Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2. หน่วยที่ 1

2. หน่วยที่ 1

Published by นพดล กํามะหยี่, 2021-03-13 04:20:05

Description: 2. หน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

1 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ ชอ่ื หน่วย : ความร้พู ้ืนฐานการเชอ่ื มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุม ระดบั : ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) จานวน : 4 ช่ัวโมง/หน่วย ชวั่ โมงรวม 72 ชัว่ โมง หัวข้อเร่อื ง 1. ความรู้พน้ื ฐานการเช่ือมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ 2. ความปลอดภัยและอาชวี อนามัยในการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม สาระสาคญั การเชือ่ มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ ใชต้ วั ยอ่ เป็นภาษาอังกฤษวา่ GTAW ย่อมาจาก Gas Tungsten Arc Welding หรือ TIG ย่อมาจาก Tungsten Inert Gas ซง่ึ เปน็ กรรมวิธีการเชื่อมโลหะ ทเี่ กิดขึน้ ตงั้ แต่ปี ค.ศ 1935 และนามาใชค้ ร้ังแรกในอตุ สาหกรรมการบิน ในราว ค.ศ. 1940 รวมไปถงึ ใน สมยั สงครามโลกครงั้ ที่ 2 (ค.ศ.1945) โดยใช้เชือ่ มโลหะจาพวก แมกนเี ซยี ม อะลูมิเนียม และสแตนเลส ปัจจบุ ันกระบวนการเชื่อมนี้ ใชก้ ันอย่างกวา้ งขวางในงานอุตสาหกรรมทวั่ ไป เชน่ ใช้เช่อื ม แมพ่ ิมพ์ ภาชนะบรรจุของเหลวและแกส๊ งานประกอบโครงสร้างทตี่ ้องการความเทยี่ งตรงและ ต้องการความแข็งแรงของแนวเชอ่ื ม นอกจากนกี้ รรมวิธีการเช่อื มอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ ยังเชื่อมได้ ทั้งโลหะประเภทเหล็ก (Ferrous Metal) และโลหะทไี่ มใ่ ชเ่ หล็ก (Non Ferrous Metal) ซง่ึ ถอื ว่าเปน็ โลหะพิเศษทีใ่ ชก้ ระบวนการเช่อื มอนื่ ๆ ไดย้ าก ความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ในการเช่อื มอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม ถือเปน็ ปจั จัยท่ีสาคัญย่ิงท่ี นาไปสู่ความสาเรจ็ ในการประกอบอาชพี สาขาช่างเชื่อม เพราะหากผปู้ ฏบิ ตั ิงานมสี ขุ ภาพอนามัยทด่ี ี ปราศจากความเจบ็ ปว่ ยจากการทางานแล้ว จะมีผลดตี ่อตนเอง สงั คม และประเทศชาติ การเช่ือมโลหะมีอนั ตรายต่อช่างเชอ่ื มอยหู่ ลายสาเหตุ ซ่งึ ถา้ มกี ารป้องกนั อนั ตรายอย่างถูกวธิ ี จะทาให้ชา่ งเชื่อมสามารถทางานไดอ้ ย่างปลอดภัย และทาให้งานเช่ือมดาเนินไปอยา่ งเรยี บรอ้ ย ประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย ในหนว่ ยที่ 1 นี้ มใี บงานและข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน จานวน 1 ใบงาน คือ ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง ปฏิบตั ิงานสวมชุดปอ้ งกันอันตรายในการเชอ่ื มอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม จดุ ประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความร้พู ้นื ฐานการเช่ือมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ 2. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ในการเชื่อมอาร์กทังสเตน แก๊สคลมุ 3. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ การสวมชดุ ป้องกันอนั ตรายในการเชือ่ มอาร์กทงั สเตนแก๊ส คลุม 4. เพอ่ื ให้มีเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลมุ

หน่วยที่ 1 : ความร้พู ืน้ ฐานการเช่ือมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ 2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ดา้ นทฤษฎี เมื่อนักเรยี นเรยี นเร่อื งนแี้ ล้วสามารถ 1. บอกความเป็นมาของการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแก๊สคลมุ ได้ 2. อธิบายหลกั การเชื่อมอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ ไดถ้ ูกต้อง 3. บอกขอ้ ดีของการเชอ่ื มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลมุ ได้ 4. บอกความหมายของความปลอดภยั ในการทางานได้ 5. บอกความหมายของอาชีวอนามยั ในการทางานได้ 6. บอกประโยชน์ของความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานได้ 7. บอกอนั ตรายจากรงั สที ีเ่ กดิ จากการเชือ่ มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ ได้ 8. บอกอันตรายจากควนั และไอระเหยทเี่ กิดจากการเชอ่ื มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ ได้ 9. อธิบายวธิ กี ารปอ้ งกันอันตรายจากไฟฟา้ ลดั วงจรได้ถูกตอ้ ง 10. อธบิ ายอันตรายทเี่ กิดจากเสียงดังเกนิ มาตรฐานได้ถูกต้อง ดา้ นปฏิบตั ิ เมื่อนักเรยี นเรยี นเรื่องนแี้ ล้วสามารถ 1. ปฏิบตั งิ านสวมชุดป้องกันอันตรายในการเชื่อมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุมได้ ด้านเจตคติ เม่อื นักเรียนเรียนเรือ่ งนี้แล้วสามารถ มีเจตคติที่ดีตอ่ การเชื่อมอารก์ ทังสเตน แก๊สคลมุ โดยมีพฤติกรรมทตี่ ้องการ ดังนี้ 1. มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ท่ีดกี ับเพื่อนในกลมุ่ 2. มคี วามรับผดิ ชอบในการทางานทีไ่ ด้รบั มอบหมายจนสาเรจ็ ทกุ ครงั้ 3. มีวนิ ัยในตนเอง เขา้ เรียนตรงเวลา 4. มีความซ่ือสัตย์ ทางานด้วยตวั เอง 5. สวมชดุ ป้องกนั อนั ตรายอย่างถกู ต้องทุกครง้ั ขณะปฏบิ ตั ิงาน กจิ กรรมการเรียนการสอนภาคทฤษฎี (จานวน 60 นาที) 1. ขั้นเตรยี มการสอน (15 นาที) 1.1 เมือ่ นักเรียนเข้าหอ้ งเรยี นแลว้ ครสู นทนากบั นักเรียน เช็คช่ือ และแจง้ การ ปฏิบตั ิตนขณะเรียนวิชาน้ี บอกเกณฑ์การใหค้ ะแนนในระหวา่ งการเรียน และเจตคตใิ ห้นักเรยี นทราบ 1.2 ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pretest) หน่วยที่ 1 เพือ่ วัดความรู้ พืน้ ฐานของนักเรียน เร่ือง ความรพู้ ื้นฐานการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลุม 2. ขั้นการสอน (40 นาที) ในกจิ กรรมการเรยี นการสอนภาคทฤษฎนี ้นั ใชข้ ้ันตอนการสอนแบบ MIAP ซง่ึ ประกอบดว้ ยขนั้ ตอนดังนี้ 2.1 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (5 นาที) โดยครตู ง้ั คาถามถามนักเรียนเกย่ี วกับ ความรู้พืน้ ฐาน การเชอ่ื มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ เชน่ นักเรียนเคยเช่อื มอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมหรือไม่ ด้วยวธิ กี ารถาม ตอบหลังจากท่ีครแู ละนักเรยี นได้ถามตอบเรยี บร้อยแล้ว ครูอธบิ ายจุดประสงค์ของเรียนการสอนของ หน่วยท่ี 1 เร่ือง ความรู้พนื้ ฐานการเช่อื มอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม

หนว่ ยท่ี 1 : ความรูพ้ ้ืนฐานการเชอ่ื มอารก์ ทงั สเตนแก๊สคลุม 3 2.2 ขน้ั ศึกษาข้อมลู (20 นาที) ครสู อนแบบบรรยายและแบบถามตอบ โดยใช้สือ่ Power Point ในขณะทาการสอนครูจะสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี น โดยเน้นให้นักเรยี นมสี ่วนรว่ มใน การเรียนการสอนตามเน้ือหาสาระเรอื่ ง ความรพู้ ื้นฐานการเชื่อมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ ความปลอดภัย และอาชีวอนามยั ในการเชอื่ มอารก์ ทังสเตนแก๊สคลมุ โดยเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซกั ถามในขอ้ ท่สี งสัย หลังจากได้ศกึ ษาข้อมูลแลว้ ครูมอบหมายให้นักเรียนทาแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 1 เรอื่ ง ความร้พู น้ื ฐานการ เชอ่ื มอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ หลังจากน้นั จงึ ร่วมกันเฉลยแบบฝกึ หัด 2.3 ขน้ั พยายาม (10 นาที) ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 1 เรอ่ื ง ความรพู้ ้นื ฐานการเช่ือมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม เม่อื นักเรยี นทาแบบทดสอบเสรจ็ แลว้ ให้นกั เรียนเปลีย่ น กันตรวจคาตอบ 2.4 ขนั้ สาเรจ็ (5 นาท)ี ครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 1 เร่อื ง ความรู้พน้ื ฐานการเช่อื มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ โดยครูแจ้งผลคะแนนในการทาแบบทดสอบหลงั เรียนให้นกั เรียนทราบ 3. ข้นั สรุป (5 นาที) ครสู รุปผลการเรยี นภาคทฤษฎีใหน้ ักเรยี นทราบ และแนะนานักเรียนให้ไปเรียน ภาคปฏบิ ัติ ท่โี รงฝึกงานเชอ่ื มตอ่ ไป กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาคปฏบิ ตั ิ (จานวน 180 นาท)ี ในกจิ กรรมการเรียนการสอนภาคปฏบิ ตั ินัน้ ใชข้ ้ันตอนการสอนแบบทักษะซ่ึงจะประกอบ ด้วยข้นั ตอน ดังน้ี 1. ขั้นเตรียมการสอน (10 นาท)ี ครใู ห้นกั เรียนเข้าแถวหนา้ กระดานเพือ่ เช็คจานวนผเู้ รียน ตรวจความเรยี บร้อย ของการแต่งกายในชุดฝกึ งาน และสนทนากับนักเรยี น เรอื่ งความสาคญั ของการแตง่ กายในการฝึก ปฏิบัตงิ านเชือ่ ม เพื่อให้เกิดความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ านเช่อื ม 2. ขนั้ นาเข้าสูบ่ ทเรยี น (10 นาท)ี 2.1 ครูนาเขา้ ส่บู ทเรียน โดยครูหยบิ หนา้ กากเช่ือมมาใหน้ ักเรยี นดู แล้วถามชื่อของ หนา้ กากเชอื่ มวา่ เป็นหน้ากากชนดิ อะไร ใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งไรบา้ ง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถาม 2.2 ครอู ธบิ ายจดุ ประสงค์ของการฝึกตามใบงานที่ 1.1 ปฏบิ ัตงิ านสวมชุดปอ้ งกนั อันตรายในการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุมได้ 3. ข้ันสาธิต (20 นาท)ี ครสู าธิตและแนะนาในการปฏบิ ัติงาน ข้อควรระวงั ในการสวมชดุ ปอ้ งกันอนั ตราย ส่วนบคุ คลให้ถกู ต้องโดยมลี าดบั ดงั นี้ 3.1 สวมเสอ้ื เอีย๊ มหนัง 3.2 สวมปลอกแขนหนงั 3.3 สวมถุงมือหนัง

หน่วยท่ี 1 : ความร้พู ืน้ ฐานการเชอื่ มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลุม 4 3.4 สวมหนา้ กากสวมหัวแบบธรรมดา และแบบตัดแสงอัตโนมัติ 3.5 สวมหนา้ กากปดิ จมูก 3.6 ตรวจสอบการสวมชุดป้องกนั อันตรายในการเชื่อมใหเ้ รยี บร้อย 4. ขั้นการปฏบิ ตั งิ าน (70 นาที) 4.1 ครูแจกใบงานและขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ านหน่วยที่ 1 ใบงานท่ี 1.1 ปฏิบัติงาน สวมชุดป้องกนั อันตรายในการเชือ่ มอาร์กทังสเตนแก๊สคลมุ ให้นักเรยี น 4.2 นกั เรียนเบิกชุดป้องกันอนั ตรายในการเชือ่ มทีห่ ้องเคร่ืองมือ 4.3 นักเรียนฝึกการสวมชดุ ปอ้ งกันอันตรายในการเชอื่ ม 4.4 ครใู หค้ าปรกึ ษานกั เรียนขณะปฏบิ ตั ิงาน และสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียน 5. ข้ันตรวจผลการปฏิบตั ิงาน (60 นาที) 5.1 ครูให้นักเรียนสอบปฏิบัติการสวมชุดป้องกันอันตรายในการเชื่อมที่ละคน โดย ให้อธิบายประโยชนข์ องชดุ ปอ้ งกนั อนั ตรายในการเช่ือมแตล่ ะชนิด พร้อมกบั สวมชุดตามลาดบั ข้นั ตอน 5.2 ครตู รวจความถกู ต้อง และลาดับการสวมชดุ ตามจดุ ประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน 6. ขน้ั สรปุ และประเมินผล (10 นาที) 6.1 ครูแจ้งผลการปฏิบัตงิ าน ตามใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง ปฏบิ ตั ิงานสวมชดุ ป้องกัน อันตรายในการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลุม ตามแบบประเมนิ ผลเพ่อื ให้นักเรยี น ได้ทราบ 6.2 ครแู จง้ ผลการประเมนิ ด้านเจตคติ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์เพื่อใหน้ ักเรยี นทราบ เพื่อจะได้นาจดุ บกพร่องไปปรับปรุงในคร้งั ต่อไป สอื่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน เร่อื งความรพู้ ื้นฐานการเชือ่ มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม 2. คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค 3. โปรเจคเตอร์ 4. Power Point เรอื่ งความรู้พ้ืนฐานการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลุม 5. สอ่ื ของจริง เช่น ชุดปอ้ งกันอนั ตราย หน้ากากเชือ่ ม 6. ใบงานและขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน การวัดผลและประเมนิ ผล 1. จากแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. จากแบบฝกึ หัด 3. จากแบบทดสอบหลงั เรยี น 4. จากแบบประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน 5. จากแบบประเมนิ ผลด้านเจตคติ 6. จากแบบประเมนิ ผลด้านคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

หนว่ ยที่ 1 : ความรู้พื้นฐานการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลมุ 5 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 1. ด้านความรู้ 1.1 จากแบบทดสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน มเี กณฑก์ ารให้ คะแนนดังน้ี ทาได้ 9 - 10 ขอ้ หมายความว่า ผลการเรียนอยูใ่ นระดบั ดีมาก ทาได้ 7 - 8 ขอ้ หมายความวา่ ผลการเรยี นอยู่ในระดับ ดี ทาได้ 5 - 6 ขอ้ หมายความว่า ผลการเรยี นอยู่ในระดับ ปานกลาง ทาได้ 3 – 4 ข้อ หมายความว่า ผลการเรียนอยู่ในระดบั ต้องปรบั ปรุง ทาได้ 0 - 2 ข้อ หมายความว่า ผลการเรียนอย่ใู นระดบั ตา่ มาก 1.2 ผลการประเมินถ้านักเรียนทาแบบทดสอบได้ต่ากว่า 5 ข้อ ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ ครูผู้สอนต้องทาการสอนซ่อมเสริม หรือมอบหมายงานในเรื่องที่นักเรียนไม่เข้าใจ ให้ศึกษาค้นคว้า เพม่ิ เติม 2. ดา้ นทกั ษะ 2.1 จากแบบประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดังนี้ เกณฑ์ 10 คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ตั ิไดถ้ กู ต้องครบถ้วน เกณฑ์ 6 คะแนน หมายถงึ ปฏิบัติไดไ้ มเ่ รยี บรอ้ ย เกณฑ์ 1 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติงานเสยี หาย เกณฑ์ 0 คะแนน หมายถงึ ไม่ปฏบิ ัติ 2.2 จากแบบประเมนิ ผลดา้ นเจตคติ เกณฑ์ 3 คะแนน หมายความวา่ มีพฤตกิ รรมในระดบั ดีมาก เกณฑ์ 2 คะแนน หมายความวา่ มีพฤติกรรมในระดับ ดี เกณฑ์ 1 คะแนน หมายความว่า มพี ฤตกิ รรมในระดับ พอใช้ เกณฑ์ 0 คะแนน หมายความว่า มพี ฤติกรรมในระดับ ต้องปรบั ปรุง 3. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ใช้เกณฑ์การประเมนิ ดังนี้ เกณฑ์ 9 - 10 คะแนน หมายถึง มพี ฤติกรรม ดมี าก เกณฑ์ 7 - 8 คะแนน หมายถึง มพี ฤตกิ รรม ดี เกณฑ์ 5 - 6 คะแนน หมายถึง มีพฤตกิ รรม พอใช้ เกณฑ์ 0 - 4 คะแนน หมายถงึ มีพฤตกิ รรม ต้องปรบั ปรงุ

หนว่ ยที่ 1 : ความรู้พนื้ ฐานการเชือ่ มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม 6 1หนว่ ยที่ : ความร้พู นื้ ฐานการเชอ่ื มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลุม 1. ความรู้พื้นฐานการเชอื่ มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ กอ่ นที่จะปฏบิ ตั ิการเช่ือมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมนนั้ จาเป็นต้องศึกษาเกย่ี วกับ ความเปน็ มา ของการเชอ่ื ม หลกั การเชอ่ื ม ขอ้ ดีของการเชื่อม ขอ้ จากัดของการเชื่อม เสียก่อน เพราะความร้พู ืน้ ฐาน เหล่านี้ จะทาใหผ้ ู้เรียนเห็นความสาคัญของการเช่ือมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม เนื้อหาดงั กลา่ วจะได้ อธบิ ายตามหวั ข้อ ดงั น้ี 1.1 ความเปน็ มาของการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแก๊สคลุม การเชื่อมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม ใช้ตวั ย่อเปน็ ภาษาอังกฤษวา่ GTAW ยอ่ มาจาก Gas Tungsten Arc Welding หรือ TIG ยอ่ มาจาก Tungsten Inert Gas ซง่ึ เปน็ กรรมวธิ กี ารเชื่อมโลหะท่ี เกิดข้ึนตัง้ แตป่ ี ค.ศ. 1935 และนามาใช้ครั้งแรกในอุตสาหกรรมการบิน ในราว ค.ศ. 1940 รวมไปถงึ ใน สมยั สงครามโลกครั้งท่ี 2 (ค.ศ.1945) โดยใชเ้ ชื่อมโลหะจาพวก แมกนีเซียม อะลมู เิ นยี ม และสแตนเลส ปัจจบุ ันการเช่ือมแบบน้ีใช้กันอยา่ งกวา้ งขวางในงานอตุ สาหกรรมทว่ั ไป เชน่ ใชเ้ ช่ือมแม่พิมพ์ ภาชนะบรรจุของเหลว และแกส๊ งานประกอบโครงสรา้ งท่ีตอ้ งการความเทย่ี งตรง และต้องการความ แขง็ แรงของแนวเชือ่ ม นอกจากนก้ี รรมวิธกี ารเชื่อมอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม ยังเชื่อมไดท้ งั้ โลหะ ประเภทเหลก็ (Ferrous metal) และโลหะที่ไมใ่ ชเ่ หลก็ (Non Ferrous Metal) ซึ่งถือว่าเปน็ โลหะ พเิ ศษทีใ่ ชก้ ระบวนการเชอ่ื มอื่น ๆ ได้ยาก การเช่ือมอารก์ ทังสเตนแก๊สคลมุ ดังรูปท่ี 1.1 รปู ที่ 1.1 ลกั ษณะการเช่อื มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลมุ ทีม่ า : นพดล กามะหย,่ี เอกสารประกอบการสอน, (2557)

หน่วยท่ี 1 : ความรู้พ้ืนฐานการเชอ่ื มอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม 7 1.2 หลกั การเช่ือมอารก์ ทังสเตนแก๊สคลมุ การเชอื่ มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม เป็นกระบวนการให้ความร้อนโลหะดว้ ยการอาร์ก ระหวา่ ง แทง่ ทังสเตนอิเล็กโทรดกบั ชิ้นงานเช่อื ม จนเกดิ บอ่ หลอม ซ่ึงบริเวณท่เี กิดการอาร์ก จะมีแก๊สเฉ่อื ย (Inert gas) เช่น แกส๊ อาร์กอน และฮเี ลียม ปกคลุมเพอ่ื ป้องกันออกซเิ จน ไนโตรเจน และความชื้นใน อากาศเข้ามารวมกับโลหะท่ีกาลงั หลอม ซึ่งเรยี กวา่ เกดิ ปฏิกริ ิยาอ๊อกซเิ ดชั่น จนกระท่ังความร้อนจาก การอาร์ก หลอมโลหะชิ้นงานในบริเวณดงั กลา่ ว จนเกิดเปน็ บอ่ หลอม ดังนัน้ เมอื่ บ่อหลอมเกดิ ขน้ึ ในบรเิ วณรอยตอ่ ใด ๆ กจ็ ะทาใหช้ ิ้นงานน้นั หลอมตดิ กนั แต่เน่อื งจากแท่งทงั สเตนอิเล็กโทรดเป็นวสั ดทุ ไี่ ม่ละลาย หรอื ไมส่ ิ้นเปลือง (Non Consumable Electrode) จึงจาเปน็ ต้องเติมโลหะลวดเติม (Filler Rod) ลงไปในบ่อหลอมน้นั ดว้ ย แตก่ รณที ีท่ าการ เชื่อมบรเิ วณขอบงาน และโลหะบาง ๆ อาจไม่ต้องเติมลวดเติมก็ได้ ดงั รูปท่ี 1.2 รูปท่ี 1.2 องคป์ ระกอบของการเชือ่ มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม ท่ีมา : นพดล กามะหย,ี่ เอกสารประกอบการสอน, (2557) 1.3 ข้อดีของการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม มีดังนี้ 1. การเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม ให้ความรอ้ นสูงทบี่ ริเวณแคบ จงึ ไมท่ าใหค้ วาม ร้อนในงานเชื่อมแผ่กระจายกว้างเกินไป ช้ินงานเช่อื มจงึ มโี อกาสบิดตวั น้อย 2. ไม่ตอ้ งใชฟ้ ลกั ซ์ ดังนัน้ แนวเชอ่ื มทไ่ี ดจ้ งึ ไม่จาเปน็ ที่จะต้องเคาะสแลก ซ่งึ เปน็ การ ตดั ปัญหาในเรื่องสแลกฝงั ในแนวเช่อื ม เพราะสแลกที่ฝังอยใู่ นแนวเช่อื มจะทาใหแ้ นวเชื่อมไมแ่ ขง็ แรง และผกุ ร่อน ท้ังน้โี ดยการใช้แกส๊ เฉื่อยทาหน้าท่แี ทนฟลักซ์สาหรับปกคลมุ แนวเชอื่ ม ไมใ่ ห้ออกซเิ จน และไนโตรเจนจากบรรยากาศมารวมตวั กบั แนวเชื่อม หรือโลหะงานขณะหลอมละลาย 3. สว่ นผสมทางเคมีของแนวเชือ่ มทีเ่ กิดขนึ้ จะมีสว่ นผสมเหมอื นกบั ลวดเติม จะไมม่ ี การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เนอ่ื งจากแก๊สเฉ่ือยที่ปกคลมุ แนวเชอื่ มจะไมร่ วมตวั หรอื ทาปฏิกิรยิ ากบั โลหะ ดงั นนั้ แนวเชือ่ มที่ไดจ้ ากกรรมวิธเี ช่ือมอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ จึงมีความแขง็ แรง ทนตอ่ การกดั กร่อน และเหนียวกว่าแนวเชอื่ มทไ่ี ด้จากกรรมวธิ อี ื่น ๆ

หน่วยท่ี 1 : ความรูพ้ ้ืนฐานการเชอ่ื มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ 8 4. สามารถเชอ่ื มไดท้ กุ ตาแหน่งท่าเช่ือม 5. สามารถมองเหน็ แนวเชื่อม และบ่อหลอมไดอ้ ย่างชัดเจน เนือ่ งจากการอาร์กท่ี เกิดข้ึนสะอาด ไม่มีควัน และสแลกปกคลมุ 6. ไมม่ เี ม็ดโลหะ (Spatter) เกดิ ข้ึนทบี่ ริเวณแนวเช่อื ม เนือ่ งจากการเช่ือมอาร์ก ทงั สเตนแกส๊ คลุม ไม่มีการส่งผ่านนา้ โลหะจากลวดเชือ่ มข้ามบรเิ วณอาร์กสูบ่ อ่ หลอม 7. สามารถเชื่อมตอ่ โลหะที่มีความหนาแตกต่างกันได้ 8. สามารถควบคุมแนวเชอ่ื มไดง้ ่าย 1.4 ขอ้ จากัดของการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม มีดังน้ี 1. ค่าใชจ้ ่ายในการเชือ่ มค่อนข้างสูง เม่ือเปรยี บเทยี บกบั กระบวนการเชือ่ มอืน่ ๆ 2. ตอ้ งใชเ้ วลาในการเตรียมงาน และทาความสะอาดผวิ งานเชอ่ื มมากกวา่ กระบวน การเช่ือมอื่น ๆ 3. อุปกรณป์ ระกอบของหวั เชอื่ มมีอปุ กรณห์ ลายชนิ้ 4. เช่ือมในบริเวณท่มี ีลมพัดแรง หรือนอกสถานที่จาเปน็ ตอ้ งมีฉากกนั ลม 2. ความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ในการเชื่อมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ ความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ถอื เป็นปัจจยั สาคญั ย่งิ ทน่ี าไปสู่ความสาเรจ็ ในการประกอบ อาชีพในสาขาชา่ งเชอ่ื ม เพราะหากผปู้ ฏบิ ตั งิ านเชื่อมมีสุขภาพดี ไมเ่ กิดการเจบ็ ปว่ ยจากการทางาน มคี วามปลอดภัยในการทางานแล้ว จะสง่ ผลดตี อ่ ตนเอง ครอบครวั และประเทศชาตติ ่อไป 2.1 ความหมายและองคป์ ระกอบของความปลอดภยั ในการทางาน 2.1.1 ความหมายของความปลอดภยั ในการทางาน ความปลอดภยั ในการทางาน (Occupational Safety and Health) หมายถงึ การปฏิบัติงานอยา่ งมคี วามสขุ หรือสภาพการทางานท่ีปลอดภัยจากเหตุอนั จะทาให้เกิดภยั อนั ตรายจากเทคโนโลยี เครือ่ งจกั ร เครื่องมือ มลพิษ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กิดการบาดเจ็บ สญู เสียชีวติ ทรัพย์สนิ เสียหายหรือการผลติ สินค้า บริการหยดุ ชะงัก รวมไปถึงการไม่เป็นโรคภยั ไข้เจ็บอนั เนอ่ื งมาจากการทางาน สง่ ผลให้สามารถทางานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ อุบัติเหตุ (Accident) หมายถงึ เหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์ทเี่ กดิ ขน้ึ โดยไม่ คาดคิดมาก่อน หรือโดยไมต่ ั้งใจ หรอื ขาดการควบคุม สง่ ผลให้เกดิ การบาดเจ็บ ทุพพลภาพ เสยี ชวี ิต หรอื สูญเสียตอ่ ทรัพย์สนิ สภาพแวดลอ้ มเกิดความเสยี หายตามมา องค์การแรงงานระหวา่ งประเทศและองคก์ ารอนามยั โลก ได้กาหนดจุดประสงค์ของ การดาเนนิ งานความปลอดภัยในการทางานไว้ดังนี้

หนว่ ยที่ 1 : ความรู้พ้ืนฐานการเช่ือมอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม 9 1. เพ่ือคุ้มครองผู้ใช้แรงงานไม่ใหท้ างานท่ีเสีย่ งต่อภยั อนั ตรายตา่ ง ๆ 2. เพ่อื ใหผ้ ู้ใชแ้ รงงานไดท้ างานในสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม 3. เพอื่ ส่งเสรมิ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตของผใู้ ชแ้ รงงาน ตลอดจนสร้าง เสริมคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ีให้เกิดข้ึนในหมู่ผู้ใหแ้ รงงานทุกสาขาอาชีพ 4. เพอ่ื ปอ้ งกันปญั หาสุขภาพอนามัยหรือความผิดปกติของผใู้ ชแ้ รงงานอัน เน่ืองมาจากการทางาน ดงั นนั้ จะเห็นได้ว่าการทางานทกุ สาขาอาชีพหากเราตระหนักเห็นความสาคัญของ สขุ ภาพอนามยั มีการสง่ เสริมควบคุมและปอ้ งกันโรคภัยไข้เจ็บและอบุ ตั ิเหตุอันเกิดจากการทางานหรอื ป้องกนั การสัมผัสกบั มลพิษจากส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ในการทางาน ยอ่ มส่งผลให้เกิดความปลอดภัยใน การทางานอันจะนาไปสู่การเพมิ่ ผลผลติ 2.1.2 องค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน ความปลอดภยั ในการทางานจะเกดิ ขนึ้ ได้น้ันต้องประกอบดว้ ยปจั จัยที่สาคญั 2 องคป์ ระกอบ คือ 1. บคุ ลากรหรอื ผ้ปู ฏบิ ัติงานทุกระดบั ทุกหน้าทีภ่ ายในองคก์ รท้ังภาครฐั และ เอกชน ต้งั แต่พนกั งานจนถงึ ผู้บริหาร ตอ้ งตระหนักในความสาคัญและมีจิตสานึกท่ีดตี ่อความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน จากสถติ อิ บุ ัตเิ หตุท่เี กดิ จากการปฏบิ ัติงานพบว่าอุบัตเิ หตสุ ว่ นใหญเ่ กิดจากการ กระทาท่ีไม่ปลอดภยั ของบุคลากรทข่ี าดความรคู้ วามเข้าใจ ขาดประสบการณแ์ ละความชานาญหรอื มี อาการเหนด็ เหนื่อยมากเกนิ ไป ส่งผลให้มีความผดิ พลาดในการปฏบิ ตั ิงานหรือหัวหนา้ งานและ ผู้บรหิ ารปล่อยปละละเลยต่ออันตรายท่เี กดิ ข้นึ ดงั นน้ั ในการปฏบิ ัตงิ านจาเปน็ ต้องมกี ารพฒั นา บุคลากรทุกฝา่ ย โดยการให้การศกึ ษาอบรม ปลุกจติ สานึกที่ดดี า้ นความปลอดภัย โดยชใี้ หผ้ ู้ปฏบิ ัติงาน เห็นถึงความเสียหายต่อชวี ติ และทรัพยส์ ินท่ีอาจเกดิ ขึน้ จากความไมป่ ลอดภัย ตลอดจนฝึกฝนให้เกดิ ความชานาญในการปฏิบตั ิงานท่ีตนรับผิดชอบ นอกจากนี้หน่วยงานภาครัฐ ทีม่ สี ว่ นเก่ยี วข้องกบั ความ ปลอดภัยในการปฏบิ ตั ิงานต้องสอดส่องดูแลใหส้ ถานประกอบการปฏบิ ัตติ ามกฎหมายความปลอดภัย อยา่ งเคร่งครดั 2. สภาพแวดล้อมในการทางานท่ปี ลอดภยั จากการเกบ็ รวบรวมสถิตกิ าร เกดิ อุบตั ิเหตใุ นการทางานนนั้ พบวา่ มากกว่า 10 % มสี าเหตุมาจากสภาพแวดล้อมในการทางานท่ี เต็มไปด้วยอันตรายต่างๆ เช่น สถานทท่ี างานมีอากาศถ่ายเทไมส่ ะดวก การวางผังโรงงานไม่ดี การ กอ่ สรา้ งต่อเตมิ ไม่ได้มาตรฐานหรือไม่ปลอดภัย ไม่มเี คร่ืองหมายหรือสญั ลักษณ์เตือนภยั เคร่อื งจักร เกา่ หรือเสื่อมคุณภาพ เครื่องมือไร้ประสิทธภิ าพ วตั ถุมพี ิษหรอื สารเคมที ี่จัดเกบ็ ไม่ถูกวธิ ี เคร่อื งป้องกนั อันตรายสว่ นบุคคลเก่าหรือเส่ือมคุณภาพ รวมไปถงึ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เชน่ ฝนตกหนัก น้าทว่ ม ฟา้ ผา่ ฯลฯ 2.2 ความหมาย และองค์ประกอบของลกั ษณะงานอาชีวอนามยั 2.2.1 ความหมายของอาชีวอนามยั อาชีวอนามัย (Occupational Health) หมายถึง การจัดการดูแลสุขภาพ อนามยั ของผู้ประกอบอาชีพต่าง ๆ หรืออีกนัยหนึง่ คือ การป้องกนั และส่งเสรมิ สุขภาพอนามัยท่ดี ีให้ เกดิ ขึ้นในตวั บุคคลทปี่ ระกอบอาชพี ทุกสาขาอาชพี

หน่วยท่ี 1 : ความรู้พนื้ ฐานการเชอ่ื มอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลมุ 10 2.2.2 องค์ประกอบของลกั ษณะงานอาชีวอนามัย ทางองค์การอนามัยโลก (WHO) รว่ มกบั องคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO) ไดส้ รปุ องค์ประกอบของลักษณะงานอาชวี อนามัยไว้ 5 ลกั ษณะ ดังน้ี 1. การสง่ เสรมิ (Promotion) เพอ่ื ให้ผปู้ ระกอบอาชีพทุกสาขาอาชีพ มี สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีแข็งแรงสมบรู ณ์ ตลอดจนมชี วี ิตความเป็นอยู่ในสังคมทดี่ ี 2. การปอ้ งกนั (Prevention) เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหผ้ ปู้ ฏบิ ัตงิ านมสี ุขภาพ อนามยั ท่ีทรดุ โทรมหรือมคี วามผิดปกตทิ างด้านร่างกายและจติ ในอันเนื่องมาจากสภาพการทางาน 3. การปอ้ งกันคมุ้ ครอง (Protection) เพือ่ ไม่ใหผ้ ปู้ ฏบิ ัติงาน ทางานทเี่ สยี่ ง ตอ่ อันตรายต่าง ๆ เช่น เสียงดัง แกส๊ พิษ ความร้อน ไอระเหย หรือความเย็น ฯลฯ 4. การจดั หรือปรบั สภาพ (Placing) เพอื่ ใหผ้ ูป้ ฏบิ ัตงิ านได้ทางานใน สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับความสามารถของรา่ งกายและจิตใจ 5. การปรับงานให้เข้ากบั คน (Adaptation) เพื่อคัดเลือกหรือสรรหางาน ใหเ้ หมาะสมกับสภาพร่างกายและจติ ในของผู้ปฏิบตั ิงานมากที่สุด ปจั จบุ ันในประเทศไทยของเรานัน้ อาชวี อนามยั มีความสาคัญและเก่ยี วห้องกับการประกอบ อาชพี ทุกสาขาอาชีพ หลายหน่วยงานท้ังภาครฐั และเอกชน ตลอดจนนายจา้ งและลูกจ้าง ตา่ งเห็น ความสาคญั สขุ ภาพอนามยั ของผปู้ ระกอบอาชีพสาขาต่างๆ ได้รณรงคส์ ง่ เสรมิ ความปลอดภยั ในการ ทางาน การป้องกันโรคและความเจบ็ ป่วยอนั เนือ่ งมาจากการทางาน ป้องกันอบุ ัติเหตุ ในรูปแบต่าง ๆ เชน่ ออกกฎหมายควบคุม กาหนด แนวทางปฏบิ ตั ิทเี่ ปน็ มาตรฐาน ตลอดจนจดั สภาพแวดล้อมในการ ทางานทป่ี ลอดภัย เป็นตน้ 2.3 ประโยชน์ของอาชีวอนามัยและความปลอดภยั ในการทางาน 2.3.1 คณุ ภาพชวี ติ ของพนกั งานดขี น้ึ อบุ ัติเหตุจากการทางานส่วนใหญก่ ่อนให้ เกิดอาการบาดเจ็บ พิการหรือเสยี ชีวติ จนไม่สามารถประกอบอาชีพหารายได้เลี้ยงตนเองและ ครอบครวั ต่อไปได้ กลายเปน็ ภาระของสังคม ครอบครวั และญาติพน่ี ้องมีค่าใชจ้ า่ ยเพิ่มมากขึ้นใน ขณะทีร่ ายได้ลดลง ส่งผลให้คุณภาพชีวติ ตา่ ลง ในทศิ ทางตรงกันขา้ มหากปราศจากอบุ ตั ภิ ัยในการ ทางาน คณุ ภาพชีวติ ของพนักงานและครอบครัวย่อมดีขึ้น 2.3.2 ผลผลิตเพ่ิมข้นึ การทางานอยา่ งปลอดภัยในทุกสาขาอาชีพ ภายใต้ สภาพแวดลอ้ มที่ถูกสขุ ลักษณะและปราศจากอันตราย โดยมีอุปกรณป์ ้องกนั อันตรายที่มีคุณภาพและ เพยี งพอ จะสง่ ผลให้พนักงานมีขวัญและกาลงั ใจท่ีดีกวา่ สภาพการทางานท่เี สี่ยงภัยอันตราย กอ่ ใหเ้ กิด ความมั่นใจ ตง้ั ใจทางาน รบั ผิดชอบงานอย่างเตม็ ท่ี ผลผลติ โดยรวมจงึ เพ่มิ สูงขน้ึ ทงั้ เชงิ ปริมาณและ คณุ ภาพ 2.3.3 คา่ ใช้จ่ายลดลง ตน้ ทุนการผลติ ตา่ ภายใต้การทางานที่ปลอดภยั ไร้อบุ ัติเหตุ ยอ่ มสง่ ผลให้คา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ สินค้าลดลง เพราะสามารถประหยดั เงินคา่ รกั ษาพยาบาล ค่าเงนิ เขา้ กองทุน คา่ ซ่อมแซมเครื่องจักร คา่ เสียเวลา ซง่ึ คา่ ใชจ้ ่ายเหลา่ น้ถี อื เปน็ สว่ นหน่ึงของตน้ ทุนการผลิต สนิ คา้ 2.3.4 ผลกาไรเพมิ่ มากขนึ้ การทางานอย่างปลอดภัย ปราศจากภัยอันตรายต่าง ๆ จะส่งผลใหต้ น้ ทนุ การผลิตต่า และเพิ่มผลผลิตให้สงู ข้ึนซง่ึ จะเป็นตน้ เหตุใหผ้ ลกาไรเพ่ิมมากยิง่ ข้ึน

หน่วยที่ 1 : ความรพู้ น้ื ฐานการเช่อื มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ 11 2.3.5 ลดการสูญเสียทรัพยากรมนษุ ย์ของชาติ การทางานท่ปี ลอดภยั สง่ ผลให้ เกดิ อุบัติเหตุ บางครัง้ อาจกอ่ ให้เกดิ การสูญเสยี ชีวติ หรอื พิการทุพพลภาพ ถือเปน็ การสูญเสยี แรงงาน ที่สาคญั ของประเทศชาติ 2.3.6 ภาพลักษณข์ ององค์กรดีขน้ึ อบุ ตั เิ หตหุ รืออันตรายตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ จากการ ทางานมผี ลกระทบต่อช่อื เสยี ง ภาพพจนข์ ององค์กร ตอ่ วิชาชีพ ตอ่ สงั คมและประเทศชาติ ลดความ เชื่อมั่นในผลผลิตขององค์กร 2.3.7 เศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวมดีขึ้น ชอ่ื เสยี ง ภาพพจน์และความเช่ือมั่น จากนักลงทุนต่างชาติทีม่ ีผลต่อสังคมไทยในภาพรวมยอ่ มดีข้ึน สง่ ผลใหม้ กี ารลงทนุ การจ้างแรงงาน เพมิ่ มากขึน้ 2.4 ความปลอดภยั และอาชีวอนามัยในการปอ้ งกันอนั ตรายจากการเช่ือมอารก์ ทงั สเตน แก๊สคลมุ การเชอ่ื มโลหะมีอันตรายต่อช่างเช่อื มอยู่หลายสาเหตุ ซง่ึ ถ้ามกี ารป้องกันอนั ตราย อย่างถูกวิธแี ล้ว จะทาใหช้ า่ งเชอื่ มสามารถทางานได้อย่างปลอดภยั และทาให้งานเชอ่ื มดาเนินไปอย่าง เรียบรอ้ ย ประสบความสาเร็จตามเปา้ หมาย อันตรายท่เี กิดจากขึน้ ในการเชอ่ื มอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม และวธิ ีการป้องกัน สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ลกั ษณะ ดังนี้ 2.4.1 อนั ตรายจากรงั สีการเชือ่ มอารก์ ทงั สเตนแก๊สคลุม รังสที ีเ่ กดิ จากการเช่อื มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลมุ ได้แก่ รงั สีอัลตราไวโอเล็ต และรงั สี อนิ ฟาเรต ซ่ึงถา้ ไดร้ บั รงั สนี ี้มาก ๆ โดยไม่มีหนา้ กากเชื่อมป้องกนั สายตาแลว้ จะทาให้เป็นอนั ตรายต่อ ประสาทตา รูม่านตา ทาให้เสื่อมได้ และรวมไปถึงอันตรายจากสะเก็ดไฟในการเชือ่ มทก่ี ระเด็นได้ด้วย วธิ ีการปอ้ งกันรังสดี ังกลา่ ว สามารถทาการปอ้ งกนั ไดห้ ลายวธิ ี ดังตอ่ ไปน้ี 1. สวมหน้ากากสวมหัวแบบธรรมดา ปัจจบุ นั นี้มหี น้ากากป้องกันรังสีอยู่ หลายแบบ ขน้ึ อยู่กบั ความถนัดของช่างเช่ือมท่จี ะเลอื กใช้ หนา้ กากสวมหัวแบบธรรมดาก็เป็นหน้ากาก ทีใ่ ชไ้ ด้เอนกประสงค์ สามารถเปลยี่ นกระจกกรองแสงเป็นกระจกใสไดโ้ ดยการยกแผ่นกระจกกรอง แสงข้ึน ก็สามารถใช้หนา้ กากในการเจียระไนได้เปน็ อยา่ งดี กระจกกรองแสงจาต้องใช้ความเข้มของ การกรองแสงทีเ่ หมาะสมกับกระบวนการเชือ่ ม ความเข้มของกระจกกรองแสงที่ใช้ในการเชอื่ มอาร์ก ทงั สเตนแกส๊ คลุม นยิ มใช้เบอร์ 10 และเบอร์ 11 ซึ่งสามารถเปล่ียนกระจกกรองแสงได้ ตามความเข้ม แสงของการเชือ่ มแบบตา่ ง ๆ เพ่ือป้องกันสายตาจากรังสีในการเชื่อม และสามารถปอ้ งกันสะเก็ดไฟ ในการเจยี ระไนได้อีกด้วย ลักษณะของหน้ากากสวมหวั แบบธรรมดา และลักษณะการเปล่ยี นกระจก กรองแสง ดังรูปที่ 1.3 และรูปท่ี 1.4

หน่วยที่ 1 : ความรูพ้ ้นื ฐานการเชือ่ มอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลมุ 12 รูปท่ี 1.3 ลักษณะของหนา้ กากสวมหัวแบบธรรมดา ท่มี า : นพดล กามะหย,่ี เอกสารประกอบการสอน, (2557) รูปท่ี 1.4 ลกั ษณะการเปล่ยี นกระจกกรองแสง ท่ีมา : นพดล กามะหย,่ี เอกสารประกอบการสอน, (2557) 2. สวมหนา้ กากสวมหวั แบบตัดแสงอตั โนมตั ิ ปัจจบุ ันนยิ มใชห้ นา้ กาก ปอ้ งกันรังสีแบบตดั แสงอัตโนมตั ิ เพราะช่วยใหช้ า่ งเช่ือมทางานได้สะดวกมากข้ึน สามารถป้องกนั อันตรายจากรงั สีในการเชือ่ ม และป้องกันอันตรายจากสะเก็ดในการเจียระไนได้อีกดว้ ย ซึ่งราคาจะสูง กวา่ หนา้ กากสวมหวั แบบธรรมดา ลักษณะและสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของปุ่มปรบั ค่าหนา้ กากสวมหัว แบบตัดแสงอตั โนมตั ิ ดงั รูปที่ 1.5 และรปู ท่ี 1.6

หน่วยท่ี 1 : ความรู้พนื้ ฐานการเชอ่ื มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ 13 รูปท่ี 1.5 ลักษณะของหน้ากากสวมหัวแบบตดั แสงอัตโนมตั ิ ทม่ี า : นพดล กามะหย,ี่ เอกสารประกอบการสอน, (2557) รูปท่ี 1.6 ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของปมุ่ ปรับค่าหน้ากากสวมหวั แบบตัดแสงอัตโนมัติ ที่มา : นพดล กามะหย,่ี เอกสารประกอบการสอน, (2557) 3. จดั พื้นท่ีงานเชือ่ มเปน็ สดั สว่ น เพ่ือปอ้ งกนั รังสจี ากการเช่อื ม โดยเฉพาะ พน้ื ทง่ี านเช่ือม ทีท่ างานอยใู่ กล้ ๆ กนั หลายคน ควรจัดทาบูชเชอ่ื มใหเ้ ปน็ สัดสว่ น และมีท่อ ดูดควันจากการเช่ือมที่ไดม้ าตรฐาน ดังรปู ท่ี 1.7

หน่วยที่ 1 : ความรพู้ ื้นฐานการเช่อื มอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม 14 รูปที่ 1.7 การแบ่งพน้ื ที่ในการเชอื่ มเพือ่ ปอ้ งกันรังสจี ากการเชอื่ ม ทม่ี า : นพดล กามะหย,่ี เอกสารประกอบการสอน, (2557) 4. สวมชุดป้องกนั รงั สี ป้องกันความร้อน และป้องกนั สะเกด็ ไฟในการเชอ่ื ม เช่น เอี๊ยมหนงั ปลอกแขนหนัง ถุงมือหนงั รองเท้าหนัง ดงั รูปท่ี 1.8 (ก) ชุดป้องกนั อนั ตรายในการเชือ่ ม

หน่วยท่ี 1 : ความร้พู ้นื ฐานการเชอื่ มอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม 15 (ข) รองเทา้ หนังหวั เหล็ก รูปที่ 1.8 การสวมชุดปอ้ งกนั อนั ตรายจากรงั สที ่ีเกิดจากการเชอื่ ม และความร้อน ทีม่ า : นพดล กามะหย,่ี เอกสารประกอบการสอน, (2557) 2.4.2 อนั ตรายจากควัน และไอระเหยท่ีเกดิ จากการเชือ่ มโลหะ ในการเช่อื มโลหะจะมีควัน และไอระเหย ที่เกิดจากโลหะท่ีไดร้ ับความร้อนจะหลอม โลหะจนเกดิ ควนั และไอระเหย เม่อื ทาการเชือ่ มโลหะไอระเหยถูกควบแนน่ จะอยู่ในอนุภาคของแขง็ ที่ ละเอียดมาก โดยมขี นาดเลก็ กวา่ 1 ไมครอน (0.001 มลิ ลเิ มตร) ไอระเหยดังกลา่ วจะมีอยู่ 2 ชนดิ คอื 1. ไอระเหยทม่ี องเห็นไดด้ ้วยตาเปลา่ ซึ่งเราจะเหน็ เป็นลักษณะเปลวควนั และอยู่ในรปู ออกไซด์ของโลหะ 2. ไอระเหยที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ซึง่ เปน็ ส่วนประกอบของแกส๊ เรียกว่า ไอระเหยแกส๊ ซึ่งมาจากแก๊สท่ีใช้ในการเชื่อม ควนั และไอระเหยดังกล่าว สามารถก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อสุขภาพของผู้ปฏบิ ัตงิ าน เชอ่ื มได้ เช่น การทไี่ ดร้ บั ไอระเหยจากการเช่อื ม ของออกไซด์สงั กะสีมากเกนิ ไป จะมอี าการคล้ายกับ อาการเป็นไข้หวดั ใหญ่ โดยท่ัวไปจะเกดิ อาการข้ึนหลังจากไดร้ บั ไอระเหยติดต่อกันหลายชว่ั โมง อาการ ที่เกิดขึ้นคอื จะมีไข้ หนาวสนั่ แสบคอ กระหายน้า ปวดกล้ามเน้ือ อ่อนเพลีย และคลืน่ ไส้ อาเจียน อาการดังกลา่ วจะบรรเทาลงภายในหนงึ่ ถึงสามวัน เม่ือไม่ได้รบั ไอระเหยอีก การป้องกันอนั ตรายจากควัน และไอระเหย ทาได้โดย สวมหน้ากากปดิ จมูกที่ได้ มาตรฐาน ลกั ษณะ และการใชง้ านของหน้ากากปิดจมกู ดงั รูปที่ 1.9 และรปู ท่ี 1.10 รูปท่ี 1.9 ลกั ษณะของหนา้ กากปิดจมกู ป้องกันฝุ่นละออง ควนั และไอระเหย ทีม่ า : นพดล กามะหยี่, เอกสารประกอบการสอน, (2557)

หน่วยที่ 1 : ความรูพ้ น้ื ฐานการเชื่อมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุม 16 รปู ท่ี 1.10 การใส่หน้ากากหน้ากากปดิ จมกู ป้องกนั ฝุ่นละออง ควัน และไอระเหย ทีม่ า : นายนพดล กามะหย,่ี เอกสารประกอบการสอน, (2557) 2.4.3 อนั ตรายทเี่ กดิ จากไฟฟา้ ลดั วงจร ชา่ งเชอ่ื มน้ันหลกี เลย่ี งไม่ไดท้ ่ีจะต้องเข้าไปสมั ผัสกับชน้ิ ส่วนตา่ ง ๆ ทมี่ กี ระแสไฟฟ้า ไหลผ่าน เชน่ การสมั ผัสวงจรอิเลก็ โทรด สายเชอื่ ม สายดิน หรอื สายไฟทเ่ี ขา้ เคร่ืองเช่อื ม วงจรภายใน เคร่ืองเชื่อม รวมถึงการติดตั้งเครอ่ื งเชื่อม ถ้าอปุ กรณ์ดงั กลา่ วไม่ได้มาตรฐาน จึงมโี อกาสที่ผปู้ ฏิบัตงิ าน จะสัมผัสกับช้นิ สว่ นที่มีกระแสไฟไหลผา่ น ซง่ึ อาจทาใหเ้ กิดกระแสไฟลัดวงจร และอาจทาให้เกิด อันตรายต่อผปู้ ฏิบตั งิ านได้ ซึ่งอาจจะทาใหผ้ ้ปู ฏิบตั งิ านโดนไฟฟ้าดูดได้รบั บาดเจ็บ หรือเป็นอนั ตราย ถงึ ชวี ิตได้ ข้อควรระวงั ในการปฏบิ ัตงิ านมี ดงั น้ี 1. ควรสวมใส่เสอื้ ผ้าทีแ่ ห้ง ไมเ่ ปียกชื้น หรอื สวมใส่ถุงมือหรอื ชุดท่ีเปน็ ฉนวนไฟฟ้า 2. เกบ็ ชิน้ งานสว่ นท่จี ะติดไฟได้ง่าย เช่น เส้อื ผ้า เบาะนวม หรอื ใชแ้ ผน่ ฉนวนปิด คลุม ใหห้ มดเพือ่ ความปลอดภยั 3. ห้ามสมั ผัสอปุ กรณอ์ เิ ลก็ โทรด ในขณะท่ีส่วนหนึ่งสว่ นใดของรา่ งกาย ของผู้ทา การเช่อื มสัมผัสอยู่กบั ช้นิ งาน สายดิน หรือลวดอเิ ลก็ โทรดอน่ื จากเครือ่ งเชอื่ ม 4. จับยดึ สายเคเบิลเชอื่ มโดยใช้แคลม้ จับยดึ กับโลหะช้นิ งาน กบั โต๊ะงานเชื่อม หรือ บรเิ วณทท่ี าการเชื่อมให้แนน่ มากทส่ี ุด 5. ชดุ แคลม้ สายเคเบิลเมื่อไม่ไดใ้ ช้งาน ให้ใชฉ้ นวนหมุ้ เพอื่ ป้องกันสมั ผัสกับโลหะอื่น 6. ไม่ไปสัมผสั ชนิ้ ส่วนทม่ี กี ระแสไฟไหลผา่ น 7. ไมค่ วรวางหัวเชือ่ มที่มีไว้บนโลหะชน้ิ งานที่ต่อสายดนิ ไว้ เพ่ือปอ้ งกันเคร่ืองเชื่อม ลดั วงจร 8. ตรวจสอบสายไฟที่ตอ่ เขา้ เครื่องทุกครง้ั ก่อนทาการเช่ือม หากพบวา่ สายไฟ ชารุด หรอื มสี ภาพเปลือยให้รีบดาเนนิ การเปลยี่ นทันที 9. ไมค่ วรนาสายเช่อื มไปพันรอบตวั ผเู้ ชื่อม 10. บารงุ รักษาอุปกรณใ์ นงานเช่ือมใหด้ ี หรือทาการซ่อมแซมเปลยี่ นชิ้นสว่ นท่ชี ารดุ ทันทีจากช่างผชู้ านาญการ 11. เมอ่ื เลกิ ใช้เครอ่ื งเช่ือมให้ทาการปดิ เคร่ืองเช่ือมทนั ที

หน่วยท่ี 1 : ความรูพ้ นื้ ฐานการเชือ่ มอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม 17 2.4.4 อนั ตรายทเี่ กิดจากเสียงดงั เกนิ มาตรฐาน หขู องมนษุ ย์นัน้ สามารถรับฟังเสียงได้ตง้ั แต่ความถ่ี 20 เฮริ ตซ์ ถงึ 20,000 เฮิรตซ์ แต่ช่วงความถ่ีของเสยี งท่ีมคี วามสาคญั ต่อชีวิตประจาวันมากคือ ชว่ งความถข่ี องเสยี งพดู หรอื ความถี่ 500-2,000 เฮริ ตซ์ นอกจากน้ีหูยงั มคี วามสามารถ และอดทนในการรับฟงั เสียงในขอบเขตจากดั ถ้า เสยี งเบาเกินไปก็จะไม่ได้ยิน องค์การอนามยั โลกกาหนดวา่ เสยี งทเ่ี ปน็ อันตราย หมายถงึ เสยี งท่ดี ัง เกิน 85 เดซิเบล ท่ีทกุ ความถี่ โดยเฉพาะผู้ทางานในอตุ สาหกรรมที่มเี สยี งดัง เชน่ โรงงานทอผา้ โรงงานป้ัมโลหะ หรอื ผทู้ ่อี าศัยอย่ใู นย่านตลาด หรือการจราจรคับคงั่ จะทาให้อวัยวะรบั เสียง โดยเฉพาะเซลล์ขน และประสาทรับเสียงเส่อื มสภาพเรว็ ข้ึน ทาให้ความสามารถในการได้ยินลดลง หรือเรียกว่า \"หตู งึ \" และหากยังละเลยให้คงอยู่ในสภาพแวดล้อมท่มี เี สยี งดงั ต่อไปกจ็ ะทาให้ \"หูหนวก\" ไม่สามารถไดย้ ินและตดิ ต่อพูดคยุ เชน่ ปกตไิ ด้ ซง่ึ มีผลให้ดารงชีวติ อยู่ได้ด้วยความยากลาบาก และต้อง อับอายทีก่ ลายเป็นคนพิการ สาหรับคนหตู งึ หหู นวก ทเี่ กิดจากเสยี งดงั ไม่สามารถรักษาให้หายได้ ไม่ว่าโดยวธิ กี ารใดก็ตาม การทางานในท่ีเสยี งดังนอกจากจะทาให้หูตึง หูหนวก แลว้ ยงั มีผลต่อระบบ การทางานอน่ื ๆ ของร่างกายด้วย เชน่ เกดิ แผลในกระเพาะอาหาร เน่ืองจากเสยี งดงั ทาใหก้ ระเพาะ หลง่ั นา้ ย่อยมากขน้ึ ความดันโลหิตสงู ตอ่ มไทรอยด์เป็นพิษ ขาดสมาธใิ นการทางาน จนเป็นสาเหตใุ ห้ เกดิ อบุ ัติเหตุได้ ทาให้เกดิ ความเครยี ด ประสิทธิภาพในการทางานลดลง และเกดิ ความผิดพลาด มากข้ึน เสียงดังในลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั ตารางท่ี 1.1 ตารางที่ 1.1 ระดับความดงั ของเสียงประเภทต่าง ๆ ประเภทของเสียง ความดงั ของเสียง (เดซิเบล) เสียงลมหายใจ 10 เสียงน้าหยดจากก๊อก 20 เสียงกระซิบ 30 เสียงจากคอมเพรสเซอร์ของต้เู ย็น 40 เสียงสนทนาธรรมดา 60 เสยี งเครื่องตัดหญา้ 70 เสยี งรถยนต์ 80 เสยี งรถบรรทุก 90 เสียงขดุ เจาะถนน 100 เสียงในโรงงานอุตสาหกรรม เสียงคอ้ นเคาะ หรอื เคร่ืองปั้มโลหะ 60-120 เสียงเครอ่ื งบินข้ึน 120 ที่มา : www.tei.or.th, (2557) 140

หน่วยที่ 1 : ความรู้พ้นื ฐานการเชือ่ มอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลมุ 18 การกาหนดมาตรฐานระดบั เสียงโดยท่ัวไป ตามประกาศคณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ ม แหง่ ชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2540) ขอ้ 2 ให้กาหนดมาตรฐานระดบั เสียงท่ัวไป ไว้ดังต่อไปนี้ คา่ ระดับเสยี งสงู สดุ ไมเ่ กนิ 115 เดซเิ บล และค่าระดบั เสียงเฉลย่ี 24 ช่ัวโมง ไม่เกิน 70 เดซเิ บล ซ่งึ สามารถมาเปรียบเทียบเป็นตารางมาตรฐานความปลอดภยั ในการทางาน ของ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่อื ง มาตรการคุ้มครองความปลอดภยั ในการประกอบกิจการ โรงงานเกีย่ วกบั สภาวะแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2546 ออกโดยอาศัยอานาจตามความในข้อ 18 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ข้อ 10 ตามตารางที่ 1.2 ตารางท่ี 1.2 มาตรฐานระดบั เสยี งทย่ี อมรับใหล้ ูกจ้างไดร้ บั ตลอดเวลาการทางานในแตล่ ะวัน เวลาการทางานท่ีได้รับเสยี ง ระดับเสยี งเฉล่ียตลอดเวลาการทางาน (TWA) ไม่เกนิ (ช่วั โมง) (เดซิเบล) 12 87 8 90 7 91 6 92 5 93 4 95 3 97 2 100 1½ 102 1 105 ½ 110 ¼ 115 ทีม่ า : www.pcd.go.th, (2557) ในการเตรยี มชน้ิ งานเชื่อม จาเป็นอยา่ งยงิ่ ทต่ี ้องใช้เครื่องเจียระไนมือ เพื่อขัดผวิ ชิน้ งาน และเตรียมจุดต่อของงานเช่อื ม โดยเฉพาะงานเช่อื มอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม แลว้ จาเปน็ ต้องทาความ สะอาดช้นิ งานเป็นอย่างย่ิง เสยี งท่เี กดิ จากการเจยี ระไน มีความดงั ของเสียง ประมาณ 100 เดซิเบล ซึง่ เปน็ คา่ ทเ่ี กนิ มาตรฐาน ในการรบั ฟงั ทดี่ ีของมนุษย์ ดงั น้นั จึงควรมีอุปกรณ์ป้องกนั อันตรายทเ่ี กิดจากเสยี งดังเกนิ มาตรฐาน โดยอุปกรณ์ ป้องกันเสียงดัง ที่นิยมใชม้ อี ยู่ 2 แบบ ดงั นี้ 1. แบบปลกั๊ อุดหู (Ear Plugs) เป็นอปุ กรณ์ท่ีสามารถลดเสียงดัง ทจี่ ะทา อันตรายกับหูได้ถึง 15 - 20 เดซเิ บล จงึ สามารถใช้ป้องกันเสียงดังได้เพยี งพอ ในระดับความดงั ของ เสียงไม่เกนิ 100 เดซิเบล ดังรปู ท่ี 1.11

หน่วยที่ 1 : ความรู้พน้ื ฐานการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแก๊สคลุม 19 รปู ท่ี 1.11 ลักษณะอุปกรณ์ป้องกนั เสียงแบบปลก๊ั อุดหู (Ear Plugs) ที่มา : นายนพดล กามะหย,ี่ เอกสารประกอบการสอน, (2557) 2. แบบครอบหู (Ear Muff) เปน็ อปุ กรณท์ ่ีจะสามารถลดเสียงดงั ท่จี ะทา อนั ตรายกบั หูได้ถึง 30 - 35 เดซเิ บล จงึ สามารถใช้ป้องกันเสยี งดงั ไดเ้ พียงพอ ในระดบั ความดังของ เสยี งไมเ่ กนิ 115 เดซิเบล ดงั รูปท่ี 1.12 รปู ท่ี 1.12 ลักษณะอุปกรณ์ปอ้ งกนั เสยี งแบบครอบหู (Ear Muff) ทีม่ า : นายนพดล กามะหย,่ี เอกสารประกอบการสอน, (2557)

หน่วยที่ 1 : ความรพู้ ืน้ ฐานการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม 20 สรุป การเชอ่ื มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลมุ เปน็ การเชอ่ื มที่มีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมเปน็ อย่างย่งิ ซ่งึ จะเห็นไดว้ ่ามนษุ ย์สมยั กอ่ น ใช้การเชื่อมทังสเตนแก๊สคลุมในการเชื่อมชิ้นสว่ นทีส่ าคัญ เพราะ สามารถเช่อื มโลหะไดห้ ลายชนิด ปัจจบุ ันการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแก๊สคลุมใช้กนั อยา่ งกวา้ งขวางในงาน อุตสาหกรรม เช่น ใชเ้ ชือ่ มแม่พิมพ์ งานท่อ ภาชนะบรรจุของเหลวและแกส๊ งานประกอบโครงสร้างท่ี ต้องการความเที่ยงตรง และความแข็งแรงของรอยเชื่อมสงู ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการเชอ่ื มอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุมนน้ั ถือเปน็ ปัจจัยที่ สาคญั ยงิ่ ทน่ี าไปสู่ความสาเร็จในการประกอบอาชีพสาขาช่างเช่ือม เพราะหากผ้ปู ฏบิ ัตงิ านมสี ขุ ภาพ อนามัยที่ดี ปราศจากความเจ็บปว่ ยจากการทางานแล้ว จะมผี ลดตี ่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ การเช่อื มโลหะมีอนั ตรายต่อช่างเชอ่ื มอย่หู ลายสาเหตุ ซึง่ ถา้ มกี ารป้องกนั อันตรายอยา่ งถูก วธิ แี ลว้ จะทาให้ช่างเช่อื มสามารถทางานได้อยา่ งปลอดภยั และมีอาชีวอนามยั ทดี่ ี ทาใหง้ านเชอื่ ม ดาเนินไปอย่างเรยี บร้อย ประสบความสาเร็จตามเปา้ หมาย โดยเฉพาะช่างเชื่อมเองต้องตระหนกั ถึง ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการปฏบิ ัติงานให้มากท่ีสุด

หน่วยที่ 1 : ความรู้พ้ืนฐานการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม 21 แบบฝึกหดั ความรูพ้ น้ื ฐานการเชื่อมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุม คาสัง่ จงตอบคาถามต่อไปน้ีใหส้ มบูรณ์ 1. จงบอกความเปน็ มาของการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลมุ มาให้ถกู ตอ้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... 2. จงอธบิ ายหลักการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ มาใหเ้ ข้าใจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... 3. จงบอกข้อดีของการเชอื่ มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ มาเป็นข้อ ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... 4. จงบอกความหมายของความปลอดภัยในการทางาน (Occupational Safety and Health) ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... 5. จงบอกความหมายของอาชีวอนามัย (Occupational Health) ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... 6. จงบอกประโยชน์ของความปลอดภยั และอาชีวอนามัยในการทางาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………………………………………….......

หนว่ ยที่ 1 : ความร้พู ้นื ฐานการเชอื่ มอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม 22 7. จงบอกอันตรายจากรังสที ่ีเกดิ จากการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลมุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... 8. อันตรายจากควัน และไอระเหยทีเ่ กิดจากการเช่ือม มีอาการเป็นอยา่ งไรบา้ ง บอกมาเป็นข้อ ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... 9. จงอธิบายวธิ กี ารป้องกันอันตรายท่ีเกดิ จากไฟฟา้ ลดั วงจร มา 6 ข้อ ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... 10. จงอธบิ ายอาการทเี่ กดิ ขึ้นจากการทไ่ี ด้ยินเสยี งดงั เกนิ มาตรฐานอย่างต่อเนือ่ ง มาให้เขา้ ใจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... ……………………………………………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………………………………………….......

หน่วยที่ 1 : ความรู้พ้ืนฐานการเชื่อมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ 23 เฉลยแบบฝึกหดั ความรพู้ ้ืนฐานการเชอื่ มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม 1. จงบอกความเป็นมาของการเช่อื มอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม มาให้ถูกต้อง ตอบ การเชื่อมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ ใชต้ วั ยอ่ เป็นภาษาอังกฤษวา่ GTAW ย่อมาจาก Gas Tungsten Arc Welding หรือ TIG ยอ่ มาจาก Tungsten Inert Gas ซง่ึ เป็นกรรมวธิ ีการเชือ่ มโลหะที่เกิดข้ึนตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1935 และนามาใชค้ ร้ังแรกในอุตสาหกรรมการบิน ในราว ค.ศ. 1940 รวมไปถึงในสมยั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 (ค.ศ. 1945) โดยใช้เช่ือมโลหะจาพวก แมกนีเซยี ม อะลูมิเนียม และสแตนเลส 2. จงอธิบายหลักการเช่อื มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ มาใหเ้ ข้าใจ ตอบ การเช่ือมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุม เปน็ กระบวนการให้ความรอ้ นโลหะดว้ ยการอาร์ก ระหว่าง แทง่ ทังสเตนอิเล็กโทรดกับชน้ิ งานเชอ่ื ม จนเกดิ บ่อหลอม ซึ่งบริเวณท่ีเกดิ การอารค์ จะมีแก๊สเฉื่อย (Inert gas) เชน่ แกส๊ อารก์ อน และฮเี ลียม ปกคลุมเพือ่ ปอ้ งกันออกซิเจน ไนโตรเจน และความชื้นใน อากาศเข้ามารวมกับโลหะท่ี กาลงั หลอม ซงึ่ เรยี กว่า เกิดปฏกิ ิรยิ าออ๊ กซิเดชัน่ จนกระท่งั ความร้อนจาก การอาร์กหลอมโลหะชน้ิ งานในบรเิ วณดังกล่าว จนเกิดเปน็ บอ่ หลอม ดังนัน้ เม่ือบ่อหลอมเกิดข้ึนในบริเวณรอยตอ่ ใด ๆ ก็จะทาใหช้ นิ้ งานนนั้ หลอมตดิ กัน แต่ เน่ืองจากแท่งทังสเตนอิเล็กโทรดเปน็ วัสดุท่ีไม่ละลาย หรือไม่สิน้ เปลือง (Non Consumable Electrode) จงึ จาเป็นตอ้ ง เตมิ โลหะลวดเติม (Filler Rod) ลงไปในบ่อหลอมน้นั ดว้ ย แตก่ รณที ท่ี าการ เชื่อมบรเิ วณขอบงาน และโลหะบาง ๆ อาจไมต่ ้องเติมโลหะลวดเติมก็ได้ 3. จงบอกข้อดขี องการเชือ่ มอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลุม มาเปน็ ขอ้ ๆ ตอบ 1. การเช่ือมอาร์กทังสเตนแก๊สคลมุ ใหค้ วามร้อนสูงทบ่ี ริเวณแคบ จึงไม่ทาให้ความร้อนใน งานเชอ่ื มแผ่กระจายกว้างเกินไป ช้นิ งานเชื่อมจึงมีโอกาสบิดตวั น้อย 2. ไมต่ อ้ งใชฟ้ ลักซ์ ดงั นน้ั แนวเชอื่ มที่ได้จงึ ไม่จาเป็นที่จะต้องเคาะสแลก ซง่ึ เปน็ การตัดปัญหา ในเร่อื งสแลกฝังในแนวเชอ่ื ม เพราะสแลกทีฝ่ ังอยใู่ นแนวเช่ือมจะทาให้แนวเช่ือมไม่แขง็ แรง และผุ กร่อน ทั้งน้ีโดยการใช้แกส๊ เฉ่ือยทาหนา้ ท่ีแทนฟลกั ซ์ สาหรับปกคลมุ แนวเช่ือม ไมใ่ ห้ออกซิเจน และ ไนโตรเจนจากบรรยากาศมารวมตวั กบั แนวเชอื่ ม หรือโลหะงานขณะหลอมละลาย 3. สว่ นผสมทางเคมีของแนวเชอ่ื มทเ่ี กดิ ขนึ้ จะมสี ่วนผสมเหมือนกบั ลวดเช่อื ม จะไมม่ ีการ เปล่ยี นแปลงเกิดข้ึน เนื่องจากแกส๊ เฉือ่ ยที่ปกคลมุ แนวเชอ่ื มจะไมร่ วมตวั หรือทาปฏิกริ ยิ ากับโลหะ 4. จงบอกความหมายของความปลอดภัยในการทางาน (Occupational Safety and Health) ตอบ หมายถึง การปฏบิ ัตงิ านอย่างมีความสขุ หรอื สภาพการทางานทีป่ ลอดภยั จากเหตอุ ันจะทาให้ เกดิ ภัยอันตรายจากเทคโนโลยี เครื่องจกั ร เครอื่ งมอื มลพิษ ทีส่ ง่ ผลให้เกิดการบาดเจ็บ สญู เสียชีวิต ทรพั ยส์ นิ เสยี หายหรอื การผลิตสินค้า บริการหยุดชะงัก รวมไปถึงการไมเ่ ป็นโรคภัยไข้เจ็บอนั เนอื่ งมาจากการทางาน ส่งผลใหส้ ามารถทางานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

หนว่ ยที่ 1 : ความรพู้ น้ื ฐานการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลมุ 24 5. จงบอกความหมายของอาชวี อนามัย (Occupational Health) ตอบ หมายถึง การจัดการดแู ลสุขภาพอนามัยของผปู้ ระกอบอาชพี ตา่ ง ๆ หรืออีกนัยหนึ่ง คือ การ ป้องกันและสง่ เสริมสขุ ภาพอนามยั ทด่ี ีใหเ้ กิดขึ้นในตัวบคุ คลท่ีประกอบอาชพี ทุกสาขาอาชีพ 6. จงบอกประโยชนข์ องความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ในการทางาน ตอบ 1. คุณภาพชีวติ ของพนักงานดขี ึ้น 2. ผลผลติ เพมิ่ ขึ้น 3. คา่ ใชจ้ า่ ยลดลง 4. ผลกาไรเพิม่ มากขึน้ 5. ลดการสูญเสียทรัพยากรมนุษยข์ องชาติ 6. ภาพลักษณข์ ององคก์ รดีขึ้น 7. เศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวมดีขึน้ 7. จงบอกอนั ตรายจากรังสีท่ีเกดิ จากการเช่อื มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม ตอบ รงั สที ่ีเกดิ จากการเชื่อมอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ ได้แก่ รังสีอลั ตราไวโอเล็ต และรังสีอินฟาเรต ซึ่ง ถ้าไดร้ บั รงั สีน้มี าก ๆ โดยไม่มีหนา้ กากเชือ่ มปอ้ งกันสายตาแล้ว จะทาให้เปน็ อันตรายตอ่ ประสาทตา รูม่านตา และรวมไปถงึ อันตรายจากสะเก็ดไฟในการเช่อื มที่กระเด็นได้ด้วย 8. อันตรายจากควัน และไอระเหยทเ่ี กิดจากการเช่อื ม มีอาการเป็นอยา่ งไรบ้าง บอกมาเปน็ ขอ้ ๆ ตอบ ถา้ ไดร้ ับไอระเหยของออกไซด์สังกะสีมากเกนิ ไปจะมีอาการ ดังนี้ 1. มีอาการไข้ 2. หนาวส่ัน 3. แสบคอ 4. กระหายนา้ 5. ปวดกลา้ มเนื้อ 6. ออ่ นเพลีย 7. คลืน่ ไส้ อาเจยี น 9. จงอธิบายวธิ ีการป้องกันอันตรายทีเ่ กิดจากไฟฟา้ ลดั วงจร มา 6 ข้อ ตอบ 1. ควรสวมใส่เส้อื ผ้าทีแ่ หง้ ไม่เปียกชืน้ หรือสวมใส่ถงุ มือหรือชุดที่เป็นฉนวนไฟฟา้ 2. เก็บช้นิ งานส่วนท่ีจะติดไฟไดง้ า่ ย เช่น เส้อื ผ้า เบาะนวม หรอื ใช้แผ่นฉนวนปิดคลมุ ให้หมด เพ่ือความปลอดภัย 3. ห้ามสัมผสั อปุ กรณ์อิเลก็ โทรด ในขณะทส่ี ว่ นหนึ่งสว่ นใดของรา่ งกาย ของผทู้ าการเชอ่ื ม สมั ผัสอยกู่ บั ช้ินงาน สายดิน หรือลวดอิเล็กโทรดอน่ื จากเคร่อื งเชอื่ ม 4. จับยึดสายเคเบิลเช่อื มโดยใชแ้ คลม้ จับยึดกบั โลหะช้ินงาน กบั โต๊ะงานเช่ือม หรือ บริเวณทท่ี าการเชือ่ มให้แน่นมากทสี่ ดุ 5. ชดุ แคล้มสายเคเบิลเม่ือไมไ่ ดใ้ ช้งาน ใหใ้ ชฉ้ นวนหุ้มเพ่ือป้องกนั สัมผสั กับโลหะอ่นื 6. ไมไ่ ปสมั ผสั ชน้ิ ส่วนท่มี ีกระแสไฟไหลผา่ น

หน่วยที่ 1 : ความรู้พน้ื ฐานการเช่ือมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ 25 10. จงอธิบายอาการทเี่ กดิ ขึ้นจากการท่ไี ด้ยนิ เสียงดังเกนิ มาตรฐานอยา่ งต่อเน่อื ง มาให้เข้าใจ ตอบ ทาใหค้ วามสามารถในการไดย้ ินลดลง หรือเรยี กวา่ \"หตู ึง\" และหากยังละเลย ใหค้ งอยใู่ น สภาพแวดลอ้ มท่ีมีเสยี งดังต่อไปก็จะทาให้ \"หูหนวก\" ไมส่ ามารถได้ยนิ และติดต่อพูดคยุ เช่นปกตไิ ด้ ซึ่ง มีผลใหด้ ารงชวี ิตอย่ไู ด้ดว้ ยความยากลาบาก และต้องอับอายท่กี ลายเป็นคนพกิ าร สาหรับคนหตู งึ หู หนวก ท่ีเกดิ จากเสียงดงั ไม่สามารถรกั ษาใหห้ ายได้ ไม่วา่ โดยวิธีการใดกต็ าม

หน่วยท่ี 1 : ความร้พู ้ืนฐานการเชอ่ื มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม 26 แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรียน ความรู้พ้นื ฐานการเชอ่ื มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุม คาช้แี จง ชุดขอ้ สอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลาในการทา 10 นาที คาสง่ั จงทาเครื่องหมาย X ทับข้อท่ีถกู ทส่ี ดุ เพยี งข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ 1. สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 (ค.ศ.1945) นยิ มใชก้ ารเชือ่ มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุมเช่ือมโลหะตามขอ้ ใด ก. ทอแดง ทองเหลือง เงนิ ข. เงิน แมกนเิ ซียม ทองคา ค. แมกนีเซยี ม อะลูมเิ นยี ม สแตนเลส ง. สแตนเลส ตะกวั่ ดบี ุก 2. หลักการเช่ือมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ ใช้วัสดุชนิดใดเป็นตัวอาร์ก ก. โมลิดีน่ัมอเิ ลก็ โทรด ข. ทงั สเตนอิเลก็ โทรด ค. สแตนเลสอิเล็กโทรด ง. ทองแดงอิเล็กโทรด 3. ข้อใดเปน็ ข้อดีของการเช่ือมอารก์ ทังสเตนแก๊สคลุม ก. ให้ความร้อนสูงท่บี ริเวณแคบ ข. เคาะสแลกได้ง่าย ค. สามารถเชื่อมไดด้ ใี นทา่ เชอื่ มทา่ ตัง้ ง. อปุ กรณป์ ระกอบหวั เชอื่ มมีนอ้ ย 4. ขอ้ ใดตรงกับความหมาย ความปลอดภยั ในการทางาน (Occupational Safety and Health) ก. ใหใ้ ส่หมวกทกุ ครั้งขณะทางาน ข. ปฏบิ ตั งิ านกับเครื่องจักรที่ทนั สมยั ค. ทาประกนั อุบัตเิ หตุทุกปี ง. ไมม่ โี รคภัยไข้เจ็บจากการทางาน 5. ข้อใดตรงกับความหมาย อาชวี อนามัย (Occupational Health) ที่ถูกต้องท่สี ดุ ก. การจัดการดแู ลสุขภาพอนามยั ข. การใชก้ ฎเกณฑ์ในการควบคมุ สขุ ภาพ ค. การดูแลสุขภาพอนามยั เจ้าของกจิ การ ง. การจัดการสิ่งแวดล้อมในท่ีทางาน 6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน ก. ผลผลติ เพิ่มข้นึ ข. จา้ งพนกั งานเพมิ่ ขึน้ ค. คา่ ใชจ้ า่ ยลดลง ค. ผลกาไรเพม่ิ มากขึน้ 7. อนั ตรายจากรงั สที เ่ี กิดจากการเชื่อมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ มผี ลทาใหเ้ กดิ อาการตามขอ้ ใด ก. แสบตา ข. ประสาทตา และรูมา่ นตาเสื่อม ค. คันตา ง. น้าตาไหล 8. ข้อใด ไม่ใช่ อาการของผทู้ ี่ได้รับอนั ตรายจากควัน และไอระเหยที่เกดิ ข้นึ จากการเชอ่ื ม ก. มีอาการแสบตา และระคายเคืองตา ข. มอี าการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ ค. มีอาการอ่อนเพลีย ง. มอี าการเลือดกาเดาไหล

หนว่ ยที่ 1 : ความร้พู ้นื ฐานการเชอ่ื มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลมุ 27 9. วธิ กี ารใดเหมาะสมท่สี ุดในการป้องกนั อนั ตราย จากไฟฟ้าลดั วงจร ก. ทาการบารุงรักษา ตรวจดูความเรียบร้อยของอุปกรณท์ ุกครง้ั ก่อนทาการเชอ่ื ม ข. มีคนควบคุมกระแสไฟฟ้าตลอดเวลาในขณะปฏิบตั งิ านเช่ือม ค. แต่งกายรดั กุม ง. มผี ู้ช่วยทกุ ครง้ั ในขณะปฏิบัตงิ านเชื่อม 10 . ขอ้ ใดไมใ่ ช่สาเหตุจากการไดร้ บั อันตรายจากเสยี งดงั เกินมาตรฐาน ก. ทาให้ความดันโลหติ สูง ข. ทาให้ตอ่ มไทรอยดเ์ ปน็ พิษ ค. ทาใหเ้ กดิ การทะเลาะวิวาท ง. ทาให้กระเพาะหลั่งน้าย่อยมากขน้ึ

หน่วยท่ี 1 : ความรู้พืน้ ฐานการเชื่อมอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลุม 28 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ความรู้พื้นฐานการเชอ่ื มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ ขอ้ ท่ี คาตอบ 1ค 2ข 3ก 4ง 5ก 6ข 7ข 8ง 9ก 10 ค

หน่วยที่ 1 : ความรู้พ้นื ฐานการเช่ือมอาร์กทังสเตนแกส๊ คลมุ 29 ใบงานที่ 1.1 หน่วยที่ 1 วชิ า งานเชือ่ มอารก์ ทังสเตนแก๊สคลมุ 1 รหัสวิชา 2103-2005 สอนครง้ั ที่ 1 ชอื่ หน่วย ความรูพ้ น้ื ฐานการเช่อื มอาร์กโลหะแกส๊ คลุม เวลา 180 นาที ชอ่ื งาน : ปฏบิ ตั งิ านสวมชดุ ป้องกนั อนั ตรายในการเชอ่ื มอารก์ โลหะแกส๊ คลุม จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน 1. ปฏิบัตงิ านสวมชดุ ปอ้ งกนั อันตรายในการ 1. เบิกชุดป้องกนั อันตรายในการเชื่อมอาร์ก เชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลมุ ได้ ทังสเตนแกส๊ คลุมจากห้องเครื่องมือ 2. เตรยี มชดุ ป้องกันอนั ตรายในการเชอ่ื มให้ เครอื่ งมอื วสั ดุ อปุ กรณ์ ครบถ้วน และวางให้เป็นระเบียบ 3. สวมเสือ้ เอ๊ียมหนงั 1. เสอ้ื เอ๊ียมหนัง 4. สวมปลอกแขนหนงั 2. ปลอกแขนหนัง 5. สวมถุงมอื หนงั 3. หน้ากากปดิ จมกู 6. สวมหน้ากากสวมหวั แบบธรรมดา 4. ถงุ มือหนงั 7. สวมหน้ากากสวมหัวแบบตัดแสงอตั โนมัติ 5. หนา้ กากสวมหัวแบบธรรมดา 8. สวมหนา้ กากปิดจมูกให้พอดี 6. หน้ากากสวมหัวแบบตดั แสงอัตโนมตั ิ 9. ตรวจสอบการสวมชุดป้องกนั อนั ตรายใน การปฏบิ ตั งิ านเชื่อมทั้งหมด 10. เกบ็ ชดุ ป้องกันอนั ตรายในการเชือ่ มไวท้ ่ีห้อง เคร่อื งมอื อยา่ งเป็นระเบยี บ 11. ทาความสะอาดพืน้ ทีป่ ฏิบัติงานให้เรยี บรอ้ ย

หนว่ ยท่ี 1 : ความรพู้ นื้ ฐานการเชอื่ มอาร์กทังสเตนแกส๊ คลมุ 30 ใบงานที่ 1.1 หนว่ ยที่ 1 วิชา งานเชอื่ มอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลุม 1 รหัสวิชา 2103-2005 สอนครง้ั ท่ี 1 ชอื่ หน่วย ความรู้พน้ื ฐานการเชือ่ มอารก์ โลหะแก๊สคลุม เวลา 180 นาที ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน : สวมชุดป้องกนั อนั ตรายในการเชือ่ มอารก์ โลหะแกส๊ คลุม รูปภาพแสดงขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน คาอธบิ ายขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน 1. เบิกชดุ ปอ้ งกนั อันตรายในการเชือ่ มอาร์ก ทงั สเตนแกส๊ คลุมจากห้องเคร่ืองมือ 2. เตรียมชุดปอ้ งกันอันตรายจากการเชอ่ื มให้ ครบถว้ น และวางใหเ้ ป็นระเบียบ 3. สวมเส้อื เอ๊ยี มหนังให้เรยี บรอ้ ย

หน่วยที่ 1 : ความรพู้ ื้นฐานการเชือ่ มอาร์กทังสเตนแก๊สคลมุ 31 ใบงานที่ 1.1 หนว่ ยท่ี 1 วิชา งานเชือ่ มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ 1 รหัสวิชา 2103-2005 สอนครัง้ ท่ี 1 ชือ่ หน่วย ความรูพ้ น้ื ฐานการเชอื่ มอารก์ โลหะแกส๊ คลุม เวลา 180 นาที ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน : สวมชดุ ป้องกันอันตรายในการเช่อื มอารก์ โลหะแก๊สคลุม รูปภาพแสดงขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน คาอธิบายขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน 4. สวมปลอกแขนหนงั 5. สวมถงุ มือหนงั 6. สวมหน้ากากสวมหัวแบบธรรมดา โดย ปรับระยะให้พอดีกบั ศีรษะ 7. สวมหน้าสวมหัวแบบตัดแสงอตั โนมัติ โดยปรบั ระยะให้พอดกี ับศีรษะ

หน่วยท่ี 1 : ความรูพ้ น้ื ฐานการเชอ่ื มอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลมุ 32 ใบงานท่ี 1.1 หน่วยที่ 1 วชิ า งานเชอื่ มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุม 1 รหัสวิชา 2103-2005 สอนครั้งที่ 1 ช่ือหน่วย ความรู้พนื้ ฐานการเชื่อมอารก์ โลหะแกส๊ คลุม เวลา 180 นาที ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน : สวมชุดป้องกนั อนั ตรายในการเชอื่ มอารก์ โลหะแกส๊ คลุม รูปภาพแสดงข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน คาอธิบายขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน 8. สวมหนา้ กากปดิ จมูกให้พอดี 9. ตรวจสอบการสวมชุดป้องกนั อันตรายใน การปฏบิ ตั ิงานเช่ือมทง้ั หมด 10. เกบ็ ชดุ ปอ้ งกันอนั ตรายในการเชือ่ มไว้ที่ หอ้ งเครื่องมืออย่างเปน็ ระเบยี บ 11. ทาความสะอาดพนื้ ทป่ี ฏิบตั งิ านให้ เรียบร้อย

หนว่ ยที่ 1 : ความรู้พ้ืนฐานการเชือ่ มอารก์ ทงั สเตนแกส๊ คลุม 33 แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ความรูพ้ ืน้ ฐานการเชอ่ื มอาร์กทังสเตนแก๊สคลมุ ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง ปฏบิ ตั ิงานสวมชุดป้องกนั อนั ตรายในการเช่ือมอาร์กทังสเตนแกส๊ คลมุ ช่ือ…………..….…………………..สกลุ ………….…….………………รหัส………………...กลมุ่ /เลขที่ ..................... ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน หมายเหตุ 10 6 1 0 1 เตรียมชดุ ป้องกันอนั ตรายครบถ้วน 2 สวมเสื้อเอี๊ยมหนงั ได้ถูกต้อง 3 สวมปลอกแขนหนังได้ถูกต้อง 4 สวมถงุ มือหนงั ได้ถูกต้อง 5 สวมหนา้ กากปดิ จมูกได้ถูกตอ้ ง 6 สวมหนา้ กากสวมหัวแบบตดั แสงอัตโนมัติ และ แบบธรรมดาได้พอดกี ับศีรษะ รวมคะแนน การคดิ คะแนน เต็ม 10 คะแนน …………..(คะแนนที่ได้) X 10 = ………………….. คะแนน 60 คะแนนท่ีใชใ้ นการประเมินผลการปฏิบัติงาน 10 คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ัติงานไดถ้ ูกต้องครบถว้ น 6 คะแนน หมายถึง ปฏิบตั งิ านไดไ้ ม่เรียบรอ้ ย 1 คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ตั ิงานเสียหาย 0 คะแนน หมายถงึ ไม่ไดป้ ฏิบัติ ลงช่ือ....................................................ผู้ประเมิน (....................................................)

หนว่ ยที่ 1 : ความรู้พืน้ ฐานการเชือ่ มอาร์กทังสเตนแก๊สคลมุ 34 แบบประเมนิ ผลด้านเจตคติ ความรพู้ ้ืนฐานการเช่ือมอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ปฏบิ ัตงิ านสวมชดุ ป้องกันอันตรายในการเชือ่ มอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม ช่อื …………..….…………………..สกลุ ………….…….………………รหสั ………………...กลมุ่ /เลขท่ี ..................... ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3210 1 มีมนุษยสมั พนั ธท์ ด่ี กี ับเพ่ือนในกลุ่ม 2 มีความรับผิดชอบในการทางานท่ไี ดร้ ับมอบหมายจนสาเร็จทกุ ครั้ง 3 มวี ินยั ในตนเอง เขา้ เรยี นตรงเวลา 4 มคี วามซ่ือสตั ย์ ทางานด้วยตนเอง 5 สวมชุดป้องกันอันตรายอย่างถูกต้องทุกคร้ังขณะปฏิบตั ิงาน รวมคะแนน การคดิ คะแนน เต็ม 10 คะแนน …………..(คะแนนท่ไี ด้) X 10 = ………………….. คะแนน 15 คะแนนทใี่ ช้ในการประเมนิ ผลดา้ นเจตคติ 3 คะแนน หมายความว่า มีพฤติกรรมในระดับ ดมี าก 2 คะแนน หมายความว่า มีพฤติกรรมในระดบั ดี 1 คะแนน หมายความวา่ มีพฤติกรรมในระดับ พอใช้ 0 คะแนน หมายความว่า มีพฤติกรรมในระดับ ต้องปรับปรุง ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน (....................................................)

หน่วยท่ี 1 : ความรพู้ น้ื ฐานการเช่อื มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุม 35 แบบประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ความรูพ้ นื้ ฐานการเช่อื มอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม วนั ท่ี..........เดอื น.............................พ.ศ. .................. ช่ือ-นามสกุล คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ รายการประเมิน มีมนุษย ัสมพันธ์ รวม มีความรับ ิผดชอบ 10 ลาดบั มี ิวนัยในตนเอง ท่ี มีความ ื่ซอ ัสตย์ ุสจริต คะแนน มีความปลอด ัภย ชือ่ -นามสกลุ มีความประห ัยด มีความสนใจใ ่ฝรู้ มีความก ัตญ ูญกตเว ีท ีมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีการ ึ่พงตนเอง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พฤติกรรมดี = 1/ปรบั ปรงุ = 0 ผ้ปู ระเมนิ ........................................................ (นายนพดล กามะหยี่)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook