 3 ที่ พ้ืนที่ดาเนินงาน หลกั สูตร/วชิ าชพี จานวน (ชว่ั โมง) 50 1 ทีท่ า้ การสตรีตา้ บลคลอง วิชาการทา้ ผา้ มดั ย้อม 55 จนิ ดา 50 2 ศูนยเ์ รียนรู้ต้าบลตลาด วชิ าการทา้ พรมเช็ดเทา้ แฟนซี 55 จินดา ม.3 3 57/3 ต.ทา่ ขา้ ม วิชาการจัดดอกไม้สด 4 เทศบาลต้าบลบางกระทึก ผลิตภัณฑจ์ ากผา้ ขาวม้า

41 2) การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวติ กศน. อ้าเภอสามพรานจัดการศกึ ษาเพื่อ พฒั นาทักษะชีวิต ดังนี ท่ี พนื้ ทด่ี าเนนิ การ โครงการ/กจิ กรรม จานวน (ช่ัวโมง) 1 กศน.ต้าบลกระท่มุ ลม้ โครงการปันยิม สร้างความสุข ผสู้ งู อายสุ ุขใจ 6 2 กศน.ตา้ บลคลองจินดา โครงการพฒั นาศกั ยภาพผสู้ งู อายตุ ้าบลคลอง 6 จนิ ดา \"สขุ ภาพดี ตามวถิ ีพอเพยี ง\" 3 กศน.ต้าบลคลองใหม่ โครงการโภชนาการกับสุขภาพของผู้สงู อายุ 6 4 กศน.ต้าบลตลาดจินดา โครงการปนั ยมิ สร้างความสุข ผู้สงู อายุ สุขใจ 6 5 กศน.ต้าบลทรงคนอง โครงการขยะรีไซเคลิ ปรับปรุงสง่ิ แวดลอ้ มป้องกัน 6 โรค ปกปอ้ งโลก 6 กศน.ต้าบลทา่ ข้าม โครงการโภชนาการกบั สขุ ภาพของผูส้ ูงอายุ 6 7 กศน.ต้าบลท่าตลาด โครงการอยดู่ ี มสี ขุ ผสู้ งู วัยใส่ใจสุขภาพ 6 8 กศน.ต้าบลบางกระทึก โครงการ Active Aging สร้างความตระหนักถึง 6 คณุ คา่ และศักด์ศิ รีของผู้สงู อายุ 9 กศน.ต้าบลบางช้าง โครงการขยะเพ่ือรกั ษาสิ่งแวดล้อมโดย การใช้ 6 ถุงผา้ ลดโลกรอ้ น 10 กศน.ตา้ บลบางเตย โครงการสง่ เสริมผสู้ งู วัยใสใ่ จสขุ ภาพ 6 11 กศน.ตา้ บลบ้านใหม่ โครงการผูส้ ูงอายุสขุ ใจ สงู วัยอยา่ งมีคณุ ค่า 6 12 กศน.ตา้ บลยายชา โครงการอบรมสง่ เสริมสขุ ภาพและสุขภาวะ 6 อนามยั ของผสู้ งู อายุ 13 กศน.ตา้ บลไร่ขิง โครงการใจสบาย กายมสี ุข 6 14 กศน.ต้าบลสามพราน โครงการปันยิม สร้างความสุข ผู้สูงอายสุ ขุ ใจ 6 15 กศน.ต้าบลหอมเกร็ด โครงการสขุ ภาพดี ชีวีมีสขุ 6 16 กศน.ตา้ บลอ้อมใหญ่ โครงการอยู่ดีมีสขุ ผสู้ งู วัยใส่ใจสุขภาพ 6

42 3) การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชน กศน. อ้าเภอสามพรานจัดการศึกษา เพ่อื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน ดังนี ที่ พ้นื ท่ดี าเนินการ โครงการ/กิจกรรม จานวน (ชว่ั โมง) 1 กศน.ต้าบลกระทุ่มลม้ โครงการสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื 6 การประกอบอาชพี 2 กศน.ต้าบลคลอง โครงการชมุ ชนรว่ มใจ “ลดรบั ลดใช้ 6 จนิ ดา ถงุ พลาสติก” 3 กศน.ตา้ บลคลองใหม่ โครงการส่งเสริมปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดดี ้วยวธิ ี 6 ประชาธิไตย 4 กศน.ตา้ บลตลาด โครงการสง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยี 6 จินดา ท่เี หมาะสมเพื่อการประกอบอาชพี 5 กศน.ตา้ บลทรงคนอง โครงการการท้าเครื่องตากอาหารโดยใชพ้ ลงั งาน 6 แสงอาทิตย์ตา้ บลทรงคนอง 6 กศน.ตา้ บลทา่ ข้าม โครงการส่งเสริมปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมืองดดี ว้ ยวธิ ี 6 ประชาธปิ ไตย 7 กศน.ตา้ บลท่าตลาด โครงการลดขยะด้วยมือของเรา 6 8 กศน.ต้าบลบางกระทึก โครงการสานเครือขา่ ยสรา้ งนวัตกรรมชุมชน 6 9 กศน.ต้าบลบางช้าง โครงการพัฒนาสินค้าและเทคโนโลยีการออกแบบ 6 10 กศน.ต้าบลบางเตย โครงการ ส่งเสริมอนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ มในชมุ ชน 6 11 กศน.ตา้ บลบา้ นใหม่ โครงการส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีท่เี หมาะสม 6 เพอ่ื การประกอบอาชีพ 12 กศน.ต้าบลยายชา โครงการประชาชนรว่ มใจคัดแยกขยะในครวั เรอื น 6 13 กศน.ต้าบลไรข่ ิง โครงการวสิ าหกจิ เข้มแข็งตามหลกั ความพอเพียง 6 14 กศน.ตา้ บลสามพราน โครงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพือ่ 6 การประกอบอาชีพ 15 กศน.ตา้ บลหอมเกร็ด โครงการลดมลพิษเพื่อคุณภาพชีวิตและ 6 ส่งิ แวดล้อม 16 กศน.ต้าบลอ้อมใหญ่ โครงการชมุ ชนสเี ขยี ว ลดใช้สารเคมี 6 ในพชื ผกั สวนครวั

43 4) กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน. อา้ เภอสามพราน จัดกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ดงั นี ที่ พ้นื ท่ดี าเนนิ การ โครงการ/กจิ กรรม จานวน (ชวั่ โมง) 1 กศน.ตา้ บลกระทุ่มลม้ 6 2 กศน.ต้าบลคลองจนิ ดา โครงการกินดี มสี ุข ด้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการหลกี เลย่ี งใชส้ ารเคม\"ี สขุ ภาพดี ตามวิถี 3 กศน.ตา้ บลคลองใหม่ พอเพียง\" โครงการสง่ เสริมเศรษฐกจิ พอเพียงในชุมชนต้าบล 4 กศน.ต้าบลตลาดจนิ ดา คลองใหม่ 5 กศน.ต้าบลทรงคนอง โครงการกินดี มสี ุข ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง 6 กศน.ต้าบลทา่ ข้าม โครงการชมุ ชนพอเพยี ง โครงการส่งเสรมิ เศรษฐกิจพอเพยี งในชมุ ชนต้าบล 7 กศน.ต้าบลท่าตลาด ทา่ ข้าม 8 กศน.ตา้ บลบางกระทึก โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการเรียนรู้จากชมุ ชนสู่วถิ ีพอเพยี ง 9 กศน.ต้าบลบางช้าง โครงการพออยู่พอกิน ตามหลักพระเจา้ อยู่หวั ใน รชั กาลที่ 9 10 กศน.ตา้ บลบางเตย โครงการสรา้ งสังคมการเรียนรู้วถิ ีพอเพียง 11 กศน.ตา้ บลบา้ นใหม่ 12 กศน.ตา้ บลยายชา โครงการชวี ติ ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืนด้วยความพอเพียง 13 กศน.ต้าบลไรข่ ิง 14 กศน.ตา้ บลสามพราน โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชมุ ชนกนิ ดี มสี ขุ 15 กศน.ตา้ บลหอมเกร็ด 16 กศน.ต้าบลอ้อมใหญ่ โครงการวสิ าหกจิ เขม้ แข็งตามหลักความพอเพียง โครงการกินดี มีสุข ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง โครงการเรียนร้อู าชีพเพ่ือวิถีพอเพียง โครงการพออยู่พอกนิ วถิ ีเกษตรอินทรยี ์

44 ในปีงบประมาณ 2564 กศน. อ้าเภอสามพรานมีแผนการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ดงั นี 1) การศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ กศน. อ้าเภอสามพรานจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นา อาชพี 3 กิจกรรม ดงั นี - กิจกรรมชนั เรียนวิชาชพี (31 ช่ัวโมงขนึ ไป) ท่ี พน้ื ทด่ี าเนนิ งาน หลักสูตร/วชิ าชีพ จานวน ระยะเวลา (ชว่ั โมง) ดาเนนิ การ 1 ตา้ บลกระทุ่มล้ม ผา้ ด้นมือ('ศลิ ปะการต่อผา้ ) ม.ค.-ก.พ. 64 2 ต้าบลคลองจินดา การทา้ ผา้ มดั ย้อม 32 ม.ค.-ก.พ. 64 3 ตา้ บลคลองใหม่ ผลิตภัณฑจ์ ากมะพร้าว 32 ม.ี ค. 64 4 ตา้ บลตลาดจนิ ดา ขนมอบ 32 ก.พ. 64 5 ต้าบลทรงคนอง การทา้ อาหารขนม 32 ม.ค. 64 6 ต้าบลทา่ ข้าม การทา้ ผา้ มัดย้อม 32 ม.ี ค. 64 7 ต้าบลท่าตลาด การทา้ เบาะรองนง่ั 32 ม.ค. 64 32 ขนมปงั 8 ต้าบลบางกระทกึ เครอ่ื งประดบั จากผ้าขาวมา้ 32 ก.พ. 64 9 ตา้ บลบางชา้ ง ผลิตภัณฑจ์ ากเสน้ พลาสติก 32 มี.ค. 64 10 ต้าบลบางเตย อาหารว่าง (ก๋วยเตี๋ยวลยุ สวน, สลดั โรล, 32 ก.พ. 64 ยา้ วุ้นเส้นโบราณ, ช่อมว่ งไสเ้ ค็ม,กยุ่ ช่าย, 32 ม.ี ค. 64 ปั้นสบิ นงึ่ ไส้ปลา) 32 มี.ค. 64 11 ตา้ บลบา้ นใหม่ ชา่ งตัดผมชาย 32 ม.ค.-ก.พ. 64 12 ตา้ บลยายชา ผลติ ภณั ฑจ์ ากเชอื กปอป่าน 32 ม.ค.-ก.พ. 64 13 ตา้ บลไรข่ งิ ช่างตดั ผมชาย 2 14 ต้าบลสามพราน ผ้าดน้ มือ (การทา้ กระเป๋าผ้าและหมวก 32 ก.พ. 64 bucket) 32 มี.ค. 64 15 ตา้ บลหอมเกร็ด การแปรรปู ผลไม้ 32 พ.ค. 64 16 ต้าบลอ้อมใหญ่ การจบั จีบผา้ ประดบั โต๊ะ 32 พ.ค.- .ย.64 17 ตา้ บลกระทุ่มล้ม ผา้ ด้นมือ (ศิลปะบนผืนผา้ ) 32 ก.ค. 64 18 ต้าบลคลองจนิ ดา การแปรรูปผลไม้ 32 พ.ค.-ม.ิ ย.64 32 มิ.ย.64 19 ต้าบลคลองใหม่ การแปรรูปผลไม้ 32 ก.ค. 64 20 ตา้ บลตลาดจินดา การปักผา้ สไบมอญ-รามัญลายประยกุ ต์ 32 มิ.ย.64 21 ต้าบลทรงคนอง การท้าเบาะรองนั่งขนมปัง 32 ม.ิ ย.64 22 ต้าบลท่าขา้ ม การประดิษฐ์โคมไฟครสิ มาส 32 มิ.ย.64 23 ตา้ บลท่าตลาด การทา้ กระเป๋าผา้ และหมวก bucket 24 ต้าบลบางกระทกึ ปลอกหมอนงานปัก 25 ตา้ บลบางชา้ ง การแปรรปู สนิ ค้าทางการเกษตร

45 ท่ี พ้ืนทด่ี าเนินงาน หลักสตู ร/วิชาชีพ จานวน ระยะเวลา (ชัว่ โมง) ดาเนินการ 26 ตา้ บลบางเตย อาหารว่าง (ลกู ชบุ ,ถ่วั แปบ,ปั้นขลิบนงึ่ , ขนมมันหนา้ ตะโก,้ วุ้นกะทิ,ขนมปังสงั ขยา 32 มิ.ย.64 27 ตา้ บลบา้ นใหม่ ใบเตย,ซา่ หริ่ม) 28 ต้าบลยายชา สานเสน้ พลาสติก 32 มิ.ย.64 29 ตา้ บลไร่ขงิ บายศรี 32 ก.ค. 64 30 ต้าบลสามพราน การล้างและติดตังเครื่องปรบั อากาศ 32 ม.ิ ย.64 31 ต้าบลหอมเกรด็ เบาะรองนงั่ ขนมปงั จากผ้า 32 ม.ิ ย.64 32 ต้าบลอ้อมใหญ่ อาหาร-ขนม 32 ม.ิ ย.64 โหราศาสตร์ 32 ม.ิ ย.64 - กจิ กรรมพฒั นาอาชพี (ไม่เกิน 30 ชวั่ โมง) ท่ี พน้ื ทด่ี าเนินงาน หลกั สูตร/วิชาชีพ จานวน ระยะเวลา (ชว่ั โมง) ดาเนินการ 1 ตา้ บลกระทุ่มลม้ ผา้ ดน้ มอื (บา้ นหรรษา) ก.พ. 64 เครื่องแขวนบันไดเงิน 15 ก.พ. 64 งานใบตอง 10 ก.พ. 64 ผ้าดน้ มอื มาคาเม่ (ทีแ่ ขวนกระถางตน้ ไม้) 10 พ.ค. 64 การทา้ พวงมโหตร 15 พ.ค. 64 เครอื่ งแขวนหยดนา้ 10 พ.ค. 64 10 26 ธ.ค.63 2 ตา้ บลคลองจนิ ดา การทา้ ทุงแมงมมุ 5 ม.ค. 64 การเพน้ ทก์ ระเปา๋ ผ้า 5 ม.ค. 64 การทา้ น้ายาอเนก ประสงค์ 6 ก.พ. 64 การทา้ แซนวชิ หลากไส้ 6 มิ.ย. 64 การเพน้ ท์กระเป๋าผ้า 5 มิ.ย. 64 สบั ปะรดประดิษฐ์ 4 การแปรรปู นา้ สมนุ ไพร 6 ก.ค.64 อาหารวา่ ง 8 ก.ค.64 6 ก.พ. 64 3 ต้าบลคลองใหม่ การท้ากระเปา๋ จากเสือ 6 ก.พ. 64 การพับผา้ ขนหนู 6 ก.พ. 64 การท้าสลดั โรล และ ก๋วยเต๋ียวลุยสวน 6 มี.ค. 64 การทา้ ขนมสาคจู ากต้นพืช และขนมครองแครง 6 พ.ค. 64 การสานกลอ่ งใสด่ นิ สอ 6 พ.ค. 64 การท้าถุงหอมกระดาษสา 6 ม.ิ ย. 64 การท้าพวงมาลยั สมนุ ไพร

46 ที่ พื้นท่ดี าเนินงาน หลักสตู ร/วชิ าชีพ จานวน ระยะเวลา (ช่ัวโมง) ดาเนนิ การ มิ.ย. 64 การพบั เหรยี ญโปรยทาน 6 ม.ค.64 4 ตา้ บลตลาดจนิ ดา อาหารจานเดียว 10 ม.ค.64 ม.ค.64 ก๋วยเตีย๋ วหลอด 3 ม.ค.-ก.พ.64 พ.ค.-ม.ิ ย. 64 สาคไู สห้ มู 3 พ.ค.-ม.ิ ย. 64 พ.ค.-มิ.ย. 64 การท้านา้ พรกิ 10 พ.ค.-มิ.ย. 64 ม.ค.64 อาหารว่าง (ปอเป๊ยี ะทอด,ถ่วั กรอบแกว้ ) 10 ม.ค.64 ม.ค.64 ขนมไทย (ขนมชัน,ขนมลืมกลืน) 10 ม.ค.64 ม.ิ ย. 64 ขนมไทย (ขนมสาลี,ขนมดอกจอก) 10 มิ.ย. 64 ม.ิ ย. 64 อาหารว่าง (ปอเปี๊ยะทอด,ถ่ัวกรอบแกว้ ) 10 ม.ิ ย. 64 ม.ค.64 5 ตา้ บลทรงคนอง การท้าพานพุ่มมุก 6 ม.ค.64 ก.พ.64 การทา้ พานพุ่มมุก 6 ก.พ.64 การแกะสลัก 6 พ.ค. 64 พ.ค. 64 การทา้ ตะกร้าแฟนซี 6 ม.ิ ย. 64 มิ.ย. 64 การแกะสลัก 6 ม.ค.64 ม.ค.64 การท้าตะกร้าแฟนซี 6 ม.ค.64 การท้าขนมไทย 6 ม.ค.64 ม.ิ ย. 64 การท้าอาหารจานเดยี ว 6 ม.ิ ย. 64 ม.ิ ย. 64 6 ตา้ บลท่าข้าม การทา้ กระเป๋าจากเสือ 6 ม.ิ ย. 64 การท้าสลดั โรล และ กว๋ ยเตย๋ี วลยุ สวน 6 การท้านมสดสตอเบอร่ี และสมูทตีสตอเบอ 6 ร่โี ยเกริ ต์ ปน่ั การพับผา้ ขนหนู 6 การพบั เหรยี ญโปรยทาน 6 การทา้ ขนมสาคจู ากตน้ พชื และขนมครองแครง 6 การสานกล่องใส่ดินสอ 6 การท้าพวงมาลยั จากถงุ นม 6 7 ตา้ บลทา่ ตลาด อาหารวา่ ง (ปาท่อง โก๋กบั นา้ เตา้ ห)ู้ 6 อาหารวา่ ง (สลดั โรลปูอัดครีมซีฟดู้ ) 6 อาหารวา่ ง(ปอเปย๊ี ะทอดไสห้ มแู ดงกับนา้ จิม 6 มะขามเปยี ก) อาหารว่าง (ขนมกยุ ช่าย) 6 อาหารว่าง ('หมทู อดขา้ วโพด) 6 อาหารว่าง (สงั ขยาฟักทอง) 6 อาหารว่าง (เก๊ียวทอดไสป้ ูอดั ) 6 อาหารวา่ ง (ขนมปงั หนา้ ทูน่า) 6

47 ท่ี พื้นทดี่ าเนนิ งาน หลักสตู ร/วชิ าชีพ จานวน ระยะเวลา (ชว่ั โมง) ดาเนนิ การ 8 ต้าบลบางกระทกึ ยางรัดผมจากผา้ ขาวม้าHandmade ผา้ เช็ดหน้างานปักมือ 10 ม.ค.64 'ผา้ พนั คองานปกั มอื 10 ก.พ. 64 ปลอกหมอนงานปักมอื 10 ม.ี ค.64 สรอ้ ยคอ/ข้อมือลกู ปัด 10 มิ.ย. 64 สรอ้ ยคอจากผา้ ขาวม้า 10 ม.ิ ย. 64 10 ก.ค 64 9 ต้าบลบางช้าง ขนมไทย(ขนมเทียน) 10 ก.พ. 64 ขนมไทย(ถัว่ แปบ,เม็ดขนนุ ) 10 ก.พ. 64 อาหารวา่ ง(ปอเปย้ี ะทอด,ขนมดว้ ง) 8 ก.พ. 64 บายศรจี ากใบตอง 10 มิ.ย. 64 การร้อยมาลยั จากใบเตย 10 ม.ิ ย. 64 อาหารว่าง(แซนวชิ ,ก๋วยเตีย๋ วลยุ สวน) 8 มิ.ย. 64 6 ม.ค.64 10 ตา้ บลบางเตย การท้าแซนวชิ หลากไส้ 6 ม.ค.64 การแต่งหนา้ เค้กจว๋ิ 6 ม.ค.64 การท้านา้ แขง็ ใส/หวานเย็น 6 ก.พ.64 'อาหารจานเดยี ว(ราดหนา้ ,ผดั ซอี วิ๊ ) 6 พ.ค. 64 การท้ากว๋ ยเตี๋ยว 6 พ.ค. 64 การท้านา้ ยาอเนกประสงค์ 6 มิ.ย. 64 การท้าลอดชอ่ งสิงคโปร์กบั ทบั ทมิ กรอบ 6 ม.ิ ย. 64 การท้าพานรองฐานพระจากมะลิทชิ ชู 6 ม.ค.64 6 ม.ค.64 11 ตา้ บลบา้ นใหม่ อาหารจานเดยี ว(ข้าวคลกุ กะปิ,ขนมจีนซาวนา้ ) 6 ก.พ.64 อาหารวา่ ง(สาคไู สห้ ม,ูขนมปังสงั ขยา) 6 ก.พ.64 ขนมไทย (บัวลอย,วุน้ กะทิมะพร้าวอ่อน) พ.ค. 64 เต้าฮวยมะพรา้ วออ่ น,เตา้ ฮวยฟร้ตุ สลัด 6 อาหารว่าง(กว๋ ยเตยี๋ วหลอดทรงเครอื่ ง,ปอเปีย๊ ะ พ.ค. 64 ทอด) 6 มิ.ย. 64 อาหารว่าง(เมี่ยงปลาท,ูสลดั ผลไม้) 6 มิ.ย. 64 เผอื กฉาบ,มันฉาบเคลอื บคาราเมล 6 ม.ค.64 ยาสระผมจากสมนุ ไพร 10 ก.พ.64 10 มี.ค. 64 12 ตา้ บลยายชา สายคล้องแมสลกู ปัด 10 พ.ค. 64 ร่มค็อกเทล 10 มิ.ย. 64 ขนมไทย (ตะโก้,ขนมตาล) 10 ก.ค 64 สายคลอ้ งแมสผ้า 10 ที่วางโทรศพั ท์ DIY อาหารว่าง (แซนวสิ , ปอเป๊ียะสด)

48 ที่ พน้ื ท่ีดาเนนิ งาน หลักสตู ร/วชิ าชพี จานวน ระยะเวลา 13 ตา้ บลไร่ขงิ (ช่วั โมง) ดาเนินการ เฉาก้วย 14 ตา้ บลสามพราน เตา้ ฮวยฟรุ๊ตสลดั ,เตา้ ฮวยมะพร้าวอ่อน 6 ม.ค.64 15 ต้าบลหอมเกรด็ ขนมไทย (เปยี กปนู หลากสี, เปียกปนู กะทิ 6 ก.พ.64 สด) ก.พ.64 16 ตา้ บลอ้อมใหญ่ การแปรรูปถั่วเหลอื ง 6 ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ มี.ค. 64 ขนมอบ 6 พ.ค. 64 ขนมกล้วย ขนมฝักทอง ขนมเผือก ขนม 6 มิ.ย. 64 สอดไส้ 15 ก.ค 64 อาหารจานเดยี ว 6 การจดั สวนถาด ม.ค.-ก.พ.64 อาหารวา่ งการท้าก๋วยเตยี๋ วหลอด 10 ม.ค.-ก.พ.64 อาหารจานเดียว 3 ม.ค.-ก.พ.64 อาหารว่าง การท้าหมโู สร่ง และแซนวิซ ขนมปัง 3 ม.ค.-ก.พ.64 อาหารจานเดยี ว 10 อาหารจานเดยี ว 10 มิ.ย. 64 อาหาร-ขนม(ตะกรา้ กรอบ,ขา้ วเหนยี วแปร) 10 มิ.ย. 64 อาหารว่าง(ถวั่ กรอบแก้ว,ชอ่ ม่วง) 10 ม.ิ ย. 64 ขนมช่อมว่ ง 6 ม.ค.64 ข้าวเหนียวแปร 6 ม.ค.64 การทา้ พวงมโหตร 3 24 ธ.ค. 63 อาหาร-ขนม(เครปมะพร้าวออ่ น,ขนมถั่วแปบ) 3 24 ธ.ค. 63 อาหารวา่ ง (ขนมจีบ, เกียวซา่ ) 3 ม.ค.64 การทา้ ธุงใยแมงมมุ 8 พ.ค. 64 การทา้ ดอกไมจ้ ันทนจ์ ากลอตเตอร่ี 8 มิ.ย. 64 กระเช้ามะกรูดใบเตย 3 พ.ค. 64 อาหารว่าง 3 พ.ค. 64 การทา้ แกงใต(้ แกงไตปลา,แกงเหลอื ง) 3 ก.ค. 64 การท้าขนมไทย 6 ม.ิ ย. 64 การท้ามะกรดู หอมใบเตย 10 ก.พ.64 การทา้ อาหารว่าง 10 ก.พ.64 การท้านา้ หมกั ชวี ภาพ 8 ก.พ.64 การทา้ น้าสมุนไพรเพื่อสขุ ภาพ 10 มิ.ย. 64 10 มิ.ย. 64 8 มิ.ย. 64

49 - กิจกรรม 1 อา้ เภอ 1 อาชพี ที่ พน้ื ที่ดาเนนิ งาน หลักสูตร/วชิ าชีพ จานวน ระยะเวลำ (ชัว่ โมง) ดำเนนิ งำน 1 ต้าบลคลองใหม่ การทา้ ผ้ามัดยอ้ ม ม.ค. 64 การท้าผ้ามดั ย้อม 35 ม.ค. 64 35 2 ต้าบลท่าตลาด ดอกไมจ้ ากผ้าใยบัว 35 ก.พ.64 อาหาร-ขนม (ขนมไทย) 35 มี.ค. 64 35 ม.ค. 64 3 ต้าบลออ้ มใหญ่ การท้าผลติ ภัณฑ์จากเส้นพลาสติก 35 ม.ค. 64 การทา้ ผลิตภัณฑจ์ ากเส้นพลาสตกิ 35 ก.ค. 64 4 ตา้ บลทรงคนอง การทา้ อาหารไทย 35 ก.ค. 64 การท้าขนมไทย 35 ม.ิ ย. 64 35 มิ.ย. 64 5 ต้าบลบางเตย อาหารไทย 35 มิ.ย. 64 ขนมไทย 35 มิ.ย. 64 6 ตา้ บลสามพราน การสานเสน้ พลาสตกิ การสานเสน้ พลาสติก 2) การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ติ กศน. อ้าเภอสามพรานจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต ดังนี ที่ พืน้ ทีด่ าเนินการ โครงการ/กิจกรรม จานวน ระยะเวลา (ช่ัวโมง) ดาเนนิ การ 1 ต้าบลกระทุ่มล้ม โครงการการออกกา้ ลังกายผูส้ งู อายุดว้ ยกจิ กรรมช้างจบั มือ 6 ก.พ. 64 โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพและสขุ ภาวะอนามยั 6 ม.ิ ย. 64 ตา้ บลกระทุ่มลม้ 2 ต้าบลคลองจนิ ดา โครงการสง่ เสริมสุขภาวะอนามัย ผสู้ งู วัยและ 6 ก.พ. 64 การป้องกันโรค โครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการของผู้สงู วยั 6 ม.ิ ย. 64 3 ตา้ บลคลองใหม่ โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเพ่ือประชาชนในชุมชน 6 ก.พ. 64 โครงการรู้รักษ์สุขภาพใสใ่ จผู้สงู อายุ 6 พ.ค. 64 4 ตา้ บลตลาดจนิ ดา โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพและสุขภาวะอนามัย 6 ก.พ. 64 ของชมุ ชนต้าบลตลาดจนิ ดา โครงการสุขภาพดี ชวี มี สี ขุ ผูส้ ูงอายสุ ขุ ใจ 6 มิ.ย. 64 5 ตา้ บลทรงคนอง โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดแี ละมีสุนทรียภาพ 6 ม.ค. 64 ตา้ บลทรงคนอง โครงการเสริมสรา้ งทักษะชวี ติ สรา้ งภูมคิ ุ้มกนั 6 มิ.ย. 64 ทางสังคมรอบดา้ น ต้าบลทรงคนอง