Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเลี้ยงไก่ ซีพีบราวน์

คู่มือการเลี้ยงไก่ ซีพีบราวน์

Description: การเลี้ยงไก่

Search

Read the Text Version

¤Ù‹Á×Í¡ÒÃàÅÕé§ 䡋䢋 «Õ¾Õ ºÃÒǹ

คมู่ อื การเลย้ี ง ไก่ไข่ ซีพี บราวน์ สารบัญ การเลีย้ งไก่รนุ่ .................................... 3 การเลี้ยงไก่ไข.่ .................................... 15 การปอ้ งกันโรค................................... 23

คมู่ อื การเล้ียง ไกไ่ ข่ ซพี ี บราวน์ การเลยี้ งไก่รุน่ 3 ในปัจจุบันผู้เล้ียงไก่ไข่ส่วนใหญ่มักจะซ้ือไก่สาวเข้ามาเลี้ยงมากกว่าการซ้ือลูกไก ่ มาเลย้ี งเอง เนอ่ื งจากความสะดวก ประหยดั เวลา ประกอบกบั การเลย้ี งไกร่ นุ่ เองนนั้ มคี วามเสยี่ ง ต่อโรคระบาดสูง และไม่คุ้มค่ากับการลงทุน ยกเว้นฟาร์มขนาดใหญ่ แต่อย่างไรก็ตาม ยงั มผี เู้ ลยี้ งจำ� นวนไมน่ อ้ ยทต่ี อ้ งการเลย้ี งไกร่ นุ่ เอง ดงั นน้ั การจดั การทถ่ี กู ตอ้ งตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ เลยี้ งลกู ไกจ่ นถงึ อายุ 17 สปั ดาหน์ นั้ เปน็ สง่ิ จำ� เปน็ สำ� หรบั การเลยี้ งไกร่ นุ่ ใหป้ ระสบผลสำ� เรจ็ ตลอดทกุ ชว่ งอายขุ องการเลยี้ งไกร่ นุ่ มผี ลอยา่ งมากตอ่ การใหผ้ ลผลติ ในระยะไข่ เนอื่ งจาก อวยั วะและสรรี ะของไกม่ กี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชว่ งอายุ 17 สปั ดาห์ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในชว่ งอายุ 1-4 สปั ดาหแ์ รกนนั้ จดั ไดว้ า่ เปน็ ชว่ งสำ� คญั ทส่ี ดุ หากมกี ารจดั การดแู ลทด่ี แี ลว้ ลกู ไก่ กจ็ ะสามารถเจรญิ เตบิ โตไดด้ แี ละมคี วามสมำ่� เสมอสงู บรรลนุ ำ้� หนกั ตวั สู่ 300 กรมั ทอี่ ายุ 28 วนั ได้ ซง่ึ การเรม่ิ ตน้ ทด่ี นี จี้ ะสง่ ผลตอ่ สรรี ะและโครงรา่ งทใ่ี หญใ่ นชว่ งทา้ ยของการเจรญิ เตบิ โต แตใ่ น ทางกลบั กนั หากใน 4 สปั ดาหแ์ รกไกม่ นี ำ้� หนกั ตวั ตำ�่ กจ็ ะสง่ ผลตอ่ สรรี ะและโครงรา่ งทเ่ี ลก็ ในชว่ งทา้ ย ของการเจริญเติบโต ถึงแม้ว่าจะสามารถเร่งการกินอาหารในช่วงท้ายจนไก่มีน้�ำหนักตัวเพิ่ม ไดก้ ต็ าม แตจ่ ะกลายเปน็ ไกร่ นุ่ ทอ่ี ว้ นมสี รรี ะและโครงรา่ งทเ่ี ลก็ ไมส่ ามารถใหผ้ ลผลติ ไขท่ ดี่ ไี ด้

ฟาร์มไก่รนุ่ การสรา้ งฟารม์ ไกร่ นุ่ ต้องพจิ ารณาจากปจั จยั ต่างๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ทต่ี ัง้ ฟารม์ ควรเป็นท่รี าบสูง น�้ำไมท่ ่วม อยูห่ า่ งจากชมุ ชนและแหล่งเลี้ยงสัตว์ปีก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ต้องอยหู่ า่ งจากฟารม์ ไก่ไข่ 2. พ้ืนท่ีฟาร์ม มีรั้วล้อมรอบ ส่วนของบ้านพักอาศัยและส�ำนักงานต้องอยู่ นอกเขตฟารม์ 3. ระบบสาธารณูปโภค มีแหล่งนำ�้ ท่ีสะอาดและเพยี งพอตลอดปี มีไฟฟ้าเขา้ ถงึ การคมนาคมสะดวก 4. ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ มและชมุ ชน มีระบบการจัดการมลู ไก่ ขยะ ซากไกต่ าย ตลอดจนการก�ำจดั ของเสยี ตา่ งๆ เพอ่ื ปอ้ งกันการเกิดแมลงวัน และมลภาวะตา่ งๆ โรงเรอื น การสร้างโรงเรอื นเลย้ี งไก่รนุ่ ตอ้ งพจิ ารณาจากปจั จยั ต่างๆดังต่อไปนี้ 1. รูปแบบโรงเรอื น ในสภาพภมู อิ ากาศทร่ี อ้ นชนื้ ของบา้ นเรา ประสทิ ธภิ าพการเลยี้ ง ในโรงเรอื นปดิ ยอ่ มใหผ้ ลดกี วา่ โรงเรอื นเปดิ เชน่ การเจรญิ เตบิ โตอตั ราการตาย และ ประสิทธิภาพการใชอ้ าหาร เปน็ ตน้ 2. ระบบการเล้ียง ปัจจุบันผเู้ ลยี้ งนยิ มเลีย้ งไก่รุน่ ในกรงตับ เน่อื งจากประสทิ ธภิ าพ 4 การเล้ียงดีกว่าระบบปล่อยพ้ืน เช่น น�้ำหนักตัว ความสม�่ำเสมอ อัตราการตาย ตลอดจนสขุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพการใช้อาหาร อุปกรณ์การเล้ียง มีหลายชนิดให้เลือกใช้โดยเฉพาะในระบบการเลี้ยงแบบปล่อยพื้น ส่วนการเลี้ยงในกรงตับน้ัน อุปกรณ์ต่างๆ จะขายพร้อมกับกรงตับ เช่น ระบบให้น�้ำและ รางอาหาร ยกเว้นอุปกรณเ์ สริมส�ำหรับสัปดาห์แรก เชน่ ถาดอาหารลูกไกแ่ ละทใ่ี ห้นำ�้ ลูกไก่ อปุ กรณก์ ารเลย้ี ง อตั ราการใช้ ที่ให้นำ�้ ไก่เลก็ ระบบเลี้ยงปล่อยพ้นื ระบบเลย้ี งในกรงตบั ทใี่ หน้ ำ�้ ไก่ใหญ่ ทใี่ หน้ ้�ำแบบนิปเป้ลิ 75 ตัว/กระปกุ เสริม 1 กระปุก/กรง ในสัปดาหแ์ รก ถาดอาหารไก่เลก็ ถังอาหารไกใ่ หญ่ 75 ตวั /ถัง - เคร่อื งกกแกส๊ แบบรังผ้งึ เครอ่ื งกกแกส๊ แบบโบลว์เวอร์ 10 ตัว/หัว 2 หัว/กรง 50 ตวั /ถาด เสริม 1 ถาด/กรง ในสปั ดาห์แรก 35 ตัว/ถัง 1,000 ตวั /หวั 10,000 ตวั /เคร่ือง 10,000 ตัว/เคร่อื ง

คูม่ ือการเล้ยี ง ไก่ไข่ ซีพี บราวน์ อุปกรณ์สำ� หรบั ลกู ไกร่ ะบบเล้ยี งปลอ่ ยพืน้ 5 เครอ่ื งกกแกส๊ แบบโบลวเ์ วอร์ระบบเลยี้ งปล่อยพ้นื

การเลีย้ งลกู ไก่ในกรงตับ 6 เครอ่ื งกกแก๊สแบบโบลว์เวอรร์ ะบบเลี้ยงในกรงตบั

คู่มือการเลยี้ ง ไกไ่ ข่ ซีพี บราวน์ จ�ำนวนตัวต่อพื้นที่การเลี้ยง ความหนาแน่นในการเล้ียงท่ีเหมาะสมนั้นข้ึนกับรูปแบบ โรงเรือน ระบบการเล้ยี ง และอายไุ ก่ อายไุ ก่ (วัน) ระบบเลยี้ งปลอ่ ยพน้ื (ตัว/ตารางเมตร) ระบบเลี้ยงในกรงตบั (ตารางเซนติเมตร/ตัว) 1-14 โรงเรือนเปดิ โรงเรือนปดิ 15-28 29 วันข้ึนไป 30 30 80 15 18 160 8 12 320 การเตรยี มรบั ลกู ไก ่ กอ่ นถงึ กำ� หนดวนั เขา้ เลยี้ งลกู ไก่ ผเู้ ลย้ี งควรตรวจสอบความสะอาด และ ตรวจเช็ควัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ก่อนท่ีลูกไก่จะมาถึงควร เปดิ เครอ่ื งกกรอไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 2 ชวั่ โมง เพอื่ ปรบั อณุ หภมู ใิ นพน้ื ทกี่ กใหอ้ บอนุ่ และผสมยาหรอื วิตามินละลายในน้�ำดืม่ เตรยี มไว้ใหเ้ รยี บร้อย การจัดการไกเ่ ลก็ ชว่ งอายุ 0-4 สปั ดาห์ 7 ลูกไก่อายุแรกเกิดจนถึง 4 สัปดาห์ เป็นช่วงส�ำคัญที่สุดของการเลี้ยงไก่รุ่น เนื่องจาก ลกู ไกย่ งั เลก็ มคี วามเปราะบาง ประกอบกบั ระบบอวยั วะภายใน และระบบการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั โรค มีการพัฒนาการสูง ดังนั้นผู้เลี้ยงควรให้การดูแลจัดการเป็นพิเศษ ปรับอุณหภูมิและ สภาพแวดล้อมในโรงเรือนให้เหมาะสม จดั การให้ไก่ไดร้ ับนำ้� และอาหารอยา่ งเตม็ ที่ ตลอดจน มมี าตรการป้องกนั โรคทเี่ ข้มงวด เพอ่ื การเจรญิ เตบิ โตทีด่ ี มีขนาดสมำ�่ เสมอ มีสรีระที่ดี และ สขุ ภาพแขง็ แรง อุณหภูมิ ลูกไก่ต้องการอุณภูมิที่อบอุ่นในวันแรกๆ หลังจากนั้นจึงค่อยๆ ปรับอุณหภูมิลง เชน่ เดยี วกบั ธรรมชาตสิ รรคส์ รา้ งมาใหล้ กู ไกไ่ ดร้ บั ไออนุ่ จากออ้ มอกของแมไ่ ก่ ดงั นน้ั ในระยะน้ี จ�ำเป็นต้องควบคุมอุณภูมิในห้องกกให้เหมาะสม โดยตรวจวัดได้จากเทอร์โมมิเตอร ์ ในขณะเดยี วกนั พฤตกิ รรมของลกู ไกก่ เ็ ปน็ ตวั บง่ ชไี้ ด้ เชน่ ถา้ ลกู ไกส่ มุ กนั อยใู่ ตเ้ ครอื่ งกก แสดงวา่ อุณหภูมิต่�ำไป แต่ถ้าลูกไก่มีกระจายออกห่างจากเครื่องกก หรือมีอาการกางปีก อ้าปาก หอบ แสดงว่าอณุ หภูมสิ งู ไป ดังนั้นผ้เู ลีย้ งตอ้ งหม่นั สงั เกตุ โดยเฉพาะการกกลกู ไก่ในกรงตบั จ�ำเป็นต้องปรับอุณหภูมิให้สม่�ำเสมอทั่วกันทุกกรง เนื่องจากลูกไก่อยู่ในพื้นที่จ�ำกัด กรงใคร กรงมัน อุณหภมู ิจะสูงหรอื ต�่ำไปก็ไม่สามารถเคล่อื นย้ายหนีออกไปยังกรงอน่ื ทสี่ บายกวา่ ได้

อายไุ ก่ อุณหภูมภิ ายในพ้ืนที่กก (องศาเซลเซียส) อณุ หภมู ภิ ายในหอ้ งกก ความชื้นสมั พทั ธ์ % (วัน) ใต้เครื่องกก รอบเครอื่ งกก เครือ่ งกกโบลว์เวอร์ 55-60 1-3 35 32-33 32-33 55-65 4-7 34 31-32 31-32 55-65 8-14 32 29-30 29-30 60-70 15 วันขึน้ ไป 30 27-28 27-28 ความช้ืน ในระยะนี้ควรจัดการภายในโรงเรือนหรือในห้องกกให้แห้ง สะอาด ไม่เปียกชื้น ควบคุมต้ังเวลาการเปิดน้�ำที่แผ่นรังผึ้งให้เหมาะสม ระมัดระวังน�้ำหยด หรือร่ัวซึม ถ้าพบ วสั ดรุ องพืน้ ช้นื แฉะตอ้ งรีบจดั การตักออกไปแลว้ นำ� วัสดรุ องพน้ื ที่แหง้ สะอาดเขา้ มาทดแทน การระบายอากาศ ในระยะน้ีจ�ำเป็นต้องมีการระบายอากาศออกไปบ้างโดยการเปิดพัดลม หรอื ผ้าม่าน แตถ่ า้ การระบายอากาศมากไปอาจสง่ ผลตอ่ การแปรปรวนของอณุ หภูมใิ นพื้นท่ี กกได้ การระบายอากาศมจี ุดประสงคเ์ พ่ือดงึ ความชนื้ และอากาศเสยี เชน่ แก๊ส-แอมโมเนยี 8 และแก๊สคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ออกจากโรงเรือนหรือพื้นท่ีกก ส่วนอากาศดีจากภายนอก กจ็ ะไหลเขา้ มาแทนที่ การให้น้�ำ ลูกไก่ควรได้รับน�้ำทันทีท่ีปล่อยลูกไก่ออกจากกล่อง หลังจากลูกไก่ได้กินน�้ำ อยา่ งทวั่ ถงึ แลว้ จงึ เรมิ่ ใหอ้ าหาร (ประมาณ 2 ชว่ั โมงหลงั จากลกู ไกไ่ ดร้ บั นำ�้ ) ในกรณที ใี่ ชร้ ะบบใหน้ ำ�้ แบบหัวนิปเปิ้ล เฉพาะในสัปดาห์แรกควรเสริมกระติกน้�ำควบคู่กับการให้น้�ำจากหัวนิปเปิ้ล ทั้งนี้เพื่อให้ลูกไก่กินน้�ำได้ดีและสะดวกข้ึน เม่ือลูกไก่อายุได้ 6-8 วันสามารถกินน้�ำจาก หวั นปิ เปล้ิ ไดเ้ กง่ แลว้ จงึ ทะยอยเอากระตกิ นำ�้ ออกไป สำ� หรบั ความสงู ของหวั นปิ เปล้ิ ควรอยทู่ ี่ ระดับหัวไก่ ดังนั้นควรปรับระดับท่อน�้ำนิปเปิ้ลอยู่เสมอเพื่อให้ลูกไก่ทุกตัวสามารถกินน้�ำ ไดอ้ ยา่ งสะดวก การใหอ้ าหาร ลกู ไกใ่ นระยะนจี้ ำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั อาหารใหม้ ากทส่ี ดุ เพอื่ การเจรญิ เตบิ โต พฒั นา สรีระและอวัยวะต่างๆ ได้อย่างเต็มท่ี โดยให้อาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้ง เพ่ือให้ลูกไก ่ ได้กินอาหารใหม่ตลอดเวลา ประกอบกับการให้อาหารบ่อยครั้งยังเป็นการกระตุ้นให้ลูกไก่ กนิ อาหารได้มากข้นึ ดว้ ย

คู่มอื การเลย้ี ง ไกไ่ ข่ ซพี ี บราวน์ การตัดปาก จุดประสงค์ของการตัดปากไก่คือ เพ่ือลดความเสียหายจากการจิกกัน และ 9 ลดความสูญเสียอันเนื่องมาจากการกินอาหารหกหล่น การตัดปากเป็นงานท่ีละเอียดอ่อน ต้องอาศัยความช�ำนาญ หากด�ำเนินการไม่ถูกต้องไก่อาจได้รับความเสียหายจากบาดแผล มีผลกระทบต่ออตั ราการตายและการกนิ อาหารของไกไ่ ด้ ดงั น้นั เพือ่ ความสะดวกของผ้เู ล้ียง ทางบริษัทจึงบริการตัดปากลูกไก่แรกเกิดให้ท่ีโรงฟักโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย โดยพนักงานท่ีมี ความชำ� นาญพเิ ศษประกอบกบั เครอื่ งตดั ปากทท่ี นั สมยั อยา่ งไรกต็ ามบาดแผลจากการตดั ปาก ย่อมส่งผลต่อการกินน้�ำและอาหารในช่วง 1-3 วันแรก ดังน้ันจ�ำเป็นต้องเสริมกระติกน้�ำ ในกรณที ใี่ ชร้ ะบบนำ้� แบบนปิ เปล้ิ และควรเตมิ อาหารในรางหรอื ถาดใหร้ ะดบั อาหารหนากวา่ ปกติ เพ่อื ปอ้ งกนั ปากไกก่ ระทบกับกน้ รางหรือกน้ ถาดอาหาร อย่างไรก็ตาม ถ้าลูกไก่ยังไม่ได้ผ่านการตัดปากมาจากโรงฟัก ก็สามารถด�ำเนินการ ตดั ปากเองทฟี่ าร์มไดเ้ ช่นเดียวกัน โดยแนะน�ำใหท้ ำ� ท่อี ายุ 7-10 วันในขณะท่ีลกู ไก่มีสุขภาพดี หรือไมอ่ ยใู่ นช่วงแพ้วัคซนี (การตดั ปากไกท่ ี่อายนุ อ้ ยกว่า 7 วันนัน้ อาจท�ำให้ลกู ไก่ตายและ เสียหายสูง ถา้ ผปู้ ฏิบตั ิไมม่ คี วามช�ำนาญมากพอ) การตัดปากลกู ไก่ที่โรงฟกั ไข่

วธิ กี ารตัดปากทีฟ่ าร์ม 1. ละลายวติ ามนิ ในนำ�้ ดม่ื ใหไ้ กก่ นิ ในวนั ทต่ี ดั ปากและหลงั จากวนั นน้ั อกี 1 วนั เพอ่ื ชว่ ย ลดความเครียด 2. เพ่มิ ปรมิ าณอาหารในรางหรือถาดอาหารให้ระดับอาหารหนากวา่ ปกติอยา่ งน้อย 3 วนั โดยเรม่ิ ตง้ั แตว่ นั แรกทท่ี ำ� การตดั ปาก เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หบ้ าดแผลทจ่ี ะงอยปากไปกระทบกบั กน้ รางอาหาร 3. เปดิ สวซิ ทเ์ ครอื่ งตดั ปาก ปรับอณุ หภมู ใิ บมดี ให้ร้อน มีอณุ หภมู ปิ ระมาณ 600-650 องศาเซลเซยี ส (สังเกตุทีใ่ บมีดถา้ เปลยี่ นเป็นสแี ดงเร่อื แสดงว่าอุณหภมู เิ หมาะสม แต่ถ้าใบมดี เปล่ียนเป็นสีเหลอื งส้มแสดงวา่ อุณหภูมริ อ้ นเกนิ ไป) 4. จบั ลกู ไกไ่ วใ้ นองุ้ มอื โดยใชน้ วิ้ หวั แมม่ อื กดหวั ลกู ไกแ่ ละใชน้ ว้ิ ชปี้ ระคองทจ่ี ะงอยปาก 5. สอดจะงอยปากเขา้ ไปในรขู องแทน่ ตดั โดยเลอื กขนาดรทู พี่ อดกี บั ปากไก่ แลว้ เหยยี บ คนั โยกเพื่อตัดปากสว่ นปลายออก ต�ำแหนง่ ทตี่ ดั ควรหา่ งจากรูจมกู ประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร 6. ผ่อนคันโยกท่ีเท้าออกแล้วเอียงจะงอยปากขึ้นไปท�ำมุม 15 องศาเหนือแนวนอน 10 แนบปากไกท่ ถี่ กู ตดั แลว้ ไวก้ บั ใบมดี ทค่ี อ่ ยๆเลอื่ นกลบั ขนึ้ มา ประมาณ 2 วนิ าที ความรอ้ นจาก ใบมีดจะจี้รอยแผลและขอบด้านข้างของจะงอยปากให้ไหม้ เป็นการห้ามเลือดและป้องกัน ปากงอกออกมาใหม่ 7. ทำ� ความสะอาดใบมีดดว้ ยกระดาษทรายหลังจากการตัดปากประมาณ 5,000 ตวั และเปลยี่ นใบมีดทุกๆ 20,000 - 30,000 ตวั ปากลกู ไก่ทีถ่ กู ตัด

คู่มือการเลี้ยง ไก่ไข่ ซพี ี บราวน์ การสมุ่ ชัง่ น�้ำหนกั อายุ 1 - 4 สัปดาหแ์ รก ควรมกี ารสุม่ ชงั่ นำ้� หนักทกุ สัปดาหใ์ นวนั สดุ ทา้ ย 11 ของสปั ดาห์ โดยจบั ไกใ่ สก่ ลอ่ งครง้ั ละ 15 - 30 ตวั แลว้ ชง่ั นำ�้ หนกั รวมกนั คำ� นวณหาน�้ำหนกั เฉลี่ยแล้วน�ำมาเปรียบเทียบกับน้�ำหนักมาตรฐานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการต่อไป ช่วงเวลาสุ่มชงั่ นำ้� หนกั ควรเป็นช่วงบา่ ยก่อนให้อาหาร ณ วันท่ไี กม่ ีอายุเต็มสัปดาห์ การจัดการไกร่ ุ่นช่วงอายุ 5-17 สัปดาห์ การใหอ้ าหาร โดยธรรมชาตไิ ก่กนิ เมลด็ ธัญพชื ทงั้ เมล็ด เช่นเดยี วกับพฤตกิ รรมการกินอาหาร ของไก่ อาหารที่มีอนุภาคใหญ่กว่าจะหมดก่อนและเหลืออาหารผงไว้ภายหลัง การสะสม ของอาหารผงในภาชนะให้อาหารจะน�ำไปสู่การบริโภคท่ีต่�ำกว่าเกณฑ์ ดังนั้นเพ่ือกระตุ้น การบริโภคอาหารของไก่ควรปล่อยให้รางอาหารว่างทุกวัน ธรรมชาติไก่กินอาหารได้มาก ในช่วงเช้าและเย็น ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงควรปล่อยให้รางอาหารว่างในช่วงกลางวัน ดังน้ัน ในชว่ งอายุ 5-12 สปั ดาห์ ควรใหอ้ าหารวนั ละ 2 ครงั้ โดยใหค้ รงั้ แรกในตอนเชา้ และครง้ั ทส่ี อง ในตอนบา่ ย (ประมาณ 2-3 ชัว่ โมงกอ่ นท่ีจะปิดไฟสำ� หรับโรงเรอื นมืด) ดังน้ันในชว่ งอายุตงั้ แต่ 5 สัปดาห์ขึ้นไปควรปล่อยให้อาหารหมดรางอย่างน้อยวันละ 1 ช่ัวโมง และระยะเวลาท ่ี รางอาหารวา่ งเปลา่ นจ้ี ะคอ่ ยๆ เพม่ิ ขน้ึ เปน็ 2 ชว่ั โมง และเปน็ 3 ชวั่ โมงเมอ่ื อายไุ ด้ 12 สปั ดาห์ ชว่ งอายุ 13-17 สปั ดาห์ ลดจำ� นวนครงั้ ในการใหอ้ าหารจากวนั ละ 2 ครง้ั เหลอื เพยี งวนั ละ 1 ครงั้ โดยให้ในชว่ งบา่ ย (ประมาณ 2-3 ช่ัวโมงกอ่ นทจ่ี ะปดิ ไฟสำ� หรับโรงเรือนมดื ) ไกท่ ่ ี ตวั ใหญ่กวา่ จะแยง่ กนิ อาหารอย่างรวดเร็ว แตย่ งั คงมอี าหารเหลือในปริมาณท่ีมากพอส�ำหรับ ไก่ตัวเล็ก หลังจากปิดไฟแล้วก็ยังคงมีอาหารเหลืออยู่ส�ำหรับกินในช่วงเช้าหลังจากเปิดไฟ เนอื่ งจากกระเพาะอาหารยงั วา่ งอยใู่ นตอนเชา้ ไกจ่ ะเกบ็ กนิ อาหารทเี่ หลอื อยจู่ นหมดราง ดงั นน้ั ช่วงกลางวันรางอาหารจะว่างเปล่าอย่างน้อย 3-4 ชั่วโมง การให้อาหารด้วยวิธีน้ี ไก่จะกิน อาหารไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และทวั่ ถงึ ทง้ั ไกต่ วั ใหญแ่ ละไกต่ วั เลก็ โดยเกบ็ ตนุ อาหารไวใ้ นกระเพาะพกั น�ำไปสกู่ ารพัฒนาความจุของกระเพาะพัก ซง่ึ จะขยายใหญ่ข้นึ รองรบั การบริโภคท่ีจะเพิม่ ข้ึน ในระยะใหผ้ ลผลิตไข่ตอ่ ไป

ตารางการให้อาหารและน�ำ้ หนักตวั อายไุ ก่ ชนิดอาหาร จ�ำนวนครงั้ /วัน ปรมิ าณอาหาร อาหารสะสม น�้ำหนกั ไก่ สปั ดาห์ วัน เบอร์ (กรมั /ตัว/วนั ) (กรมั /ตัว) (กรัม/ตวั ) 1 1-7 6 10.0 70 65 2 8-14 อาหารระยะแรก 4 17.0 189 120 3 23.7 355 200-210 3 15-21 521S, 3 29.5 561 285-300 กข1S, 4 22-28 6521S 5 29-35 2 34.7 804 380-400 6 36-42 2 39.3 1,079 470-500 7 43-49 อาหารระยะสอง 2 43.4 1,383 560-600 12 8 50-56 521, 2 47.2 1,714 650-690 กข 1, 9 57-63 6521 2 50.6 2,068 740-780 10 64-70 2 53.7 2,444 830-870 11 71-77 2 56.6 2,840 920-960 12 78-84 2 59.4 3,256 1,010-1,050 13 85-91 อาหารระยะสาม 1 62.1 3,690 1,100-1,140 14 92-98 522, 1 64.6 4,143 1,185-1,230 กข 2, 15 99-105 6522 1 67.1 4,612 1,270-1,320 16 106-112 1 69.4 5,098 1,355-1,410 17 113-119 1 71.7 5,600 1,440-1,500 หมายเหตุ ในกรณที ตี่ ้องปรบั สภาพไก่สาวใหพ้ รอ้ มมากขึ้น อาจเปล่ยี นอาหารในชว่ งอายุ 16-18 สัปดาห์ เป็นอาหาร pre-lay (523P, กข3P, 6523P)

คมู่ อื การเลย้ี ง ไก่ไข่ ซีพี บราวน์ การชั่งน้�ำหนัก อายุตั้งแต่ 5-17 สัปดาห์ควรมีการสุ่มช่ังน�้ำหนักเป็นรายตัวทุกสัปดาห์ 13 แลว้ นำ� ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าคำ� นวณหานำ�้ หนกั เฉลย่ี และความสมำ่� เสมอของฝงู ไก่ เพ่ือใช้ประโยชน์ ในการปรับปริมาณอาหารให้เหมาะสม ช่วงเวลาที่สุ่มชั่งน�้ำหนักควรท�ำในช่วงบ่ายก่อน ใหอ้ าหาร สำ� หรบั กรณที เี่ ลย้ี งระบบปลอ่ ยพน้ื ใชแ้ ผงลวดตาขา่ ยลอ้ มไกค่ รง้ั ละประมาณ 30 ตวั แล้วช่ังหนักไก่ทุกตัวในวงล้อม สุ่มชั่งเช่นนี้อย่างน้อย 3 จุดต่อ โรงเรือน แต่ถ้าโรงเรือนนั้น แบ่งออกเป็นหลายห้องต้องสุ่มชั่งน้�ำหนักทุกห้อง สว่ นกรณที เี่ ลยี้ งในกรงตบั ตอ้ งชง่ั ไกท่ กุ ตวั ในกรงทส่ี มุ่ ชง่ั โดยสมุ่ ชง่ั ทกุ จดุ ทง้ั สว่ นหนา้ กลาง และทา้ ยของโรงเรอื น จากน้นั นำ� ตวั เลขที่ได้ มาคำ� นวณหาน�้ำหนกั เฉลยี่ ความสมำ�่ เสมอ ความสมำ่� เสมอของฝงู ไกค่ วรอยทู่ ่ี 80 % ขนึ้ ไป โดยคำ� นวณไดจ้ ากนำ�้ หนกั เฉลยี่ และจ�ำนวนตัวท่ีสุ่มช่ัง ตัวอย่างเช่น จ�ำนวนไก่ท่ีสุ่มชั่งท้ังหมด 120 ตัว เมื่อค�ำนวณแล้ว ได้น�้ำหนักเฉลี่ยเท่ากับ 860 กรัม/ตัว จากนั้นน�ำเอาค่าน้�ำหนักเฉล่ียท่ีได้มาค�ำนวณหาช่วง นำ�้ หนักต�ำ่ สดุ ของฝูงซ่งึ เท่ากบั (860 X 0.9 = 774 กรมั ) และนำ�้ หนักสงู สุดของฝงู เท่ากับ (860 X 1.1 = 946 กรัม) ซึง่ หมายความวา่ ชว่ งนำ้� หนกั ของฝงู ไก่ควรอย่ใู นชว่ งน้�ำหนักตั้งแต่ 774 กรมั จนถึง 946 กรัม จากน้ันค�ำนวณหาค่าความสม�่ำเสมอ โดยการนับจ�ำนวนไก่ท่ีมีน�้ำหนักอยู่ในช่วง 774-946 กรัม ว่ามีจ�ำนวนกี่ตัวแล้วเทียบเป็นเปอร์เซ็นต์ออกมา เช่นถ้านับได้ 104 ตัว จากจ�ำนวนไก่ท่ีสุ่มชั่งท้ังหมด 120 ตัว ก็สามารถน�ำมาค�ำนวณหาความสม�่ำเสมอของฝูงได้ เท่ากบั 104X100/120 = 86.67% ซึ่งหมายความว่าฝงู ไก่มีความสมำ�่ เสมอดีกวา่ เปา้ หมาย ในทางกลับกันหากฝูงไกม่ คี วามสม่�ำเสมอไม่เปน็ ตามเปา้ หมาย หรือตำ�่ กวา่ 80% จำ� เป็นตอ้ ง ตรวจสอบวเิ คราะหห์ าสาเหตุเพื่อแก้ปัญหาต่อไป การคัดไก่ เพ่ือให้ฝูงไก่มีความสม่�ำเสมอจ�ำเป็นต้องมีการคัดแยกไก่ท่ีมีขนาดเล็กออกมา แยกเลยี้ งไวใ้ นพนื้ ทส่ี ำ� หรบั ไกเ่ ลก็ ดว้ ยกนั และใหอ้ าหารมากเปน็ พเิ ศษ เพอื่ เรง่ การเจรญิ เตบิ โต ให้มีขนาดใกลเ้ คยี งกับไก่ปกติ การคัดไกส่ ามารถดำ� เนินการได้ตลอดทุกชว่ งอายุ โดยเฉพาะ เมอื่ มกี ารจบั ตอ้ งตวั ไก่ เชน่ การใหว้ คั ซนี โดยการฉดี หรอื แทงปกี ซง่ึ จำ� เปน็ ตอ้ งจบั ไกท่ กุ ตวั อยแู่ ลว้ ในระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ านถา้ พบไกข่ นาดเลก็ กส็ ามารถคดั แยกไดท้ นั ที ในกรณที เ่ี ลยี้ งในกรงตบั ควรแยกไกเ่ ลก็ ไว้ในช้นั บนสดุ เนือ่ งจากใกลห้ ลอดไฟสอ่ งสวา่ ง และอากาศถ่ายเทดีกวา่ ชัน้ อนื่ แต่ต้องค�ำนึงถึงจ�ำนวนไก่ในแต่ละกรงควรเฉลี่ยให้เท่ากัน ในกรณีที่เลี้ยงระบบปล่อยพ้ืน อาจจะก้ันหอ้ งสำ� หรบั ไกเ่ ลก็ ไว้โดยเฉพาะ

การใหแ้ สงสวา่ ง สำ� หรบั ลกู ไกอ่ ายุ 1-14 วนั ควรใหแ้ สงสวา่ งทมี่ คี วามเขม้ แสงสงู ประกอบกบั ชั่วโมงแสง 22 ชว่ั โมง ชว่ ยกระตนุ้ ให้ลกู ไก่ไดร้ ับอาหารมากทีส่ ุด เพอ่ื การเจริญเตบิ โตสูงสดุ หลังจากนน้ั จึงค่อยๆ ปรับลดความเขม้ แสง และชวั่ โมงแสงลงมาตามล�ำดบั โปรแกรมแสงในไกร่ ุ่น อายุไก่ โรงเรือนสวา่ ง โรงเรือนมดื สัปดาห์ วนั ชว่ั โมงแสง ช่วงเวลา ความเขม้ ชวั่ โมงแสง ช่วงเวลา ความเขม้ แสง ตอ่ วนั แสง(ลักซ์) ตอ่ วนั (ลกั ซ)์ 1 1-7 22 20:00-18:00 40 22 20:00-18:00 40 2 8-14 20 22:00-18:00 40 20 22:00-18:00 40 14 3 15-21 18 24:00-18:00 20 18 24:00-18:00 20 4 22-28 16 02:00-18:00 20 16 02:00-18:00 20 5 29-35 14 04:00-18:00 20 14 04:00-18:00 5-10 6 36-42 13 05:00-18:00 20 12 06:00-18:00 5-10 7 43-49 12 06:00-18:00 20 11 06:00-17:00 5-10 8-15 50-105 12 06:00-18:00 20 10 06:00-16:00 5-10 16-17 106- 12 06:00-18:00 20 12 06:00-18:00 5-10 119 หมายเหต ุ ถา้ นำ้� หนกั ตวั ยงั ตำ่� กวา่ มาตรฐาน ควรปรบั เพมิ่ ชว่ั โมงแสงขน้ึ พรอ้ มกบั เพม่ิ ปรมิ าณอาหาร เพ่ือให้นำ�้ หนักตัวเป็นไปตามเปา้ หมาย

คู่มือการเลย้ี ง ไกไ่ ข่ ซพี ี บราวน์ การเล้ียงไก่ไข่ ฟาร์มไก่ไข่ การสร้างฟาร์มไก่ไข่ต้องพิจารณาจาก 15 ปจั จยั ตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี ท่ีต้ังฟาร์ม ควรเป็นพ้ืนท่ีราบสูง น�้ำไม่ท่วม อยหู่ า่ งจากชมุ ชน และแหลง่ เล้ยี งสัตว์ปีก พ้นื ทฟ่ี ารม์ มรี ว้ั ลอ้ มรอบเป็นสัดส่วน เขตบา้ นพกั อาศยั และสำ� นักงานควรอยนู่ อกเขตฟารม์ ระบบสาธารณูปโภค มีแหล่งน้�ำท่ีสะอาดเพียงพอ ตลอดปี ไฟฟ้าเขา้ ถงึ การคมนาคมสะดวก ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและชุมชน มีระบบการ จัดการมูลไก่ ขยะ ซากไก่ตาย ตลอดจนการก�ำจัดของเสียต่างๆ เพ่ือป้องกันการเกิด แมลงวัน และมลภาวะตา่ งๆ โรงเรอื น การสร้างโรงเรือนเลยี้ งไก่ไข่ต้องพจิ ารณาจากปัจจัยตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ 1. รปู แบบโรงเรอื น ในสภาพภมู อิ ากาศทร่ี อ้ นชนื้ ของเมอื งไทย ประสทิ ธภิ าพการเลย้ี ง ในโรงเรือนปิดย่อมดีกว่าโรงเรือนเปิด เช่นอัตราการไข่ น้�ำหนักไข่ อัตราการตาย ประสิทธิ การใชอ้ าหาร ตลอดจนคณุ ภาพของเปลือกไข่ 2. แหล่งระบายมูลไก่ จ�ำเป็นต้องพิจารณาก่อนตัดสินใจสร้างโรงเรือน มิเช่นน้ันแล้วอาจกอ่ ให้เกดิ ปญั หาต่างๆ ตามมาเช่น แมลงวนั และปัญหาเร่อื งกล่นิ เปน็ ต้น ในกรณที ไี่ มม่ แี หลง่ ระบายจำ� เปน็ ตอ้ งสรา้ งโรงเรอื นแบบใตถ้ นุ สงู เพอื่ รองรบั มลู ไกไ่ วใ้ นชน้ั ลา่ ง ซ่ึงสามารถเก็บมูลไกไ่ ว้ได้เป็นเวลาหลายเดือน

โรงเรอื นใตถ้ นุ สงู 16 กรงไก่ไข่ ในปัจุบันส่วนใหญ่จะเป็นกรงลวด มีหลายแบบ ขนาดแตกต่างกันไป แบ่งเปน็ 2 รปู แบบคอื แบบ H เฟรม และแบบ A เฟรม กรงตับแบบ H เฟรม กรงตบั แบบ A เฟรม

คู่มอื การเล้ยี ง ไก่ไข่ ซพี ี บราวน์ การรับไก่สาวเข้าเล้ียง การขนย้ายไก่สาวควรด�ำเนินการในช่วงอายุ 15-17 สัปดาห ์ 17 หรอื หลังจากการฉีดวัคซีนอย่างน้อย 1 สปั ดาห์ และควรหลีกเลี่ยงการขนยา้ ยไกส่ าวหลงั จาก 17 สัปดาห์ เนื่องจากรังไข่และท่อน�ำไข่มีการพัฒนามากแล้ว อาจกระทบต่อไข่ในช่องท้อง สง่ ผลให้ไก่เสยี หายและใหผ้ ลผลิตลา่ ช้าออกไปอีก กอ่ นจะดำ� เนนิ การขนยา้ ย ควรงดอาหารไกอ่ ยา่ งนอ้ ย 3 ชวั่ โมง แตย่ งั คงใหน้ ำ�้ ตามปกติ ระหวา่ งการขนย้ายไกจ่ ะสญู เสยี น�ำ้ หนกั ประมาณ 0.3-0.5% ตอ่ ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง ขึ้นกบั สภาพอากาศ ดงั นั้นถ้าเป็นไปได้ควรหลกี เลย่ี งการขนยา้ ยในตอนกลางวันหรือช่วงทมี่ อี ากาศ ร้อนจัด การขนย้ายไก่ควรปฏิบัติต่อไก่อย่างนุ่มนวลเพ่ือลดความเสียหายและความบอบช�้ำ ไก่สาวท่ีย้ายข้ึนกรงในวันแรกๆ นอกจากจะเครียดจากการขนย้ายแล้ว ยังต้องปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของโรงเรือน กรงตับและอุปกรณ์ การเล้ียงท่ีเปลี่ยนไปจากเดิม ดังนั้นจ�ำเป็นต้องเตรียมวิตามินละลายในน้�ำดื่มไว้ให้เรียบร้อย เพ่ือให้ไก่ได้รับน้�ำทันทีท่ีย้าย ขึ้นกรง ส่วนการให้อาหารน้ันจะเริ่มหลังจากท่ีไก่ได้กินน้�ำอย่างท่ัวถึงแล้ว (ประมาณ 2-3 ชว่ั โมง) ใน 2-3 ชั่วโมงแรกการที่ไม่มีอาหารอยู่ในรางนั้น จะช่วยให้ไก่สนใจกินนำ้� ไดด้ ขี ึ้น ในสปั ดาหแ์ รกควรคดั แยกไกท่ มี่ ขี นาดเลก็ หรอื ไกท่ อี่ อ่ นแอออกมารวมไวใ้ นกรงเดยี วกนั เพื่อหลีกเล่ียงการถูกรังแกและแย่งกินอาหารจากไก่ท่ีมีขนาดใหญ่กว่า และควรเฉลี่ยไก ่ ในแตล่ ะกรงให้มีจ�ำนวนเทา่ ๆ กัน การกระตุ้นแสงในสัปดาห์แรก จุดประสงค์เพื่อช่วยให้ไก่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพ แวดล้อมใหม่ และสามารถกินน�้ำกินอาหารได้เป็นปกติโดยเร็ว ในช่วง 1-4 วันแรกควรให้ แสงสวา่ งความเขม้ สงู (20-40 ลกั ซ)์ เปน็ เวลา 12 ชวั่ โมงในตอนกลางวนั (สำ� หรบั โรงเรอื นมดื ) และเพิ่มแสงพิเศษในตอนกลางคืนอีก 8-10 ชั่วโมง จากนั้นจึงค่อยๆ ลดชั่วโมงแสงพิเศษ ลงเหลือเพียง 2 ช่ัวโมง (23.00 - 1.00 น.) แต่ทั้งน้ีต้องมั่นใจว่าไก่ทั้งฝูงสามารถกินน�้ำ กินอาหารไดเ้ ป็นปกตแิ ล้ว การกระตุ้นแสงเม่ือไก่เร่ิมให้ผลผลิต จุดประสงค์เพ่ือกระตุ้นการสร้างไข่ และกระตุ้นการ กนิ อาหาร เรม่ิ กระตนุ้ แสงสว่างต่อเมื่อไกฝ่ งู น้นั มคี ณุ สมบัติครบทัง้ 2 ข้อดังน้ี 1. เมื่อไก่เร่ิมให้ผลผลิตไข่มากกว่า 20% ซึ่งแสดงว่าไก่ส่วนใหญ่ของฝูงมีความ เจริญพนั ธุ์สงู พรอ้ มท่จี ะให้ผลผลิตแล้ว

2. เมือ่ ไกม่ ีน�้ำหนักเฉลี่ยมากกวา่ 1,550 กรมั /ตวั เน่ืองจากไกท่ ี่มนี ำ�้ หนักตวั สูงเมื่อ เร่ิมไข่ จะให้ไข่ฟองใหญ่กว่า และให้ผลผลิตยืนนานกว่าไก่ท่ีมีน�้ำหนักตัวต่�ำ อีกทั้งมีปัญหา ก้นทะลักน้อยกว่า ถ้าไก่เร่ิมให้ผลผลิตไข่มากกว่า 20% แต่น้�ำหนักเฉลี่ยต�่ำกว่า 1,550 กรัม/ตัว ก็ยังไม่จ�ำเป็นต้องกระตุ้นแสง ในทางกลับกันถ้าน�้ำหนักเฉลี่ยมากกว่า 1,550 กรัม/ตัว แตผ่ ลผลติ ไขต่ ำ�่ กวา่ 20% กย็ งั ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งกระตนุ้ แสงเชน่ กนั ตอ้ งรอทง้ั ผลผลติ และนำ้� หนกั ตวั ไดต้ ามเกณฑท์ ง้ั คู่จึงเริม่ กระตุ้นแสง ซง่ึ โดยท่วั ไปฝงู ไก่จะมคี ุณสมบัติครบทง้ั 2 ข้อ ตอ่ เม่ือไก่ มีอายุประมาณ 19-20 สปั ดาห์ การกระตุ้นแสงในช่วงน้ีนอกจากจะมีผลต่อการสร้างไข่แล้วยังเป็นการเพ่ิมเวลา การกนิ อาหารของไกด่ ว้ ย สง่ ผลใหไ้ กไ่ ดร้ บั อาหารในปรมิ าณทม่ี ากพอสำ� หรบั การผลติ ไข่ และ ใชใ้ นการเจริญเติบโต แม้ว่าไก่จะให้ผลผลิตไข่แล้วก็ตาม แต่ร่างกายก็ยังมีการเจริญเติบโต ต่อไปจนกระท้ังโตเตม็ วยั ท่ีอายปุ ระมาณ 25 สัปดาห์ คอื มีนำ�้ หนักเฉลย่ี อยา่ งนอ้ ย 1,850 กรมั 18 ตอ่ ตวั ซง่ึ หมายความวา่ ในชว่ ง 6 สปั ดาหแ์ รกของการไขน่ น้ั จ�ำเป็นต้องกระตนุ้ การกินอาหาร เพอ่ื ให้นำ�้ หนกั ตวั เพม่ิ ขึ้นอย่างนอ้ ย 300 กรัม การเพ่ิมช่ัวโมงแสงจะต้องปรับเพิ่มขึ้นตามผลผลิตท่ีเพ่ิมขึ้นแต่ไม่ควรเกิน 16 ช่ัวโมง (ไม่ควรลดช่ัวโมงแสงตลอดอายุการเลี้ยงเน่ืองจากกระทบต่อผลผลิต) ส่วนแสงพิเศษ ในตอนกลางดึกอีก 2 ชั่วโมงก็ยังคงไว้ตามเดิม เมื่อไก่โตเต็มวัยหรือมีน้�ำหนักเฉล่ียได้ตาม เป้าหมายคือ 1,850 กรัมแล้ว ก็สามารถยกเลิกแสงพิเศษน้ีได้ หรืออาจจะคงไว้ตามเดิม เพอื่ เพม่ิ การกนิ อาหารกไ็ ด้ หรอื จะนำ� แสงพเิ ศษกลบั มาใชอ้ กี เมอื่ ไกม่ อี ายมุ ากเพอื่ เพม่ิ คณุ ภาพ ของเปลอื กไข่ก็ได้ สว่ นความเขม้ แสงนนั้ แนะนำ� ใหใ้ ชแ้ สงความเขม้ สงู (ประมาณ 20 ลกั ซ)์ ตงั้ แตเ่ รม่ิ ยา้ ยไก่ ข้ึนกรง จนกระท้ังไก่มีน้�ำหนักเฉลี่ย1,850 กรัม จากน้ันจึงทยอยเปล่ียนเป็นแสงสีแดง ความเขม้ ตำ่� (ประมาณ 1-5 ลกั ซ์ วดั ทรี่ างอาหารโดยใหจ้ ดุ ทมี่ ดื ทส่ี ดุ มคี วามเขม้ ประมาณ 1 ลกั ซ)์ การใช้แสงสแี ดงความเข้มต่�ำน้นั แสงสีแดงมีผลชว่ ยกระต้นุ การสรา้ งไข่ ส่วนความเข้มต่�ำนั้น ทำ� ใหไ้ กไ่ ม่เครยี ด ลดการจกิ กนั สง่ ผลให้อตั ราการตายลดลง

คู่มือการเล้ยี ง ไก่ไข่ ซีพี บราวน์ การใชแ้ สงปกตคิ วามเข้มสงู ในไก่ไข่ ตัง้ แตย่ ้ายไกข่ ึน้ กรง จนถงึ อายุ 29 สปั ดาห์ ใช้แสงปกติ ความเขม้ สงู (20 ลักซ)์ 19 การใชแ้ สงความเขม้ ต่ำ� หรอื ใชแ้ สงสแี ดง อายุตง้ั แต่ 30 สัปดาห์ข้นึ ไป ใช้แสงความเขม้ ต�ำ่ 1-5 ลักซ์ หรือใช้แสงสีแดง

โปรแกรมแสงในไก่ไข่ (เลีย้ งในโรงเรอื นสว่าง) วนั /ผลผลติ ไข่ แสงปกติ แสงพิเศษ ความเข้มแสง (ลกั ซ์) 1-4 วันแรก ชั่วโมงแสง ชว่ งเวลาให้แสง ชวั่ โมงแสง ช่วงเวลาให้แสง 20-40 12 06:00-18:00 8 20:00-04:00 วันที่ 5 12 06:00-18:00 6 21:00-03:00 20-40 วันท่ี 6 12 06:00-18:00 4 22:00-02:00 20-40 วันท่ี 7 ข้นึ ไป 12 06:00-18:00 2 23:00-01:00 20 ไข่ 10-50% 14 04:00-18:00 2 23:00-01:00 20 ไข่ 50-90% 15 04:00-19:00 2 23:00-01:00 20 ไข่ 90% ถงึ ปลด 16 04:00-20:00 2 23:00-01:00 20 20 โปรแกรมแสงในไก่ไข่ (เลยี้ งในโรงเรือนมืด) วัน/ผลผลิตไข่ แสงปกติ แสงพิเศษ ความเขม้ แสง (ลักซ)์ 1-4 วนั แรก ชัว่ โมงแสง ช่วงเวลาใหแ้ สง ชั่วโมงแสง ช่วงเวลาให้แสง วนั ท่ี 5 20 วันท่ี 6 12 06:00-18:00 8 20:00-04:00 20 20 วนั ท่ี 7 ข้ึนไป 12 06:00-18:00 6 21:00-03:00 20 ไข่ 10-50% 20 ไข่ 50-90% 12 06:00-18:00 4 22:00-02:00 20 ไข่ 90% ถงึ ปลด 1-5 12 06:00-18:00 2 23:00-01:00 14 04:00-18:00 2 23:00-01:00 15 04:00-19:00 2 23:00-01:00 15 04:00-19:00 2 23:00-01:00

คมู่ อื การเล้ยี ง ไกไ่ ข่ ซีพี บราวน์ เลีย้ งในโรงเรือนสว่าง เล้ยี งในโรงเรอื นมืด 21 จำ� นวนตวั ตอ่ พนื้ ทกี่ ารเลยี้ ง ความหนาแนน่ ในการเลยี้ งไกไ่ ขใ่ นกรงตบั ขนึ้ กบั รปู แบบโรงเรอื น และขนาดของกรงตบั รปู แบบโรงเรือน (ตารพาง้นื เทซ่ีกนาตรเิ เมลต้ียรง/ตวั ) (ตกวั วอ้ายง่างx ขลนึกา/ดซกมร.ง) (ตควั วตาม่อจกุไรกง่ ) โรงเรอื นเปิด 600 40X45 3 40X45 4 โรงเรือนปดิ 450 60X60 8

การให้อาหาร ไก่ไข่จ�ำเป็นต้องได้รับอาหารอย่างเพียงพอเพ่ือใช้การด�ำรงชีพและผลิตไข่ ถ้าได้รับอาหารเพ่ิมขึ้นผลผลิตไข่ก็เพิ่มขึ้นตามในรูปของจ�ำนวนไข่หรือน�้ำหนักไข่ ดังนั้นการ ให้อาหารไก่ไข่ต้องให้อย่างเต็มท่ีไม่จ�ำกัดปริมาณเพียงแต่จ�ำกัดเวลาการให้ เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพในการใช้อาหารสูงสุด เนื่องจากธรรมชาติของไก่จะเลือกกินอาหารที่มีอนุภาค ใหญ่กวา่ กอ่ น และเหลืออาหารผงไว้ การสะสมของอาหารผง ในระบบใหอ้ าหารจะนำ� ไปสู่ การบริโภคท่ีต่�ำกว่าเกณฑ์ ดังนั้นเพ่ือการกระตุ้นการบริโภคอาหารของไก่ควรปล่อยให้ รางอาหารวา่ งทกุ วนั โดยธรรมชาตไิ กก่ นิ อาหารไดม้ ากในชว่ งเชา้ และเยน็ ดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ ว จงึ ควรปล่อยให้รางอาหารวา่ งในช่วงกลางวันโดยใหว้ นั ละ 2 คร้งั คอื รอบเชา้ ประมาณ 40% และรอบบา่ ยประมาณ 60% หลงั จากการใหอ้ าหารรอบเชา้ แลว้ ในชว่ งกลางวนั อาหารจะหมด ไก่จะเก็บกินอาหารผงก้นรางจนหมด แล้วปล่อยให้อาหารว่างรางประมาณ 1-2 ชั่วโมง เพ่อื กระตนุ้ ให้ไก่กินอาหารท่ีจะใหใ้ นรอบบ่าย ปริมาณอาหารทีใ่ หใ้ นรอบบา่ ยนน้ั ไม่ควรนอ้ ย กว่า 60% เพราะต้องการให้มีอาหารเหลืออยู่ในรางตลอดคืนจนถึงเช้า โดยเฉพาะกลางดึก เมื่อเปิดไฟให้แสงพิเศษก็ยังคงมีอาหารอย่างเพียงพอส�ำหรับไก่ ตลอดจนถึงช่วงเช้ามืดหลัง จากเปิดไฟก็ยังคงมีอาหารเหลืออยู่เพียงพอส�ำหรับไก่จนถึงการให้อาหารรอบเช้า ส่ิงที่ต้อง 22 ระมัดระวังก็คือการกระจายตัวของอาหารในรางควรจัดการเกล่ียอาหารให้สม�่ำเสมอเท่ากัน ทุกราง และเฉลี่ยไก่ให้มีจ�ำนวนเท่าๆกันทุกกรงเพ่ือให้อาหารหน้ากรงหมดพร้อมๆ กัน ความต้องการทางโภชนะของไก่ไข่เปล่ียนแปลงไปตามอายุและผลผลิต จึงต้องปรับเปล่ียน อาหารให้เหมาะสมกับชว่ งอายขุ องไกด่ งั น้ี อาหารระยะกอ่ นไข่ สำ� หรบั ไกส่ าวในชว่ งอายุ 18-19 สปั ดาห์ เพอ่ื การสะสมแคลเซยี ม และฟอสฟอรสั ในไขกระดกู ระยะนค้ี วรกระตนุ้ ใหไ้ กก่ นิ อาหารไดม้ ากทส่ี ดุ เพอื่ การเจรญิ เตบิ โต และพัฒนาระบบสืบพนั ธุ์เตรยี มความพรอ้ มในการสรา้ งไข่ อาหารไกไ่ ขร่ ะยะแรก สำ� หรับไก่ไขใ่ นชว่ งอายุ 20-50 สปั ดาห์ อาหารระยะน้มี คี ณุ ค่า ทางโภชนะสูงเหมาะสมกับการเจริญเติบโตในช่วงต้นของการไข่ และการให้ผลผลิตไข่ ในชว่ งใหไ้ ขส่ งู สดุ อาหารไกไ่ ขร่ ะยะสอง สำ� หรบั ไกไ่ ขใ่ นชว่ งอายุ 50 สปั ดาหข์ น้ึ ไป อาหารระยะนม้ี ปี รมิ าณ แคลเซียมสูงเหมาะสมกับการสร้างเสริมคุณภาพของเปลือกไข่ให้แข็งแรงในช่วงท้ายของ การให้ผลผลิต

คูม่ ือการเล้ียง ไก่ไข่ ซีพี บราวน์ การปอ้ งกนั โรค โรคและพยาธิที่เกิดข้ึนในไก่รุ่น และไก่ไข่น้ันมีมากมายหลายชนิด หากเกิดขึ้น 23 ในฟารม์ แลว้ ยอ่ มกระทบตอ่ ผลผลติ และสขุ ภาพไก่ เพอ่ื ลดความเสยี่ งตอ่ การเกดิ โรคตา่ งๆ จงึ ต้องวางระบบการป้องกันโรคทดี่ ี มโี ปรแกรมวคั ซีนที่เหมาะสมดังต่อไปนี้ 1. โรงเรอื นและอปุ กรณ์การเลยี้ งต้องผา่ นการลา้ งทำ� ความสะอาด ฆา่ เชอื้ และพักเล้า ก่อนการรับไกเ่ ขา้ เลีย้ ง 2. เลี้ยงไก่เพียงอายุเดียวในแต่ละโรงเรือน หลีกเลี่ยงการเล้ียงไก่หลายอายุหรือ หลายฝงู ในโรงเรือนเดยี วกัน 3. ควบคุมและกำ� จัดสตั วพ์ าหะน�ำโรค เช่น นก หน ู แมลง และสัตว์เลี้ยงตา่ งๆ 4. ควบคมุ การผ่านเขา้ บรเิ วณฟารม์ และการเขา้ ไปในโรงเรอื น ของบคุ คล ยานพาหนะ และวัสดุอปุ กรณ์ 5. ดแู ลรกั ษาความสะอาดอปุ กรณ์ โรงเรอื นและบรเิ วณภายในฟารม์ ใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ 6. น้ำ� ท่ใี ช้ส�ำหรับเล้ียงไกต่ ้องสะอาด และผ่านการฆา่ เชอ้ื ด้วยคลอรนี 7. มมี าตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคเมือ่ มีไกป่ ่วย มเี ตาเผาซากไกต่ าย

การท�ำความสะอาดและเตรียมโรงเรือน หลังจากการปลดไก่รุ่นหรือไก่ไข่ ต้องรีบจัดการ ท ำ� ความสะอาด ฆ่าเชอ้ื โรงเรอื นและอปุ กรณต์ า่ งๆตามขน้ั ตอนดังต่อไปนี้ 1. เก็บอุปกรณ์ที่สามารถขนย้ายได้ออกจากโรงเรือน เพ่ือความสะดวกในการท�ำงาน และนำ� อปุ กรณ์เหลา่ น้ีไปลา้ งท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อ 2. ขนยา้ ยมลู ไกห่ รอื วสั ดรุ องพนื้ ออก โดยรถขนยา้ ยตอ้ งมผี า้ ใบปรู องและปกคลมุ มดิ ชดิ เพอ่ื ป้องกนั การหกหล่นและฟุ้งกระจาย 3. ตัดหญา้ บรเิ วณรอบโรงเรอื น หา่ งจากชายคาออกไปอย่างน้อย 3 เมตร 4. ปัดกวาดหยากไย่และฝุ่นละอองออกให้หมด แล้วฉีดล้างท�ำความสะอาดด้วยน�้ำ ผสมผงซักฟอก ต้งั แตอ่ ปุ กรณ์ กรงตับ ผา้ มา่ นและโรงเรือนทง้ั ภายใน และภายนอก จากนนั้ จงึ ล้างทำ� ความสะอาดดว้ ยน้�ำเปล่าอีกครั้ง 5. พ่นยาฆ่าแมลง โดยใช้ยาในกลุ่มไซเปอร์เมทรินอัตราส่วน 1 ลิตรต่อน�้ำ 250 ลิตร ต่อพน้ื ที่ 1,000 ตารางเมตร โดยฉดี พ่นใหท้ ่ัวท้งั ภายในและภายนอกโรงเรือน ห่างจากชายคา 24 ออกไปอยา่ งนอ้ ย 3 เมตร 6. ส�ำหรับท่อนิปเปิ้ล ฆ่าเชื้อภายในท่อโดยใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในอัตราส่วน 1 ลติ ร ต่อน�ำ้ 100 ลิตรแชท่ ้งิ ไวใ้ นท่ออย่างน้อย 4 ชั่วโมง แล้วเปิดวาลวไ์ ลน่ ำ�้ ทง้ิ 7. ใช้ยาฆา่ เช้ือกลุ่มกลูตารอลดีไฮด+์ ควอทซ์ เชน่ อลั ตราไซด์หรอื ออมนไิ ซด์ อตั ราส่วน 1 ลิตรตอ่ นำ้� 150 ลติ ร ต่อพนื้ ที่ 400 ตารางเมตรฉดี พ่นให้ทว่ั ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรือน 8. ตรวจเช็คและซ่อมแซมโรงเรอื นและอปุ กรณใ์ ห้อยูใ่ นสภาพพรอ้ มใช้งาน 9. ใช้วัสดรุ องพื้นทแี่ ห้ง สะอาดปูรองพ้นื หนาประมาณ 2-3 น้วิ ส�ำหรบั โรงเรือนไก่รนุ่ ท่ีเล้ียงระบบปล่อย ส่วนระบบการเล้ียงในกรงตับปูพื้นกรงลูกไก่ด้วยตาข่ายพลาสติก ข นาดช่อง 1x1 เซ็นตเิ มตรเพ่ือป้องกันขาไก่ลอดพื้นกรง เมื่ออายุ 2-3 สัปดาหจ์ ึงเอาออก 10. ติดต้ังอุปกรณ์การกกลูกไก่ ปิดผ้าม่านทุกด้านให้มิดชิด แล้วใช้ยาฆ่าเช้ือฉีดพ่น ให้ทวั่ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรอื นอกี รอบ จากนัน้ ปดิ ประตูและ พักเลา้ อย่างนอ้ ย 14 วนั พยาธิภายใน ควรจัดการถ่ายพยาธิหลังย้ายไก่ขึ้นกรงแล้ว 1 สัปดาห์ โดยใช้ยาถ่ายพยาธ ิ เช่น พานาครู ์ ในอัตราสว่ นตัวยา 30 มิลลิกรมั ตอ่ นำ้� หนักไก่ 1 กิโลกรมั แบ่งใหก้ ินติดต่อกัน 5 วัน โดยการละลายน�้ำ ซงึ่ สามารถใชไ้ ดค้ รอบคลมุ ทง้ั พยาธิตัวกลมและพยาธติ ัวแบน

ค่มู อื การเลี้ยง ไกไ่ ข่ ซพี ี บราวน์ พยาธิภายนอก เช่นไร และเหา หากไก่มีอาการไซร้ขนบ่อยผิดปกติ หรือมีการตรวจพบ ทผ่ี วิ หนงั และขนโดยเฉพาะบรเิ วณรอบทวารสามารถกำ� จดั ได้ โดยใชย้ าฆา่ แมลง กลมุ่ ไซเปอร์ เมททรนิ ในอตั ราสว่ น 50 ซ.ี ซ.ี / นำ�้ 100 ลติ ร / ไก่ 1,000 ตวั โดยการฉดี พน่ ใหเ้ ปยี กทวั่ ตวั ไก่ หรอื โดยการจับไก่จมุ่ ในนำ�้ ยาที่ละตวั สำ� หรับกรณีทีม่ ไี ก่จำ� นวนไมม่ ากนัก การใหว้ คั ซนี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ กระตนุ้ ใหร้ า่ งกายของไกส่ รา้ งภมู คิ มุ้ กนั ขนึ้ มาเพอื่ การปอ้ งกนั โรค ต่างๆ วิธีการให้วัคซีนต้องปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของบริษัทผู้ผลิต หรือสัตวแพทย์ผู้ควบคุม ฟาร์มทุกคร้ังท่ีให้วัคซีนต้องม่ันใจว่าไก่ทุกตัวได้รับวัคซีนอย่างทั่วถึง ตามปกติควรให้วัคซีน ตามอายุทกี่ �ำหนดไว้ในโปรแกรม ยกเว้นกรณีไกป่ ่วย จำ� เป็นตอ้ งเล่ือนก�ำหนดออกไปจนกวา่ ไกจ่ ะหายป่วยเปน็ ปกติจึงให้วัคซนี การใช้วัคซนี โดยการสเปรย์ 25

การใหว้ คั ซีนโดยการฉดี เข้ากล้ามเน้อื 26 การใหว้ คั ซนี โดยการหยอดตา

ค่มู อื การเลี้ยง ไกไ่ ข่ ซพี ี บราวน์ โปรแกรมวคั ซนี สำ� หรบั ไกร่ นุ่ และไกไ่ ขใ่ นตารางนเี้ ปน็ เพยี งแนวทางสำ� หรบั ฟารม์ ทว่ั ไป เทา่ นน้ั สามารถปรบั เปลย่ี นโปรแกรมไดต้ ามความเหมาะสมกบั พน้ื ทแ่ี ละสภาพ การระบาดของโรคในขณะนน้ั โดยการปรกึ ษา หรอื ขอคำ� แนะนำ� จากสตั วแพทย์ อายุไก่ วคั ซีนส�ำหรบั ไก่รุ่น วิธีการให้ วัน สปั ดาห์ ชนดิ วคั ซีน ฉดี ใต้ผวิ หนัง 1 สเปรย์ (ท�ำที่โรง 0 มาเร็กซ์ สเปรย์ นวิ คลาสเซลิ + หลอดลมอักเสบตดิ ตอ่ (เชอื้ เปน็ ) ละลายน�ำ้ ฟัก) บิด* 18-21 3 กมั โบโร นิวคลาสเซลิ + หลอดลมอกั เสบ (เชอื้ เปน็ ) สเปรย์/หยอดตา 28 4 นิวคลาสเซลิ ครึ่งโดส (เชือ้ ตาย) ฉดี ใตผ้ วิ หนัง ฝดี าษไก*่ * แทงปีก 27 35 5 มัยโคพลาสมา สเปรย์/หยอดตา หวัดหน้าบวม ฉีดเขา้ กลา้ ม 56 8 นิวคลาสเซิล + หลอดลมอกั เสบ (เช้ือเป็น) สเปรย/์ หยอดตา นวิ คลาสเซลิ (เชอ้ื ตาย) ฉดี ใตผ้ วิ หนงั /ฉดี เขา้ กลา้ ม 70 10 กล่องเสยี งอกั เสบ หยอดตา/หยอดจมูก ฝดี าษไก่ + ไขส้ มองอักเสบ แทงปีก หวัดหนา้ บวม ฉดี เข้ากล้าม 105 15 นวิ คลาสเซิล + หลอดลมอักเสบ (เชือ้ เปน็ ) หยอดตา นวิ คลาสเซิล + หลอดลมอกั เสบ+ ไข่น่ิม (เชอื้ ตาย) ฉดี เขา้ กล้าม วคั ซนี สำ� หรบั ไก่ไข่ 140 20 นิวคลาสเซิล + หลอดลมอักเสบ (เชื้อเปน็ ) สเปรย/์ หยอดตา ทุก 4-6 นิวคลาสเซลิ + หลอดลมอักเสบ (เชอื้ เปน็ ) สเปรย/์ หยอดตา หมายเหต ุ 1 * ทำ� วัคซีนบดิ เฉพาะไก่รุน่ ท่เี ลยี้ งระบบปลอ่ ยพืน้ 2 ** ทำ� วัคซนี ฝีดาษเฉพาะพน้ื ทีท่ ี่มีการระบาดของโรคฝีดาษไก่

ตารางผลผลิตไข่ อตั ราการตายและน�้ำหนักตวั อายุให้ อัตราการไข่ ไขส่ ะสม น้�ำหนกั ไข่ ตายสะสม น�ำ้ หนกั ตัว ผลผลติ ไข่ % (ฟอง/แม่) (กรัม/ฟอง) % (กรัม/ตวั ) (สัปดาห์) 1 2.00 0.14 43.0 0.07 1,500 2 16.00 1.26 45.5 0.14 1,580 3 38.00 3.92 49.0 0.21 1,640 4 64.00 8.39 52.0 0.28 1,705 5 83.50 14.21 54.5 0.36 1,755 6 90.50 20.53 56.4 0.43 1,790 7 93.00 27.01 57.7 0.50 1,805 8 94.40 33.58 58.8 0.57 1,820 28 9 95.30 40.22 59.6 0.65 1,830 10 95.70 46.87 60.2 0.72 1,840 11 95.70 53.52 60.7 0.80 1,850 12 95.60 60.16 61.1 0.87 1,860 13 95.33 66.78 61.5 0.95 1,870 14 95.06 73.37 61.9 1.02 1,880 15 94.79 79.93 62.2 1.10 1,885 16 94.52 86.48 62.4 1.17 1,890 17 94.25 93.00 62.7 1.25 1,895 18 93.98 99.50 62.9 1.33 1,900 19 93.71 105.97 63.0 1.40 1,905 20 93.44 112.42 63.1 1.48 1,910 21 93.17 118.84 63.2 1.56 1,915 22 92.90 125.24 63.3 1.64 1,920

คมู่ ือการเลย้ี ง ไก่ไข่ ซีพี บราวน์ อายใุ ห้ อัตราการไข่ ไขส่ ะสม น้�ำหนกั ไข่ ตายสะสม น�้ำหนกั ตัว ผลผลิตไข่ % (ฟอง/แม)่ (กรมั /ฟอง) % (กรัม/ตวั ) (สัปดาห)์ 92.59 131.62 63.3 1.71 1,925 29 23 92.29 137.97 63.4 1.79 1,930 24 91.98 144.29 63.4 1.87 1,935 25 91.68 150.59 63.5 1.95 1,935 26 91.37 156.86 63.5 2.03 1,940 27 91.06 163.11 63.6 2.11 1,945 28 90.76 169.33 63.6 2.19 1,945 29 90.45 175.52 63.7 2.27 1,950 30 90.15 181.69 63.7 2.35 1,950 31 89.84 187.83 63.8 2.43 1,950 32 89.52 193.94 63.8 2.51 1,955 33 89.52 200.03 63.8 2.59 1,955 34 88.88 206.09 63.9 2.67 1,960 35 88.56 212.12 63.9 2.75 1,960 36 88.21 218.13 63.9 2.83 1,960 37 87.86 224.10 64.0 2.92 1,965 38 87.51 230.05 64.0 3.00 1,965 39 87.16 235.97 64.0 3.08 1,965 40 86.81 241.86 64.1 3.16 1,965 41 86.46 247.72 64.1 3.25 1,970 42 86.08 253.55 64.1 3.33 1,970 43 85.70 259.35 64.2 3.41 1,970 44 85.26 265.11 64.2 3.50 1,975 45

อายใุ ห้ อัตราการไข่ ไขส่ ะสม น�้ำหนักไข่ ตายสะสม น�้ำหนกั ตวั ผลผลติ ไข่ % (ฟอง/แม)่ (กรมั /ฟอง) % (กรัม/ตวั ) (สปั ดาห)์ 46 84.82 270.84 64.2 3.58 1,975 47 84.36 276.54 64.3 3.67 1,975 48 83.90 282.19 64.3 3.75 1,975 49 83.44 287.81 64.3 3.84 1,980 50 82.94 293.40 64.3 3.93 1,980 51 82.42 298.94 64.4 4.01 1,980 52 81.89 304.44 64.4 4.10 1,985 53 81.31 309.90 64.4 4.19 1,985 54 80.73 315.31 64.4 4.28 1,985 30 55 80.15 320.69 64.5 4.36 1,985 56 79.54 326.01 64.5 4.45 1,985 57 78.93 331.29 64.5 4.55 1,990 58 78.32 336.52 64.5 4.64 1,990 59 77.71 341.71 64.5 4.73 1,995 60 77.07 346.85 64.6 4.82 1,995 61 76.43 351.94 64.6 4.92 1,995 62 75.79 356.99 64.6 5.01 2,000 63 75.15 361.98 64.6 5.11 2,000 64 74.51 366.93 64.6 5.21 2,000 65 73.87 371.83 64.7 5.30 2,005 66 73.23 376.69 64.7 5.40 2,005 67 72.59 381.49 64.7 5.50 2,005

กราฟบนั ทึกการเลย้ี งไก่ไข่ ซีพี บราวน์ ฟารม์ ............................................ฝงู ท่ี ..........................เลา้ ที่ ..........................วนั ที่เริ่มไข่ ................................................. จาํ นวนไก่ท่เี ร่ิมไข่ ....................................ตัว คู่มือการเล้ยี ง ไก่ไข่ ซพี ี บราวน์ 31

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สำนักสง เสริมการตลาดและลูกคาสัมพันธ 128 ถนนเยน็ จิตร แขวงทงุ วดั ดอน เขตสาทร กทม. 10120 โทร. 02-680 4500 www.cpffeed.com