การอนุมตั ิแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2562-2565 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน เพ่ือให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามที่สถานศึกษากาหนด สถานศึกษาได้ จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 ระยะเวลา 4 ปี ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของ สถานศึกษา ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงคณะกรรมการ สถานศึกษาได้พิจารณางาน/กิจกรรม/โครงการ ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพรานแล้ว เห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25562-2565 ดงั กลา่ ว ลงชื่อ.............. .......................................ผู้เห็นชอบ พระเทพศาสนาภบิ าล เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง รองเจา้ คณะจงั หวดั นครปฐม ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา วนั ที่ เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2561 ลงชอื่ …..………………………........…..............……………ผูอ้ นุมตั ิ (นายสมมาตร คงช่นื สิน) ผู้อานวยการ กศน. อาเภอสามพราน วันที่ 17 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2561
คานา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 ระยะเวลา 4 ปี จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบและ ทศิ ทางในการดาเนินงานของสถานศกึ ษา ในช่วงระยะเวลา 4 ปตี อ่ ไปน้ี ซึ่งไดก้ าหนดเป้าหมายการทางาน ไว้ชัดเจน มีกลยุทธ์สาคัญท่ีจะขับเคลื่อนการดาเนินงานให้บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของ สถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 ประกอบด้วยข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงคณะกรรมการสถานศึกษา ไดเ้ ห็นชอบแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 แลว้ เม่ือวันที่ เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562 สถานศกึ ษาสามารถดาเนินการตามแผนให้บรรลุตามเป้าหมายต่อไป การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2566 ได้รับความร่วมมืออย่างดีย่ิงของ บุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน คณะกรรมการ สถานศึกษา และภาคีเครือข่าย เพื่อให้การดาเนินงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุดบรรลุผลตามมาตรฐานที่ กาหนด ซึ่งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ขอขอบพระคุณไว้ ณ ทนี่ ี้ (นายสมมาตร คงช่ืนสนิ ) ผู้อานวยการ กศน. อาเภอสามพราน
สารบญั หนา้ การอนมุ ัติแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2566 1 คานา 1 สารบญั 1 บทท่ี 1 ข้อมูลสถานศึกษา 1 5 1. ความเปน็ มา 6 1.1 ขอ้ มลู พื้นฐาน ประวัติ ทต่ี ั้ง 6 1.2 สภาพชุมชน 7 1.3 ปรัชญาของสถานศึกษา 8 8 2 สภาพปัจจุบัน 11 2.1 บทบาทหน้าที่ของสถานศกึ ษา 12 2.2 โครงสร้างการบรหิ าร 12 2.3 ทาเนียบผู้บรหิ าร 47 2.4 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 50 2.5 หลักสูตรการเรยี นการสอน 51 51 บทที่ 2 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม 57 1. ผลการดาเนนิ งานยอ้ นหลัง 59 2. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม 3. เป้าหมายหลักของการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 65 66 บทท่ี 3 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 66 1. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 66 2. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 –2564) 66 3. สาระสาคัญแผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (พ.ศ. 66 2560 - 2579) 67 4. มาตรฐานและตวั บง่ ชป้ี ระกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา กศน. 68 5. ทกั ษะทส่ี าคัญของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 69 6. วิสัยทัศน์ 85 7. อตั ลกั ษณ์ 8. เอกลักษณ์ 9. พันธกิจ 10. เปา้ ประสงค์ 11. กลยทุ ธ์ บทที่ 4 บัญชแี ผนกลยุทธ์ บทที่ 5 การวางแผนการกากบั ตรวจสอบ รายงาน คณะดาเนินงาน
1 บทท่ี 1 ข้อมูลสถานศึกษา 1. ความเปน็ มา 1.1 ข้อมูลพน้ื ฐาน ทีต่ ้ัง ประวัติ ช่ือสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสามพราน Sam Phran District Non-Formal and Informal Education Centre ท่ีต้งั /การติดต่อ เลขท่ี 51 หมู่ที่ 2 ตาบลไรข่ ิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม รหัสไปรษณีย์ 73210 โทรศัพท์ 034-225195-6 โทรสาร 034-225195 Email : [email protected] Facebook : https://www.facebook.com/samphran.nfe.3 Website : http://nkp.nfe.go.th/7306/ สังกดั สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั นครปฐม สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร ประวัตสิ ถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพรานจัดต้ังตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ณ วันท่ี 27 สิงหาคม 2536 ใช้ชื่อ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอสาม พราน โดยมสี านักงานชั่วคราวอยู่ ณ ทว่ี า่ การอาเภอสามพราน วันที่ 14 กันยายน 2537 ย้ายสานกั งานชั่วคราว จากท่ีว่าการอาเภอสามพราน มาใช้อาคารโรงครัว ช้นั 2 ของวดั ไรข่ ิง วันท่ี 25 ธันวาคม2550 ย้ายสานักงานจากอาคารโรงครัว ช้ัน 2 ของวัดไร่ขิง มาตั้งอยู่บนช้ัน 3 ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม วนั ท่ี4 มีนาคม 2551 เปลยี่ นชอ่ื เป็น ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ สามพราน 1.2 สภาพชุมชน 1.2.1 อาณาเขต อาเภอสามพรานตั้งอยู่ทางทิศใต้สุดของจังหวัดนครปฐม มีพ้ืนท่ีประมาณ 249.347 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิอากาศโดยท่ัวไปร้อนชื้น มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครอง ขา้ งเคยี งเรียงตามเข็มนาฬิกา ดงั นี้ ทิศเหนือ ติดตอ่ กบั อาเภอนครชยั ศรีและอาเภอพทุ ธมณฑล ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับอาเภอพทุ ธมณฑล เขตทววี ัฒนา และเขตหนองแขม (กรงุ เทพมหานคร)
2 ทิศใต้ ติดต่อกบั อาเภอกระทมุ่ แบนและอาเภอบ้านแพ้ว (จังหวดั สมุทรสาคร) ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั อาเภอบางแพ (จังหวดั ราชบุรี) และอาเภอเมอื งนครปฐม 1.2.2 สภาพชมุ ชน ในด้านการปกครอง อาเภอสามพรานแบ่งการปกครองเป็น 16 ตาบล 137 หม่บู ้าน ดงั น้ี
3 ตารางท่ี 1 จานวนหมบู่ า้ น ประชากร และจานวนบา้ นในแตล่ ะตาบลของอาเภอสามพราน ตาบล จานวน จานวน จานวน จานวนประชากร หมู่บา้ น ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม ทา่ ขา้ ม ทรงคนอง 6 4,946 5,424 10,370 หอมเกรด็ 6 3,149 3,436 6,585 บางกระทึก 6 3,917 4,362 8,279 บางเตย 8 5,622 6,435 12,057 สามพราน 7 2,998 3,440 6,438 บางชา้ ง 9 11,746 11,524 23,270 ไร่ขิง 11 3,834 4,177 8,011 ทา่ ตลาด 14 14,608 16,434 31,042 กระท่มุ ล้ม 10 5,265 5,825 11,090 คลองใหม่ 9 12,276 14,257 26,533 ตลาดจนิ ดา 7 4,471 4,647 9,118 คลองจินดา 11 3,858 4,108 7,966 ยายชา 14 5,450 6,035 11,485 บา้ นใหม่ 6 3,716 4,202 7,918 อ้อมใหญ่ 5 2,119 2,252 4,371 รวม 8 11,444 12,541 23,985 137 99,419 109,099 208,518 ข้อมูล ณ เดือน พฤศจิกายน 2560 ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวง มหาดไทย
4 อาเภอสามพรานประกอบด้วยองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน 17 แหง่ ไดแ้ ก่ 1) เทศบาลเมืองสามพราน ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลสามพราน ตาบลท่าตลาด ตาบลคลองใหม่ และตาบลยายชา 2) เทศบาลเมอื งไร่ขงิ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลไรข่ ิงท้ังตาบล 3) เทศบาลเมืองกระทมุ่ ลม้ ครอบคลุมพ้นื ท่ีตาบลกระทมุ่ ลม้ ท้ังตาบล 4) เทศบาลตาบลอ้อมใหญค่ รอบคลุมพื้นท่ตี าบลอ้อมใหญ่ท้งั ตาบลและบางส่วนของตาบล บ้านใหม่ 5) เทศบาลตาบลบางกระทึก ครอบคลมุ พน้ื ทีต่ าบลบางกระทึกทงั้ ตาบล 6) องคก์ ารบริหารส่วนตาบลทา่ ขา้ ม ครอบคลุมพ้ืนทต่ี าบลทา่ ขา้ มทงั้ ตาบล 7) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลทรงคนอง ครอบคลุมพืน้ ที่ตาบลทรงคนองท้งั ตาบล 8) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหอมเกร็ด ครอบคลุมพื้นทต่ี าบลหอมเกร็ดทง้ั ตาบล 9) องค์การบริหารสว่ นตาบลบางเตย ครอบคลุมพ้ืนทต่ี าบลบางเตยทง้ั ตาบล 10) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลสามพราน ครอบคลุมพ้ืนที่ตาบลสามพราน (นอกเขตเทศบาล เมืองสามพราน) 11) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลบางชา้ ง ครอบคลุมพื้นทีต่ าบลบางช้างทัง้ ตาบล 12) องค์การบริหารส่วนตาบลทา่ ตลาด ครอบคลุมพ้ืนทีต่ าบลท่าตลาด (นอกเขตเทศบาล เมืองสามพราน) 13) องคก์ ารบริหารส่วนตาบลคลองใหม่ ครอบคลุมพ้นื ท่ีตาบลคลองใหม่ (นอกเขตเทศบาล เมอื งสามพราน) 14) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลตลาดจินดา ครอบคลมุ พ้ืนที่ตาบลตลาดจินดาทัง้ ตาบล 15) องค์การบริหารส่วนตาบลคลองจินดา ครอบคลุมพนื้ ทีต่ าบลคลองจนิ ดาทง้ั ตาบล 16) องค์การบริหารส่วนตาบลยายชา ครอบคลุมพ้ืนที่ตาบลยายชา (นอกเขตเทศบาลเมือง สามพราน) 17) องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านใหม่ ครอบคลุมพ้ืนท่ีตาบลบ้านใหม่ (นอกเขตเทศบาล ตาบลอ้อมใหญ)่ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่สี าคัญของอาเภอ คือ แม่นา้ นครชัยศรี (ทา่ จีน) บึงบางชา้ ง อาชีพหลักของประชากร ได้แก่ อาชีพเกษตรกรรม สวนผลไม้ สวนผัก กล้วยไม้ รับจ้างในโรงงาน อุตสาหกรรมและค้าขาย อาชีพเสริม คือ การผลิตสินค้า หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และเปิดร้านอาหาร โดยมีผลผลติ การเกษตรทสี่ าคัญ คือ สม้ โอ ชมพทู่ ับทมิ จันทร์ มะพร้าวนา้ หอม ฝรั่ง สถานที่สาคัญของอาเภอสามพราน ได้แก่ โรงเรียนนายร้อยตารวจ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ บ้านผู้ หว่าน สถานที่ท่องเท่ียวท่ีสาคัญ ได้แก่ สวนสามพราน ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้ สามพราน ตลาดรมิ น้าดอนหวาย
5 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ มีธนาคาร 8 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกสิกรไทย จากัด ธนาคารกรุงไทยจากัด ธนาคารนครหลวงไทยจากัด ธนาคารกรุงศรีอยุธยาจากัด ธนาคารกรุงเทพจากัด ธนาคารทหารไทยจากดั ธนาคารกรงุ เทพพานชิ ยการจากัด ธนาคารออมสนิ จากัด ธนาคารเพอ่ื การเกษตร และสหกรณ์การเกษตร มีห้างสรรพสินค้า 4 แห่ง และโรงงานอุตสาหกรรมที่สาคัญ ได้แก่ โรงงาน มาลี โรงงานโอตานิ บริษัทผลิตภัณฑ์อาหารไทย (ไวไว) บริษัทแฟช่ันฟู้ด บริษัทแฮคส์แสงอุดม โรงงาน แสงโสม บรษิ ัทเสน้ หมชี่ อเฮง บริษัทเทพผดุงพรมะพรา้ ว ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นท่ีเป็นที่ราบลุ่มภาคกลาง มีแม่น้าไหลผ่าน คือ แม่น้านครชัยศรี(แม่น้าท่าจีน) ไหลผ่าน 12 ตาบล ในเขตท้องที่ของอาเภอ มีบึงขนาดใหญ่ 1 บึง คือ บึง บางช้าง ซ่ึงปัจจุบันขึ้นทะเบียนเป็นที่สาธารณะ อยู่ในความดูแลของกระทรวงมหาดไทย มีเน้ือท่ี 173 ไร่ 3 งาน 22 ตารางวา นอกจากนั้นยังมีคูคลองท่ีใช้เป็นเส้นทางในการเดินทาง และใช้ประโยชน์ในทาง เกษตรกรรมเปน็ จานวนมากถึง 150 คลอง สภาพอากาศโดยท่ัวไปของอาเภอสามพราน มีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบ มรสมุ โดยมี 3 ฤดู ดงั นี้ ฤดรู ้อน เรม่ิ ตง้ั แต่ เดือนกมุ ภาพันธ์ – พฤษภาคม ฤดฝู น เริ่มตง้ั แต่ เดือนมิถนุ ายน – กันยายน ฤดหู นาว เรม่ิ ตงั้ แต่ เดือนตลุ าคม – มกราคม โดยฤดูหนาวไม่หนาวจัด ส่วนฤดูร้อนอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างร้อน อุณหภูมิเฉล่ีย 30 องศาเซลเซียส ด้านการศึกษา อาเภอสามพรานมีสถานศึกษาทุกระดับที่จะให้บริการทาง การศึกษาตงั้ แตร่ ะดับกอ่ นประถมศึกษาจนถึงระดับอดุ มศกึ ษา โดยแยกตามระดับการศกึ ษา ดังนี้ อนบุ าลระดบั เดยี ว 2 แหง่ อนุบาล – ประถมศกึ ษา 32 แหง่ อนุบาล – ม.ตน้ 11 แห่ง อนุบาล – ม.ปลาย 2 แห่ง ประถมศกึ ษา – ม.ปลาย 1 แหง่ ม.ตน้ – ม.ปลาย 4 แห่ง ปวช. – ปวส. 2 แห่ง อุดมศึกษา 2 แห่ง อดุ มศึกษา(มหาวิทยาลยั เอกชน) 1 แห่ง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 1 แหง่ โรงเรียนท่ีเปิดสอนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 8 แห่ง คือ โรงเรียนปรีดา รามวิทยาคม โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา โรงเรียนสาม พรานวิทยา โรงเรียนนาคประสทิ ธิ์ โรงเรยี นมารยี อ์ ุปถมั ภ์ โรงเรียนยอแซฟอปุ ถมั ภ์ โรงเรยี นสคุ นธรี วิทย์ 1.3 ปรัชญา เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต คดิ เปน็ เน้นพอเพียง
6 2. สภาพปจั จบุ ัน 2.1 บทบาทหนา้ ที่ของสถานศกึ ษา 1) จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2) ส่งเสรมิ สนบั สนุน และประสานภาคเี ครือขา่ ย เพ่ือการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั 3) ดาเนนิ การตามนโยบายพิเศษของรฐั บาลและงานเสรมิ สรา้ งความมั่นคงของชาติ 4) จัด ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอนั เน่ืองมาจาก พระราชดารใิ นพน้ื ท่ี 5) จัด สง่ เสริม สนับสนุน พฒั นาแหลง่ เรียนรูแ้ ละภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ 6) วจิ ัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรยี นรู้ และมาตรฐานการศกึ ษานอก ระบบ 7) ดาเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น การเทียบโอนความรูแ้ ละประสบการณ์ 8) กากับ ดูแล ตรวจสอบ นเิ ทศภายใน ติดตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดาเนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9) พฒั นาครู และบคุ ลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 10) ระดมทรัพยากรเพอ่ื ใชใ้ นการจดั และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 11) ดาเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคลอ้ งกับระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ กาหนด 12) ปฏิบัตงิ านอนื่ ๆ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย
2.2. โครงสรา้ งการบรหิ าร 7 ผอู้ านวยการ คณะกรรมการ สถานศกึ ษา กลมุ่ อานวยการ กลมุ่ แผนงาน กล่มุ จดั การศึกษา กล่มุ จัดการศกึ ษา กล่มุ ส่งเสริมภาคี นอกระบบ ตามอธั ยาศัย งานธรุ การ และ และมาตรฐาน เครอื ข่ายและ สารบรรณ งานส่งเสริมการรู้หนังสอื งานการศึกษาตาม งานงบประมาณ งานการศึกษาพื้นฐาน กจิ การพเิ ศษ งานการเงินและ และระดม อัธยาศัย บญั ชี ทรัพยากร นอกระบบ งานจดั พฒั นา งานกิจการพิเศษ งานการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง งานโครงการ งานพัสดุ งานแผนงานและ แหล่งเรียนรแู้ ละ อันเนอ่ื งมาจาก งานบุคลากร โครงการ งานการศกึ ษา ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน พระราชดาริ งานอาคาร งานจดั และพัฒนา งานปอ้ งกันแก้ไข งานขอ้ มูล เพ่ือพัฒนาอาชีพ ปญั หายาเสพติด/ สถานที่และ สารสนเทศ งานการศกึ ษา กศน.ตาบล/ โรคเอดส์ ยานพาหนะ และการรายงาน ศูนย์การเรยี น งานส่งเสริม งานประชาสัมพันธ์ เพอื่ พัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรม งานสวัสดิการ งานควบคุม งานการศกึ ษา ชมุ ชน ประชาธปิ ไตย งานนโยบายการ ภายใน งานหอ้ งสมุด งานสนบั สนุน กากบั ดูแลองค์กร เพ่ือพฒั นาสงั คมและ ส่งเสรมิ นโยบาย/ ทีด่ ี งานนเิ ทศภายใน ประชาชน จงั หวัด ตดิ ตามและ ชมุ ชน งานการศกึ ษา ประเมนิ ผล งานจัดกระบวนการ งานกจิ การลูกเสอื เคลอื่ นที่ และยวุ กาชาดนอก งานเลขานกุ าร เรียนรู้ตามหลัก งานการศึกษาทาง โรงเรยี น คณะกรรมการ สถานศกึ ษา ปรัชญาของเศรษฐกจิ สอื่ สารมวลชน งานกองทุนก้ยู มื เงนิ เพ่อื การศกึ ษา งานประกนั พอเพยี ง คุณภาพภายใน งานพัฒนาหลักสูตร สื่อ สถานศกึ ษา นวัตกรรม และ เทคโนโลยี ทางการศกึ ษา งานทะเบียนและวดั ผล งานศูนยบ์ ริการ ให้คาปรกึ ษา แนะนา งานกจิ การนกั ศึกษา
8 2.3 ทาเนียบผบู้ รหิ าร ท่ี ช่ือ-สกลุ ระยะเวลาทีด่ ารงตาแหน่ง 1 นางจุฑารตั น์ ฉิมวงษ์ วนั ที่ 23 พฤษภาคม 2537 ถึง วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2548 2 นางวริ ิตา พูลสุข วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2548 ถงึ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2553 3 นางจฑุ ารตั น์ จนี ประชา วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2553 ถงึ วันที่ 30 กันยายน 2558 4 นายสมมาตร คงช่ืนสนิ วนั ท่ี 25 พฤศจิกายน 2558 จนถึงปัจจบุ นั 2.4 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ประเภท ชื่อ-สกุล ตาแหนง่ วุฒกิ ารศกึ ษา สาขา 1) ผบู้ ริหาร ผอู้ านวยการ นิเทศศาสตร นิเทศศาสตร 1) นายสมมาตร มหาบัณฑิต พัฒนาการ คงช่นื สิน ครู ชานาญการ ครศุ าสตร์ การบริหารการศึกษา พเิ ศษ มหาบัณฑติ 2) ครู 1) นางสวุ ลัย ครู ชานาญการ วทิ ยาศาสตร การวจิ ยั พฤติกรรม แจ่มจนั ทรเ์ กษม พิเศษ มหาบัณฑิต ศาสตร์ประยกุ ต์ 3) บุคลากร 2) นางสาวผณนิ ทร ครู ชานาญการ ครุศาสตรบัณฑติ บรรณารักษ์ศาสตร์ ทางการศึกษา มายืนยง 4) ลกู จ้าง 3) นางอรวรรณ ครศุ าสตรบณั ฑติ การประถมศึกษา ประจา มหายศนันท์ 5) พนกั งาน 1) นางสาววรภทั ร บรรณารกั ษ์ การศกึ ษา การศกึ ษาผูใ้ หญ่ ราชการ บุณยพรหม ชานาญการ มหาบณั ฑิต การจัดการทั่วไป 1) นายววิ ัฒน์ พนักงานธรุ การ กลดั สาเนียง ส3 บริหารธรุ กิจ บัณฑติ 1) นางสาวสาวิตรี ครอู าสาสมัคร มุมสิน กศน. บริหารธุรกิจ บริหารงานบุคคล บณั ฑิต 2) นางสาวอมรรตั น์ ครอู าสาสมัคร ธนธนานนท์ กศน. คหกรรมศาสตร คหกรรมศาสตร์ บณั ฑิต 3) นางประคองศรี ครูอาสาสมัคร โพธิ์เพชร์ กศน. ศิลปศาสตรบณั ฑิต การพฒั นาชมุ ชน 4) นางสาวศศิยาพชั ญ์ ครอู าสาสมัคร อินทรก์ รุงเก่า กศน. ศลิ ปศาสตรบัณฑติ บรหิ ารทรพั ยากร มนษุ ย์ 5) นางสาวมาลา ครอู าสาสมัคร กัณฑ์โย กศน. ศลิ ปศาสตร ยุทธศาสตร์ มหาบณั ฑติ การพฒั นา
9 ประเภท ชอ่ื -สกุล ตาแหนง่ วฒุ กิ ารศกึ ษา สาขา 6) นายภรี ะ มายืนยง ครู กศน. ตาบล ครศุ าสตรบัณฑติ พลศึกษา 7) นางบษุ กร คลองใหม่ พรมเพยี งชา้ ง ศลิ ปศาสตรบัณฑติ การพัฒนาชุมชน 8) นางสาวอญั ชลีย์ ครู กศน. ตาบล ว่องไว บางชา้ ง ครุศาสตรบณั ฑิต สุขศกึ ษา 9) นางอารรี ตั น์ พทุ ธรักษา ครู กศน. ตาบล บรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ บริหารทรัพยากร 10) นางสาวชญานชุ ตลาดจินดา มนุษย์ ช้ินจนิ้ ครู กศน. ตาบล ครุศาสตรบณั ฑติ เทคโนโลยแี ละ บา้ นใหม่ นวตั กรรมทาง การศึกษา ครู กศน. ตาบล กระทุ่มลม้ วิทยาศาสตรบณั ฑติ บริหารธรุ กิจ เกษตร 11) นางสาวทตั ติยา ครู กศน. ตาบล นอ้ ยพิทักษ์ บางเตย ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ ภาษาไทย 12) นางวันเพ็ญ ปน่ิ ทอง ครู กศน. ตาบล อ้อมใหญ่ 13) นางสาวจุฑารัตน์ ครู กศน. ตาบล บรหิ ารธุรกิจบัณฑติ การตลาด บญุ ปลกู ทา่ ข้าม 14) นางสาวนาฏยา ครู กศน. ตาบล บรหิ ารธุรกิจบัณฑิต การจัดการท่ัวไป พรมพันธุ์ ท่าตลาด 15) นายวรพจน์ ครู กศน. ตาบล วทิ ยาศาสตรบัณฑิต วทิ ยาการ ศรีเพช็ ร์ธาราพันธ์ สามพราน คอมพวิ เตอร์ 16) นางอารยี ์ ศรีทิพย์ ครู กศน. ตาบล บรหิ ารธุรกิจบัณฑิต การเงินและ ไรข่ ิง การธนาคาร 17) นางสาวจิตรา ครู กศน. ตาบล ศิลปศาสตรบัณฑิต การพัฒนาชมุ ชน เซ่ียงเทศ หอมเกร็ด 18) นางสาวจินตนา ครู กศน. ตาบล ครศุ าสตรบณั ฑิต การประถมศึกษา โพธ์ศิ รที อง ทรงคนอง 19) นางสาวญาณิศา ครู กศน. ตาบล วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยี หม่นื จง คลองจินดา การเกษตร 20) นางสาวอนงค์ ครู กศน. ตาบล ศิลปศาสตรบัณฑติ รฐั ประศาสน พว่ งทรัพย์สนิ บางกระทึก ศาสตร์
10 ประเภท ชอ่ื -สกุล ตาแหนง่ วุฒิการศึกษา สาขา 7) พนกั งานจา้ ง วทิ ยาศาสตรบัณฑิต วทิ ยาศาสตร์และ เหมาบริการ 1) นางสาววราลี ครูศนู ยก์ าร รฐั ประศาสนศาสตร เทคโนโลยกี ารอาหาร จิรวฒั น์ชยั นันท์ เรียนชมุ ชน มหาบัญฑิต รฐั ศาสตรการปกครอง 7) ครูประจา ศลิ ปศาสตรบัณฑติ กลุม่ 2) นายมานพ ครูศูนย์การ ศิลปศาสตรบัณฑิต การจัดการท่ัวไป ปราชญ์อภิญญา เรียนชุมชน ศลิ ปศาสตรบัณฑติ บริหารธุรกิจบัณฑิต วรรณคดไี ทย 4) นายธนานาจ พวง ครศู ูนยก์ าร ครุศาสตรบัณฑติ สุข เรยี นชมุ ชน วิทยาศาสตรบัณฑิต การพัฒนาชุมชน 5) นางสาวอมรศรี ครูศูนยก์ าร ศลิ ปศาสตร์บัณฑิต การจัดการทั่วไป ลีลาปญั ญาภรณ์ เรยี นชุมชน ศิลปศาสตร์บณั ฑิต ศลิ ปศาสตร์บัณฑติ พลศึกษาและ 6) นายชูเกียรติ ครูศนู ยก์ าร มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ คลา้ ยสบุ รรณ เรยี นชมุ ชน วิทยาศาสตรบ์ ัณฑติ (คณิตศาสตรป์ ระยุกต์) ครุศาสตรบณั ฑติ 7) นางสาวจนิ ตนา ไช ครศู นู ย์การ วิทยาศาสตรบ์ ณั ฑติ บรรณารักษ์ศาสตร์ ครศุ าสตรบณั ฑติ และสารนเิ ทศศาสตร์ ยะโอชะ เรยี นชมุ ชน บรรณารกั ษ์ศาสตร์ และสารนเิ ทศศาสตร์ 8) นางสาววนิ ิดา ครผู สู้ อน บรรณารักษ์ศาสตร์ เบาะโท คนพิการ และสารนเิ ทศศาสตร์ 9) นายกษิดเิ์ ดช เจา้ หนา้ ที่ วิทยาศาสตร์การกฬี า เอีย่ มกระสนิ ธุ์ เทคโนโลยี สารสนเทศ ธุรกจิ ศึกษา 10) นางเอื้อมเดอื น เปลยี่ นจัด บรรณารักษ์ คหกรรมศาสตร์ทัว่ ไป 11) นางสาวชนนั ทภ์ ทั ร์ บรรณารกั ษ์ สงั คมศึกษา พนั ธข์ ุนทด 12) นางสาวโรสติ า บรรณารักษ์ ลาภอาภารตั น์ 13) นางสาวเสาวลกั ษณ์ พนกั งานบริการ คานพลู 1) นางสาวจนั ทรส์ ดุ า ครปู ระจากลุ่ม จาแนกมติ ร 2) นางสาวขวัญจิตร ครูประจากลุ่ม เพชรเขาทอง 3) นางสาวสุทศิ า สุทธิ ครูประจากลุ่ม เชนทร์ 4) นางสาวเนตรชนก ครูประจากลุ่ม มฤคานนท์
11 2.5 หลักสตู รการเรยี นการสอน งาน/กจิ กรรม แผนงาน:พน้ื ฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน ผลผลิตที่ 4 : ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ กิจกรรมจดั การศึกษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน 1. กิจกรรมสง่ เสริมการรู้หนงั สอื 2. กิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต 3. กิจกรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน 4. กิจกรรมการศึกษาเพื่อเรยี นรูห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง แผนงาน : ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการศกึ ษาเพอื่ ความยั่งยืน โครงการขับเคลือ่ นการพฒั นาการศึกษาที่ยัง่ ยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอน่ื ค่าใชจ้ า่ ยโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน 1. กิจกรรมชน้ั เรียนวชิ าชพี (31 ชั่วโมงขน้ึ ไป) 2. กิจกรรมพัฒนาอาชีพ (ไม่เกนิ 30 ชวั่ โมง) 3. กจิ กรรม 1 อาเภอ 1 อาชีพ แผนงาน : บรู ณาการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรู้ใหม้ ีคณุ ภาพเท่าเทยี มและทัว่ ถึง โครงการขยายโอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ กิจกรรมภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร ดา้ นอาชีพ งบรายจา่ ยอืน่ โครงการภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสารดา้ นอาชีพ แผนงาน : บรู ณาการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมดจิ ทิ ัล โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดิจิทัล กิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกจิ ดิจิทัลสชู่ ุมชนในระดับตาบล งบรายจ่ายอ่นื โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทัล
12 บทที่ 2 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม 1. ผลการดาเนนิ งานย้อนหลัง สถานศึกษาได้ดาเนินการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานย้อยหลัง เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการจัดทา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 ดังนี้ ตารางที่ 1 แผน / ผลการดาเนินการจดั การศกึ ษาทกุ หลกั สตู ร (ยอ้ นหลงั 3 ปี ต่อเนอ่ื ง) ปี งปม. กจิ กรรม แผน ผล รอ้ ยละ สภาพ 2559 การศึกษาพ้ืนฐาน 3,750 4,233 >12.88 บรรลุ การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 2,213 3,050 >37.82 บรรลุ 2560 การศกึ ษาตามอัธยาศยั 67,600 79,858 >18.13 บรรลุ การศกึ ษาพืน้ ฐาน 3,980 4,067 >2.18 บรรลุ 2561 การศกึ ษาต่อเน่ือง 1,856 2,907 >56.63 บรรลุ การศึกษาตามอธั ยาศัย 67,100 101,873 >51.82 บรรลุ การศึกษาพ้ืนฐาน 3,780 3,837 >1.51 บรรลุ การศึกษาต่อเน่อื ง 1,600 2,536 >58.50 บรรลุ การศึกษาตามอัธยาศยั 10,275 17,369 >69.09 บรรลุ จากตารางท่ี 1 แผน / ผลการดาเนินการจัดการศึกษาทุกหลักสูตรของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ปีงบประมาณ 2559 มีการดาเนินงานจัด การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย บรรลุ ตามแผนท่ีกาหนดไว้ ปีงบประมาณ 2560 มีการดาเนินงานจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตาม อัธยาศัย บรรลุ ตามแผนที่กาหนดไว้ สาหรับ ปีงบประมาณ 2561 มีการดาเนินงานจัดการศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน การศกึ ษาต่อเนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศยั บรรลุ ตามแผนทก่ี าหนดไว้
13 ตารางท่ี 2 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนปลายภาค รายวิชา ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาน สว่ น สภาพ สถาน ส่วน สภาพ สถาน สว่ น สภาพ ศึกษา กลาง ศกึ ษา กลาง ศึกษา กลาง 36.60 29.92 สูง 43.81 34.66 สูง กวา่ กวา่ ทักษะการเรียนรู้ 33.56 31.40 สูง 37.50 30.53 สูง 35.90 29.65 สูง กวา่ กวา่ กวา่ ภาษาไทย 20.03 20.81 ตา่ 21.41 20.51 สูง 21.58 19.69 สูง กวา่ กวา่ กว่า 26.27 22.89 สูง 26.48 22.20 สูง ภาษาองั กฤษ 18.46 18.30 สูง กวา่ กวา่ กวา่ 22.11 20.90 สงู 25.88 21.94 สูง กว่า กวา่ คณิตศาสตร์ 19.09 16.36 สงู 21.77 17.63 สูง 20.27 17.17 สูง กว่า กว่า กวา่ วิทยาศาสตร์ 20.68 19.16 สงู 25.67 21.97 สูง 29.61 25.68 สงู กว่า กว่า กวา่ 18.25 14.85 สงู 18.25 15.89 สงู ช่องทางอาชีพ 25.65 18.68 สูง กวา่ กว่า กว่า 24.77 20.55 สงู 26.14 20.51 สงู กวา่ กว่า ทกั ษะอาชพี 34.11 19.55 สูง 23.44 20.29 สงู 23.57 19.52 สงู กว่า กว่า กว่า พัฒนาอาชีพ 16.64 17.36 ตา่ 17.93 15.38 สูง 19.02 15.21 สงู กว่า กว่า กว่า 18.41 16.24 สงู 18.76 15.94 สงู เศรษฐกจิ พอเพียง 29.02 23.72 สูง กวา่ กว่า กวา่ 20.48 16.56 สงู 22.30 18.57 สูง กว่า กว่า สุขศึกษา พลศึกษา 23.33 20.35 สูง 21.42 18.23 สูง 24.18 21.33 สูง กวา่ กวา่ กว่า ศลิ ปศกึ ษา 21.40 18.38 สงู กว่า สังคมศึกษา 20.25 19.82 สูง กว่า ศาสนาและหน้าท่ี 20.75 19.29 สงู พลเมอื ง กว่า การพัฒนาตนเอง 22.65 21.09 สูง ชุมชนสังคม กว่า
14 จากตารางท่ี 2 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนปลายภาค หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ระดับประถมศึกษา มีรายวิชาท่ีผลสัมฤทธ์ิของสถานศึกษา สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ช่องทางอาชีพ ทักษะอาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและ หน้าท่ีพลเมือง และ รายวิชา การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีรายวิชาที่ ผลสัมฤทธ์ิของสถานศึกษา สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ช่องทางอาชีพ ทักษะอาชีพ พัฒนา อาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและหน้าท่ีพลเมือง และ รายวิชา การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีรายวิชาท่ีผลสัมฤทธ์ิของ สถานศึกษา สูงกว่า ผลสัมฤทธ์ิระดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ช่องทางอาชีพ ทักษะอาชีพ พัฒนาอาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง และ รายวิชา การพฒั นาตนเองชมุ ชนสงั คม จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีการ ดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ในรูปแบบที่หลากหลาย จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้แก่ โครงการปรับพ้ืนฐานการเรียนรู้ เชิญวิทยากรทีม่ ีความรหู้ รอื ประสบการณ์ใน การสอนวชิ านน้ั ๆ โดยตรง มาสอนปรบั พ้นื ฐานผ้เู รียนในช่วง ต้นภาคเรียน เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้เพียงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และ โครงการ สอนเสรมิ เชิญวทิ ยากรทมี่ คี วามรู้หรือประสบการณใ์ นการสอนวชิ าน้ัน ๆ โดยตรงมาสอนใหผ้ ู้เรียนในช่วง ปลายภาคเรยี น เพอื่ เพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผเู้ รียน ท้ังนี้ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับผลสมั ฤทธขิ์ องรายวิชาต่าง ๆ ให้สูงข้ึน โดยจัดกจิ กรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้แก่ โครงการปรับพ้ืนฐานการเรียนรู้ โครงการสอนเสริม โครงการค่ายพัฒนา วิชาการ เพอ่ื พัฒนาให้ผ้เู รียนมี พนื้ ฐานความรู้เพยี งพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพฒั นาผเู้ รยี นให้มี ความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากขึ้นในรายวิชาตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือ วิชาอื่น ๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. ซึ่งวิทยากรหรือผู้สอนควรเป็นผู้ที่มีความรู้หรือ ประสบการณใ์ น การสอนวิชานั้น ๆ โดยตรง ใหค้ รสู อนทบทวนเพ่ิมเตมิ เป็นรายบุคคล ใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาจาก สื่อ ETV สถานศึกษาคัดเลือกส่ือเสริม เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม โดยเฉพาะ สาหรับะรายวิชาที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลายภาคมีค่าเฉล่ียต่ากวา่ ค่าเฉล่ยี ส่วนกลาง ได้แก่ วชิ าภาษาไทย และวชิ าพัฒนา อาชพี ระดบั ประถมศกึ ษา โดยให้ครผู ูส้ อน สอนเสริมในรายวชิ าภาษาไทย ให้เพอ่ื นชว่ ยเพ่อื น โดยใหเ้ พือ่ น ท่ีเก่งชว่ ยเพอ่ื นทีเ่ รยี นอ่อนกวา่ ในการน้ี เพื่อให้การดาเนินการยกระดบั ผลสัมฤทธมิ์ ีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินงาน ศนู ย์ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพผลสมั ฤทธิ์ สงู สุดของรายวิชาตา่ ง ๆ มรี ายละเอยี ดดังน้ี
15 รายวชิ า ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย เป้าหมายคุณภาพ เปา้ หมายคณุ ภาพ เปา้ หมายคณุ ภาพ ทักษะการเรียนรู้ ผลสมั ฤทธสิ์ งู สุด ผลสัมฤทธสิ์ ูงสดุ ผลสมั ฤทธ์ิสูงสุด ภาษาไทย 46.00 ภาษาอังกฤษ 36.00 39.00 39.00 คณติ ศาสตร์ 23.00 40.00 23.00 วทิ ยาศาสตร์ 20.00 23.00 28.00 ช่องทางอาชีพ 21.00 28.00 29.00 ทักษะอาชีพ 24.00 25.00 25.00 พัฒนาอาชีพ 28.00 25.00 32.00 เศรษฐกิจพอเพยี ง 37.00 28.00 21.00 สุขศึกษา พลศึกษา 20.00 21.00 30.00 ศิลปศกึ ษา 32.00 28.00 27.00 สงั คมศึกษา 26.00 27.00 22.00 ศาสนาและหน้าท่พี ลเมือง 24.00 21.00 22.00 การพัฒนาตนเองชมุ ชน 23.00 22.00 26.00 สังคม 23.00 24.00 27.00 25.00 25.00 รายการมคี วามรพู้ ื้นฐาน ข้อมูลฐาน ค่าเปา้ หมาย 24.90 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ร้อยละผ้เู รยี นนาความรู้ 25.90 26.90 27.90 28.90 พืน้ ฐานไปใชใ้ นการดารงชีวิต 133 ผู้เรียนท่ีเป็นตวั อย่างท่ดี ี 138 143 148 153 คา่ เปา้ หมายสูงสดุ จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน 153 คน คุณลกั ษณะของผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้ในการศึกษาต่อใน ระดับท่ีสูงข้ึน 1. มเี ปา้ หมายในการศกึ ษาต่อที่ชัดเจน 2. มีความใฝร่ ้ใู ฝ่เรยี น และขยันหม่ันเพียร 3. มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
ตาราง A 16 รายวิชา ประถมศกึ ษา เปา้ หมายคุณภาพผลสัมฤทธ์ิ ทักษะการเรยี นรู้ 2562 2563 2564 2565 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ 35.00 36.00 คณิตศาสตร์ 22.00 23.00 วทิ ยาศาสตร์ 19.00 20.00 ชอ่ งทางอาชพี 20.00 21.00 ทักษะอาชีพ 23.00 24.00 พฒั นาอาชีพ 27.00 28.00 เศรษฐกิจพอเพียง 36.00 37.00 สุขศกึ ษา 19.00 20.00 พลศกึ ษา 30.00 32.00 ศิลปศึกษา 25.00 26.00 สังคมศึกษา ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง 23.00 24.00 การพัฒนาตนเองชมุ ชนสงั คม 22.00 23.00 22.00 23.00 24.00 25.00
รายวิชา 17 ทกั ษะการเรยี นรู้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ภาษาไทย เป้าหมายคุณภาพผลสัมฤทธ์ิ ภาษาองั กฤษ 2562 2563 2564 2565 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 38.00 39.00 ชอ่ งทางอาชพี 39.00 40.00 ทกั ษะอาชพี 22.00 23.00 พัฒนาอาชีพ 27.00 28.00 เศรษฐกจิ พอเพียง 24.00 25.00 สุขศึกษา 24.00 25.00 พลศกึ ษา 27.00 28.00 ศิลปศึกษา 20.00 21.00 สังคมศึกษา 27.00 28.00 ศาสนาและหน้าทีพ่ ลเมือง 26.00 27.00 การพฒั นาตนเองชุมชนสงั คม 20.00 21.00 21.00 22.00 23.00 24.00 24.00 25.00
18 รายวชิ า 2562 มัธยมศึกษาตอนปลาย 2565 เปา้ หมายคณุ ภาพผลสัมฤทธิ์ 46.00 ทกั ษะการเรยี นรู้ 22.00 39.00 ภาษาไทย 27.00 2563 2564 ภาษาองั กฤษ 24.00 45.00 29.00 คณิตศาสตร์ 31.00 38.00 วิทยาศาสตร์ 20.00 30.00 ช่องทางอาชพี 23.00 27.00 ทักษะอาชพี 21.00 28.00 22.00 พัฒนาอาชีพ 25.00 28.00 เศรษฐกจิ พอเพียง 26.00 25.00 สุขศึกษา 32.00 พลศึกษา 21.00 ศิลปศกึ ษา 29.00 สงั คมศึกษา 26.00 ศาสนาและหน้าท่พี ลเมือง การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม 21.00 22.00 26.00 27.00
19 ตารางที่ 3 ผลการทดสอบ N-Net เปรียบเทียบ 2/2560 กับ 1/2561 ของปีงบประมาณที่ผา่ นมา ระดับ ประถมศึกษา รายวิชา ภาคเรียน 2 / 2560 ภาคเรยี น 1 / 2561 สถานศึกษา ระดับชาติ สภาพ สถานศกึ ษา ระดบั ชาติ สภาพ ทกั ษะการเรียนรู้ ภาษาไทย 43.33 38.65 สูงกวา่ 39.09 37.28 สงู กวา่ ภาษาองั กฤษ 53.85 47.44 สูงกวา่ 55.45 50.20 สงู กวา่ คณิตศาสตร์ 35.38 35.77 ตา่ กว่า 32.27 35.33 ตา่ กวา่ วทิ ยาศาสตร์ 28.72 29.78 ตา่ กวา่ 29.70 29.56 สูงกวา่ ชอ่ งทางการเขา้ สู่อาชพี 29.23 28.84 สงู กวา่ 32.12 32.02 สูงกว่า ทกั ษะการประกอบอาชีพ 53.08 47.53 สงู กวา่ 54.55 54.74 ตา่ กว่า พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกนิ 34.23 35.02 ต่ากวา่ 36.36 36.06 สูงกว่า เศรษฐกิจพอเพยี ง 46.92 37.72 สูงกวา่ 39.09 36.17 สูงกวา่ สุขศึกษา พลศึกษา 74.62 58.8 สงู กวา่ 74.55 63.23 สงู กวา่ ศลิ ปศึกษา 53.08 44.84 สูงกว่า 54.55 41.06 สงู กว่า สังคมศึกษา 40.00 37.98 สงู กว่า 48.18 42.69 สงู กว่า ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมือง 56.15 47.98 สงู กวา่ 56.36 45.75 สงู กวา่ การพัฒนาตนเองชมุ ชน 31.54 29.81 สูงกวา่ 37.27 29.71 สูงกวา่ สังคม 62.31 47.71 สูงกวา่ 49.09 45.60 สงู กว่า
20 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ รายวิชา ภาคเรียน 2 / 2560 ภาคเรยี น 1 / 2561 สถานศกึ ษา ระดับชาติ สภาพ สถานศกึ ษา ระดบั ชาติ สภาพ ทกั ษะการเรยี นรู้ ภาษาไทย 42.18 36.91 สงู กว่า 41.56 37.12 สงู กวา่ ภาษาอังกฤษ 48.13 41.24 สงู กว่า 59.64 50.42 สงู กวา่ คณิตศาสตร์ 25.91 25.68 สูงกว่า 23.30 27.17 ต่ากวา่ วิทยาศาสตร์ 30.24 28.91 สงู กว่า 28.11 26.91 สงู กวา่ ชอ่ งทางการพฒั นาอาชีพ 26.60 26.58 สงู กวา่ 31.00 30.66 สูงกวา่ ทกั ษะการพฒั นาอาชพี 53.57 47.87 สงู กวา่ 67.50 59.25 สูงกวา่ พัฒนาอาชีพให้มีความ 45.66 38.63 สูงกว่า 43.33 38.32 สงู กวา่ เข้มแข็ง 36.94 31.48 สูงกวา่ 42.08 37.30 สูงกว่า เศรษฐกจิ พอเพยี ง สุขศกึ ษา พลศึกษา 66.02 54.30 สูงกว่า 66.35 56.09 สงู กว่า ศลิ ปศกึ ษา 59.18 48.06 สูงกว่า 57.40 48.43 สงู กว่า สังคมศึกษา 43.67 36.92 สงู กว่า 26.67 28.27 ต่ากว่า ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง 42.93 38.01 สงู กว่า 41.13 38.12 สงู กว่า การพัฒนาตนเองชุมชน 37.78 33.15 สูงกว่า 32.68 32.48 สงู กว่า สงั คม 41.41 36.83 สูงกว่า 40.10 36.41 สงู กว่า
21 ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ภาคเรยี น 2/2560 ภาคเรียน 1/2561 สถานศกึ ษา ระดับชาติ สภาพ สถานศกึ ษา ระดับชาติ สภาพ ทกั ษะการเรียนรู้ ภาษาไทย 40.99 35.34 สูงกว่า 42.23 37.72 สงู กวา่ ภาษาองั กฤษ 50.40 43.08 สงู กว่า 42.78 36.20 สูงกว่า คณิตศาสตร์ 20.68 21.19 ต่ากวา่ 24.85 25.01 ตา่ กวา่ วทิ ยาศาสตร์ 26.50 25.59 สูงกว่า 23.96 22.86 สงู กว่า ช่องทางการขยายอาชีพ 20.62 20.13 สงู กวา่ 25.26 22.62 สูงกวา่ ทักษะการขยายอาชพี 56.27 46.04 สูงกว่า 65.71 55.52 สูงกวา่ พฒั นาอาชีพให้มีความ 44.84 35.32 สงู กว่า 44.62 35.83 สูงกว่า มน่ั คง 47.83 38.80 สูงกว่า 54.44 42.14 สูงกว่า เศรษฐกจิ พอเพยี ง สขุ ศกึ ษา พลศึกษา 48.63 41.52 สงู กวา่ 50.45 40.18 สงู กวา่ ศลิ ปศึกษา 63.73 53.00 สงู กวา่ 63.46 54.34 สูงกว่า สงั คมศึกษา 30.68 25.74 สูงกว่า 31.06 28.54 สงู กว่า ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง 30.25 28.11 สูงกว่า 35.11 32.24 สูงกว่า การพัฒนาตนเองชมุ ชน 24.66 23.00 สงู กว่า 40.83 35.72 สูงกวา่ สงั คม 19.38 19.55 ต่ากว่า 22.56 22.58 ตา่ กว่า จากตารางที่ 3 ผลการทดสอบ N-Net หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงใหเ้ ห็น ว่ า ระดับประถมศึกษา มีรายวิชาที่ผลการทดสอบ N-Net ของสถานศึกษาภาคเรียน 2/2560 และ ภาคเรียน 1/2561 สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติต่อเน่ือง ได้แก่ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมอื ง และรายวิชา การพฒั นาตนเองชมุ ชนสังคม ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น มรี ายวชิ าท่ผี ลการทดสอบ N-Net ของสถานศกึ ษาภาคเรียน 2/2560 และภาคเรยี น 1/2561 สงู กว่า ผลสมั ฤทธิร์ ะดับชาติต่อเนือ่ ง ได้แก่ รายวิชา ทกั ษะการเรยี นรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ทักษะการพัฒนาอาชีพ พัฒนาอาชีพให้มีความ เข้มแข็ง เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและหน้าท่ีพลเมือง และรายวิชา การ พฒั นาตนเองชมุ ชนสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีรายวิชาท่ีผลการทดสอบ N-Net ของสถานศึกษาภาคเรียน 2/2560 และภาคเรียน 1/2561 สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติต่อเนื่อง ได้แก่ รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ช่องทางการขยายอาชีพ ทักษะการขยายอาชีพ พัฒนาอาชีพให้มี
22 ความมน่ั คง เศรษฐกิจพอเพยี ง สขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ศลิ ปศึกษา สังคมศึกษา และรายวิชา ศาสนาและหน้าท่ี พลเมอื ง จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี การดาเนินการจดั กิจกรรมสนบั สนนุ การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ ประชาสัมพนั ธ์ใหผ้ ู้เรยี นเห็นความสาคัญ ของการทดสอบ N-Net และครูและผู้เรียนร่วมกันทบทวนเนื้อหาของรายวิชาต่าง ๆ ก่อนสอบ และให้ยืม หนงั สือเรยี นไปอา่ นทบทวนเพ่ิมเติม ท้ังน้ี เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับผลการทดสอบ N-Net ของรายวิชาต่าง ๆ ให้สูงข้ึน โดยประชาสัมพันธ์ให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของการทดสอบ N-Net และครูและผู้เรียนร่วมกันทบทวน เนื้อหาของรายวิชาต่าง ๆ ก่อนสอบ และให้ยืมหนังสือเรียนไปอ่านทบทวนเพ่ิมเติม อย่างต่อเนื่อง สาหรบั รายวิชาภาษาอังกฤษ ซ่ึงสถานศึกษามีผลการสอบ N-net ต่ากว่าผลสัมฤทธ์ิระดับชาติท้ังสามระดับ สถานศึกษาให้ครูสอนทบทวนเพ่มิ เติมเปน็ รายบุคคล ใหผ้ เู้ รียนศึกษาจากส่ือ ETV ในการน้ี เพื่อให้การดาเนินการยกระดับผลการทดสอบ N-Net มีเป้าหมายคุณภาพใน การดาเนินงาน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน ไดก้ าหนดเป้าหมาย คณุ ภาพผลการทดสอบ N-Net ของรายวชิ าต่าง ๆ มีรายละเอยี ดดงั น้ี รายวชิ า ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอน ปลาย ทักษะการเรียนรู้ เปา้ หมายคุณภาพ เปา้ หมายคณุ ภาพ ภาษาไทย การทดสอบ N-Net การทดสอบ N-Net เปา้ หมายคณุ ภาพ ภาษาองั กฤษ การทดสอบ N-Net คณติ ศาสตร์ สูงสดุ สูงสดุ วทิ ยาศาสตร์ 43.00 43.50 สูงสุด ช่องทางอาชพี 57.50 61.50 44.00 ทกั ษะอาชพี 35.50 26.50 48.50 พฒั นาอาชีพ 31.50 31.00 26.50 เศรษฐกิจพอเพียง 34.00 33.00 27.00 สุขศกึ ษา พลศึกษา 56.50 69.50 27.00 ศิลปศกึ ษา 38.00 46.00 67.50 สังคมศึกษา 45.00 44.00 46.50 ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง 76.50 68.50 56.50 การพัฒนาตนเองชุมชนสงั คม 56.50 60.00 52.50 50.00 37.00 65.50 58.00 44.00 33.00 39.00 37.00 37.00 57.50 42.50 42.50 24.50
23 ตาราง A ภาคเรยี น 2 ประถมศึกษา ภาคเรยี น 1 ปี 2561 เปา้ หมายคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ปี 2563 รายวชิ า 41.50 ภาคเรยี น 1 ภาคเรียน 2 43.00 56.00 ปี 2562 ปี 2562 57.50 ทกั ษะการเรยี นรู้ 34.00 35.50 ภาษาไทย 30.00 42.00 42.50 31.50 ภาษาองั กฤษ 32.50 56.50 57.00 34.00 คณิตศาสตร์ 55.00 34.50 35.00 56.50 วิทยาศาสตร์ 36.50 30.50 31.00 38.00 ชอ่ งทางอาชพี 43.50 33.00 33.50 45.00 ทกั ษะอาชีพ 75.00 55.50 56.00 76.50 พัฒนาอาชีพ 55.00 37.00 37.50 56.50 เศรษฐกิจพอเพียง 44.00 44.50 สุขศกึ ษา 75.50 76.00 พลศกึ ษา 55.50 56.00 ศิลปศกึ ษา สงั คมศึกษา 48.50 49.00 49.50 50.00 ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมือง 56.50 57.00 57.50 58.00 การพฒั นาตนเองชมุ ชนสงั คม 37.50 38.00 38.50 39.00 56.00 56.50 57.00 57.50
24 มธั ยมศึกษาตอนต้น รายวิชา เป้าหมายคุณภาพผลสัมฤทธ์ิ ทกั ษะการเรียนรู้ ภาคเรียน 2 ภาคเรยี น 1 ภาคเรียน 2 ภาคเรยี น 1 ปี ภาษาไทย ปี 2561 ภาษาอังกฤษ 42.00 ปี 2562 ปี 2562 2563 คณิตศาสตร์ 60.00 วทิ ยาศาสตร์ 25.00 42.50 43.00 43.50 ชอ่ งทางอาชพี 29.50 ทกั ษะอาชพี 31.50 60.50 61.00 61.50 พัฒนาอาชีพ 68.00 เศรษฐกิจพอเพียง 45.00 25.50 26.00 26.50 สุขศกึ ษา 42.50 พลศึกษา 67.00 30.00 30.50 31.00 ศิลปศกึ ษา 58.50 สงั คมศึกษา 32.00 32.50 33.00 ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง การพฒั นาตนเองชุมชนสงั คม 68.50 69.00 69.50 45.50 46.00 46.00 43.00 43.50 44.00 67.50 68.00 68.50 59.00 59.50 60.00 35.50 36.00 36.50 37.00 42.50 43.00 43.50 44.00 35.50 36.00 36.50 37.00 41.00 41.50 42.00 42.50
25 รายวิชา ภาคเรยี น 2 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียน 1 ปี 2561 เปา้ หมายคณุ ภาพผลสัมฤทธ์ิ ปี 2563 ทักษะการเรียนรู้ 42.50 ภาคเรียน 1 ภาคเรียน 2 44.00 ภาษาไทย 47.00 ปี 2562 ปี 2562 48.50 ภาษาองั กฤษ 25.00 26.50 คณติ ศาสตร์ 25.50 43.00 43.50 27.00 วทิ ยาศาสตร์ 25.50 47.50 48.50 27.00 ชอ่ งทางอาชีพ 66.00 25.50 26.00 67.50 ทักษะอาชีพ 45.00 26.00 26.00 46.50 พัฒนาอาชีพ 55.00 26.00 26.00 56.50 เศรษฐกิจพอเพยี ง 51.00 66.50 67.00 52.50 สขุ ศึกษา พลศึกษา 64.00 45.50 46.00 65.50 ศิลปศกึ ษา 31.50 55.50 56.00 33.00 สงั คมศึกษา 35.50 51.50 52.00 37.00 ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมือง 41.00 64.50 65.00 42.50 การพัฒนาตนเองชมุ ชนสังคม 23.00 32.00 32.50 24.50 36.00 36.50 41.50 42.00 23.50 24.00 ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ คุณธรรมผู้เรียน ระดบั ภาคเรยี น 2/2560 ภาคเรียน 1/2561 ประถม จานวน พอใช้ ดี ดี ร้อยละ จานวน พอใช้ ดี ดี รอ้ ยละ ม.ตน้ ม.ปลาย มาก ระดบั มาก ระดบั ดีมาก ดมี าก 95 33 33 29 30.53 81 19 35 27 33.33 826 305 352 169 20.46 830 281 391 158 19.04 986 311 448 227 23.02 1011 283 485 243 24.04 เฉลยี่ 24.67 เฉลีย่ 25.47 จากตารางที่ 4 ผลการประเมินคุณธรรมผู้เรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียน ภาคเรียน 2/2560 มีร้อยละเฉลี่ยระดับ ดีมาก ของการประเมินคุณธรรมเท่ากับ 24.67 และ ภาคเรยี น 1/2561 มีร้อยละเฉลยี่ ระดบั ดีมาก ของการประเมินคณุ ธรรม เทา่ กับ 25.47 สรุปขอ้ มูลฐานเพอื่ นาไปใช้ในการกาหนดคา่ เปา้ หมาย เท่ากบั 25.47
26 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี การดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาคุณธรรมให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ จัดกระบวนการเรียนรู้ โดย สอดแทรกเนื้อหาต่าง ๆ เพื่อให้พัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง จัดกิจกรรม/โครงการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ มีคุณธรรมตามเป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษาต้ังไว้ ทั้งนี้ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการพัฒนาคุณธรรมให้แก่ผู้เรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับคุณธรรมผู้เรียนให้สูงข้ึน โดยจัด กระบวนการเรียนรู้ โดยสอดแทรกกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือให้พัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง จัด กิจกรรม/โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคุณธรรมตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษาต้ังไว้ อย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาขบั เคลื่อนกจิ กรรมจิตอาสาผ่านชมรมอาสายุวกาชาด กศน. อาเภอสามพราน ท้งั ระดับอาเภอ และระดบั ตาบล ในการนี้ เพอ่ื ใหม้ ีเปา้ หมายคณุ ภาพในการดาเนินการยกระดบั คุณธรรมผ้เู รยี นใหส้ งู ขน้ึ ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพใน การ ดาเนนิ การยกระดับคณุ ธรรมผ้เู รยี นใหส้ งู ข้นึ ดงั นี้ ระดบั การยกระดับคุณธรรมผู้เรยี นสูงสดุ เฉล่ียภาพรวมทุกระดบั ร้อยละระดับ ดีมาก 29.00 ค่าเปา้ หมายสูงสดุ จานวนผู้เรียนทเี่ ปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี หรือต้นแบบด้านคุณธรรม 127 คน คณุ ลักษณะของผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบด้านคุณธรรม 1. ทาคุณประโยชนต์ ่อชมุ ชน สงั คม อย่างต่อเนื่อง อยา่ งนอ้ ย 10 ครงั้ ต่อปี 2. ทาคุณประโยชน์ต่อสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง อย่างนอ้ ย 10 คร้งั ต่อปี 3. ดารงชวี ติ กับครอบครัวอย่างมคี วามสุข ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
27 ตาราง A รายการประเมิน ข้อมูลฐาน ปี 2562 คา่ เปา้ หมาย ปี 2565 คุณธรรมผู้เรียน 25.47 26.00 ปี 2563 ปี 2564 29.00 87 97 27.00 28.00 127 ร้อยละผู้เรยี นระดบั ดีมาก ผู้เรียนทเี่ ป็นตัวอยา่ งทดี่ ี 107 117 ตารางท่ี 5 ผลการประเมินทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้ ระดับ ปี 2560 ปี 2561 ร้อยละ จานวน พอใช้ ดี ดี ระดับ ประถม รอ้ ยละ จานวน พอใช้ ดี ดี ดมี าก ม.ตน้ มาก ระดบั มาก ม.ปลาย ดีมาก 25.57 198 117 53 28 14.14 176 57 74 45 1,737 941 598 198 11.40 1,656 604 746 306 18.48 2,117 895 944 278 13.13 1,997 587 956 454 12.89 เฉลย่ี 22.73 เฉลยี่ 22.26 จากตารางที่ 5 ผลการประเมินทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้ของผู้เรียน หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เหน็ ว่า ผู้เรยี น ปี 2560 มีร้อยละเฉลี่ยระดับ ดมี าก ของ การประเมินทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้เท่ากับ 12.89 และ ปี 2561 มีร้อยละเฉล่ียระดับ ดี มาก ของการประเมินทักษะการแสวงหาความร้/ู การนาไปใช้ เทา่ กบั 22.26 สรปุ ข้อมลู ฐานเพื่อนาไปใช้ในการกาหนดค่าเปา้ หมาย เทา่ กับ 22.26 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี การดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ จัด กระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ใช้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ กศน. หรอื ONIE MODEL ซ่ึงเปน็ กระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีจัดข้ึนอย่างเป็น ระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการ แสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ และสร้างองค์ความรู้ สาหรับตนเอง และชุมชน สังคม จัดกิจกรรม พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนอยา่ งหลากหลาย ทั้งน้ี เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ให้แก่ผู้เรียน ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับทักษะการแสวงหา ความรู้/การนาไปใช้ให้สูงข้ึน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซ่ึงเป็น กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดขึ้นอย่างเป็นระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนสู่ความเป็น คน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ และสร้างองค์กรความรู้ สาหรับตนเอง ชมุ ชน และสงั คม จัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนอย่างหลากหลาย อย่างต่อเนือ่ ง
28 ในการน้ี เพ่ือให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับทักษะการแสวงหาความรู้/ การนาไปใช้ให้สูงข้ึน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนด เปา้ หมายคณุ ภาพในการดาเนนิ การยกระดบั ทกั ษะการแสวงหาความรู/้ การนาไปใชใ้ หส้ ูงขึน้ ดังน้ี ระดบั การยกระดับทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้สูงสุด เฉลีย่ ภาพรวมทกุ ระดับ รอ้ ยละระดบั ดีมาก 26.26 ค่าเป้าหมายสงู สุด จานวนผู้เรียนที่ใช้ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ในการดารงชีวติ การทางาน และการประกอบอาชีพ 107 คน คุณลักษณะของผู้เรียนท่ีใช้ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ในการดารงชีวิต การทางาน และการประกอบอาชีพ มีทักษะกระบวนการคดิ โดยใช้ข้อมูลท่ไี ด้ศึกษามาและนาไปใช้ประโยชนใ์ นการเรยี นและการ ดารงชีวิต ตาราง A ขอ้ มูลฐาน ปี 2562 คา่ เป้าหมาย ปี 2565 23.26 ปี 2563 ปี 2564 26.26 รายการประเมนิ 22.26 92 24.26 25.26 107 ทกั ษะการแสวงหาความรู้ 87 รอ้ ยละผเู้ รียนระดบั ดีมาก 97 102 ผู้เรียนท่ีเปน็ ตัวอย่างทีด่ ี
29 ตารางท่ี 6 ผลการประเมนิ ทักษะการคดิ /การนาไปใช้ ระดบั ปี 2560 ปี 2561 ประถม จานวน พอใช้ ดี ดี รอ้ ยละ จานวน พอใช้ ดี ดี ร้อยละ ม.ตน้ ม.ปลาย มาก ระดบั มาก ระดบั ดีมาก ดีมาก 198 117 53 28 14.14 176 57 74 45 25.57 1,737 941 598 198 11.40 1,656 604 746 306 18.48 2,117 895 944 278 13.13 1,997 587 956 454 22.73 เฉล่ีย 12.89 เฉล่ยี 22.26 จากตารางท่ี 6 ผลการประเมินทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้ของผู้เรียน หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน แสดงใหเ้ หน็ วา่ ผเู้ รยี น ปี 2560 มีรอ้ ยละเฉลี่ยระดับ ดมี าก ของ การประเมินทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้เท่ากับ 12.89 และ ปี 2561 มีร้อยละเฉล่ียระดับ ดี มาก ของการประเมินทกั ษะการแสวงหาความร/ู้ การนาไปใช้ เทา่ กับ 22.26 สรปุ ขอ้ มูลฐานเพอื่ นาไปใช้ในการกาหนดคา่ เป้าหมาย เท่ากบั 22.26 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีการ ดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ จัดกระบวนการ เรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ใช้การจัด กระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดข้ึนอย่างเป็นระบบ ตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหา ความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ และสร้างองค์ความรู้ สาหรับตนเอง และชุมชน สังคม จัดการเรียนรู้ด้วยการ ทาโครงงาน โดยกาหนดให้โครงงานเป็นส่วนหน่ึงของคะแนนระหว่างภาค และจัดให้มีการประกวด โครงงานนกั ศกึ ษา เพ่อื เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดแ้ สดงผลงาน แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ท้ังน้ี เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ให้แก่ผู้เรียน ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับทักษะการแสวงหา ความรู้/การนาไปใช้ให้สูงขึ้น โดย จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซ่ึงเป็น กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดขึ้นอย่างเป็นระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนสู่ความเป็น คน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ และสร้างองค์กรความรู้ สาหรับตนเอง ชุมชน และสังคม จัดการเรียนรู้ด้วยการทาโครงงาน โดยกาหนดให้โครงงานเป็นส่วนหนง่ึ ของคะแนนระหว่างภาค และจัดให้มีการประกวดโครงงานนักศึกษา เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดง ผลงาน แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ อย่างต่อเน่อื ง ในการน้ี เพื่อให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนนิ การยกระดบั ทกั ษะการคดิ /การนาไปใช้ให้ สงู ข้ึน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนดเปา้ หมายคุณภาพ ในการดาเนนิ การยกระดบั ทักษะการคดิ /การนาไปใชใ้ หส้ งู ข้ึนดงั นี้
30 ระดับ การยกระดับทักษะการคิด/การนาไปใชส้ ูงสุด เฉล่ยี ภาพรวมทุกระดับ ร้อยละระดับ ดีมาก 26.26 ค่าเป้าหมายสงู สุด จานวนผู้เรียนที่ใช้ทักษะกระบวนการคิด ในการดารงชวี ติ การทางาน และการประกอบอาชีพ 107 คน คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนที่ใช้ทกั ษะกระบวนการคิด ในการดารงชวี ติ การทางาน และการประกอบอาชีพ แสวงหาข้อมูลความร้จู ากช่องทางส่ือประเภทต่าง ๆ และนามาใชป้ ระโยชน์ในการเรียนและ การดารงชีวติ ตาราง A ข้อมูลฐาน ปี 2562 ค่าเป้าหมาย ปี 2565 รายการประเมนิ 22.26 23.26 ปี 2563 ปี 2564 26.26 87 92 24.26 25.26 107 ทักษะกระบวนการคดิ 97 102 ร้อยละผ้เู รยี นระดบั ดีมาก ผู้เรียนท่ีเป็นตัวอยา่ งทด่ี ี ตารางที่ 7 ผลการจัดการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง (อาชพี )/การนาไปใช้ จานวน ปี 2559 จานวนผมู้ ที ักษะตาม รอ้ ยละ ท่ีจดั วตั ถปุ ระสงค์ของ 100.00 (คน) จานวนผ้มู คี วามรู้ตาม ร้อยละ หลักสูตรผา่ นเกณฑ์ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร (คน 1,790 ผ่านเกณฑ์ 1,790 (คน) 1,790 100.00
31 จานวน ปี 2560 จานวนผ้มู ที ักษะตาม ร้อยละ ท่ีจัด วัตถปุ ระสงค์ของ 100.00 (คน) จานวนผ้มู ีความร้ตู าม ร้อยละ หลกั สตู รผา่ นเกณฑ์ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร (คน 1,338 ผ่านเกณฑ์ 1,338 (คน) 1,338 100.00 จานวนทจ่ี ัด ปี 2561 จานวนผมู้ ีทักษะตาม ร้อย (คน) วัตถุประสงค์ของ ละ จานวนผมู้ ีความรูต้ าม ร้อยละ หลักสตู รผา่ นเกณฑ์ 1,486 วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร (คน 100.00 ผา่ นเกณฑ์ 1,486 (คน) 1,486 100.00 การ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 นาไปใช้ จานวน จานวน รอ้ ย จานวน จานวน รอ้ ย จานวน จานวน ร้อย ทจี่ ดั นาไปใช้ ละ ที่จดั นาไปใช้ ละ ทีจ่ ดั นาไปใช้ ละ ลด 1,790 924 51.62 1,338 634 47.38 1,486 745 50.13 รายจ่าย ประกอบ 226 12.63 192 14.35 306 20.59 อาชพี พัฒนา 182 10.17 167 12.48 147 9.89 อาชีพ เฉลีย่ 74.41 เฉลย่ี 74.22 เฉลีย่ 80.62 จากตารางท่ี 7 ผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (อาชีพ) ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ผ้เู รยี นการศึกษาต่อเนอื่ ง (อาชีพ) ปี 2559 มรี ้อย ละของผู้ผ่านการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้าน ทกั ษะ เท่ากับ 100.00 ปี 2560 มีรอ้ ยละของผ้ผู า่ นการเรียนรตู้ ามวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตรผา่ นเกณฑ์ ด้านความรู้ เท่ากบั 100.00 ด้านทักษะ เท่ากบั 100.00 และปี 2561 มรี ้อยละของผู้ผ่านการเรียนรู้ตาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้านทักษะ เท่ากับ 100.00 สรุปข้อมูลฐานเพื่อนาไปใช้ในการกาหนดค่าเป้าหมาย ด้านความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้าน ทกั ษะ เทา่ กบั 100.00 ท้ังนี้ จากผลการจัดการศึกษาต่อเน่ือง (อาชีพ)/การนาไปใช้ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน แสดงใหเ้ หน็ ว่า ผู้เรียนการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง (อาชพี ) ปี 2559 มรี ้อย
32 ละเฉลีย่ ของการนาความร้ไู ปใช้เท่ากับ 74.41 โดยนาความรู้ไปใชใ้ นด้านลดรายจา่ ย มากทีส่ ดุ ปี 2560 มี ร้อยละเฉล่ยี ของการนาความรู้ไปใชเ้ ทา่ กับ 74.22 โดยนาความรไู้ ปใช้ในด้านลดรายจา่ ย มากทสี่ ุด และ ปี 2561 มีร้อยละเฉลย่ี ของการนาความรูไ้ ปใช้เทา่ กับ 80.62 โดยนาความร้ไู ปใช้ในด้านลดรายจ่าย มากท่ีสดุ จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี แนวทางในการยกระดบั การนาความรู้ (อาชีพ) ไปใชเ้ พอ่ื การประกอบอาชีพและการพัฒนาอาชีพให้สูงข้ึน โดย การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาอาชีพ ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ และความพร้อมของ ผู้เรียน โดยสามารถบูรณาการวิธีการจัดการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม คุณภาพการจัดกระบวนการ เรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง พิจารณาจากการออกแบบ และการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาอาชีพ ที่ มุ่งเน้นจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยยึดหลักความสอดคล้องกับศักยภาพและความ พร้อมของผเู้ รียน ความหลากหลายตามความแตกตา่ งของกลมุ่ เป้าหมาย เพ่ือใหก้ ลุ่มเปา้ หมายสามารถนา ความรู้ที่ได้รบั จากการศึกษาไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ พัฒนาอาชพี และเพม่ิ ชอ่ งทางการประชาสัมพันธ์ และการจาหน่ายสินค้าให้ผู้ประกอบอาชพี เช่น การขายสินคา้ ออนไลน์ ในการน้ี เพื่อให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับการนาความรู้ (อาชีพ) ไปใช้เพื่อ การประกอบอาชีพและการพัฒนาอาชีพให้สูงข้ึน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอสามพรานได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับการนาความรู้ (อาชีพ) ไปใช้เพ่ือ การประกอบอาชีพและการพฒั นาอาชพี ให้สูงขึ้นดงั นี้ ตัวบง่ ชี้ ร้อยละของผผู้ า่ นการเรียนรู้ตามวตั ถปุ ระสงคส์ ูงสุด 100.00 ร้อยละของผ้มู คี วามรตู้ ามวัตถุประสงค์ ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ (คน) 100.00 ร้อยละของผู้มีทกั ษะตามวัตถปุ ระสงค์ 84.00 ของหลกั สตู รผา่ นเกณฑ์ (คน) รอ้ ยละของผเู้ รยี นนาความรไู้ ปใช้ ค่าเปา้ หมายสงู สดุ จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความร้ไู ปใช้ 72 คน คณุ ลักษณะของผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรูไ้ ปใช้ เม่อื จบหลกั สูตรสามารถนาไปประกอบอาชพี ได้
33 ตาราง A รายการประเมิน ข้อมูลฐาน ปี 2562 คา่ เปา้ หมาย ปี 2565 การจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง 100.00 100.00 ปี 2563 ปี 2564 100.00 80.62 100.00 100.00 รอ้ ยละของผูผ้ า่ นการ 81.00 84.00 เรียนรู้ตามวัตถปุ ระสงค์ 32 82.00 83.00 42 72 รอ้ ยละของผู้เรียนนา 52 62 ความร้ไู ปใช้ จานวนผู้เรียนทีเ่ ป็น ตวั อย่างที่ดี ตารางท่ี 8 ผลการจดั การศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง/การนาไปใช้ จานวน ปี 2559 จานวนผูม้ ที กั ษะตาม รอ้ ยละ ที่จัด วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร 100.00 (คน) จานวนผู้มคี วามรู้ตาม ร้อยละ วัตถุประสงคข์ องหลักสูตร ผ่านเกณฑ์ 457 (คน ผ่านเกณฑ์ (คน) 457 457 100.00 จานวน ปี 2560 จานวนผมู้ ีทกั ษะตาม ร้อย ที่จัด วตั ถุประสงคข์ องหลักสตู ร ละ (คน) จานวนผูม้ คี วามร้ตู าม รอ้ ยละ วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร ผา่ นเกณฑ์ 100.00 585 (คน ผา่ นเกณฑ์ (คน) 585 585 100.00 จานวนทจ่ี ัด ปี 2561 จานวนผ้มู ที กั ษะตาม รอ้ ยละ (คน) วตั ถุประสงค์ของหลักสูตร 100.00 จานวนผ้มู คี วามร้ตู าม ร้อยละ 578 วตั ถุประสงค์ของหลักสูตร ผ่านเกณฑ์ (คน ผา่ นเกณฑ์ (คน) 578 578 100.00
34 การ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 นาไปใช้ จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ มีความรู้ การดารง ทีจ่ ัด นาไปใช้ ท่ีจดั นาไปใช้ ท่จี ดั นาไปใช้ ชวี ติ ประกอบ 457 585 578 อาชีพ 457 100.00 585 100.00 578 100.00 เฉล่ยี 100.00 เฉลย่ี 100.00 เฉลยี่ 100.00 จากตารางท่ี 8 ผลการจัดการศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนการศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2559 มี รอ้ ยละของผผู้ า่ นการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลกั สูตรผา่ นเกณฑ์ ดา้ นความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้าน ทักษะ เท่ากับ 100.00 ปี 2560 มีร้อยละของ ผู้ผ่านการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่าน เกณฑ์ ด้านความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้านทักษะ เท่ากับ 100.00 และปี 2561 มีร้อยละของผู้ผ่านการ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้านทักษะ เท่ากับ 100.00 สรุปข้อมูลฐานเพื่อนาไปใช้ในการกาหนดค่าเป้าหมาย ด้านความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้าน ทกั ษะ เทา่ กับ 100.00 ท้ังน้ี จากผลการจดั การศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง/การนาไปใชข้ อง ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นวา่ ปีงบประมาณ 2559 ผู้เรียนการศึกษาเศรษฐกจิ พอเพียง มีร้อยละเฉล่ียของการนาความรู้ไปใช้เท่ากับ 100.00 โดยนาความรู้ไปใช้ในด้านการดารงชีวิต มากท่ีสุด ปี 2560 มีร้อยละเฉลี่ยของการนาความรู้ไปใช้เท่ากับ 100.00 โดยนาความรู้ไปใช้ในด้านการ ดารงชวี ิต มากทส่ี ุด และ ปี 2561 มีร้อยละเฉลี่ยของการนาความรู้ไปใชเ้ ท่ากับ 100.00 โดยนาความรู้ไป ใช้ในด้านการดารงชีวติ มากทส่ี ดุ จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี แนวทางในการยกระดับการนาความรู้เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เพื่อการดารงชีวิตและประกอบอาชีพให้ สูงข้ึน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา ความต้องการ และความพร้อมของผู้เรียน โดยสามารถบูรณาการวิธีการจัดการเรียนรู้ได้ ตามความเหมาะสม คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเน่ือง พิจารณาจากการออกแบบ และการจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุ่งเน้นจัด กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยยึดหลักความสอดคล้องกับศักยภาพและความพร้อมของ ผู้เรียน ความหลากหลายตามความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนาความรู้ที่ ได้รบั จากการศึกษาไปใช้ในการชีวิตประจาวนั ประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพ เพอื่ ใหส้ ามารถอยู่ในสังคมได้ อยา่ งมคี วามสขุ
35 ในการน้ี เพ่ือให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดบั การนาความรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งไป ใชเ้ พอื่ การดารงชวี ติ และประกอบอาชีพใหส้ ูงขนึ้ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอสามพราน ไดก้ าหนดเป้าหมายคณุ ภาพในการดาเนินการยกระดับการนาความรู้เศรษฐกจิ พอเพียง ไปใช้เพื่อการดารงชีวติ และประกอบอาชีพให้สูงข้นึ ดังน้ี ตวั บ่งชี้ รอ้ ยละของผู้ผ่านการเรียนรู้ตามวตั ถปุ ระสงค์สูงสุด 100.00 ร้อยละของผู้มีความรู้ตามวัตถุประสงค์ ของหลกั สูตรผ่านเกณฑ์ (คน) 100.00 ร้อยละของผ้มู ีทกั ษะตามวัตถุประสงค์ ของหลกั สตู รผา่ นเกณฑ์ (คน) ระดับ การยกระดับการนาความรู้เศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ สูงสดุ มคี วามรู้ การดารงชวี ติ 100.00 ประกอบอาชีพ คา่ เป้าหมายสูงสดุ จานวนผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรไู้ ปใช้ 147 คน คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรูไ้ ปใช้ 1. ปฏิบัติตนตามหลักของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้หลกั ของเศรษฐกจิ พอเพียง ใหค้ รอบครัว ชุมชน และสงั คมได้
36 ตาราง A รายการประเมิน ขอ้ มูลฐาน ปี 2562 คา่ เปา้ หมาย ปี 2565 การจัดการศกึ ษาเศรษฐกิจ 100.00 ปี 2563 ปี 2564 100.00 100.00 100.00 100.00 พอเพยี ง 100.00 117 100.00 100.00 147 107 รอ้ ยละของผูผ้ ่านการ 100.00 100.00 เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ 127 137 ร้อยละผ้เู รยี นนาความรู้ ไปใช้ จานวนผู้เรียนที่เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ี ตารางที่ 9 ผลการจัดการศึกษาดิจทิ ลั ชุมชน/การนาไปใช้ ปี 2560 ปี 2561 จานว จานวนผู้มี รอ้ ยละ จานวนผมู้ ี ร้อยละ จานว จานวนผู้มี ร้อยละ จานวนผูม้ ี รอ้ ยละ น ความร้ตู าม ทักษะตาม น ความรู้ตาม ทกั ษะตาม ท่จี ดั วตั ถปุ ระสง วตั ถปุ ระสงค์ ทีจ่ ดั วตั ถุประสงค์ วตั ถุประสงค์ (คน) คข์ อง ของหลักสตู ร (คน) ของหลักสูตร ของ หลกั สูตร ผา่ นเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ หลกั สูตร ผ่านเกณฑ์ (คน (คน) ผ่านเกณฑ์ (คน) (คน 269 269 100.00 269 100.00 128 128 100.00 128 100.00 การนาไปใช้ จานวนที่ ปี 2560 ร้อยละ ปี 2561 ร้อยละ จัด จานวน จานวนท่ี จานวน มีความรู้ 269 นาไปใช้ 18.59 14.84 การดารงชีวติ 72.86 จัด นาไปใช้ 75.78 ประกอบอาชีพ เฉลีย่ 50 8.55 128 19 9.38 196 100.00 100.00 23 97 12 เฉลีย่ จากตารางท่ี 9 ผลการจัดการศึกษาดิจิทัลชุมชนของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั อาเภอสามพราน แสดงใหเ้ หน็ ว่า ผู้เรยี นการศกึ ษาดิจิทัลชุมชน ปี 2560 มีรอ้ ยละของผู้ผ่าน การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้านทักษะ เท่ากับ 100.00 และ ปี 2561 มีร้อยละของผู้ผ่านการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ด้าน ความรู้ เทา่ กับ 100.00 ดา้ นทกั ษะ เทา่ กบั 100.00
37 สรุปข้อมูลฐานเพื่อนาไปใช้ในการกาหนดค่าเป้าหมาย ด้านความรู้ เท่ากับ 100.00 ด้าน ทกั ษะ เทา่ กบั 100.00 ท้ังนี้ จากผลการจัดการศึกษาดิจิทัลชุมชน/การนาไปใช้ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ปี 2560 ผู้เรียนการศึกษาดิจิทัลชุมชน มีร้อยละ เฉล่ียของการนาความรู้ไปใช้เท่ากับ 100.00 โดยนาความรู้ไปใช้ในด้านการดารงชีวิต มากท่ีสุด ปี 2561 มีร้อยละเฉลี่ยของการนาความรู้ไปใช้เท่ากับ 100.00 โดยนาความรู้ไปใช้ในด้านการดารงชีวิต มากที่สุด จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี แนวทางในการยกระดับการนาความรู้จากการศึกษาดิจิทัลไปใช้เพื่อการดารงชีวิตและประกอบอาชีพให้ สูงข้ึน โดยจดั กระบวนการเรียนรกู้ ารศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน ทีส่ อดคล้องกบั สภาพปญั หา ความ ต้องการ และความพร้อมของผู้เรียน โดยสามารถบูรณาการวิธีการจัดการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาต่อเน่อื ง พิจารณาจากการออกแบบ และการจัดกระบวนการ เรียนรู้ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ที่มุ่งเน้นจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ โดย ยึดหลักความสอดคล้องกับศักยภาพและความพร้อมของผู้เรียน ความหลากหลายตามความแตกต่างของ กลุ่มเป้าหมาย เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาไปใช้ในการชีวิตประจาวัน ประกอบอาชีพ พฒั นาอาชีพ เพือ่ ใหส้ ามารถอยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ ในการน้ี เพ่ือให้มเี ปา้ หมายคณุ ภาพในการดาเนินการยกระดับการนาความรู้จากการศึกษาดิจิทัล ไปใช้เพื่อการดารงชีวติ และประกอบอาชีพให้สูงขึ้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอสามพราน ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับการนาความรู้จากการศึกษา ดิจทิ ลั ไปใช้เพอ่ื การดารงชวี ิตและประกอบอาชีพใหส้ งู ขึ้น ดงั นี้ ตวั บง่ ชี้ ร้อยละของผผู้ า่ นการเรยี นรตู้ ามวตั ถุประสงคส์ ูงสุด 100.00 รอ้ ยละของผู้มีความรตู้ ามวัตถุประสงค์ ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ (คน) 100.00 รอ้ ยละของผูม้ ีทกั ษะตามวตั ถุประสงค์ ของหลกั สตู รผ่านเกณฑ์ (คน) ระดับ การยกระดับการนาความรดู้ ิจิทัลไปใช้สูงสุด 79.78 มีความรู้ การดารงชวี ติ ประกอบอาชีพ
38 ค่าเป้าหมายสงู สดุ จานวนผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรไู้ ปใช้ 28 คน คณุ ลักษณะของผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้ 1. ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว 2. ใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง ตาราง A รายการประเมิน ขอ้ มูลฐาน ปี 2562 คา่ เปา้ หมาย ปี 2565 การจัดการศกึ ษาดจิ ิทัล 100.00 100.00 ปี 2563 ปี 2564 100.00 75.78 100.00 100.00 รอ้ ยละของผู้ผ่านการ 12 คน 76.78 79.78 เรียนรตู้ ามวัตถุประสงค์ 77.78 78.78 16 คน 28 คน รอ้ ยละของผ้เู รยี นนา 20 คน 24 คน ความรู้ไปใช้ จานวนผู้เรียนท่ีเป็น ตัวอยา่ งที่ดี ตารางที่ 10 การศึกษาตามอัธยาศยั (ย้อนหลงั 3 ปี ต่อเน่อื ง) ปี งปม. กิจกรรม / โครงการ แผน ผล รอ้ ยละ สภาพ 67,600 79,858 >18.13 บรรลุ 2559 รวมทุกกจิ กรรม / โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย 67,100 101,873 >51.85 บรรลุ 2560 รวมทกุ กจิ กรรม / โครงการ 10,275 17,369 >69.09 บรรลุ การศึกษาตามอธั ยาศัย 2561 รวมทุกกจิ กรรม / โครงการ การศึกษาตามอธั ยาศัย จากตารางท่ี 10 การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ปีงบประมาณ 2559 มีการดาเนินงานจัดการศึกษาตาม อัธยาศัยรวมทุกกิจกรรม / โครงการ บรรลุตามแผน ปีงบประมาณ 2560 มีการดาเนินงานจัดการศึกษา ตามอัธยาศัยรวมทุกกิจกรรม / โครงการ บรรลุผลตามแผน และ ปีงบประมาณ 2561 มีการดาเนินงาน จัดการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทกุ กจิ กรรม / โครงการ บรรลผุ ลตามแผน สรุปขอ้ มลู ฐานเพอ่ื นาไปใช้ในการกาหนดคา่ เปา้ หมาย เทา่ กบั 17,369 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี แนวทางในการยกระดับการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพสงู ขึ้น โดยมกี ระบวนการในการออกแบบการ
39 จัดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามอัธยาศัย โดยมีการวางแผน กาหนดกลุม่ เปา้ หมาย และจดั กิจกรรมโดยคานึงถึง ความต้องการและความเหมาะสมของช่วงอายุ เพศ วัย อาชีพ การศึกษาของผู้รับบริการ จัดกิจกรรม/ โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั โดยผู้รับบรกิ ารไดร้ ับความรู้ ในรปู แบบกิจกรรมท่หี ลากหลาย คือ บริการ ห้องสมุดประชาชน หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดน้าดอนหวาย กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กศน. ตาบล และบ้านหนังสือชุมชน ผู้รับบริการได้รับความรู้ และ/หรือ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม จากการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทาให้มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ และ สามารถนาความรู้ที่ไดไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในการเรียน การทางานและชวี ติ ประจาวนั ได้ ในการนี้ เพื่อให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับการศึกษาตามอัธยาศัยใ ห้มี คุณภาพสูงข้ึน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ สามพราน ได้กาหนด เป้าหมายคุณภาพในการดาเนนิ การยกระดบั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้มคี ุณภาพสูงขนึ้ ดงั น้ี การจดั การศึกษา จานวนผรู้ ับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย สงู สุด รวมทุกกิจกรรม / โครงการ การศกึ ษาตาม อธั ยาศัย 23,400 คน การจัดการศึกษา คา่ เปา้ หมายสูงสุด จานวนผรู้ ับบรกิ าร มคี วามรู้ / ประสบการณ์ กิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ตามตามอธั ยาศยั ที่ ออกแบบเฉพาะกจิ กรรม จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมการศกึ ษาตาม อัธยาศยั 1,640 คน ค่าเป้าหมายสูงสดุ จานวนผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรไู้ ปใช้ 116 คน คณุ ลักษณะของผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรูไ้ ปใช้ 1. รว่ มกจิ กรรมสมา่ เสมอ 2. ผรู้ ับบริการสามารถนาความรไู้ ปใช้ในการทางาน และชีวติ ประจาวนั
40 ตาราง A รายการประเมิน ข้อมูลฐาน ปี 2562 ค่าเปา้ หมาย ปี 2565 การจัดการศกึ ษา 20,400 ปี 2563 ปี 2564 23,400 17,369 1,340 1,640 ตามอธั ยาศัย 1,240 790 21,400 22,400 940 740 116 จานวนผูร้ ับบริการ 44 62 1,440 1,540 การศึกษาตามอธั ยาศัย 840 890 มีความรู้/ประสบการณ์ จากการเข้าร่วมกิจกรรม 80 89 จานวนผู้รบั บริการนา ความรไู้ ปใช้ จานวนผู้รับบริการท่ีเปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ี ตารางที่ 11 ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ผลการ 2553 2556 2558 2559 2560 2561 สภาพ ประเมนิ ตนเอง 92.13 92.13 92.49 82.50 สงู ๆ ตา่ ๆ ตน้ สังกดั 4.11 ดี ภายนอก 88.37 ดี จากตารางท่ี 11 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ผลการประเมินตนเองมีผลการประเมิน สูง ๆ ต่า ๆ ท้ังนี้ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยต้นสังกัด มีผลการประเมินระดับดี และผลการประเมินคุณภาพ ภายนอก มผี ลการประเมนิ อยทู่ ่รี ะดับ ดี
41 ตารางท่ี 12 ผลการวิเคราะห์ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา แนวทาง ตนเอง ตน้ สงั กัด ภายนอก แนวทางการพัฒนา การพฒั นา ระยะต่อไป ด้านการ 1. ควรส่งเสรมิ 1. สถานศกึ ษาควร 1. ด้านการประกนั 1. ควรสง่ เสรมิ บรหิ าร สนบั สนุน ใหค้ รไู ดร้ ับ ช้ีแจงทาความ คุณภาพภายใน สนับสนุน ให้ครไู ด้รบั สถานศกึ ษา การพัฒนาความรู้ เขา้ ใจให้แก่ (ตบช. 8.1) การพฒั นาความรู้ ความสามารถในการ บุคลากรในการ สถานศึกษาควร ความสามารถในการ ออกแบบการจัด ดาเนินงานระบบ ทบทวนตรวจสอบ ออกแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ี ประกนั คุณภาพ และให้ความสาคัญ กระบวนการเรียนรู้ท่ี เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั ภายในอยา่ งครบ ด้านเกณฑ์เชงิ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพอ่ื ใหส้ ามารถ วงจร มกี ารกากับ ปรมิ าณ ตาม เพอ่ื ใหส้ ามารถจดั การ จดั การเรียนการสอน ตรวจสอบ ควบคมุ มาตรฐาน เรยี นการสอนใน ในรายวิชาหลักได้ คณุ ภาพของงาน การศกึ ษาของ รายวิชาหลกั ไดอ้ ยา่ ง 2. สง่ เสริมให้มกี าร โครงการ กิจกรรม สถานศกึ ษา ต่อเนือ่ ง ประชาสัมพันธ์ การ นิเทศ กากบั ร่วมกับ 2. เผยแพรข่ อ้ มลู จดั กจิ กรรมการศึกษา ตดิ ตามผล การ คณะกรรมการ ความรู้ผา่ นช่องทาง ตามอธั ยาศยั อย่าง ดาเนนิ งาน สถานศกึ ษาชุมชน สอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ หลากหลายรูปแบบ โครงการ/กจิ กรรม ภาคีเครอื ขา่ ยให้ 3. ควรพฒั นาวทิ ยากร และทวั่ ถึงในทุกพืน้ ที่ ต่าง ๆ ตาม การส่งเสริม การศึกษาต่อเนื่อง ให้ 3. ควรพัฒนาใหม้ ี แผนปฏบิ ัติการ สนบั สนนุ อย่าง มีความร้คู วามชานาญ การเผยแพร่องค์ ประจาปี ต่อเนอ่ื ง ในการออกแบบการ ความรู้ หลกั สูตร งบประมาณ ให้ 2. ด้านการจัดการ จัดกระบวนการเรียนรู้ รายวชิ า สค33136 ความร้ดู า้ นการ เรียนการสอนที่ การจดั กระบวนการ หลวงพ่อวัดไร่ขิง มง่ิ ประเมนิ ผล และ เนน้ ผเู้ รยี นเป็น เรยี นรู้ และการวดั ผล มงคล คนสามพราน การประเมนิ สาคญั (ตบช. 6) และประเมินผล ให้ แก่ชมุ ชนอาเภอสาม คณุ ภาพของ สถานศกึ ษาควร สามารถจัดการศึกษา พราน ในรูปแบบท่ี หลกั สูตร เพื่อ ส่งเสริม สนบั สนุน ต่อเนอื่ ง ได้อย่างมี หลากหลายและ พฒั นาปรับปรุง ครู เขา้ รับการ คุณภาพ เข้าถงึ ไดง้ า่ ย หลกั สตู ร และ อบรมเพอื่ รบั การ 4. สถานศึกษาควรจดั 4. ควรพฒั นา โครงการ/กจิ กรรม พฒั นาใหส้ ามารถ ประชมุ สัมมนาภาคี วทิ ยากรการศึกษา อย่างเปน็ ระบบ จดั การเรียนการ เครอื ข่ายท่ีจดั หรอื ตอ่ เนอื่ ง ใหม้ ีความรู้ และตอ่ เน่ือง โดย สอนวิชาหลักอยา่ ง รว่ มจัดการศกึ ษา เพื่อ ในด้านจิตวิทยา ใช้เครื่องมือการ ต่อเนอ่ื ง ไดแ้ ก่ วชิ า ทบทวนกระบวนการ การศกึ ษาผใู้ หญ่ การ ประเมินผลท่ี วทิ ยาศาสตร์ สร้างความรู้ ความ จดั ทาหลักสูตร การ เหมาะสม คณติ ศาสตร์ เขา้ ใจ และมอบใบ จัดกระบวนการ สอดคลอ้ งกบั ภาษาไทย และ ประกาศเกยี รติคุณ เรียนรู้ การออกแบบ เป้าหมายของ ภาษาองั กฤษ
42 แนวทาง ตนเอง ตน้ สงั กดั ภายนอก แนวทางการพัฒนา การพฒั นา ระยะต่อไป การเรียนรู้ และการ หลกั สูตร ส่งเสรมิ ให้ครูผ้สู อน วัดผลและประเมินผล โครงการ/กจิ กรรม และวิทยากรทุก เพือ่ ยกยอ่ งเชิดชู ให้สามารถจัด 2. ครู กศน.ตาบล ประเภทได้รบั การ เกียรติ การศกึ ษาต่อเนือ่ ง ได้ ควรสารวจ พฒั นาให้มีความรู้ 5. สถานศึกษาควรมี อยา่ งมีคุณภาพ วเิ คราะห์ ข้อมลู ความชานาญใน การทบทวน 5. ควรจัดใหม้ ีระบบ บริบท สภาพ การออกแบบ กระบวนการสร้าง การนเิ ทศ ติดตาม ปัญหาความ กระบวนการเรียนรู้ ความรู้ ความเขา้ ใจ และประเมินผลอย่าง ต้องการของชมุ ชน และจดั กจิ กรรม เกี่ยวกบั บทบาท สม่าเสมอนาผลการ ภูมิปัญญา และ เรียนรู้ตลอดชวี ติ หนา้ ท่ีตามระเบียบที่ นิเทศเป็นข้อมลู ใน แหลง่ เรียนรู้ เพื่อการสรา้ งสงั คม กาหนด แก่ การพัฒนา รวมทง้ั ภาคี แหง่ การเรยี นรู้ใน คณะกรรมการ กระบวนการเรยี น เครือข่าย ในพนื้ ที่ ชมุ ชนควบค่กู บั สถานศกึ ษา การสอนอยา่ ง รับผิดชอบ เพอ่ื การส่งเสรมิ การ 6. สถานศกึ ษาควรมี ต่อเนอื่ ง ประโยชน์ในการ อ่านใหเ้ หมาะสม การประชมุ ทบทวน 6. สถานศกึ ษาควร กาหนดแผนงาน/ ให้มีความ การจัดทาแผนจลุ ภาค จดั ประชุม สัมมนา โครงการ ออกแบบ สอดคล้องกบั ความ ให้ครู กศน.ตาบล ภาคีเครอื ข่ายที่จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ตอ้ งการเรียนร้ขู อง เพอื่ ให้สามารถจัดทา หรอื รว่ มจัดการศึกษา รปู แบบการ กลุ่มเปา้ หมายใน แผนการจดั การศึกษา และมอบใบประกาศ ใหบ้ รกิ าร วางแผน แต่ละชมุ ชนอยา่ ง นอกระบบและ เกียรติคณุ เพ่ือยกย่อง จัดกิจกรรมการ ทว่ั ถงึ ทกุ พ้ืนท่ี มี การศึกษาตาม เชดิ ชูเกยี รติ เรียนรู้ ขยายการ การจัด อธั ยาศยั สอดคลอ้ งกบั 7. สถานศึกษาควรมี ดาเนินงานร่วมกับ กระบวนการ บริบท สภาพปัญหา การประชมุ คณะ ภาคเี ครอื ขา่ ย และ ตดิ ตามและ ความต้องการของ กรรมสถานศึกษา พัฒนางาน ประเมินผลอยา่ ง ชุมชน เพื่อทบทวน การศกึ ษา นอก ต่อเน่ืองเพ่ือ 7. สถานศกึ ษาควรจดั กระบวนการสร้าง ระบบและ กระต้นุ ให้ผเู้ รยี น ให้มกี ารประชุมชีแ้ จง ความรู้ ความเข้าใจ การศึกษาตาม และผู้รบั บริการ การดาเนนิ งานระบบ เกยี่ วกบั บทบาท อัธยาศยั ในพนื้ ที่ให้ เหน็ ความสาคัญ ประกันคุณภาพ หน้าทีต่ ามระเบียบที่ สอดคล้องกับวถิ ี ของการเรียนรู้ ภายในอย่างครบวงจร กาหนด ชวี ิตของคนใน ตลอดชีวติ จดั ใหม้ รี ะบบการ 8. สถานศกึ ษาควร ชุมชนและหลัก สถานศกึ ษามคี วาม นเิ ทศ ติดตาม และ จดั ใหม้ กี ารประชุม ปรัชญาของ ชานาญในการ ประเมินผลทุก ทบทวน ประเมิน เศรษฐกิจพอเพยี ง ออกแบบ กจิ กรรม และนาผล ระบบประกัน กระบวนการเรยี นรู้ การนิเทศเป็นขอ้ มูล คณุ ภาพภายในอยา่ ง ในการพฒั นาการ ตอ่ เนอ่ื ง ดาเนินงานอย่าง ตอ่ เนือ่ ง
43 แนวทาง ตนเอง ต้นสังกัด ภายนอก แนวทางการพัฒนา การพฒั นา ระยะต่อไป 1. ควรส่งเสริม 1. สถานศกึ ษาควร 1. ด้านผลการจัด ด้านการจดั สนับสนนุ ให้ครไู ดร้ ับ ชแ้ี จงทาความ การศกึ ษา 1. ควรส่งเสริม การศึกษา การพฒั นาความรู้ เข้าใจใหแ้ ก่ สถานศกึ ษาควรมี สนับสนุน ให้ครูไดร้ บั ความสามารถในการ บุคลากรในการ การพฒั นา การพฒั นาความรู้ ออกแบบการจดั ดาเนนิ งานระบบ ผลสมั ฤทธ์ิของ ความสามารถในการ กระบวนการเรียนรู้ท่ี ประกันคุณภาพ ผเู้ รยี น (ตบช. 5.1 ออกแบบการจดั เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ภายในอยา่ งครบ ) ตามเกณฑ์ กระบวนการเรยี นรู้ที่ เพ่ือให้สามารถ วงจร มีการกากับ พจิ ารณาในตัวบ่งชี้ เน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั จดั การเรียนการสอน ตรวจสอบ ควบคุม ยอ่ ย ไดแ้ กส่ าระ เพอื่ ใหส้ ามารถจดั การ ในรายวิชาหลกั ได้ คุณภาพของงาน การพัฒนาสงั คม เรียนการสอนใน 2. ควรสง่ เสริม โครงการ กิจกรรม อยู่ในระดับตอ้ ง รายวชิ าหลักได้อยา่ ง สนับสนุน ใหค้ รูนา นเิ ทศ กากบั ปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน ต่อเน่ือง สื่อ เทคโนโลยี ท่ี ตดิ ตามผล การ ส่วนสาระ การ 2. ควรสง่ เสริม หลากหลายไปใช้ใน ดาเนิน งาน เรียนรูท้ กั ษะการ สนบั สนุน ใหค้ รูนา การจัดการเรยี นรใู้ ห้ โครงการ/กิจกรรม เรยี นรู้อืน่ ๆ ระดับ สือ่ เทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับผเู้ รยี น ตา่ ง ๆ ตาม คณุ ภาพพอใช้ ใน หลากหลายไปใชใ้ น และเอื้อต่อการ แผนปฏิบตั กิ าร การพฒั นาเรื่อง การจัดการเรยี นรู้ ให้ เรียนรู้ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี น ประจาปี ดงั กลา่ วสถานศึกษา เหมาะสมกับผ้เู รยี น นาความรไู้ ปใช้ในการ งบประมาณ ให้ อาจเริ่มจาก การ และเอื้อต่อการเรยี นรู้ ดารงชีวติ การทางาน ความรดู้ ้านการ จดั ทาโครงการเพ่ือ เพ่ือให้ผู้เรียนนา หรือการประกอบ ประเมินผล และ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ความรไู้ ปใช้ในการ อาชีพได้ และ การประเมิน ในทุกกลุม่ สาระ ดารงชีวิต การทางาน ยกระดับคุณภาพชวี ิต คุณภาพของ การเรียนร้หู รือ หรอื การประกอบ ของตนเอง หลักสูตร เพอ่ื อาจจะปรับเปลี่ยน อาชพี ได้ และ 3. ควรพัฒนา พัฒนาปรับปรงุ วธิ ีการเรยี น การ ยกระดบั คุณภาพชีวติ กิจกรรมการศกึ ษา หลักสูตร และ สอนตามวธิ ีการท่ี ของตนเอง เพื่อพัฒนาอาชพี โครงการ/กจิ กรรม เหมาะสมของ 3. สถานศกึ ษาควรจัด เพอ่ื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ อยา่ งเปน็ ระบบ สถานศกึ ษา กจิ กรรม/โครงการ ต่อยอดใหผ้ เู้ รียน ที่ และตอ่ เนื่อง โดย 2. ดา้ นการจดั การ พัฒนาผู้เรียนเพื่อ จบหลักสูตร ใชเ้ ครื่องมือการ เรยี นการสอนท่ี พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิ การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนา ประเมินผลท่ี เน้นผ้เู รียนเปน็ ทางการเรยี นในทกุ อาชีพ มีทักษะในการ เหมาะสม สาคญั (ตบช. 6) สาระการเรยี นเรียน ประกอบอาชีพ สอดคลอ้ งกบั สถานศึกษาควร และจดั การเรียนการ สามารถสรา้ งรายได้ เปา้ หมายของ ส่งเสริม สนับสนุน สอนรายวชิ า เพ่อื ให้ ใหแ้ กค่ รอบครัว มี หลกั สตู ร ครู เข้ารับการ ครูจดั การเรียนการ โครงการ/กิจกรรม อบรมเพ่อื รบั การ สอนตามมาตรฐาน และตวั ช้ีวดั ของ
44 แนวทาง ตนเอง ตน้ สังกดั ภายนอก แนวทางการพัฒนา การพฒั นา ระยะต่อไป คณุ ธรรมในการ ประกอบอาชีพ 2. สถานศึกษาควร พฒั นาใหส้ ามารถ หลกั สูตรแตล่ ะ 4. ควรพัฒนา รายวิชา หลกั สตู รการศึกษา พฒั นากจิ กรรม จัดการเรยี นการ 4. ควรพัฒนา ต่อเน่อื งจากภูมิ กิจกรรมการศกึ ษา ปญั ญาท้องถ่ิน ของห้องสมดุ สอนวิชาหลกั อย่าง เพอ่ื พฒั นาอาชพี เพ่ือ เพอื่ ใหส้ ถานศึกษา สง่ เสริมสนบั สนุนต่อ นาไปจัดกระบวนการ ประชาชน “เฉลิม ต่อเนื่อง ได้แก่ วชิ า ยอดให้ผเู้ รียน ที่จบ เรยี นร้ใู หแ้ ก่ผ้เู รียน/ หลกั สตู ร การศึกษา ผรู้ บั บรกิ าร ได้อย่าง ราชกุมารี” อาเภอ วทิ ยาศาสตร์ เพ่อื พฒั นาอาชพี มี มีคณุ ภาพและ ทกั ษะในการประกอบ ประสิทธภิ าพ สามพราน ให้เป็น คณติ ศาสตร์ อาชีพ สามารถสรา้ ง สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ รายได้ให้แกค่ รอบครัว ครผู ู้สอนนาส่ือ กิจกรรมเชิงรุก เชน่ ภาษาไทย และ มีคุณธรรมในการ เทคโนโลยีที่ ประกอบอาชีพ หลากหลาย มาใชใ้ น ขยายพื้นท่สี ่งเสริม ภาษาอังกฤษ 5. สถานศึกษาควร การจดั การเรยี นรู้ให้ พัฒนาหลกั สูตร เหมาะสมกบั ผเู้ รียน/ การอ่านออกสู่ สง่ เสริมใหค้ รผู ู้สอน การศกึ ษานอกระบบ ผรู้ ับบริการ และเอือ้ ระดบั การศกึ ษาขั้น ตอ่ การเรยี นรู้ ภายนอก อาคาร และวิทยากรทุก พนื้ ฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง เพ่ือให้ จัดกจิ กรรมที่มสี ีสัน ประเภทไดร้ บั การ สถานศึกษานาไปจดั กระบวนการเรยี นรู้ ชักชวนให้ประชาชน พัฒนาใหม้ ีความรู้ ให้แกผ่ เู้ รียน/ ผรู้ ับบรกิ าร ไดอ้ ย่างมี เข้าใช้บรกิ าร ความชานาญใน คณุ ภาพและ ประสทิ ธิภาพ ภายในอาคารอยา่ ง การออกแบบ 6. สถานศกึ ษาควร พฒั นากิจกรรมของ ทว่ั ถงึ ทุกห้อง ทุก กระบวนการเรยี นรู้ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” สว่ นของอาคาร และจัดกิจกรรม อาเภอสามพราน ให้ เปน็ กิจกรรมเชงิ รุก ที่ ดาเนินการประเมิน เรยี นรตู้ ลอดชีวิต หลากหลาย เพ่ือเชิญ ชวนให้ประชาชนเข้า ความพงึ พอใจ เพื่อการสร้างสังคม ใชบ้ ริการภายใน อาคารอยา่ งท่วั ถงึ ทุก ผ้รู ับบริการ แหง่ การเรยี นรูใ้ น การศึกษาตาม ชุมชนควบคกู่ บั อธั ยาศยั โดยใช้ การส่งเสริมการ เครื่องมอื ท่ี อ่านใหเ้ หมาะสม เหมาะสม ใหม้ ีความ สอดคล้องกบั แตล่ ะ สอดคล้องกับความ กิจกรรมท่ีกาหนด ต้องการเรยี นรู้ของ พรอ้ มท้งั สรปุ กล่มุ เปา้ หมายใน รายงานผลการ แต่ละชมุ ชนอย่าง ประเมิน เพื่อ ทัว่ ถึงทุกพืน้ ท่ี มี นาไปใช้ในการ การจดั พัฒนากจิ กรรม กระบวนการ การศึกษาตาม ตดิ ตามและ อัธยาศัยต่อไป ประเมนิ ผลอย่าง ต่อเนอื่ งเพื่อ กระตนุ้ ให้ผ้เู รยี น และผรู้ ับบริการ เห็นความสาคญั
45 แนวทาง ตนเอง ตน้ สงั กดั ภายนอก แนวทางการพัฒนา การพัฒนา ระยะต่อไป 2. ควรจัดใหม้ ีระบบ 1. สถานศึกษาควร ของการเรียนรู้ ดน้ การ การนเิ ทศ ติดตาม ช้แี จงทาความ ตลอดชวี ิต หอ้ ง ทุกสว่ นของ ควบคมุ และประเมินผลอยา่ ง เข้าใจใหแ้ ก่ สถานศกึ ษามีความ อาคาร มีการ สมา่ เสมอนาผลการ บุคลากรในการ ชานาญในการ ประเมนิ ผล และ นเิ ทศเปน็ ข้อมลู ใน ดาเนนิ งานระบบ ออกแบบ สรปุ ผลการเมนิ การ การพัฒนา ประกันคุณภาพ กระบวนการเรยี นรู้ จัดกิจกรรม เพื่อ กระบวนการเรียน ภายในอย่างครบ นาไปใช้ในการ การสอนอยา่ ง วงจร มกี ารกากับ 1. ดา้ นการประกัน พัฒนาการจัดกิจกรรม ตอ่ เนื่อง ตรวจสอบ ควบคุม คณุ ภาพภายใน ให้มปี ระสทิ ธิภาพ 4. ควรจัดให้มรี ะบบ คุณภาพของงาน (ตบช. 8.1) การนเิ ทศ ตดิ ตาม โครงการ กิจกรรม สถานศึกษาควร 1. สถานศึกษาควรจดั และประเมนิ ผลอยา่ ง นเิ ทศ กากบั ทบทวนตรวจสอบ ใหม้ กี ารประชมุ ตอ่ เน่อื ง เพ่ือให้ ติดตามผล การ และให้ความสาคัญ ทบทวนการ วิทยากรการศึกษา ดาเนิน งาน ด้านเกณฑเ์ ชงิ ดาเนินงานระบบ ต่อเนื่อง ดาเนนิ การ โครงการ/กจิ กรรม ปรมิ าณ ตาม ประกนั คุณภาพ จดั การเรยี นรไู้ ด้อย่าง ต่าง ๆ ตาม มาตรฐาน ภายในอยา่ งครบวงจร มปี ระสทิ ธภิ าพและ แผนปฏบิ ตั กิ าร การศกึ ษาของ และต่อเน่ือง เกดิ ประสิทธผิ ลมาก ประจาปี สถานศกึ ษา 2. จัดให้มีระบบการ ข้นึ งบประมาณ ให้ รว่ มกบั นิเทศ ติดตาม และ 5. สถานศึกษาควร ความร้ดู า้ นการ คณะกรรมการ ประเมินผลทุก จัดให้มกี ารประชุม ประเมนิ ผล และ สถานศึกษาชุมชน กิจกรรม และนาผล ทบทวน ประเมิน การประเมนิ ภาคเี ครือข่ายให้ การนเิ ทศเปน็ ข้อมูล ระบบประกัน คุณภาพของ การสง่ เสรมิ ในการพฒั นาการ คณุ ภาพภายในอยา่ ง หลักสูตร เพอื่ สนับสนนุ อยา่ ง ดาเนินงานอยา่ ง ตอ่ เนื่อง พัฒนาปรับปรงุ ตอ่ เนือ่ ง ต่อเนอ่ื ง หลักสตู ร และ โครงการ/กจิ กรรม อย่างเป็นระบบ
46 แนวทาง ตนเอง ต้นสงั กัด ภายนอก แนวทางการพฒั นา การพฒั นา ระยะต่อไป และตอ่ เน่ือง โดย ใช้เครื่องมือการ ประเมนิ ผลที่ เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของ หลักสูตร โครงการ/กจิ กรรม จากการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ / แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ศนู ย์ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน ได้วิเคราะหข์ ้อมูลและกาหนดแนว ทางการพัฒนาระยะต่อไป มีประเด็นแนวคิดและแนวทางในการพัฒนางานระยะตอ่ ไป ดังน้ี ดา้ นการบรหิ ารสถานศึกษา 1. ควรสง่ เสรมิ สนบั สนุน ใหค้ รไู ดร้ ับการพฒั นาความรู้ ความสามารถในการออกแบบการจัด กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ เพื่อใหส้ ามารถจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าหลกั ได้อย่าง ตอ่ เน่ือง 2. เผยแพร่ขอ้ มูลความรู้ผ่านช่องทางสื่อประเภทต่าง ๆ 3. ควรพัฒนาวทิ ยากรการศึกษาต่อเนอ่ื ง ใหม้ คี วามรูค้ วามชานาญนในการออกแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ และการวดั ผลและประเมนิ ผล ใหส้ ามารถจดั การศกึ ษา ตอ่ เนอื่ ง ได้อย่างมีคณุ ภาพ 4. สถานศึกษาควรจัดประชุม สมั มนาภาคีเครือข่ายทจ่ี ดั หรอื รว่ มจดั การศึกษา เพื่อทบทวน กระบวนการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และมอบใบประกาศเกยี รตคิ ณุ เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ 5. สถานศกึ ษาควรมีการทบทวนกระบวนการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั บทบาทหนา้ ที่ ตามระเบยี บทีก่ าหนด แก่คณะกรรมการสถานศกึ ษา 6. สถานศกึ ษาควรมกี ารประชมุ ทบทวนการจัดทาแผนจุลภาคใหค้ รู กศน.ตาบลเพ่ือให้สามารถ จดั ทาแผนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสอดคล้องกับ บรบิ ท สภาพปญั หา ความตอ้ งการของชุมชน 7. สถานศกึ ษาควรจดั ใหม้ กี ารประชุมช้ีแจงการดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในอย่าง ครบวงจร จดั ใหม้ รี ะบบการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลทุกกจิ กรรม และนาผลการนิเทศเปน็ ข้อมลู ใน การพัฒนาการดาเนนิ งานอยา่ งต่อเนื่อง ดา้ นการจดั การศึกษา 1. ควรส่งเสริมสนบั สนุน ใหค้ รไู ด้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการออกแบบการจัด กระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ เพื่อใหส้ ามารถจัดการเรียนการสอนในรายวชิ าหลักไดอ้ ย่าง ตอ่ เน่อื ง
Search